ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 8

ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 8

ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี ปรับปรุงใหม่

ผู้แต่ง : ฝ่าบวิชาการสูตรไพศาล

ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 1 : กรกฎาคม 2561

จำนวนหน้า : 640 หน้า

ขนาด : 18.5 x 26 ซม.

รูปแบบ : ปกแข็ง เย็บกี่

9786163251299

คำนำ

ระเบียบคู่กับกฎหมายระเบียบเป็นแนวทางปฏิบัติที่สืบทอดประเพณีอันดีงามแฝงความสำนึกความรับผิดชอบความเอื้ออาทรและอีกหลากหลายคำนิยามสอดรับกับกฎหมายซึ่งบางครั้งรุนแรงแปลกใหม่มีความจริงจังแฝงด้วยอำนาจเด็ดขาดมักเปิดช่องให้อนุบัญญัติเป็นกลไกขับเคลื่อนกำหนดบทบาท

ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี ย้อนอดีตนับแต่.-

- ข้อบังคับที่ 1/2498 เรื่องวางระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดี การดำเนินคดีอาญาในหน้าที่ตำรวจนอกวิ.อาญาหลักปฏิบัติจึงต้องกำหนดรายละเอียดเป็นเครื่องมือให้ทันกับเหตุการณ์ฯ

- ข้อบังคับที่ 4/2499เรื่องวางระเบียบการตำรวจฯนโยบาย 4 ข้อ

ข้อ 1รวมซึ่งตำรวจมีหน้าที่ต้องปฏิบัติทั้งหมดสะดวกปฏิบัติ

ข้อ 2ต้องตรวจตราแก้ไขให้ถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์อยู่เสมอไม่ต้องกังวลไปตรวจค้นระเบียบปฏิบัติอื่นอีกเสียเวลาโดยไม่จำเป็น

ข้อ 3ถ้าไม่จำเป็นจริงๆไม่ควรแก้ไขให้คลายความสำคัญลงไป

ข้อ 4ให้ตำรวจทุกคนถือปฏิบัติตามระเบียบนี้อย่างเคร่งครัด

- คำสั่งกระทรวงมหาดไทยที่ 639/2534เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดีตั้งไว้ 2คณะรวม 19 คนปลายปี พ.ศ.2539สำเร็จเป็นประมวลใหม่สุดขณะนั้นและพร้อมประกาศใช้แทนประมวลระเบียบเดิม คณะกรรมการ ณ ในขณะนั้นตั้งข้อสังเกตว่าหากรอรัฐธรรมนูญฯ 2540ที่ใกล้วันประกาศใช้ ได้ประกาศใช้น่าจะเหมาะสมด้วยมิต้องปรับแก้ประมวลใหม่ซึ่งมี 17 ลักษณะใหม่ (ขณะนั้น) มท.1 (นายเสนาะ เทียนทอง) ไม่ขัดข้องกระทั้งบัดนี้ประมวลก็ยังคงเดิม

คำสั่งข้อบังคับดังกล่าวและอีกหลายฉบับที่เกี่ยวข้องดังที่พิมพ์ไว้ณประมวลเล่มก่อนและปรากฏใน CD ประมวลการจัดพิมพ์ใหม่นี้ต้องสงวนเนื้อที่มิให้หนาเกินความจำเป็นมิให้กระทบกับราคาอันสอดคล้องกับปริมาณและเนื้อหา

 สารบัญ

ลักษณะ๑ข้อความเบื้องต้น

- บทที่๑ คำนำ

- บทที่๒ อำนาจและหน้าที่ของตำรวจ 

- บทที่๓ คำจำกัดความ

ลักษณะ๒การสืบสวน

- บทที่๑ หลักทั่วไป

- บทที่๒ การสืบสวนและตรวจสถานที่เกิดเหตุ

- บทที่๓ การบันทึกการสืบสวน

ลักษณะ๓การจับกุม

- บทที่๑ อำนาจการจับกุม

- บทที่๒ การจับในที่รโหฐาน 

- บทที่๓ การจับกุมของราษฎร

- บทที่๔ วิธีการจับ

- บทที่๕ การจับกุมพระภิกษุสามเณร 

- บทที่๖ การจับกุมข้าราชการชั้นสัญญาบัตรและชั้นตรีขึ้นไป 

- บทที่๗ การแจ้งข้อกล่าวหา การจับ การคุมขังหรือการออกหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา

- บทที่๘ การจับกุมทูตานุทูตและกงสุลต่างประเทศ

- บทที่๙ การจับกุมบุคคลในองค์การสหประชาชาติ 

- บทที่๑๐การจับกุมผู้กระทำผิดในเรือต่างประเทศ

- บทที่๑๑การจับกุมพนักงานรถไฟ

- บทที่๑๒การจับกุมไปรษณียบุรุษและคนขับรถบางประเภท 

- บทที่๑๓การจับกุมคนขอทานคนเป็นโรคเรื้อนและคนทุพพลภาพ 

- บทที่๑๔การจับกุมผู้ต้องสงสัยว่าหลบหนีคดีอาญา 

- บทที่๑๕การจับกุมบุคคลที่เป็นยามเฝ้าทรัพย์หรือสถานที่

- บทที่๑๖การตรวจจับผู้กระทำผิดกฎหมายซึ่งอยู่ในหน้าที่ ของกรมสรรพสามิต

- บทที่๑๗การจับกุมและสงเคราะห์หญิงนครโสเภณี  

ลักษณะ๔การค้น

- บทที่๑ อำนาจในการค้น

- บทที่๒ วิธีปฏิบัติเกี่ยวแก่การค้นในที่รโหฐาน 

- บทที่๓ การค้นในที่สาธารณสถาน

- บทที่๔ การค้นร้านจำหน่ายฝิ่น 

- บทที่๕ การตรวจค้นรถไฟ

- บทที่๖ การตรวจค้นของผิดกฎหมายในหีบเงินหลวงในระหว่างทาง

- บทที่๗ การค้นของผิดกฎหมายในเรือค้าขายต่างประเทศและเรือค้าขายชายฝั่ง

- บทที่๘ การตรวจค้นของตำรวจหน่วยอื่นที่ไม่ใช่ตำรวจเจ้าของท้องที่

- บทที่๙ ข้อตกลงว่าด้วยการอายัดพัสดุไปรษณีย์ในประเทศระหว่างการสื่อสาร 

แห่งประเทศไทย กรมศุลกากรและสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 

ลักษณะ๕ หมายเรียกและหมายอาญา 

- บทที่๑ หมายเรียก

- บทที่๒ หมายจับ

- บทที่๓ หมายค้น

ลักษณะ๖การควบคุม

- บทที่๑ อำนาจการควบคุม

- บทที่๒ การควบคุมตัวที่สถานีตำรวจ

- บทที่๓ การขออำนาจศาลขัง 

- บทที่๔ การใช้เครื่องพันธนาการ

- บทที่๕ การนำผู้ถูกควบคุมเดินทาง

- บทที่๖ ความรับผิดชอบในการควบคุมร่วมกันระหว่างฝ่ายปกครองและตำรวจ

- บทที่๗ การรับช่วงคุมส่ง 

- บทที่๘ การปฏิบัติในการควบคุมผู้ต้องหาที่บาดเจ็บในโรงพยาบาล 

- บทที่๙ การควบคุมผู้ต้องหาหรือจำเลยหรือผู้ต้องขังไปมาระหว่างศาลกับเรือนจำ

- บทที่๑๐ การควบคุมผู้ต้องขังส่งทางรถไฟ

- บทที่๑๑ การฝากควบคุม

- บทที่๑๒ การควบคุมผู้ต้องขังย้ายเรือนจำและการป้องกันจำเลยหรือ 

ผู้ต้องขังก่อการร้ายหรือหลบหนี

- บทที่๑๓ การอายัดตัวผู้ต้องขังยังเรือนจำ 

- บทที่๑๔ การควบคุมผู้ต้องขังทำการงาน 

- บทที่๑๕ การให้ผู้ถูกคุมขังพบและปรึกษาทนายความ

ลักษณะ๗การปล่อยชั่วคราว

- บทที่ ๑ การปล่อยชั่วคราวเฉพาะหน้าที่ตำรวจ 

- บทที่ ๒ สัญญาประกัน 

- บทที่ ๓ ข้าราชการตำรวจประกันตัวผู้ต้องหาหรือจำเลย

- บทที่ ๔ ค่าเขียนคำร้องและสัญญาประกัน

- บทที่ ๕ สถิติประกัน

- บทที่ ๖ การใช้บุคคลเป็นประกันหรือหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว 

ลักษณะ๘การสอบสวน

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการสอบสวน

- บทที่ ๒ อำนาจการสอบสวน

- บทที่๒/๑การสอบสวนคดีความผิดฐานหมิ่นประมาท ในกรณีความผิด

 กรรมเดียวกระทำลงในหลายท้องที่ 

- บทที่ ๓ การสอบสวนคดีที่ยังไม่ได้หลักฐานพอฟ้อง

- บทที่ ๔ การบันทึกการสอบสวน

- บทที่ ๕ การถามปากคำ 

- บทที่ ๖ การคุมพยานและการป้องกันพยานสำคัญในคดีอาญา 

- บทที่ ๗ การกันผู้ต้องหาเป็นพยานในบางคดี

- บทที่ ๘ การชี้ตัวและชี้รูปผู้ต้องหา 

- บทที่ ๙ การทำแผนที่และถ่ายรูปสถานที่เกิดเหตุ 

- บทที่๑๐ การประสานงานระหว่างพนักงานสอบสวนท้องที่ กับพนักงาน

สอบสวนกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง 

- บทที่๑๑การเรียงลำดับเอกสาร การใช้หมายเลข การลงชื่อในสำนวน

การสอบสวนและการรวบรวมสำนวนการสอบสวนประกอบด้วยความเห็น

- บทที่๑๒ อำนาจการทำความเห็นทางคดีของตำรวจนครบาล 

- บทที่๑๓ การส่งคดีแก่พนักงานอัยการเฉพาะกรุงเทพมหานคร 

- บทที่๑๔ ความเกี่ยวพันระหว่างพนักงานอัยการกับพนักงานสอบสวน 

- บทที่๑๕ การเก็บสำนวน 

- บทที่๑๖ แบบบันทึกการสอบสวน 

- บทที่๑๗ จรรยาบรรณของพนักงานสอบสวน

ลักษณะ๙การเปรียบเทียบคดีอาญา

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการเปรียบเทียบคดีอาญา 

- บทที่ ๒ การเปรียบเทียบคดีความผิดต่อพระราชบัญญัติศุลกากร

 ในหน้าที่พนักงานสอบสวน 

- บทที่ ๓ การเปรียบเทียบคดีตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก 

- บทที่ ๔ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปรียบเทียบปรับคดี

ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบ การจอดรถยนตร์

ในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล

- บทที่ ๕ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปรียบเทียบปรับ

คดีความผิดตามกฎหมายรักษาความสะอาดและความเป็น

ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 

ลักษณะ๑๐การชันสูตรพลิกศพ 

- บทที่๑ อำนาจและหน้าที่ในการชันสูตรพลิกศพ

- บทที่๒ การชันสูตรพลิกศพที่ไม่ทราบว่าผู้ตายเป็นใครหรือตายในที่สาธารณะ

- บทที่๓ การพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลในกรณีวินาศภัย 

ลักษณะ๑๑การฟ้องคดีอาญา

- บทที่๑การฟ้องคดี 

- บทที่๒การอุทธรณ์ 

- บทที่๓การฎีกา

ลักษณะ๑๒รายงานประจำวัน  

ลักษณะ๑๓การรายงานคดีอาญา

- บทที่ ๑ สมุดสารบบการดำเนินคดี 

- บทที่ ๒การรายงานคดีอาญา

- บทที่ ๓ คำร้องทุกข์หรือคำกล่าวโทษ

- บทที่ ๔ การปฏิบัติเกี่ยวกับการรายงานคดี

- บทที่ ๕ ระเบียบวิธีปฏิบัติกรณีสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (เฉพาะในราชการตำรวจ) เป็นโจทก์หรือจำเลยในคดีแพ่ง

- บทที่ ๖ ในกรณีที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(เฉพาะในราชการตำรวจ) เป็นโจทก์

- บทที่ ๗ ในกรณีที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ(เฉพาะในราชการตำรวจ)เป็นจำเลย

ลักษณะ ๑๔ การออกตำหนิรูปพรรณบุคคลและทรัพย์

- บทที่ ๑ การออกตำหนิรูปพรรณผู้กระทำความผิด 

- บทที่ ๒ การออกตำหนิรูปพรรณทรัพย์หายและได้คืน 

- บทที่ ๓ การดำเนินการเกี่ยวกับคนหายพลัดหลงและได้คืน 

ลักษณะ ๑๕ ของกลางและของส่วนตัวผู้ต้องหา

- บทที่ ๑ ของกลาง

- บทที่ ๒ สิ่งของส่วนตัวของผู้ต้องหา

- บทที่ ๓ สัตว์พลัดเพลิด 

- บทที่ ๔ ของตกที่มีผู้เก็บได้

- บทที่ ๕ บัญชีของกลางคดีอาญาติดสำนวนการสอบสวน

- บทที่ ๖ ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงอุตสาหกรรม

 เรื่องการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลาง ในคดีความผิดตามกฎหมาย

 ว่าด้วยแร่ และกฎหมายน้ำบาดาล๒๕๔๐ 

- บทที่ ๗ ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงเกษตรและ

 สหกรณ์ เรื่องการปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดีความผิดเกี่ยวกับการป่าไม้

- บทที่ ๘ ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการเก็บรักษายาเสพติด

 ให้โทษของกลางพ.ศ. ๒๕๔๑

- บทที่ ๙ การปฏิบัติเกี่ยวกับรถของกลาง 

ลักษณะ๑๖ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน

- บทที่ ๑ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเด็กนักเรียนและเด็กอนาถาไม่เกี่ยวแก่ผู้ต้องหาในคดีอาญา

- บทที่ ๒ การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนในส่วนที่เกี่ยวกับคดี 

- ภาคผนวก 

ลักษณะ๑๗การควบคุมอาชญากรบางประเภท

- บทที่ ๑ การทำตำหนิรูปพรรณและประวัติย่อผู้ต้องขังพ.ศ. ๒๕๒๗

- บทที่ ๒ การทำบัตรประวัติคนพ้นโทษและการรายงานพฤติการณ์

- บทที่ ๓ การทำบัตรคนอันธพาล 

- บทที่ ๔ การทำตำหนิรูปพรรณและประวัติย่อของบุคคลผู้ได้รับการ 

อาชีวศึกษาสงเคราะห์ 

ลักษณะ๑๘กรณีบางเรื่องที่มีวิธีปฏิบัติเป็นพิเศษ

- บทที่ ๑ เหตุอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญและเหตุที่ต้องรายงานด่วน

- บทที่ ๒ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 

- บทที่ ๓ ระเบียบการปฏิบัติเกี่ยวกับรถโดนกันชนหรือทับบุคคลหรือทรัพย์

- บทที่ ๔ วิธีปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติอาชีวศึกษาสงเคราะห์ในหน้าที่ตำรวจ

- บทที่ ๕ ระเบียบจัดการเกี่ยวกับการเมือง

- บทที่ ๖ ระเบียบการป้องกันการจารกรรม

- บทที่ ๗ ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวแก่ส่งผู้ร้ายข้ามแดน

- บทที่ ๘ วิธีจัดการเกี่ยวกับคดียาเสพติดให้โทษอื่นๆ 

- บทที่ ๘/๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจับ ยึดและตรวจพิสูจน์ยาเสพติด 

- บทที่ ๘/๒ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประสานงานในคดี

ความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดพ.ศ. ๒๕๓๗

- บทที่ ๘/๓ กำหนดระบบรายงานคดีความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด

- บทที่๙ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับยาพิษและสารเป็นพิษ

- บทที่๑๐ ระเบียบการปฏิบัติเกี่ยวกับคนต้องบาดเจ็บ

- บทที่๑๑ การปฏิบัติหน้าที่และการประสานงานเกี่ยวกับการตรวจสอบ

 ประวัติและการตรวจสอบแผนประทุษกรรมฯ

- บทที่๑๒ การปฏิบัติเกี่ยวกับโรงจำนำ

- บทที่๑๓ คุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว 

- บทที่๑๔ ครูลงโทษนักเรียนเกินกว่าเหตุ

- บทที่๑๕ วิธีการเพื่อความปลอดภัยของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

- บทที่๑๖ จรจัด

- บทที่๑๗ ระเบียบปฏิบัติของพนักงานสอบสวนเมื่อมีชายพาหญิงที่อ้างว่าพากันหลบหนีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง มาแจ้งความ

- บทที่๑๘ระเบียบปฏิบัติในการป้องกันและปราบปรามการลักรถยนต์

- บทที่๑๘/๑หลักเกณฑ์การขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้เชี่ยวชาญของศาลและ

การขอแต่งตั้งผู้ชำนาญการพิเศษของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ 

- บทที่ ๑๙การขอรับชดใช้ค่าใช้จ่ายเบื้องต้นตามพระราชบัญญัติการขนส่งทางบก 

- บทที่๒๐การอนุญาตให้ใช้รถบรรทุกของสูงเกินกำหนดชั่วคราว 

- บทที่๒๑ข้อบังคับกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย การปฏิบัติงานประนีประนอม

ข้อพิพาทของคณะกรรมการหมู่บ้านพ.ศ. ๒๕๓๐

- บทที่๒๒การติดตามประเมินผลการประนีประนอมข้อพิพาทของ

คณะกรรมการหมู่บ้าน 

- บทที่๒๓แนวทางปฏิบัติในการดำเนินคดีความผิดตามกฎหมา

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

- บทที่๒๔แนวทางการปฏิบัติในการดำเนินคดีความผิดตามกฎหมาย

ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต

 ลักษณะ๑๙ การเนรเทศ

- บทที่ ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการเนรเทศ

- บทที่ ๒ ฐานความผิดที่จะต้องพิจารณาเนรเทศ

- บทที่ ๓ การสอบสวนคดีเนรเทศ

- บทที่ ๔ วิธีจัดการเมื่อมีคำสั่งให้เนรเทศแล้ว 

- บทที่ ๕ การควบคุมผู้ต้องเนรเทศ 

 ลักษณะ๒๐ข้อตกลงระหว่าง

- บทที่ ๑ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการปฏิบัติและประสานงาน

 กรณีทหารถูกหาว่ากระทำความผิดอาญาพ.ศ.๒๕๔๔

- บทที่ ๑/๑ แบบของหนังสือตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย

การปฏิบัติและประสานงานกรณีทหารถูกหาว่ากระทำความผิดอาญาพ.ศ.๒๕๔๔

- บทที่๒ข้อตกลงระหว่างกระทรวงมหาดไทย กับกระทรวงเกษตรและ

 สหกรณ์เรื่อง การปฏิบัติเกี่ยวกับสัตว์ป่าและซากของสัตว์ป่าและ

ของกลางอื่น ๆในคดีความผิดตามพระราชบัญญัติสงวนและ

คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓