ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสำคัญและส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม  การเมือง และการดำเนินงานในทุกสาขาอาชีพ ทำให้ทึกคนในสังคมต้องมีการปรับตัว และพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศมีทั้งคุณและโทษนักเรียนต้องศึกษาเพื่อใช้งานได้อย่างรู้เท่าทัน และสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัยในสังคมปัจจุบัน นอกจากนนี้ยังต้องสามารถเลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านต่างๆ อย่างสร้างสรรค์และมีจริยธรรม

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

เขียนเครื่องหมาย    หน้าข้อความที่ถูกต้อง

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ข้อมูลชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของนักเรียนเปิดเผยในสื่อสังคมออนไลน์ได้
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
แชร์รหัสผ่านของอีเมล์ให้เพื่อนสนิทเพื่อป้องกันการลืมรหัสผ่าน
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ออกจากระบบเมื่อเลิกใช้งานคอมพิวเตอร์สาธารณะ

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

นักเรียนมีวิธีการป้องกันอย่างไรให้ใช้งานอินเตอร์เน็ตได้อย่างปลอดภัย

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การใช้งานไอทีโดยการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ช่วยให้ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสาร และเข้าถึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่อยู่ทั่วโลกได้สะดวก และรวดเร็ว แต่ในทางกลับกันถ้าใช้งานไม่ระมัดระวัง ขาดความรอบคอบอาจก่อให้เกิดปัญหาจากการคุกคามการหลอกลวงผ่านเครือข่ายได้ นอกจากนี้การเข้าถึงเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมก็สร้างปัญหาด้านสังคมให้กับเยาวชนจำนวนมาก ดังนั้นการเรียนรู้การใช้งานไอทีได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัยจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์


ภัยคุกคามที่มาจากมนุษย์นั้นมีหลากหลายวิธี โดยมีการตั้งแต่การใช้ความรู้ขั้นสูงด้านไอทีไปจนถึงวิธีการที่ไม่จำเป็นต้องใช้ความรู้ และความสามารถทางเทคนิคเช่น

  1. การคุกคามโดยใช้หลักจิตวิทยา เป็นการคุกคามที่ใช้การหลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการโดยไม่ต้องใช้ความรู้ความชำนาญด้านไอที เช่น การใช้กลวิธีในการหลอกเพื่อให้ได้รหัสผ่านหรือส่งข้อมูลที่สำคัญให้ โดยหลอกว่าจะได้รับรางวัลแต่ต้องทำตามเงื่อนไขที่กำหนด  แต่ต้องป้องกันได้โดยให้นักเรียนระมัดระวังในการให้ข้อมูลส่วนตัวกับบุคคลใกล้ชิดหรือบุคคลอื่น
  2. การคุกคามด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ข้อมูลและเนื้อหาที่มีอยู่ในแหล่งต่างๆบนอินเตอร์เน็ตมีจำนวนมากเพราะสามารถสร้าง และเผยแพร่ได้ง่าย ทำให้ข้อมูลอาจไม่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม ดังนั้นข้อมูลบางส่วนอาจก่อให้เกิดปัญหากับนักเรียนได้

ตัวอย่างแหล่งข้อมูลและเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม เช่น แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงการยุยงให้เกิดความวุ่นวายทางสังคม การพนัน สื่อลามกอนาจาร เนื้อหาหมิ่นประมาท การกระทำที่ผิดต่อกฎหมายและจริยธรรม

ข้อมูลและเนื้อหาเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้ง่ายและยากต่อการป้องกัน กรอกข้อมูลที่ไม่เหมาะสม เพราะข้อมูลที่ไม่เหมาะสมส่วนใหญ่มักมีเรื่องของผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง ดังจะเห็นได้จากการใช้งานแอพพลิเคชั่นเว็บไซต์ และสื่อบางประเภท นอกจากนี้อาจมีข้อมูลที่ไม่เหมาะสมนั้นปรากฏขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติถึงแม้ว่า แอพพลิเคชั่นหรือเว็บไซต์นั้นเป็นของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือก็ตาม เช่นเว็บไซต์หน่วยงานราชการ บริษัทชั้นนำ ดังนั้นนักเรียนควรจะใช้วิจารณญาณในการเลือกรับหรือปฏิเสธข้อมูลเหล่านั้น

      3. การคุกคามโดยใช้โปรแกรม เป็นการคุกคามโดยใช้โปรแกรมเป็นเครื่องมือสำหรับก่อปัญหาด้านไอที โปรแกรมดังกล่าวเรียกว่า มัลแวร์ (malicious software :  malware) ซึ่งมีหลายประเภทเช่น

ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) คำที่เขียนด้วยเจตนาร้าย อาจทำให้ผู้ใช้งานเกิดความรำคาญหรือก่อให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลหรือระบบ โดยไวรัสคอมพิวเตอร์จะติดมากับไฟล์ และสามารถแพร่กระจายเมื่อมีการเปิดใช้งานไฟล์ เช่น ไอเลิฟยู ( ILOVEYOU),  เมลิสซา (Melissa)

เวิร์ม (worm) หรือที่เรียกกันว่า หนอนคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมอันตรายที่สามารถแพร่กระจายไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในเครือข่ายได้ด้วยตนเอง โดยใช้วิธีหาจุดอ่อนของระบบรักษาความปลอดภัย แล้วแพร่กระจายไปบนเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดความเสียหายที่รุนแรง เช่น โค้ดเรด (Code Red)  ที่มีการแพร่ในเครือข่ายเว็บของไมโครซอฟท์ในปี พ. ศ.  2544 ส่งผลให้เครื่องแม่ข่ายทั่วโลกกว่า 2 ล้านเครื่องต้องหยุดให้บริการ

ประตูกล  (Backdoor/t rapdoor) เป็นโปรแกรมที่มีการเปิดช่องโหว่ไว้เพื่อให้ผู้ไม่ประสงค์ดีสามารถเข้าไปคุกคามระบบสารสนเทศ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบเครือข่ายโดยที่ไม่มีใครรับรู้ บริษัทรับจ้างพัฒนาระบบสารสนเทศบางแห่งอาจจะติดตั้งประตูบนไว้ เพื่อดึงข้อมูลหรือความลับของบริษัทโดยที่ผู้ว่าจ้างไม่ทราบ

ม้าโทรจัน (trojan horse virus) เป็นโปรแกรมที่มีลักษณะคล้ายโปรแกรมทั่วไปเพื่อหลอกลวงให้ผู้ใช้ติดตั้ง และเรียกใช้งาน แต่เมื่อเรียกใช้งานแล้วก็จะเริ่มทำงานเพื่อสร้างปัญหาต่างๆตามผู้เขียนกำหนด เช่นทำรายข้อมูล หรือล้วงข้อมูลที่เป็นความลับ

ระเบิดเวลา  (Logic Bomb)  เป็นโปรแกรมอันตรายที่จะเริ่มทำงาน โดยมีตัวกระตุ้นบางอย่าง หรือกำหนดเงื่อนไขการทำงานบางอย่างขึ้นมา เช่น  App ส่งข้อมูลออกไปยังเครื่องอื่นๆ หรือลบไฟล์ข้อมูลทิ้ง

โปรแกรมดักจับข้อมูลหรือ สปาย์แวร์  (Spyware)  เป็นโปรแกรมที่แอบขโมยข้อมูลของผู้ใช้ระหว่างใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อนำไปใช้แสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ เช่น เก็บข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตเพื่อนำไปใช้ในการโฆษณา เก็บข้อมูลรหัสผ่านเพื่อนำไปใช้ในการโอนเงินออกจากบัญชีผู้ใช้

โปรแกรมโฆษณาหรือแอดแวร์ ( advertising Supported Software : adware) เป็นโปรแกรมที่แสดงโฆษณา หรือดาวน์โหลดโฆษณาอัตโนมัติหลังจากที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นติดตั้งโปรแกรมที่มี แอดแวร์ อยู่ นอกจากนี้แอดแวร์บางตัวอาจจะมี Spyware ที่คอยดักจับข้อมูลของผู้ใช้งานเอาไว้เพื่อส่งโฆษณาที่ตรงกับพฤติกรรมการใช้งาน ทั้งนี้อาจจะสร้างความรำคาญให้กับผู้ใช้งาน เนื่องจากโฆษณาจะส่งมาอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ผู้ใช้ไม่ต้องการ

โปรแกรมเรียกค่าไถ่ (ransomware) เป็นโปรแกรมขัดขวางการเข้าถึงไฟล์ข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือด้วยการเข้ารหัส จนกว่าผู้ใช้จะจ่ายเงินให้ผู้เรียกค่าไถ่ จึงจะได้รับรหัสผ่านเพื่อที่จะสามารถใช้งานไฟล์นั้นได้ เช่น คริปโตล็อกเกอร์ (CryptoLocke) ในปี พ.ศ. 2556  ที่มีการเผยแพร่กระจายไปทุกประเทศทั่วโลกผ่านไฟล์แนบในอีเมล์ และ วันนาคราย (wannacry) ในปี พ.ศ. 2560 ที่แพร่กระจายได้ด้วยวิธีเดียวกับเวิร์ม

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

1  การหลอกลวงแบบฟิชชิ่ง (phishing) มีลักษณะเป็นอย่างไร และมีวิธีการตรวจสอบและป้องกันอย่างไร
2  หากมีเพื่อนแชร์ข้อมูลของนักเรียนในทางเสียหาย และไม่เป็นความจริงนักเรียนคิดว่ามีผลกระทบกับตัวนักเรียนหรือไม่อย่างไร และนักเรียนจะแก้ปัญหานี้อย่างไร
3  นักเรียนเห็นเพื่อนนำเสนอข้อมูลของผู้อื่นทางเครือข่ายสังคมออนไลน์และนักเรียนแชร์ต่อโดยไม่ตรวจสอบข้อมูล นักเรียนคิดว่ามีผลกระทบกับตัวนักเรียน  และผู้เสียหายหรือไม่อย่างไร นักเรียนมีวิธีการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวอย่างไร
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

แนวคิดหนึ่งที่ใช้สำหรับการป้องกันภัยคุกคามด้านไอที คือการตรวจสอบ และยืนยันตัวตนของผู้ใช้งานก่อนการเริ่มต้นใช้งาน การตรวจสอบเพื่อยืนยันตัวตนของผู้ใช้งานสามารถดำเนินการได้ 3 รูปแบบดังนี้

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

      
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้รู้
เป็นการตรวจสอบตัวตนจากสิ่งที่ผู้ใช้งานรู้แต่เพียงผู้เดียว เช่น บัญชีรายชื่อผู้ใช้กับรหัสผ่านการตรวจสอบวิธีนี้เป็นวิธีที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย และระดับความปลอดภัยเป็นที่ยอมรับได้หากนักเรียนลืมรหัสผ่าน สามารถติดต่อผู้ดูแลเพื่อขอรหัสผ่านใหม่ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้มี
เป็นการตรวจสอบตัวตนจากอุปกรณ์ที่ผู้ใช้งานต้องมี เช่น บัตรสมาร์ตการ์ด  โทเก้น  อย่างไรก็ตาม การตรวจสอบวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายในส่วนของอุปกรณ์เพิ่มเติม และมักมีปัญหาคือ ผู้ใช้งานมักลืมหรือทำอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบหาย
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
ตรวจสอบจากสิ่งที่เป็นส่วนหนึ่งของผู้ใช้
เป็นการตรวจสอบข้อมูลชีวมาตร(biometrics) เช่น ลายนิ้วมือ ม่านตา ใบหน้า เสียง การตรวจสอบนี้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดแต่มีค่าใช้จ่ายที่สูง เมื่อเปรียบเทียบ กับวิธีอื่น และต้องมีการจัดเก็บลักษณะเฉพาะของบุคคล ซึ่งมีผู้ใช้บางส่วนอาจจะเห็นว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์ความเป็นส่วนตัว

 นอกจากนั้นอยากมีการคุกคามด้วยโปรแกรมแบบอื่นๆ ซึ่งนักเรียนสามารถหาความรู้เพิ่มเติมได้จากข่าวไอทีหรือจากอินเตอร์เน็ต

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การกำหนดรหัสผ่านเป็นที่การตรวจสอบตัวตนที่นิยมมากที่สุดเนื่องจากว่าเป็นวิธีที่ง่ายและค่าใช้จ่ายต่ำเมื่อเทียบกับวิธีอื่น สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการกำหนดรหัสผ่านให้มีความปลอดภัยมีดังนี้

  • รหัสผ่านควรตั้งให้เป็นไปตามเงื่อนไขของระบบที่ใช้งาน รหัสผ่านที่ควรประกอบด้วยตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็ก ตัวเลข และสัญลักษณ์ เช่น Y1nG@# !z  หรือ  @uG25sx*
  • หลีกเลี่ยงการตั้งรหัสผ่านโดยใช้วัน เดือน ปีเกิด  ชื่อผู้ใช้  ชื่อจังหวัด ชื่อตัวละคร ชื่อสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง หรือคำที่มีอยู่ในพจนานุกรม
  • ตั้งให้จดจำได้ง่าย แต่ยากต่อการคาดเดาด้วยบุคคลหรือโปรแกรม เช่น สร้างความสัมพันธ์ของรหัสผ่านกับข้อความหรือข้อมูลส่วนตัวที่คุ้นเคย เช่น ตั้งชื่อสุนัขตัวแรก แต่เขียนตัวอักษรจากหลังมาหน้า
  • บัญชีรายชื่อผู้ใช้แต่ละระบบ ควรใช้รหัสผ่านที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะบัญชีที่ใช้เข้าถึงข้อมูลที่มีความสำคัญ เช่น รหัสผ่านของบัตรเอทีเอ็มหลายใบให้ใช้รหัสผ่านต่างกัน
  • ไม่บันทึกรหัสแบบอัตโนมัติบนโปรแกรมบราวเซอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ร่วมกับผู้อื่นหรือเครื่องสาธารณะ
  • ไม่บอกรหัสผ่านของตนเองให้กับผู้อื่นไม่ว่ากรณีใดๆ
  • มันเปลี่ยนรหัสผ่านเป็นประจำอาจจะทำทุกๆ 3 เดือน
  •  เดือนอีก เดือนหลีกเลี่ยงการบันทึกรหัสผ่านใน  เดือนหลีกเลี่ยงการบันทึกรหัสผ่านในกระดาษสมุดโน้ตรั้ว เดือนหลีกเลี่ยงการบันทึกรหัสผ่านในกระดาษสมุดโน้ตรวมทั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เดือนหลีกเลี่ยงการบันทึกรหัสผ่านในกระดาษสมุดโน้ตรวมทั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย เดือนหลีกเลี่ยงการบันทึกรหัสผ่านในกระดาษสมุดโน้ตรวมทั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยหากจำเป็นต้องบันทึกก็ควรจัดเก็บไว้ในที่ปลอดภัย
  • ออกจากระบบทุกครั้งเมื่อเลือกใช้บริการต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

1  วิเคราะห์และยกตัวอย่างวิธีการที่ผู้ไม่ประสงค์ดีสามารถหลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลส่วนตัวของ หรือทำลายข้อมูลของนักเรียนพร้อมทั้งระบุวิธีการป้องกัน
2  ตั้งรหัสผ่านของตนเองโดย  8- 12  ตัวอักษร แล้วทดสอบรหัสผ่านที่ตั้งขึ้น กับเว็บไซต์ที่ให้บริการการตรวจสอบ  หากผลลัพธ์ในการตรวจสอบ ได้ระดับน้อยซึ่งเป็นรหัสผ่านที่ง่ายต่อการคาดเดา ให้นักเรียนเปลี่ยนรหัสผ่านและทดลองใหม่จนกว่ารหัสผ่านของนักเรียนจะได้ระดับปานกลาง-มาก
3  ค้นหาและบอกวิธีการอัพเดทระบบปฏิบัติการในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือที่นักเรียนใช้

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การใช้งานไอทีเป็นเรื่องใกล้ตัวของทุกคน อย่างไรก็ตามการใช้งานไอทีอาจส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งาน ดังนั้นการเรียนรู้ การทำความเข้ใจเงื่อนไขการใช้งานจึงเป็นสิ่งสำคัญ

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

1  นักเรียนคิดว่าการติดตั้งโปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ  มีขั้นตอนอย่างไร
2  นักเรียนมีการเตรียมความพร้อมก่อนการติดตั้งโปรแกรมหรือไม่ อย่างไร
3 นักเรียนได้อ่านเงื่อนไขหรือข้อตกลงในการใช้โปรแกรม เว็บไซต์หรือไม่ เพราะเหตุใด

    
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การใช้งานไอทีในปัจจุบันมีทั้งแบบมีค่าใช้จ่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ทุกระบบที่ให้บริการมีการกำหนดเงื่อนไขในการใช้งานทั้งสิ้น เว็บไซต์และแอพพลิเคชั่นต่างๆที่ให้บริการจะมีการแจ้งเงื่อนไขการติดตั้งและใช้งานให้ผู้ใช้ทราบก่อนเสมอ อาจรวมถึงค่าใช้จ่ายในการใช้งานซึ่งชำระด้วยเงินหรือต้องกรอกข้อมูลหรือตอบคำถามเป็นการแลกเปลี่ยน ข้อกำหนดที่ต้องรับโฆษณาในช่วงของการใช้งาน การอนุญาตผู้ให้บริการเข้าถึงภาพถ่ายหรือข้อมูลรายชื่อที่อยู่ใน smartphone ของผู้ใช้ ดังนั้นนักเรียนควรอ่านและทำความเข้าใจเงื่อนไขก่อนการติดตั้งและใช้งาน

นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่าซอฟต์แวร์  ผลงาน หรือสื่อต่างๆ ที่มีอยู่จำนวนมากในอินเตอร์เน็ต  สามารถนำมาใช้งานได้อย่างถูกต้อง

            เงื่อนไขการใช้งาน อาจจะถูกกำหนดด้วยข้อตกลงในลักษณะต่างๆ เช่น

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื้อหา หรือสื่อต่างๆ ส่วนใหญ่มีลิขสิทธิ์คุ้มครอง ทำให้ผู้ใช้หรือผู้ซื้อไม่สามารถที่จะนำไปเผยแพร่ ทำสำเนาต่อโดยที่ไม่รับอนุญาตจากผู้สร้างสรรค์ผลงาน  เช่น ผู้ใช้ที่ซื้อโปรแกรมประยุกต์มาใช้งานส่วนตัว ลิขสิทธิ์ที่ได้คือ การติดตั้งและใช้งานโปรแกรมประยุกต์นั้นได้ แต่ไม่สามารถทำสำเนาและแจกจ่ายให้ผู้อื่นได้

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

           ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภท 1
ลิขสิทธิ์ หมายถึง  สิทธิทางวรรณกรรม ศิลปกรรม และประดิษฐกรรม

ซึ่งผู้บริโภคต้นคิดได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) ในขณะที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ได้ให้ความหมาย “ลิขสิทธิ์ว่า สิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะกระทำการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ริเริ่ม โดยการใช้สติปัญญาความรู้ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะของตนเอง ในการสร้างสรรค์โดยไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น หน่วยงานที่สร้างสรรค์จะต้องเป็นงานประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้คุ้มครอง โดยผู้สร้างจะได้รับความคุ้มครองทันทีที่สร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียน”  

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ทรัพย์สินทางปัญญาคือ อะไร ให้ยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญา

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การใช้งานไอทีหรืองานต่างๆ ที่มีลิขสิทธิ์คุ้มครองอาจจำเป็นต้องมีค่าใช้จ่าย ซึ่งทำให้เกิดปัญหาและปิดโอกาสในการเรียนรู้ องค์กรครีเอทีฟคอมมอนส์จินตนาสัญญา อนุญาตที่ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและเผยแพร่ผลงานภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและยังเป็นการเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ แต่ยังคงไว้ซึ่งผลประโยชน์และการรับรู้เจ้าของผลงาน   http://www.creativecommons.org

ข้อกำหนดในการใช้ผลงานต่างๆ จะแทนด้วยสัญลักษณ์ เช่น

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

หมายถึงสามารถใช้ เผยแพร่ และดัดแปลงได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มาของผลงาน

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

หมายถึง  สามารถใช้  เผยแพร่ และดัดแปลงได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา และยินยอมให้ผู้อื่นนำไปใช้หรือเผยแพร่ต่อได้

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

หมายถึง สามารถใช้ และเผยแพร่ได้ ห้ามดัดแปลง แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

หมายถึง สามารถใช้ และเผยแพร่ได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ความเป็นส่วนตัว  (privacy)  เป็นลิขสิทธิ์พื้นฐานที่สำคัญของมนุษย์ทุกคนความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ เจ้าของสามารถปกป้องและควบคุมการเปิดเผยข้อมูลของตนเองให้กับผู้อื่นและสาธารณะได้ โดยเจ้าของสิทธิ นอกจากจะเป็นบุคคลแล้วอาจเป็นกลุ่มบุคคลหรือองค์กรก็ได้

การเข้าถึงข้อมูลในเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นการละเมิดความเป็นส่วนตัว เช่น เว็บไซต์หรือ แอปพลิเคชัน บางตัวที่ติดตามความเคลื่อนไหว หรือพฤติกรรมของผู้ใช้งานเพื่อเรียนรู้พฤติกรรมสำหรับปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ หรือการวางแผนการตลาด

นอกจากการถูกละเมิดความเป็นส่วนตัวจากผู้อื่นแล้ว ผู้ใช้อาจยินยอมที่จะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวของตนเอง เนื่องจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะก่อให้เกิดปัญหาในอนาคตและยากต่อการกลับมาแก้ไข

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
   นักเรียนจะปกป้องข้อมูลส่วนตัวได้อย่างไรบ้าง
  • ใส่ใจให้มากขึ้น ต้องอ่านข้อตกลงและเงื่อนไขให้เข้าใจ  หรือติดตั้งโปรแกรม ว่ามีเงื่อนไขในการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวหรือไม่
  • ตึกตรองให้รอบคอบ ก่อนเปิดเผยข้อมูลและกิจกรรมส่วนตัว หรือแชร์ข้อมูลผู้อื่น ผ่านทางสังคมออนไลน์ ต้องถามตัวเองทุกครั้งว่า การเปิดเผยสิ่งเหล่านั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรทั้งในปัจจุบันและอนาคต
ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

หากมีอีเมล์ หรือข้อความจากสื่อสังคมออนไลน์ส่งมาจากคนที่ไม่รู้จักนักเรียนจะทำอย่างไร

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ยกตัวอย่างการใช้งานเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

การใช้งานไอทีเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ และส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้งานไอทีผ่านสมาร์ทโฟนที่มักมีแอพพลิเคชั่นจำนวนมาก ให้เลือกติดตั้งได้ฟรีภายใต้เงื่อนไขบางประการ ซึ่งหลายคนมักละเลยในการอ่านเงื่อนไขเหล่านี้ การใช้ไอทีอย่างปลอดภัยนั้นผู้ใช้งานจำเป็นต้องเข้าใจในประเด็นต่างๆ ดังนี้

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีประโยชน์อย่างไร

(2.1) ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร (2.2) เป็นสื่อกลางในการรับและส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง (2.3) ช่วยกระจายข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหนึ่งไปยังผู้ใช้ทุกคน 3. ด้านการบริหารประเทศ รัฐบาลได้นำคอมพิวเตอร์มาใช้ในประโยชน์ต่างๆเพื่อส่งเสริมการบริหารประเทศ ดังนี้

เราสามารถนำคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งานอะไรได้บ้าง

ด้านการศึกษา 1.1. ในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 1.2. การลงทะเบียน 1.3. การตรวจข้อสอบปรนัย 1.4. การตัดเกรด 1.5. ... .
ด้านการแพทย์ 2.1. การใช้คอมพิวเตอร์ในการรักษาพยาบาลทั่วไป 2.2. งานทะเบียนและประวัติคนไข้ 2.3. งานปลูกฝีและฉีดวัคซีน 2.4. งานข้อมูลเพื่อการปฏิบัติงาน 2.5. ... .
ด้านราชการ.

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ในด้านการศึกษามีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างมา 3 ข้อ

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์.
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการ นำบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
2.ด้านความบันเทิง ... .
3.ด้านการเงิน การธนาคาร ... .
4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ... .
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ ... .
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี.

ความสําคัญของคอมพิวเตอร์ คือ อะไร

การใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ นับว่ามีความสำคัญมากไม่ว่าจะใช้งานในด้านการจัดทำเอกสาร จัดเก็บข้อมูล การบริหารข้อมูลบัญชีพนักงาน หรือจัดการสต็อกคลังสินค้า การใช้ควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรม ใช้วิเคราะห์งานด้านวิทยาศาสตร์ หรือใช้ควบคุมอุปกรณ์การแพทย์ ใช้ในงานออกแบบสถาปัตย์กรรม และงานศิลปรวมไปถึงใช้ในการสื่อสาร และอีกมากมาย ...