ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (อังกฤษ: natural science) หมายถึงกลุ่มของสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการจัดให้สาขาใดสาขาหนึ่งอยู่ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินั้น ขึ้นอยู่กับทั้งข้อตกลงในอดีตและความหมายสาขาในปัจจุบัน

ตามธรรมเนียมดั้งเดิม ความหมายของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คือสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับโลกและสรรพสิ่งรอบๆ ตัว (ที่เรียกว่าธรรมชาติ) ในมุมมองทางกายภาพ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติเป็นพื้นฐานให้กับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เมื่อพิจารณารวมกันแล้ววิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์ประยุกต์แตกต่างจากทั้งสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เทววิทยา หรือศิลปะ ส่วนวิชาคณิตศาสตร์นั้นไม่ถูกจัดให้เป็นวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แต่ได้สร้างเครื่องมือและแนวทางที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติมีเป้าหมายเพื่ออธิบายการทำงานของโลกด้วยกระบวนการธรรมชาติ แทนที่จะใช้คำอธิบายที่มีรากฐานมาจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คำว่าวิทยาศาสตร์ธรรมชาติยังถูกใช้เพื่อแยกแยะ "วิทยาศาสตร์" ที่เป็นสาขาวิชาที่ทำการศึกษาด้วยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ออกจากปรัชญาธรรมชาติ

ควบคู่ไปกับการความหมายแบบดั้งเดิม ปัจจุบันคำว่า "วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ" ถูกใช้ในความหมายใกล้เคียงกับความหมายตามรูปศัพท์มากขึ้น ในความหมายนี้ "วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ" จะถูกใช้แทนคำว่าวิทยาศาสตร์ชีวภาพซึ่งสนใจกระบวนการทางชีวภาพ ในลักษณะที่แตกต่างจากวิทยาศาสตร์กายภาพที่พิจารณากฎเกณฑ์พื้นฐานของธรรมชาติทางฟิสิกส์และเคมี

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ[แก้]

  • ดาราศาสตร์
  • ชีววิทยา
  • เคมี
  • วิทยาศาสตร์โลก (Earth science)
  • นิเวศวิทยา
  • ธรณีวิทยา
  • ฟิสิกส์

ดูเพิ่ม[แก้]

  • รายการสาขาวิชา
  • ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
  • ปรัชญาธรรมชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Natural Sciences at Cambridge University - วิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
  • The History of Recent Science and Technology - ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีล่าสุด
  • Reviews of Books About Natural Science เว็บไซต์นี้มีบทวิจารณ์ที่ตีพิมพ์แล้วมากกว่า 50 บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ รวมไปถึงความเรียงเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติในเรื่องที่ทันสมัย

สาขาความรู้ของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

  • เคมี
  • ชีววิทยา
  • ดาราศาสตร์
  • ฟิสิกส์
  • วิทยาศาสตร์โลก

ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์

บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ หน้าอภิปรายอาจมีข้อเสนอแนะ

ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์

ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด

ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์

บทความนี้อาจขยายความได้โดยการแปลบทความที่ตรงกันในภาษาอังกฤษ
คลิกที่ [ขยาย] เพื่อศึกษาแนวทางการแปล

  • คุณสามารถดูการแปลด้วยคอมพิวเตอร์จากบทความในภาษาอังกฤษ
  • เครื่องมือช่วยแปลอย่าง ดีพแอล หรือ กูเกิลทรานส์เลท เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำหรับการแปล อย่างไรก็ตาม ผู้แปลจะต้องตรวจสอบข้อผิดพลาดจากการแปลด้วยคอมพิวเตอร์และยืนยันว่าการแปลนั้นถูกต้อง เราขอปฏิเสธเนื้อหาที่คัดลอกจากเครื่องมือแปลที่ไม่มีการตรวจทานก่อนเผยแพร่
  • กรุณาอย่าแปลส่วนของข้อความที่ดูแล้วเชื่อถือไม่ได้หรือมีคุณภาพต่ำ ถ้าเป็นไปได้ โปรดช่วยยืนยันด้วยการตรวจสอบแหล่งอ้างอิงที่ปรากฏในบทความภาษานั้น ๆ
  • โปรดระบุไว้ในความย่อการแก้ไขว่าคุณแปลเนื้อหามาจากภาษาใด
  • คุณควรเพิ่มแม่แบบ {{Translated|en|Science}} ไว้ในหน้าพูดคุย
  • สำหรับคำแนะนำและแนวทางเพิ่มเติม โปรดศึกษาได้ที่ วิกิพีเดีย:การแปล

ส่วนหนึ่งของชุดบทความ
วิทยาศาสตร์

รูปนัย

  • คณิตศาสตร์
  • คณิตตรรกศาสตร์

  • สถิติคณิตศาสตร์
  • ทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์

  • ทฤษฎีการตัดสินใจ
  • ทฤษฎีเกม

  • ทฤษฎีระบบ
  • ทฤษฎีระบบควบคุม
  • ทฤษฎีสารสนเทศ

กายภาพ

ฟิสิกส์

  • ดั้งเดิม
  • สมัยใหม่
  • ประยุกต์

  • ทฤษฎี
  • ทดลอง
  • คำนวณ

  • กลศาสตร์

    • (ดั้งเดิม
    • วิเคราะห์
    • ต่อเนื่อง
    • ของไหล
    • ของแข็ง)

  • ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
  • อุณหพลศาสตร์

  • โมเลกุล
  • อะตอม
  • นิวเคลียร์
  • อนุภาค

  • สสารอัดแน่น
  • พลาสมา

  • กลศาสตร์ควอนตัม (บทนำ)
  • ทฤษฎีสนามควอนตัม

  • ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ
  • ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

  • ทฤษฎีสตริง
เคมี

  • อนินทรีย์
  • อินทรีย์
  • วิเคราะห์
  • ฟิสิกส์

  • กรด–เบส
  • ซูปราโมเลกุลาร์
  • สถานะของแข็ง
  • นิวเคลียร์
  • สิ่งแวดล้อม
  • ความยั่งยืน ("สีเขียว")

  • ทฤษฎี

  • เคมีดาราศาสตร์
  • ชีวเคมี
  • ผลิกศาสตร์
  • เคมีอาหาร
  • ธรณีเคมี
  • วัสดุศาสตร์
  • เคมีแสง
  • เคมีกัมมันตภาพรังสี
  • สเตอริโอเคมี
  • วิทยาการพื้นผิว

วิทยาศาสตร์โลก

  • ชลธารวิทยา
  • ธรณีฟิสิกส์
  • ธรณีวิทยา
  • ธรณีสัณฐานวิทยา
  • นิเวศวิทยาบรรพกาล
  • ปฐพีวิทยา
  • ปฐพีวิทยาสัมพันธ์
  • ภูมิมาตรศาสตร์
  • ภูมิศาสตร์ (กายภาพ)
  • ภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา
  • ภูมิอากาศวิทยา
  • เรณูวิทยา
  • แร่วิทยา
  • วิทยาธารน้ำแข็ง
  • วิทยาภูเขาไฟ
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • สมุทรศาสตร์
  • อุตุนิยมวิทยา
  • อุทกวิทยา

ดาราศาสตร์

  • จักรวาลวิทยา
  • ดาราศาสตร์ดาราจักร
  • ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์
  • ธรณีวิทยาดาวเคราะห์
  • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์

ชีวิต

ชีววิทยา

  • กายวิภาคศาสตร์
  • จุลชีววิทยา
  • ชีวกลศาสตร์
  • ชีวเคมี
  • ชีวดาราศาสตร์
  • ชีวฟิสิกส์
  • ชีวภูมิศาสตร์
  • ชีววิทยาการเจริญ
  • ชีววิทยาการแช่แข็ง
  • ชีววิทยาของเซลล์
  • ชีววิทยาควอนตัม
  • ชีววิทยาเชิงทฤษฎี
  • ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์
  • ชีววิทยาวิวัฒนาการ (บทนำ)
  • เทคโนโลยีชีวภาพ
  • นาโนชีววิทยา
  • นิเวศวิทยา
  • บรรพชีวินวิทยา
  • ปรสิตวิทยา
  • ประสาทวิทยาศาสตร์
  • พฤกษศาสตร์
  • พฤติกรรมวิทยา
  • พันธุศาสตร์ (บทนำ)
  • พิษวิทยา
  • มานุษยวิทยาโมเลกุล
  • วิทยาภูมิคุ้มกัน
  • วิศวกรรมชีวภาพ
  • สรีรวิทยา
  • สัตววิทยา
  • อณูชีววิทยา

สังคม

  • การศึกษาวิทยาศาสตร์
  • การสอน
  • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • จิตวิทยา
  • นิติศาสตร์
  • โบราณคดี
  • ประชากรศาสตร์
  • ประวัติศาสตร์
  • เศรษฐศาสตร์
  • ภาษาศาสตร์
  • ภูมิศาสตร์ (มนุษย์)
  • มานุษยวิทยา
  • รัฐศาสตร์
  • สังคมวิทยา
  • อาชญาวิทยา

ประยุกต์

วิศวกรรมศาสตร์

  • การทหาร
  • การบิน
  • การป้องกันอัคคีภัย
  • การวิจัยดำเนินการ
  • เกษตร
  • เคมี
  • เครื่องกล
  • ชีวภาพ
  • ชีวเวช
  • ซอฟต์แวร์
  • นิวเคลียร์
  • ไฟฟ้า
  • พันธุศาสตร์
  • โยธา
  • วิทยาการ / วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

  • วิทยาการหุ่นยนต์
  • เว็บ
  • เหมืองแร่
  • อุตสาหการ

การดูแลสุขภาพ

  • แพทยศาสตร์
  • สัตวแพทยศาสตร์
  • ทันตแพทยศาสตร์
  • การผดุงครรภ์
  • วิทยาการระบาด
  • เภสัชกรรม
  • พยาบาลศาสตร์

สหวิทยาการ

  • การป่าไม้
  • การผังเมือง
  • คณิตศาสตร์ชีววิทยา
  • จิตวิทยาวิวัฒนาการ
  • ชาติพันธุ์ศึกษา
  • ชีวจริยธรรม
  • ชีววิทยาสังคม
  • ชีวสถิติ
  • ชีวสารสนเทศศาสตร์
  • ไซเบอร์เนติกส์
  • นิติวิทยาศาสตร์
  • บรรณารักษศาสตร์
  • แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์
  • ประชานศาสตร์
  • ปัญญาประดิษฐ์
  • ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
  • ฟิสิกส์ประยุกต์
  • ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์
  • ระบบซับซ้อน
  • วัฒนธรรมศึกษา
  • วิทยาการเครือข่าย
  • วิทยาการเว็บ
  • วิทยาศาสตร์การทหาร
  • วิทยาศาสตร์ระบบ
  • วิทยาศาสตร์ศึกษา
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • วิศวกรรมชีวเวช
  • วิศวกรรมประสาท
  • สถิติ
  • สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • สัญวิทยา
  • สิ่งแวดล้อมศึกษา

  • ปรัชญา
  • ประวัติศาสตร์

  • การวิจัยพื้นฐาน
  • วิทยาศาสตร์พลเมือง
  • วิทยาศาสตร์ชายขอบ
  • วิทยาศาสตร์ดั้งเดิม
  • วิทยาศาสตร์เทียม
  • เสรีภาพ
  • นโยบาย
  • ระดมทุน
  • ระเบียบวิธี
  • สังคมวิทยา
  • วิทยาศาสตร์เชิงเทคโนโลย

  • เค้าโครง
  • สถานีย่อย
  • หมวดหมู่

วิทยาศาสตร์[note 1] หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว

การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้รื้อถอนและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดติดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป. ณ ขณะนั้น กาลิเลโอได้กำหนดลักษณะสำคัญของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ไว้ดังนี้

  • ทำนายสิ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์ธรรมชาติได้ โดยที่ไม่จำเป็นต้องอธิบายสาเหตุได้ เช่น ในขณะที่ยังไม่มีความรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงนั้น กาลิเลโอไม่สนใจที่จะอธิบายว่า "ทำไมวัตถุถึงตกลงสู่พื้นดิน ?" แต่สนใจคำถามที่ว่า "เมื่อมันตกแล้ว มันจะถึงพื้นภายในเวลาเท่าใด ?"
  • ใช้คณิตศาสตร์เพื่อเป็นภาษาหลักของวิทยาศาสตร์ (ดูหัวข้อ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์)

ในเวลาต่อมา ไอแซก นิวตันได้ต่อเติมรากฐานและระบบระเบียบของแนวคิดเหล่านี้ และเป็นต้นแบบสำหรับสาขาด้านอื่น ๆ ของวิทยาศาสตร์

ก่อนหน้านั้น, ในปี ค.ศ. 1619 เรอเน เดส์การตส์ ได้เริ่มเขียนความเรียงเรื่อง Rules for the Direction of the Mind (ซึ่งเขียนไม่เสร็จ). โดยความเรียงชิ้นนี้ถือเป็นความเรียงชิ้นแรกที่เสนอกระบวนการคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยใหม่และปรัชญาสมัยใหม่. อย่างไรก็ตามเนื่องจากเดส์การตส์ได้ทราบเรื่องที่กาลิเลโอ ผู้มีความคิดคล้ายกับตนถูกเรียกสอบสวนโดย โป๊ปแห่งกรุงโรม ทำให้เดส์การตส์ไม่ได้ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ออกมาในเวลานั้น

การพยายามจะทำให้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เป็นระบบนั้น ต้องพบกับปัญหาของการอุปนัย ที่ชี้ให้เห็นว่าการคิดแบบอุปนัย (ซึ่งเริ่มต้นโดยฟรานซิส เบคอน) นั้น ไม่ถูกต้องตามหลักตรรกศาสตร์. เดวิด ฮูมได้อธิบายปัญหาดังกล่าวออกมาอย่างละเอียด คาร์ล พอพเพอร์ในความคิดลักษณะเดียวกับคนอื่น ๆ ได้พยายามอธิบายว่าสมมติฐานที่จะใช้ได้นั้นจะต้องทำให้เป็นเท็จได้ (falsifiable) นั่นคือจะต้องอยู่ในฐานะที่ถูกปฏิเสธได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้เกิดการปฏิเสธความเชื่อพื้นฐานที่ว่ามีระเบียบวิธี 'หนึ่งเดียว' ที่ใช้ได้กับวิทยาศาสตร์ทุกแขนง และจะทำให้สามารถแยกแยะวิทยาศาสตร์ ออกจากสาขาอื่นที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ได้

ปัญหาเกี่ยวกระบวนการปฏิบัติของวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเกินขอบเขตของวงการวิทยาศาสตร์ หรือวงการวิชาการ ในระบบยุติธรรมและในการถกเถียงปัญหาเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ การศึกษาที่ใช้วิธีการนอกเหนือจาก แนวปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับ จะถูกปฏิเสธ และถูกจัดว่าเป็น "วิทยาศาสตร์เทียม"[ต้องการอ้างอิง]

ปรัชญาวิทยาศาสตร์[แก้]

ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของวิทยาศาสตร์ในประวัติศาสตร์มนุษย์ ได้สร้างประเด็นคำถามทางปรัชญาไว้มากมาย. โดยนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ได้ตั้งคำถามทางปรัชญาที่สำคัญดังนี้

  • สิ่งใดเป็นตัวแบ่งแยกความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับความรู้ประเภทอื่น ๆ เช่น โหราศาสตร์
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความจริงหรือไม่
  • ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เชื่อถือได้แค่ไหน
  • วิทยาศาสตร์มีประโยชน์จริง ๆ หรือไม่
  • ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสม คือรูปแบบใด

ประเด็นเหล่านี้ยังเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักปรัชญาวิทยาศาสตร์อย่างมากในปัจจุบัน และไม่มีความเห็นใดที่ได้รับการยอมรับทั่วไปอีกเลยทีเดียว

สาขาของวิทยาศาสตร์[แก้]

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ[แก้]

ฟิสิกส์[แก้]

  • ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี (en: theoretical physics)
  • ฟิสิกส์เชิงคำนวณ (eng)
  • สวนศาสตร์ (Acoustics)
  • Astrodynamics (eng)
  • วิทยาศาสตร์โลก (Earth Sciences)
  • ดาราศาสตร์ (Astronomy)
  • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ (Astrophysics)
  • Atomic, Molecular, and Optical physics eng
  • ชีวฟิสิกส์ (Biophysics)
  • Condensed matter physics (eng)
  • จักรวาลวิทยา (Cosmology)
  • อติสีตศาสตร์ (Cryogenics)
  • พลศาสตร์ (Dynamics)
  • พลศาสตร์ของไหล (Fluid dynamics)
  • Materials physics (eng)
  • Mathematical physics (eng)
  • กลศาสตร์ (Mechanics)
  • นิวเคลียร์ฟิสิกส์ (Nuclear physics)
  • ทัศนศาสตร์ (Optics)
  • Particle physics (eng) (or High Energy Physics)
  • พลาสมาฟิสิกส์ (eng)
  • พอลิเมอร์ฟิสิกส์ (eng)
  • Vehicle dynamics (eng)

เคมี[แก้]

  • เคมีวิเคราะห์ (Analytical chemistry)
  • ชีวเคมี (Biochemistry)
  • เคมีการคำนวณ (Computational chemistry)
  • เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
  • เคมีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry)
  • วัสดุศาสตร์ (Materials science)
  • เคมีสิ่งแวดล้อม
  • เคมีอินทรีย์ (Organic chemistry)
  • เคมีฟิสิกส์ (Physical chemistry)
  • เคมีควอนตัม (Quantum chemistry)
  • สเปกโตรสโคปี (Spectroscopy)
  • สเตอริโอเคมิสตรี (Stereochemistry)
  • เคมีความร้อน (Thermochemistry)

ชีววิทยา[แก้]

  • กายวิภาคศาสตร์ (Anatomy)
  • ชีววิทยาดาราศาสตร์ (Astrobiology)
    • ชีวเคมี (Biochemistry)
  • ชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics)
  • ชีวฟิสิกส์ (Biophysics)
  • พฤกษศาสตร์ (Botany)
  • ชีววิทยาของเซลล์ (Cell biology) (eng)
  • Cladistics (eng)
  • วิทยาเซลล์ (Cytology)
  • Developmental biology (eng
  • นิเวศวิทยา (Ecology)
  • กีฏวิทยา (Entomology)
  • วิทยาการระบาด (Epidemiology)
  • Evolutionary biology (en:Evolutionary biology)
  • Evolutionary developmental biology (eng)
  • Freshwater Biology (eng)
  • พันธุศาสตร์ (Genetics) (Population genetics), (Genomics), (Proteomics)
  • จิตวิทยา (en:Psychology)
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • มิญชวิทยา (Histology)
  • มีนวิทยา (Ichtyology)
  • วิทยาภูมิคุ้มกัน (Immunology
  • ชีววิทยาทางทะเล (Marine biology)
  • จุลชีววิทยา (Microbiology)
  • อณูชีววิทยา (Molecular Biology)
  • สัณฐานวิทยา (Morphology)
  • ประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuroscience)
  • พัฒนาการของพืช (eng)
  • ปักษีวิทยา (Ornithology)
  • บรรพชีวินวิทยา (Palaeobiology)
  • วิทยาสาหร่าย (Phycology, Algology)
  • วิวัฒนาการชาติพันธุ์ (eng)
  • Physical anthropology (eng
  • สรีรวิทยา (Physiology)
  • Structural biology (eng)
  • อนุกรมวิธาน (Taxonomy)
  • พิษวิทยา (Toxicology)
  • วิทยาไวรัส (Virology)
  • สัตววิทยา (Zoology)

วิทยาศาสตร์ประยุกต์[แก้]

วิศวกรรมศาสตร์[แก้]

    • สาขาของวิศวกรรมศาสตร์

วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ[แก้]

    • วิทยาการคอมพิวเตอร์
    • วิทยาการสารสนเทศ หรือ สารสนเทศศาสตร์
    • วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา (Cognitive science)
    • วิชาเกี่ยวกับการติดต่อและควบคุมของสัตว์และเครื่องจักร (eng)
    • บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
    • Systemics

วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health Science)[แก้]

  • เภสัชศาสตร์ (Pharmacy)
  • ทันตแพทยศาสตร์ (Dentistry)
  • แพทยศาสตร์ (Medicine)
    • เนื้องอกวิทยา (Oncology)
    • พยาธิวิทยา (Pathology)
    • อายุรเวช
    • เวชศาสตร์
    • เภสัชวิทยา (Pharmacology)
    • พิษวิทยา (Toxicology)
  • สัตวแพทยศาสตร์ (Veterinary medicine)
  • เทคนิคการแพทย์
    • เคมีคลินิค
    • จุลทรรศน์ศาสตร์คลินิค
    • เวชศาสตร์การธนาคารเลือด
    • ทัศนมาตรศาสตร์ (Optometry)
    • กายภาพบำบัด
    • กิจกรรมบำบัด
    • รังสีเทคนิค
    • วิทยาศาสตร์การกีฬา​ (Sports science)​

หมายเหตุ[แก้]

  1. คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์"

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ความหมายและประเภทของวิทยาศาสตร์
    สถานีย่อยวิทยาศาสตร์

  • รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. Feynman Richard. The Feynman Lecture Notes on Physics. Addison-wesley, 1971.
  2. Morris Kilne. Mathematics for the Non-mathematician. Dover Publication, 1985.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • รายชื่อเว็บไซต์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ไทย
  • เว็บบอร์ดวิทยาศาสตร์ - สังคมวิทยาศาสตร์ สังคมแห่งการเรียนรู้

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมในภาษาอื่น[แก้]

  • วิทยาศาสตร์คืออะไร Archived 2005-04-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน โดย ริชาร์ด ไฟน์แมน
  • การแบ่งประเภทวิทยาศาสตร์ Archived 2008-06-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • หนังสือวิทยาศาสตร์ของ GSCE
  • ข่าววิทยาศาสตร์ประจำวัน Archived 2008-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • รายการที่เรียงตามตัวอักษรดัดแปลงมาจากบทความใน Internet-Encyclopedia ชื่อว่า "Science"
  • ศีลธรรมของวิทยาศาสตร์ Archived 2005-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • นิตยสาร Scientific American
  • นิตยสาร New Scientist
  • องค์กรวิทยาศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา