โครง งาน สี ย้อม ผ้า จาก ดอก อัญชัน

โครงงานรายวิชาการงานอาชพี (ง32102)
เร่ือง Bag princess

จัดทาโดย
นางสาวนฤมล อนิ ทะไชย
เลขที่ 19 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ห้อง 4

เสนอ
คณุ ครูวนดิ า บญุ พเิ ชฐวงศ์

โรงเรียนสตรรี าชนิ ทู ิศ จังหวดั อุดรธานี
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาอุดรธานีเขต 20

หวั ข้อโครงงาน Bag princess
ผจู้ ดั ทา 1. นางสาวชลติ า เถาว์ทวี เลขที่ 16
2. นางสาวนฤมล อนิ ทะไชย เลขที่ 19
ชอ่ื ครทู ปี่ รึกษา 3. นางสาวรพีพรรณ ภูสเี ขียว เลขท่ี 20
โรงเรยี น 4. นางสาวรตั ติกร พรมสาเพ็ชร เลขที่ 22
ปกี ารศึกษา 5. นางสาววรนิ ทริ า โพธพ์ิ ันไม้ เลขที่ 21
คุณครวู นดิ า บุญพเิ ชฐวงศ์
โรงเรยี นสตรีราชินทู ิศ ตาบลหมากแขง้ อาเภอเมือง จังหวัดอดุ รธานี
2563

บทคดั ยอ่

การจดั ทาโครงงานในครง้ั นม้ี วี ตั ถุประสงคเ์ พื่อศกึ ษาสจี ากธรรมชาติ ผลการศกึ ษาและจัดทาโครงงาน
พบวา่ สีธรรมชาติคอื สีท่สี กดั ได้จากวตั ถดุ บิ ที่มาจาก พชื สตั ว์ และแรธ่ าตุตา่ ง ๆ ซ่ึงเกิดข้นึ จากกระบวนการตาม
ธรรมชาติ แหล่งวัตถุดบิ ของสธี รรมชาติสามารถหาได้จากตน้ ไม้ ใบไม้ และจากบางสว่ นของสัตว์หลายชนิด
สามารถใหส้ ีสันตามทีเ่ ราตอ้ งการ และด้วยกรรมวธิ ีการผลิตที่แตกตา่ งกันทาให้ผลติ ภัณฑ์ที่ไดม้ ีความสวยงามและ
สีสันท่ีหลากหลาย หน่งึ ในผลิตภัณฑ์ทน่ี ยิ มมากคือ สียอ้ มผ้า แหล่งวตั ถุดิบสาหรับสียอ้ มผ้าธรรมชาตทิ ีม่ ักนามาใช้
กนั มักเป็น พชื สัตว์และแรธ่ าตุทีม่ อี ยใู่ นแตล่ ะท้องถิ่น เพือ่ การนาทรัพยากรท้องถ่ินมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
และเปน็ การถา่ ยทอดภมู ิปญั ญาในท้องถ่นิ

กติ ตกิ รรมประกาศ

โครงงานน้ีสามารถสาเร็จไดด้ ว้ ยดี เนื่องจากจากบุคคลหลายท่านให้ความชว่ ยเหลือ ให้ข้อมลู
ขอ้ เสนอแนะ คาปรกึ ษาแนะนา ความคิดเหน็ กาลังใจและตรวจสอบตรงตามเนื้อหาของเรอ่ื งที่วิจัย

ขอขอบคุณเพอ่ื นๆ ทุกคน คุณครู อาจารยแ์ ละพอ่ ผูป้ กครองที่ให้ความร่วมมอื และอานวยสถานท่ี ซ่งึ เปน็
สว่ นหนึง่ ทีท่ าใหโ้ ครงงานของคณะผูจ้ ัดทาสาเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี

สุดท้ายนท้ี าคณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณทกุ ท่านท่ีชว่ ยสง่ เสริมสนับสนุน กระตนุ้ เตอื น และเป็นกาลงั ใจให้
ผ้จู ัดทาโครงงานในครง้ั นี้

คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั หน้า

บทคดั ยอ่ ข
กิตติกรรมประกาศ
บทท่ี 1 บทนา 1
1
- ทีม่ าและความสาคัญของโครงงาน 2
- วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2
- ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
- ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 3
บทท่ี 2 เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 4
- ประวตั ิความเปน็ มาของผา้ มัดยอ้ ม 5
- ความหมายของมัดยอ้ ม 6
- สีมัดยอ้ มที่ได้จากธรรมชาติ
- แบบลวดลายผา้ มดั ย้อมจากสธี รรมชาติ 7
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน 7
- วัสดุ อปุ กรณ์ ทีใ่ ชใ้ นการทา Bag princess 9
- ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 10
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน
บทที่ 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอะแนะ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

บทท่ี 1
บทนา

ที่มาและความสาคัญ

สที ่เี ราใช้กนั ในชีวิตประจาวนั ทั้งสที ่ีผสมอาหารและสีย้อมผา้ ไดม้ าจากการสังเคราะหส์ ารเคมีและสีจาก
ธรรมชาติ แตส่ ีสงั เคราะห์หลายชนิดหากนามาใช้ผสมอาหารจะเป็นอันตรายต่อรา่ งกาย แตกต่างจากสที ี่ไดจ้ าก
ธรรมชาติ ซ่งึ ใชผ้ สมอาหารไดโ้ ดยไมม่ อี นั ตราย และใชเ้ ป็นสียอ้ มผ้าทีใ่ หส้ สี ันสวยงาม ไดด้ ้วย

สีธรรมชาตไิ ด้จากต้นไม้ในป่า โดยไดจ้ ากบางสว่ นของตน้ ไม้ เชน่ ราก แกน่ เปลือก ต้น ผล ดอก เมลด็ ใบ
เป็นต้น โดยมีที่มาของสีจากธรรมชาติ ดงั น้ี
- สีแดง ได้จาก รากยอ แก่นฝาง ลูกคาแสด เปลือกสมอ ครัง่
- สคี ราม ไดจ้ าก รากและใบของตน้ คราม หรือตน้ ห้อม
- สีเหลือง ได้จาก แก่นแขหรอื แกน่ แกแล แกน่ ขนนุ ตน้ หม่อน ขมิน้ เปลอื กไมน้ มแมว แก่นสุพรรณิการ์
ดอกกรรณกิ าร์ ดอกดาวเรอื ง
- สีตองออ่ น ไดจ้ าก เปลือกต้นมะพูด เปลอื กผลทับทิม แก่นแกแลและตน้ คราม ใบหกู วาง เปลือกและผล สมอ
พิเภก ใบสม้ ป่อยและผงขม้ิน ใบแค ใบสับปะรดออ่ น
- สีดา ได้จาก ผลมะเกลือ ผลกระจาก ผลและเปลือกสมอ
- สีสม้ ได้จาก เปลือกและรากยอ ดอกกรรณิการ์ (ส่วนทีเ่ ป็นหลอดสสี ้ม) เมลด็ คาแสด
- สีมว่ งอ่อน ได้จาก ลกู หว้า
- สชี มพู ได้จาก ตน้ ฝาง ต้นมหากาฬ
- สีน้าตาล ไดจ้ าก เปลือกไมโ้ กงกาง เปลอื กผลมงั คุด
- สีกากีแกมเหลือง ไดจ้ าก หมากสง กับแกน่ แกแล
- สีเขยี ว ไดจ้ าก เปลอื กตน้ มะริดไม้ ใบหูกวาง เปลือกสมอ ครามยอ้ มทบั ด้วยแถลง

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ศกึ ษาและคน้ ควา้ เก่ยี วสีจากธรรมชาติ

2. เพ่ือหารายได้ในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19

2

ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้า

1. สถานท่ี
บ้านของนางสาวชลติ า เถาวท์ วี บา้ นเลขท่ี 79 หมู่ 2 ซอย บา้ นมว่ ง8 ถนนประชาสนั ติ

2. ระยะเวลา
6 มนี าคม 2564 – 11 มนี าคม 2564

3. พชื พรรณธรรมชาติ
สีนา้ เงิน จากดอกอัญชนั , สชี มพู จากฝาง , สมี ว่ ง จากสีฟ้าและสชี มพูผสมกัน

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
1. ครัวเรือนและสงั คมปลอดภยั จากสารเคมีจากสีย้อมผา้ ตามทอ้ งตลาด
2. ไม่เสียค่าใช้จา่ ยในครวั เรือนโดยไม่จาเป็น
3. ไดร้ วู้ า่ สตี า่ งๆไดม้ าจากพชื พนั ธ์อุ ะไร

บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง

ในการจัดทาโครงงานการงานอาชพี เรอ่ื งการทาผ้าหมัดย้อมจากสีธรรมชาติ ผจู้ ัดทาโครงงานได้ศึกษา
เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งดงั นี้
2.1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของผา้ มดั ย้อม
2.2 ความหมายของมดั ย้อม
2.3 สมี ดั ย้อมที่ได้จากธรรมชาติ
2.4 แบบลวดลายผ้ามัดย้อมจากสธี รรมชาติ

2.1 ประวตั คิ วามเป็นมาของผา้ มัดยอ้ ม

กาเนดิ ของมดั ย้อมคาดว่ามัดย้อมมกี าเนดิ ในเอเชยี และแพร่กระจายลงไปทางใต้ของอินเดียหม่เู กาะมลายู
ไปถงึ แอฟรกิ า รวมท้งั แพร่กระจายตามเส้นทางคาราวาน นกั มานษุ ยวทิ ยาขุดพบเศษผ้าโบราณบนทางสายไหม
(Silk Road) ซ่งึ เป็นเสน้ ทางการคา้ จากจีนไปสู่เปอร์เซยี บ่อยครัง้ ทพ่ี อ่ คา้ ลาเลียงสนิ ค้า ซ่งึ มีทัง้ ผา้ มัดย้อมและผา้
อื่นๆ จากถิ่นหนึง่ ไปสอู่ กี ถิน่ หน่ึง กรรมวิธีการมัดยอ้ มยังคงปรากฏในมณฑลเสฉวน (Szechwan) และ ยนู นาน
(Yunnan) ทางใตข้ องจีน โดยส่วนใหญย่ ้อมดว้ ยสีน้าเงินมีลวดลายรปู ปลา ดอกบัว นก ผเี ส้ือ และสิงโตโดยใช้วธิ ี
เยบ็ เนา (tritik) แต่ก่อนมัดย้อมเฉพาะผา้ ไหม และเริม่ ใช้ผ้าฝา้ ยในศตวรรษท่ี 16
การตกแตง่ ลวดลายพเิ ศษแตกต่างกันไปตามแตล่ ะท่แี ละมกี ารต้ังชอื่ ลายตา่ งกนั ไป เช่น เกยี วโบริ เป็นมัดย้อมบนผา้
ไหมจากเมืองเกียวโต โดยวางลวดลายบนแถบสี ยูกาตะชิโบริ เปน็ มดั ยอ้ มสนี ้าเงินบนผา้ ฝ้ายวางลายใหญๆ่ กระจาย
ทั่วทง้ั ผนื เปน็ ต้น เม่อื ยอ้ นไปศึกษาการทามัดย้อม สมัยโบราณ จะพบว่าบรรพบุรษุ มนษุ ยใ์ ช้เทคนิคการมดั ย้อม
ร่วมกับการใชล้ กู ปดั เปลอื กหอย และศิลปะอืน่ ๆ ในการตกแตง่ ผนื ผา้ หากยอ้ นดเู รือ่ งราวท่กี ลา่ วไวใ้ นคัมภีร์ไบเบลิ
ฉบับพระคริสตธ์ รรมเดิม

จะพบขอ้ เขียนที่กลา่ วว่า “โยเซฟ บุตรชายของยากอบ มเี ส้อื คลมุ ยาวทง่ี ดงาม หลากสจี นทาใหพ้ ี่ชายของ
เขารู้สึกอจิ ฉา” เร่อื งราวน้ชี ีน้ าใหค้ ดิ ว่าเสือ้ ท่กี ล่าวถึงเปน็ เสอื้ คลมุ ยาวลายมัดย้อม (Gleser 1999: 22)

4

หากเปน็ เชน่ นนั้ ก็อาจแสดงให้เหน็ ว่า มัดยอ้ มเป็นเทคนิคการตกแตง่ ผ้าทเ่ี ก่าแก่กว่า 2,000 ปี และเป็นภมู ิปญั ญา
ของชาวตะวนั ออกจารตี นิยมในกระบวนการกนั สยี ้อมรวมทั้งการมดั การทาปม การผูก หรือการเย็บปักบนผืนผ้า
กอ่ นนาไปจุ่มสยี อ้ ม เป็นปญั ญานกึ คิดทีค่ นเอเชียตะวันออกรเิ ริ่มแม้จะมกี ารตคี วามที่ขัดแย้งกนั อยู่ แตก่ ารสบื คน้
ตน้ กาเนิดแท้จริงของการทามดั ยอ้ มไม่ใช่สิง่ สาคัญ
หลักฐานท่ีคน้ พบและเช่อื ถอื ได้คอื ข้อมลู เก่ยี วกบั ความรใู้ นระยะต้นของกระบวนการทามัดยอ้ มในอินเดีย จีน ญป่ี นุ่
ชวา และบาหลี หลายภมู ภิ าคในแอฟริกามีเทคนคิ การยอ้ มสีเฉพาะซึง่ เหน็ ไดจ้ ากงานสิ่งทอทมี่ กี ารออกแบบ
ลวดลายผดิ แผกจากส่งิ ทอในเอเชยี นอกจากนีย้ ังพบเศษผ้าโบราณในเปรูและพบการถ่ายทอดองคค์ วามรกู้ ารทามดั
ย้อมจากเปรไู ปยงั เม็กซโิ กและภมู ภิ าคตะวันตกเฉยี งใตข้ องทวีป ซ่ึงยนื ยันว่าการทามัดยอ้ มเกดิ ข้นึ และแพร่กระจาย
เปน็ วงกวา้ ง โดยเฉพาะอารยธรรมตะวนั ออก ซงึ่ นกั มานุษยวทิ ยาพบต้นแบบการกนั สีย้อมอยา่ งง่ายในวฒั นธรรม
ดั้งเดิมแทบทกุ วฒั นธรรม รปู แบบพน้ื ฐานของลายมัดยอ้ มเปน็ การมัดรปู วงกลมเลก็ ๆ โดยเฉพาะส่งิ ทอจากอนิ เดยี
ซดู าน บางพนื้ ท่ขี องแอฟริกา และโมร็อกโก ถา้ เป็นผา้ ผนื ใหญ่จะใชว้ ธิ ีการพับผา้ แล้วผกู เปน็ การพบั ผา้ จากจุด
หนงึ่ ใหบ้ รรจบกับอีกจุดหน่งึ แลว้ มดั ให้แน่น เช่น การพับผ้าเปน็ รูปวงกลม สีเ่ หลย่ี ม และเรขาคณติ
(Belfer 1992: 88 - 90) โดยสรุป การทามัดย้อมนน้ั พบได้ในวฒั นธรรมดั้งเดมิ แทบทกุ วฒั นธรรม แตโ่ ดดเดน่ ใน
อารยธรรมตะวนั ออก มีหลกั ฐานการทามัดย้อมทางตอนใตข้ องอนิ เดยี กอ่ นจะแพร่เขา้ ส่เู กาะมลายูและแอฟริกา
ตามเสน้ ทางสายไหมทก่ี องคาราวานขนส่งิ ทอจากจีนสเู่ ปอร์เซีย และในญ่ีปุ่น ลวดลายมัดย้อมจากแอฟริกาแตกต่าง
จาก ลวดลายมัดยอ้ มในเอเชยี มีการพบเศษผา้ โบราณในเปรูซ่งึ ไดถ้ ่ายทอดองค์ความรกู้ ารทามัดยอ้ มไปสูเ่ มก็ ซโิ ก
และตะวนั ตกเฉยี งใต้ของทวีป ประเทศทมี่ กี ารทามดั ย้อมโดดเดน่ ในระดบั โลก ไดแ้ ก่ ญีป่ ุน่ อินเดีย แอฟริกา และ
อเมริกา โดยอารยธรรม ท่ีต่างกนั มผี ลตอ่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานทีต่ ่างกัน"

2.2 ความหมายของมดั ยอ้ ม
มัดย้อม (tie-dye) มีความหมายตรงตามตัวอักษร คอื นาผ้ามามัดด้วยวสั ดุตา่ งๆ แลว้ นาไปยอ้ มสี โดยใช้

วิธกี ารกันสีด้วยวัสดบุ างอยา่ ง เชน่ ยางรดั เชือก หมุดปักผ้า ตวั หนบี กระดาษ หรอื การเย็บ ซึ่งจะช่วยกันไมใ่ ห้สี
แทรกซมึ ลงไป การออกแบบการกนั สขี ึ้นอยูก่ บั วัสดทุ ี่ใช้ นอกจากน้นั ผลการออกแบบยังขน้ึ อยู่กบั ปริมาณสีย้อม
และการแทรกซมึ ของสีในผนื ผ้าท่มี ัดดว้ ย (Gleser 1999: 20)
การมดั ยอ้ มในภาษาญีป่ ุน่ ใชว้ ่า ชโิ บริ (Shibori) เปน็ การจัดการกับผ้ากอ่ นนาไปย้อม มาจากรากศพั ท์ ชโิ บรุ
(Shiboru) ซ่ึงหมายถึง การบดิ การบีบ การกด คาน้ี มชี อ่ื เรียกท่ีมีความเหมือนกนั ในกระบวนการกนั สียอ้ มผ้า เช่น

5

การเยบ็ เพื่อกันสีบนผนื ผา้ ซง่ึ ทากันทว่ั ไปในญีป่ ุ่น และเทคนคิ คล้ายกนั อนื่ ๆ ทพี่ บในหลายวฒั นธรรมท่ัวโลก ท้งั
แอฟริกา จนี ยโุ รป อินเดีย อินโดนเี ซีย เกาหลี มาลายู อเมริกาเหนอื และอเมริกาใต้ (Gunner2006:11) ชโิ บริ เป็น
ความหลากหลายในวิธกี ารประดบั ตกแต่งสง่ิ ทอดว้ ยการกาหนดรูปแบบของผา้ และปดิ ให้แน่นกอ่ นนาไปย้อมสี
ถึงแมช้ โิ บริจะชบ้ี ง่ ความเป็นลกั ษณะเฉพาะของกลุ่มการกนั สยี อ้ มสิง่ ทอ แตร่ ากศพั ท์คาน้ีจะเนน้ การแสดงการ
กระทาบนผวิ ผ้าให้เกดิ ความเปน็ สามมติ ิดว้ ยวธิ กี ารพับ จบี ยน่ เย็บ ดึง หรือบิดขด
การกาหนดรปู แบบของผ้าด้วยวิธีดงั กล่าวจะปดิ ส่วนทก่ี ันสไี ด้แนน่ หนาเชน่ เดยี วกบั การผกู และทาปม ไม่เหมือนคา
ว่า มัด และ ยอ้ ม ซ่งึ เปน็ กลุ่มคาในภาษาองั กฤษ ไมม่ คี าศัพท์ในภาษาใดครอบคลุมความหลากหลายของเทคนิคชิ
โบริ ซง่ึ ตอ้ งใชค้ า 3 คาในการแยกวิธีการชโิ บริ ออกมา น่ันคือ คาวา่ พลางงี (Plangi) ในภาษามาเล-อนิ โด หรือ
พันธนะ (Bandhana) ในภาษาอินเดีย ซ่ึงหมายถงึ กระบวนการรวบและพับผ้า และคาว่า ตริตกิ (tritik) ในภาษา
มาเล-อนิ โด ท่หี มายถึงการกนั สดี ้วยการเยบ็ เนาผ้า แต่ศัพท์เฉพาะทงั้ สามครอบคลมุ เทคนิคชโิ บริเพียง 2 เทคนคิ
คอื การพบั จีบและเย็บ อันที่จรงิ ชโิ บริ ยงั มลี ักษณะพิเศษ คอื การกันสยี ้อมด้วยการทาให้ขอบของลายพรา่ เลือน
ซง่ึ เป็นลักษณะทแี่ ตกตา่ งอย่างสน้ิ เชิงจากการกนั สีเพื่อใหไ้ ด้ขอบลายคมชัด เหมอื นการทาสีบนลายฉลหุ รอื การใช้
เทียนเขียนลาย ชา่ งย้อมงานชิโบรจิ ะทางานกับวสั ดอุ ปุ กรณ์ตา่ งๆ โดยไมพ่ ยายามเอาชนะข้อจากดั แตป่ ลอ่ ยใหเ้ กดิ
การแสดงออกอย่างเต็มท่ี
ทาใหอ้ งคป์ ระกอบของความไมค่ าดคิดแสดงตวั ออกมา สิ่งท่ีเกิดขึน้ อาจเป็นปรากฏการณน์ า่ ทึง่ หรือความเสยี หาย
เป็นได้ท้ังโอกาสและเหตุบงั เอญิ ซึง่ ทาให้ชโิ บรมิ ชี ีวิตชีวา และได้ผลงานทน่ี ่าอัศจรรยย์ ิง่ (Wada, Rice, and
Barton 1999: 7)
กล่าวโดยสรปุ มัดย้อม หมายถงึ การออกแบบลายบนผนื ผ้าดว้ ยกรรมวธิ กี ันสยี อ้ ม โดยการมดั ผา้ พับผ้าแล้วมดั
เย็บผา้ ผกู ผ้าเป็นปม หนบี หรอื หอ่ วัสดุแล้วมัด มัดใหแ้ น่นเพ่อื กนั ไม่ให้สยี อ้ มแทรกซมึ เข้าไปหรอื แทรกเขา้ ไปได้นอ้ ย
ทส่ี ดุ แลว้ นาผ้าน้นั ไปย้อมสี เมื่อแกะปมทผี่ กู มัดออก จะปรากฏลวดลาย

2.3 สมี ดั ยอ้ มทีไ่ ด้จากธรรมชาติ

- อัญชนั มชี ื่อทางวทิ ยาศาสตรว์ า่ ไคลทอเรยี เทอรน์ าเธยี (Clitorea ternatea, Linn) อยู่ในตระกลู แพบ

ไพไลออนนาซี่ (Papilionnaceae) บางทีเรียกวา่ อังชัน ต้นอญั ชนั เปน็ ไม้เล้อื ยท่ใี หด้ อกสวยงามดอกอัญชันสีน้าเงนิ

นอกจากจะให้ความสวยงามสบายตา สบายใจแล้ว ดอกอญั ชนั ยังใช้เเต่งสีอาหารมาตง้ั แตโ่ บราณกาล ดังในพระราช

นพิ นธส์ มัยรัชกาลที่ ๒ นอกจากจะใช้

6

ดอกอัญชันแตง่ สีอาหารท่ปี ลอดภยั แลว้ ดอกอัญชันสนี ้าเงนิ ยงั ใช้ยอ้ มผา้ ได้ดว้ ย แตส่ ไี ม่คงทน สารแอนโทไซยานิน
ในดอกอัญชันจะเปลี่ยนรูปไปเป็นสารชนิดอ่ืนไดง้ า่ ย ทาใหส้ ซี ดี เร็ว ดังนั้นจึงไมน่ ิยมใชส้ ีจากดอกอญั ชันยอ้ มผา้ แต่
ยังใช้แตง่ สีอาหารไดอ้ ย่างปลอดภยั

- ฝาง มีช่อื ทางวิทยาศาสตร์ว่า : Caesalpinia sappan L. วงศ์ : LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ชอื่ อน่ื : ง้าย (กะเหร่ียง-กาญจนบุรี); ฝาง (ทวั่ ไป); ฝางส้ม (กาญจนบุร)ี มี 2 ชนดิ ชนิดหนง่ึ แก่นสีแดงเขม้ เรยี กวา่
ฝางเสน อกี ชนดิ หน่ึงแกน่ สีเหลือง เรียกวา่ ฝางส้ม ใช้ทาเป็นยาตม้ 1 ใน 20 หรอื ยาสกดั สาหรบั Haematoxylin
ใช้เป็นสีสาหรบั ย้อม Nuclei ของเซล ใชแ้ ก่นฝางต้มเคีย่ ว จะไดน้ ้าสแี ดงเขม้ คล้ายดา่ งทบั ทมิ ใช้ย้อมผา้ ไหม งามดี
มาก ใช้แตง่ สอี าหาร ทายาอทุ ยั
2.4 แบบลวดลายผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ

มเี ทคนิคในการทาผา้ มัดย้อมด้วยวิธกี าร 3 วธิ กี ารดงั นี้
1. การพบั แลว้ มดั กล่าวคือ เป็นการพับผา้ เปน็ รปู ตา่ งๆ แลว้ มดั ด้วยยางหรือเชือก ผลทีไ่ ด้จะได้ลวดลายทีม่ ลี ักษณะ

ลายด้านซ้ายและลายด้านขวาจะมีความใกล้เตยี งกัน แต่จะมีสอี อ่ นด้านหนึ่งและสเี ข้มด้านหน่ึง เนื่องจากวา่ หาก
ด้านใดโดนพับไวด้ า้ นในสกี จ็ ะซมึ เข้าไปนอ้ ย ผลท่ีได้กค็ ือจะมสี จี างกว่านั่นเอง
2. การขยาแล้วมัด กลา่ วคือ เปน็ การขยาผา้ อยา่ งไม่ตั้งใจแลว้ มดั ด้วยยางหรอื เชือก ผลม่ไี ด้จะไดล้ วดลายแบบอสิ ระ
เรยี กว่าลายสวยแบบบงั เอญิ ทาแบบนีอ้ ีกก็ไมไ่ ดล้ ายนีอ้ ีกแลว้ เน่ืองจากการขยาแต่ละครัง้ เราไม่สามารถควบคมุ
การทบั ซอ้ นของผา้ ได้ ฉะนนั้ ลายทไี่ ดเ้ ป็นลายทีเ่ กิดจากความบังเอญิ จริงๆ
เปรียบเทียบเหมือนกับการท่เี ราเหน็ กอ้ นเมฆ ก้อนเมฆแตล่ ะก้อนจะมีลักษณะแตกตา่ งกัน และ เม่ือผา่ นสกั ครลู่ าย
หรือลักษณะของก้อนเมฆกจ็ ะเปลย่ี นไป เราเรยี กว่าลายอสิ ระ หรอื รปู รา่ งรูปทรงอสิ ระน่ันเอง
3. การห่อแล้วมดั กล่าวคอื เป็นการใช้ผ้าหอ่ วัตถตุ ่างๆ ไว้แล้วมัดดว้ ยยางหรอื เชิอก ลายทเ่ี กดิ ขนึ้ จะเป็นลายใหญห่ รอื
เลก็ ขึ้นอยู่กับวตั ถทุ ี่นามาใช้ และลกั ษณะของการมดั เช่น การนาผ้ามาห่อก้อนหินรูปทรงแปลกๆ
ท่ีมขี นาดไมใ่ หญน่ ัก แลว้ มัดไขว้ไปมา โดยเว้นจังหวะของการมัดให้มีพนื้ ทว่ี า่ งใหส้ ีซึมเข้าไปได้ อย่างน้กี จ็ ะมลี าย
เกิดข้นึ สวยงามแตกตา่ งจากการมดั ลักษณะวตั ถอุ ื่นๆ ด้วย

หลกั การสาคัญในการทามัดยอ้ มคือ สว่ นที่ถูกมดั คอื ส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการใหส้ ตี ดิ สว่ นทเ่ี หลือหรือส่วนทีไ่ มไ่ ด้
มัดคอื ส่วนท่ีตอ้ งการให้สีตดิ การมดั เป็นการกนั สีไมใ่ หส้ ตี ิดนัน่ เอง ลกั ษณะท่ีสาคญั ของการมดั มดี งั น้ี
1. ความแนน่ ของการมดั กรณีแรกมัดมากเกินไปจนไม่เหลอื พ้ืนท่ใี ห้สแี ทรกซึมเข้าไปไดเ้ ลย ผลทีไ่ ด้กค็ ือ ไดส้ ีขาวของ
เนือ้ ผ้าเดมิ อาจมสี ีย้อมแทรกซึมเขา้ มาได้เล็กนอ้ ย อยา่ งนเ้ี กิดลายนอ้ ย กรณที ี่สองมดั นอ้ ยเกินไป เหลือพ้ืนทใ่ี ห้สี
ย้อมตดิ เกือบเต็มผนื อย่างนเ้ี กดิ ลายน้อยเชน่ กัน ทงั้ ผนื มสี ีย้อมแต่แทบไมม่ ีลายเลย กรณีที่สาม มัดเหมอื นกนั แตม่ ัด
ไม่แนน่ อย่างนเ้ี ทา่ กบั ไมไ่ ดม้ ดั เพราะหากมัดไมแ่ นน่ สีก็จะแทรกซึมผ่านเข้าไปไดท้ ่วั ทงั้ ผนื
2. การใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยในการหนีบผ้าแล้วมัด เพือ่ ให้เกิดความแนน่ และเกิดลวดลายตามแมแ่ บบทีใ่ ช้หนบี
ดงั น้นั ลายสวยเพียงใดข้นึ อย่กู ับการออกแบบแมแ่ บบท่ีจะใชห้ นีบดว้ ย
3. ความสม่าเสมอของสีย้อม สีย้อมที่ติดผ้าจะสม่าเสมอได้ขนึ้ อยูก่ บั อณุ หภมู ิความรอ้ นขณะนาผา้ ลงย้อม และการกลบั
ผา้ ไปมาการขยาผ้าเกอื บตลอดเวลาของการยอ้ มหนึง่ ถึงหนง่ึ ชัว่ โมงครึง่ ก่อนที่จะแช่ผ้าไว้

บทที่ 3

วิธดี าเนินโครงงาน

ในการจดั ทาโครงงานการในรายวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่อง Bag princess ผ้จู ัดทาโครงงานมวี ธิ ีการดาเนนิ งานโครงงาน ตามข้ันตอนดงั ต่อไปนี้

3.1 วัสดุ อุปกรณ์ ท่ีใชใ้ นการทา Bag princess

3.1.1 ถุงผ้า
3.1.2 ดอกอัญชัน และฝาง
3.1.3 นา้ ยากันสีตก
3.1.4 หม้อสาหรับตม้
3.1.5 หนังยางรัดของ
3.1.6 ตะแกรงรองผ้า
3.1.7 กะละมัง
3.1.8 ขวดน้า
3.1.9 ทคี่ บี
3.1.10 ถุงพลาสตกิ

3.2 ข้ันตอนการดาเนินงาน

3.2.1 มดั ถุงผา้ ดว้ ยหนังยาง ตามลายที่ตอ้ งการ
3.2.2 นาดอกอัญชันและฝางมาต้มในน้าเดือดจนได้สี
3.2.3 นาสฟี า้ ที่ไดจ้ ากดอกอญั ชนั และสชี มพทู ีไ่ ดจ้ ากฝางมาผสมให้เกดิ สีม่วง
3.2.4 นาถุงผ้ามาชบุ ในน้าแล้วบบี ใหห้ มาด
3.2.5 นาสที ี่ไดม้ าฉดี ใสถ่ งุ ผ้าใหเ้ กิดลวดลายตามใจชอบ
3.2.6 นาไปพกั ไว้ในถุงพลาสติกเพ่ือให้สีซมึ เขา้ ไปในผ้า ประมาณ 10 นาที
3.2.7 นาน้ายากนั สีตกมาเทใสน่ ้าสะอาดแลว้ น้าถุงผ้ามาชุบท้งิ ไว้ประมาณ 10 นาที
3.2.8 นาถุงผา้ มาตดั ยางออกแล้วนาขึ้นตาก

8

ภาพท่ี 3.1 ขั้นตอนการทาถุงผ้ามดั ย้อม
ทมี่ า : รพีพรรณ ภสู ีเขยี ว

บทท่ี 4

ผลการดาเนินการ

ในการจัดทาโครงงานการนาความรไู้ ปใช้บริการสงั คม (Social Service : IS3)
เร่ือง Bag Princess โดยมวี ตั ถุประสงค์

๑. มคี วามรู้และประสบการณ์ในการทากระเป๋ามัดยอ้ ม
๒. มองเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
๓. ทาให้มรี ายไดใ้ นระหวา่ งเรียน และเหน็ คุณค่าของการประกอบอาชีพ

ซง่ึ มีผลการดาเนินงานดังน้ี
กระเปา๋ มดั ย้อมเปน็ ผลิตภณั ฑ์ทไี่ ดจ้ ากการนากระเป๋า สีจากการสังเคราะห์สารเคมีหรอื สีจากธรรมชาติ

โดยนากระเป๋ามามัดด้วยวัสดุตา่ งๆ แล้วนาไปยอ้ มสี โดยใช้วธิ ีการกนั สดี ว้ ยวสั ดุบางอยา่ ง เชน่ ยางรัด เชือก หมุด
ปักผ้า ตวั หนีบกระดาษ หรอื การเย็บ ซง่ึ จะชว่ ยกนั ไม่ให้สแี ทรกซมึ ลงไป การออกแบบการกนั สขี นึ้ อยกู่ ับวัสดุทีใ่ ช้
แล้วนาสที ่ีเตรียมไว้มายอ้ มกบั กระเป๋าท่ีมัดไว้ วธิ กี ารทากระเป๋ามดั ย้อมมีกรรมวธิ ีงา่ ยไม่ซับซอ้ น สามารถทาเองได้
โดยการทากระเปา๋ มดั ยอ้ มสามารถจัดจาหนา่ ยและหารายไดเ้ สรมิ ระหวา่ งเรียน สที ่เี รานามาศึกษา คอื สฟี ้า
(อญั ชนั ) สชี มพู(ฝาง) สมี ่วง(อัญชนั และฝาง) หลังจากน้นั ได้นากระเปา๋ มดั ยอ้ มมานาเสนอในหลายรูปแบบและ
หลายขนาดโดยมีกลุ่มตวั อย่างคอื เพื่อนรว่ มชัน้ ม.5/4 ซึ่งได้รบั ผลตอบรบั ทีด่ ี

บทท่ี 5

สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ

จากการทดลอง เร่ือง Bag princess สรปุ ผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะได้ดงั น้ี

สรปุ ผลการดาเนินงาน

การทาโครงงานกระเปา๋ มดั ยอ้ มตลอดระยะเวลาระหว่างปฏบิ ตั งิ านผลสาเร็จเปน็ ทนี่ ่าพงึ พอใจแก่
ผู้ปฏิบตั ิงานเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากการทาโครงงานอาชีพแลว้ การปฏบิ ตั งิ านยังช่วยใหก้ ่อประโยชน์ในด้าน
อื่น ๆ อีกมากมาย ไม่ว่าจะเปน็ ด้านการวางแผนการรบั ผิดชอบหนา้ ทแ่ี ต่ละบคุ คลซ่งึ ทกั ษะตา่ ง ๆ ไม่สามารถท่ีจะ
เรยี นรไู้ ด้ในหอ้ งเรียนทง้ั การปฏิบัติงานคร้งั น้ยี งั เป็นแบบอยา่ งให้แกบ่ ุคคลท่านอ่นื ที่ผา่ นมาเหน็ ขณะทากิจกรรม
ไดร้ บั คาช่นื ชมจากหลายบุคคลในการรจู้ ักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็นแบบอยา่ งใหร้ นุ่ นอ้ งทาตามเพอ่ื หา
รายได้เสรมิ เพราะเป็นการปฏบิ ตั งิ านท่ีใชไ้ ด้จริง

อภปิ รายผล

การทากระเป๋ามัดยอ้ มในครัง้ น้ผี ้บู รโิ ภคพอใจในสินค้า ทอี่ อกมามีลวดลายทสี่ วยงาม และมสี ีสันสดใส
เหมาะสมกบั การใช้งาน

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั

๑. มีความรแู้ ละประสบการณใ์ นการทากระเป๋ามัดยอ้ ม

๒. มองเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

๓. ทาให้มีรายไดใ้ นระหว่างเรียน และเหน็ คุณคา่ ของการประกอบอาชพี

ขอ้ เสนอแนะ

1. สจี ะซีดจางและมีความคงทนตอ่ แสงตา่

2. ในการทาสจี ากธรรมชาติถ้าไมม่ วี ิธีการและจิตสานกึ ในการใชท้ รัพยากรอยา่ งย่งั ยืนยอ่ มจะกลายเป็น
การทาลายสิง่ แวดลอ้ มได้

3. คณุ ภาพการทาสีจากธรรมชาติขนึ้ อยกู่ บั ปจั จัยหลายประการซึง่ ควบคมุ ไดย้ าก การทาสีจากธรรมชาติ
ใหเ้ หมือนเดิมจงึ ทาไดย้ าก

ภาคผนวก

ภาพผนวก ก

ภาพที่ 1 วางแผนการทางาน

ภาพผนวก ข

ภาพท่ี 2 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน

ภาพผนวก ค

ภาพที่ 3 ช่องทางการเผยแพร่
ผ่านทาง YouTube

ขอ้ มลู ผูจ้ ดั ทา

ช่ือ นางสาวชลติ า นามสกุล เถาวท์ วี
เลขท่ี 16 ชัน้ ม.5/4
อายุ 16 ปี
ที่อยู่ 79 ม.2 ซ.บา้ นม่วง8 ถ.ประชาสันติ ต.หมากแขง้
อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 0922711683

ชื่อ นางสาวนฤมล นามสกุล อินทะไชย
เลขที่ 19 ชั้น ม.5/4
อายุ 17ีป
ท่อี่ยู 11 หีมู 6 บ.นาคาหลวง ต.นีาขา อ.เมอื ง จ.อุดรธานี 41000
เบอ่รโทรศัพ่ท 0981879073

ช่ือ นางสาวรพพี รรณ นามสกุล ภูสเี ขียว
เลขที่ 20 ชั้น ม.5/4
อายุ 17ีป
ทอ่ี่ยู 90 หีม1ู 3ีบานีทงุ โพธิ์ทอง ซ.สารผล ต.โพนสงู อี.บานดงุ
จ.อุดรธานี 41190
เบอ่รโทรศัพ่ท 0930628942
ชื่อ นางสาวรตั ติกร นามสกลุ พรมสาเพช็ ร
เลขท่ี 21 ชั้น ม.5/4
อายุ 17ีป
ท่ีอ่ยู 199 ม.4ีบานีมวงเีฒา ต.โนนสะอาด อ.โนนสะอาด
จ.อดุ รธานี 41240
เบอ่รโทรศพั ่ท 0930910024

ชอื่ นางสาววรนิ ทิรา นามสกลุ โพธ์ิพนั ีไม
เลขท่ี 22 ช้นั ม.5/4
อายุ 18ีป
ที่อ่ยู 32 ม.3 ต.เชยี งพิณ อ.เมือง จ.อดุ รธานี 41000
เบอ่รโทรศัพ่ท 0618923047