โครงงาน โคมไฟกะลามะพร้าว บท ที่ 5

P10 from ธญานี อุตรนคร

โครงงาน is เรือ่ ง โคมไฟจากกะลามะพรา้ ว นางสาวเมธาพร เสาว์ปญั ญา เลขท่ี20 นายพนั ธกานต์ สารเทพ เลขท่ี34 นายศุภเรศ คาเขอื่ น เลขท่ี35 นางสาวธนัชชา มีบุญ เลขที่36 นางสาวอาทติ ยา เขื่อนเมอื ง เลขท่ี40 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/8 ครูท่ีปรึกษาโครงงาน นายดารงค์ คันธะเรศย์ โรงเรยี นปัว อาเภอปัว จงั วดั นา่ น สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษานา่ นเขต 37

ก คานา รายงานฉบบั นเี้ ป็นสว่ นหนงึ่ ของรายวิชา IS1 รหสั วิชา I30201 เพ่อื เปน็ ประโยชน์ต่อผ้ทู ส่ี นใจจะ ศกึ ษาเก่ียวกบั เรื่องโคมไฟกะลามะพรา้ วประหยัดพลงั งาน ซง่ึ คณะผ้จู ดั ทาไดจ้ ดั ทาเพือ่ ครู นกั เรียน และผู้ที่ สนใจได้ใช้เป็นเอกสารอา่ นเพม่ิ เติมตอ่ ไป คณะผจู้ ัดทาหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่า รายงานฉบบั น้จี ะเปน็ ประโยชน์ต่อผ้ทู สี่ นใจเร่ืองโคมไฟ กะลามะพร้าวประหยัดพลงั งาน ซง่ึ ทาใหท้ ราบถึง การใช้กะลามะพร้าวมาใชท้ าประโยชน์ ที่ได้วิเคราะห์ให้ ผอู้ า่ นนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ต่อไป หากมขี ้อบกพรอ่ งประการใด คณะผ้จู ดั ทาขออภยั ไว้ ณ โอกาสน้ดี ้วย คณะผู้จัดทา

ข สารบัญ สายไฟฟา้ คานา กาวร้อน กระดาษทราย ก แลคเกอร์ สวา่ นไฟฟา้ สารบัญ หลอดไฟฟ้า บทท่ี 3 วิธีการจดั ทาโครงงาน ข บทท่ี 1 บทนา บทท่ี 4 ผลการศึกษา ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาคน้ คว้า บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และ สาเหตแุ ละสมมตุ ฐิ าน ข้อเสนอแนะ ขอบเขตของการทาโครงงาน ภาคผนวก วธิ ีดาเนนิ การ ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั บทที่ 2 เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง โคมไฟ มะพรา้ ว

๑ บทท1ี่ บทนา 1. ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน ประเทศไทยถือเปน็ ประเทศที่มีอาหารข้ึนชอ่ื มากมายซ่ึงสว่ นใหญก่ จ็ ะใช้กะทิในการประกอบอาหาร ประเภทอาหารคาวหรอื อาหารหวานกล็ ้วนท่ีจะใชก้ ะทใิ นการประกอบอาหารทงั้ นน้ั จงึ ทาใหก้ ะลามะพร้าว เหลอื ใช้จากการประกอบอาหารต่างๆของมนษุ ย์มากขึน้ กะลามะพรา้ วเป็นสง่ิ ทส่ี ามารถนามาเเปรรปู ไดง้ า่ ย เพื่อใหเ้ กดิ ความสวยงามและใช้สอยได้สามารถนามาประดิษฐ์เพ่อื จาหน่ายหารายได้เสรมิ ก็ไดม้ ะพรา้ วหาง่าย คณะผู้จัดทาจงึ ไดท้ าโคมไฟจากกะลามะพรา้ วขน้ึ เพอ่ื นากะลามะพรา้ วทเี่ หลือใช้มาทาเปน็ โคมไฟเพื่อชว่ ยลด ปริมาณของกะลามะพร้าวและช่วยเพ่ิมคุณคา่ ของกะลามะพรา้ วอกี ดว้ ยโคมไฟยังเปน็ อปุ กรณใ์ หแ้ สงสว่างใน ท่ีมดื และตวั โคมไฟยงั สามารถนาไปเป็นของประดบั เพื่อความสวยงามกไ็ ดโ้ คมไฟเป็นอุปกรณใ์ ช้สาหรบั อ่าน หนงั สือ แต่ปัจจบุ ันคนไทยนยิ มบางคนนาโคมไฟมาเปน็ เฟอรน์ เิ จอร์ตกแตง่ บ้าน ซ่งึ โคมไฟจะมรี ปู ทีแ่ ตกตา่ งกัน ออกไปตามแต่วสั ดุที่นามาประดษิ ฐ์การผลิตโคมไฟสามารถใชว้ ัสดุได้หลายชนดิ เชน่ พลาสตกิ เหล็ก อะลมู เิ นียม ซง่ึ มกั จะมรี าคาแพงแตค่ วามเป็นจริงแลว้ โคมไฟสามารถผลติ จากวสั ดุอยา่ งอื่นได้เช่นกะลามะพรา้ วไม้หรือ ส่วนประกอบของต้นไม้ เชน่ รากไม้ กิ่งไม้ เปน็ ตน้ โคมไฟจากกะลามะพร้าวเปน็ การนาสง่ิ ของที่เหลือใช้หรือไม่ ใช้แลว้ มาทาการประยกุ ตใ์ หมเ่ พอ่ื ใหม้ คี ณุ ค่าและมีความน่าสนใจมากขึ้นและยังสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ จรงิ นอกจากจะเป็นการลดปริมาณขยะไดแ้ ล้วยงั เป็นการใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์และอาจใช้เป็นชอ่ งทาง สรา้ งรายได้ใหก้ บั ตนเองหรืออาจจะประดษิ ฐ์เพ่ือใชส้ อยในครอบครวั หรอื ในชวี ติ ประจาวันเพราะแสงสวา่ งถือ เป็นปจั จยั สาคัญและมีความจาเป็นอยา่ งมากในการดารงชีวิตแต่งตกแตง่ บ้านไดด้ ีอีกด้วยคณะผจู้ ัดทาโครงงาน จึงได้ประดษิ ฐโ์ คมไฟจากกะลามะพรา้ วเพอ่ื ใหส้ ามารถให้คนในปจั จบุ ันหันมาประดษิ ฐไ์ ด้รจู้ กั การประหยัดเงนิ และเหน็ คณุ ค่าของส่ิงของเหลอื ใช้ 2. วัตถุประสงค์ของการศกึ ษาคน้ ควา้ 1. เพื่อศึกษาขั้นตอนในการทโคมไฟกะลา 2. เพื่อใหเ้ กดิ ประสบการณใ์ นการทโคมไฟกะลา 3. เพื่อนาสง่ิ ของเหลอื ใชม้ าทาให้เกิดมูลค่า 4. เพ่ือใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5. เพื่อก่อให้เกิดรายได้จากการดาเนนิ งาน 6. เพ่อื ใหเ้ กดิ ประสบการณด์ า้ นการขาย และการทาบัญชี

๒ 3.สาเหตุและสมมุติฐาน การตงั้ ปญั หา ๑. โคมไฟกะลามะพรา้ วมปี ระสทิ ธิภาพ มากหรือน้อยกว่าโคมไฟในท้องตลาดหรอื ไม่ ๒. วัสดุอะไรบา้ งทจี่ ะนามาทาเปน็ โคมไฟจากกะลามะพรา้ ว การตัง้ สมมตุ ฐิ าน ๑. ถา้ โคมไฟกะลามะพร้าวมผี ลตอ่ การประหยัดพลงั งาน ขึ้นอยกู่ บั วัตถขุ องโคมไฟ ชนดิ ของ หลอดไฟ 4. ขอบเขตของการทาโครงงาน  กะลามะพร้าวแก่ และ กะลามะพร้าวหนมุ่  ประชากร นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕/๘  ตัวแปรต้น คุณภาพของโคมไฟกะลามะพรา้ วแกแ่ ละกะลามะพรา้ วหน่มุ  ตัวแปรตาม ความแขง็ แรง ทนทาน ความสว่าง 5.วธิ ีดาเนนิ การ 1.ศกึ ษาขัน้ ตอนการทาโคมไฟจากกะลามะพรา้ ว 2.ออกแบบสงิ่ ประดิษฐ์ 3.จัดเตรยี มวัสดุอปุ กรณ์ 4.ลงมอื ปฏบิ ัตงิ าน 5.จัดทารายงานโครงการ 6.ประโยชน์ที่ได้รบั 1. สามารถประดษิ ฐ์โคมไฟจากกะลามะพร้าวได้ 2. สามารถสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี นได้ 3. สามารถสบื สานใหค้ นรนุ่ หลงั หันมาประยกุ ต์ใช้สงิ่ ของเหลอื ใชเ้ พือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดได้

๓ บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง 1. โคมไฟ โคมไฟฟ้าทาหนา้ ทบ่ี ังคบั ทศิ ทางแสงของหลอดให้ไปในทิศทางท่ีต้องการ โคมไฟฟา้ มีใชก้ ันมากมาย หลายชนดิ ข้ึนอยกู่ ับการใช้งาน สาหรบั โคมไฟฟา้ กบั การประหยดั พลงั งาน ในท่ีนีจ้ ะกล่าวถงึ โคมไฟฟ้าทใี่ ช้ ภายในอาคาร เพราะมีการนามาใช้งานกันมาก จาเป็นตอ้ งเลือกโคมไฟฟา้ ทส่ี ามารถประหยดั พลงั งานและมี คณุ ภาพทด่ี ี นับแต่สมยั โบราณ ยามคา่ คืน ไมม่ แี สงสวา่ งจากไฟฟ้า มีเพยี งแต่แสงดาว แสงจันทร์ และคบเพลงิ ซ่ึงจากคบเพลงิ ไม้ ก็ไดน้ าไปสโู่ คมไฟ เพอื่ ใชเ้ ป็นแสงสวา่ งยามค่าคืนโคมไฟถกู สร้างขนึ้ นา่ จะรบั อทิ ธิพลมาจาก ประเทศจีน ซงึ่ ปจั จบุ ันโคมไฟท่ไี ดร้ บั ความนิยม อนั ดับต้นๆ เลยก็คอื โคมไฟไม้สกั ซงึ่ มคี วามสวยงาม คงทน แขง็ แรง แต่มีความคลาสสิกในตัวของโคมเองลกั ษณะของดวงโคม 1. ดวงโคมไฟเพดานเป็นดวงโคมไฟทตี่ ดิ เหนอื ศรี ษะ บรเิ วณฝา้ เพดาน หรอื หอ้ งลงมาจากเพดาน เชน่ โคมไฟหอ้ ยเพดานหรอื ไฟชอ่ ระยา้ ทม่ี ีรปู แบบตา่ ง ๆ ใหเ้ ลือกมากมาย ทั้งทท่ี าจากแก้ว พลาสตกิ โลหะหรือ เซรามคิ มีทงั้ แบบโคมไฟธรรมดา ราคาไม่แพงไปจนถงึ โคมไหแชนเดอเลยี รท์ ปี่ ระกอบไปดว้ ยหลอดไฟเล็ก ๆ มากมาย สวยงาม ให้แสงสวา่ งและความรอ้ นมาก กนิ ไฟมาก ราคาแพง ไฟตดิ เพดาน มที ั้งแบบดวงโคมทีย่ ึดตดิ กบั ฝ้าเพดาน ประกบอไปด้วยทคี่ รอบ หรอื โปะ๊ ทาจากแก้วหรอื พลาสตกิ คลุมหลอดไฟเพ่ือชว่ ยในการกระจาย แสง เช่น โคมไฟโป๊ะกลมสาหรบั หลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์หรอื โคมไฟซาลาเปาสาหรบั หลอดไส้ เป็นตน้ และ แบบท่ีติดตัง้ โดยเจาะฝา้ เพดานฝงั ซอ่ นดวงโคมไว้ภายใน ท่เี ราเรยี กกนั ว่า ไฟดาวนไ์ ลท์ (Down light) ซึ่งให้ แสงสวา่ งไดด้ สี ามารถเลอื กใชช้ นดิ ของหลอดไห ลักษณะของแสงท่ีส่องลงมา และทศิ ทางการส่องของสาแสงได้ หลายแบบเป็นได้ท้งั ไฟพ้ืนฐานและไฟสร้างบรรยากาศ 2. ดวงโคมไฟผนงั เปน็ ชนดิ ทใี่ ช้ยดึ ตดิ กบั ผนัง มใี หเ้ ลอื กหลากหลายรปู แบบเชน่ กนั การกระจายแสง ส่วนใหญ่ขนึ้ อยู่กบั ลกั ษณะของโปะ๊ มที งั้ แบบให้แสงสอ่ งออกมาตรง ๆหรือแบบสะท้อนเข้าผนงั เพ่อื สร้าง บรรยากาศใหก้ บั หอ้ ง เปน็ ตน้ 3. ดวงโคมไฟตงั้ พ้ืน ตงั้ โตะ๊ เป็นดวงโคมไฟแบบลอยตวั ทช่ี ว่ ยในการใหแ้ สงสว่างตามจดุ ตา่ ง ๆเปน็ พเิ ศษ เชน่ ในบริเวณท่นี ง่ั อา่ นหนงั สือโต๊ะทางาน หรอื โต๊ะหวั เตยี งและยงั ใชเ้ ป็นของประกอบการตกแตง่ ในห้อง ชุดรว่ มกับชดุ เฟอร์นิเจอรอ์ ื่น ๆ อีกด้วย เช่น ชุดรับแขก ชดุ ทานอาหาร เปน็ ต้น มรี ปู แบบและวสั ดุใหเ้ ลือก มากมายหลายหลายราคา 4. ลกั ษณ์โคมไฟจากกะลามะพร้าวมีลกั ษณ์เดยี วกบั โคมไฟตั้งพ้ืน ตงั้ โต๊ะแตส่ ามารถออกแบบไดห้ ลาย แบบสสี นั สามารถทาไดหลายสีแตท่ ีน่ ิยมคือสเี นอ้ื ไม้

๔ 2.มะพร้าว มะพร้าว เปน็ พืชยืนต้น ใบมีลักษณะเป็นใบประกอบแบบขนนก ผลประกอบดว้ ยเอพคิ ารป์ (epicarp) คอื เปลอื กนอก ถดั ไปขา้ งในจะเป็นมโี ซคาร์ป (mesocarp) หรอื ใยมะพร้าว ถดั ไปขา้ งในเปน็ ส่วน เอนโดคารป์ (endocarp) หรอื กะลามะพร้าว ซง่ึ จะมรี สู ีคลา้ อยู่ 3 รู สาหรบั งอก ถัดจากสว่ นเอนโดคารป์ เข้า ไปจะเปน็ ส่วนเอนโดสเปริ ์ม หรอื ท่เี รยี กว่าเน้อื มะพรา้ ว ภายในมะพรา้ วจะมนี ้ามะพรา้ ว ซ่งึ เมอ่ื มะพรา้ วแก่ เอน โดสเปิรม์ กจ็ ะดดู เอาน้ามะพรา้ วไปหมด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ มะพร้าว มีชอ่ื วิทยาศาสตร์ว่า Cocos nucifera L. อยู่ในตระกลู Palmae มีระบบรากเปน็ รากฝอยมี ขนาดเทา่ ๆ กนั แผก่ ระจายออกรอบตน้ ลาตน้ มีลาตน้ เดยี ว ไม่แตกแขนง มีรอยแผลจากการหลดุ ร่วงของใบตลอดลาต้น สามารถ คานวณอายุของต้นมะพรา้ วได้จากรอยแผลน้ี คือ ในปีหนึง่ มะพรา้ วจะสร้างใบประมาณ 12- 14 ใบ ดังน้ันใน 1 ปี จะมรี อยแผลที่ลาต้น 12 – 14 รอยแผล ใบ เป็นใบประกอบ ออกอยตู่ ามส่วนของลาต้น ประกอบดว้ ยกา้ นทาง ( rechis ) มขี นาด ใหญ่และยาว และมีใบยอ่ ย ( leaflet ) บนก้านทางประมาณ 200 – 250 ใบ ดอก ออกเปน็ ชอ่ ชนิดพานเิ คลิ มที ้ังดอกตวั ผู้และดอกตวั เมยี อย่ใู นช่อเดยี วกนั ดอกมกี ลบี ดอก 6 กลบี สคี รีมหรือสีเหลอื งนวล ไมม่ กี า้ นดอกย่อยดอกตวั เมยี จะมกี ลบี ดอกหนาและแข็งกว่ากลบี ดอกตวั ผู้ ผล มะพรา้ วเปน็ ชนิดไฟบรัสดรปุ ( fibrous drupe ) เรียกว่า นัท ( nut ) มเี ปลือก 3 ชั้นคือ 1. เปลอื กช้ันนอก ( exocarp ) เป็นเส้นใยท่เี หนียวและแข็ง เม่อื แก่อาจมีสเี ขยี ว แดง เหลอื งหรือ นา้ ตาล 2. เปลอื กชน้ั กลาง ( mesocarp ) มลี กั ษณะเปน็ เส้นใย มคี วามหนาพอประมาณ 3. เปลอื กช้นั ใน ( endocarp ) มลี ักษณะแขง็ หรอื ทีเ่ รยี กกนั ว่า กะลา ( shell ) เมลด็ ( seed of kernel ) คือ เนือ้ มะพรา้ ว ภายในเมลด็ เปน็ ช่อกลวงขณะผลออ่ นจะมีน้าอยู่ เตม็ ผลแกน่ า้ มะพรา้ วจะแหง้ ไปบางส่วน พนั ธ์ุ มะพร้าวเปน็ พชื ผสมข้ามพนั ธ์ุ แตล่ ะต้นจึงไมเ่ ปน็ พนั ธแุ์ ท้ อาศยั หลกั ทางการผสมพนั ธทุ์ ่ี เป็นไปโดยธรรมชาติ อาจแบง่ มะพรา้ วออกเป็น 2 ประเภท คอื ประเภทตน้ เตีย้ และประเภทตน้ สูง

๕ ประเภทต้นเตย้ี มะพร้าวประเภทน้ี มกี ารผสมตวั เองคอ่ นขา้ งสงู จึงมกั ใหผ้ ลดกและไม่คอ่ ย กลายพนั ธุ์ ส่วนใหญน่ ิยมปลกู ไวเ้ พอื่ รบั ประทานผลอ่อน เพราะในขณะที่ผลยังไม่แก่ อายุ ประมาณ 4 เดือน เนอื้ มีลกั ษณะออ่ นน่มุ และน้ามีรสหวาน บางพันธ์นุ ้ามคี ณุ สมบัติพเิ ศษ คือ มีกลนิ่ หอม ประเภทต้นสงู ตามปกตมิ ะพรา้ วต้นสงู จะผสมขา้ มพันธุ์ คอื ในแต่ละช่อดอก (จนั่ ) หนง่ึ ๆ ดอกตัวผู้จะค่อย ๆ ทยอยบาน และร่วงหลน่ ไปหมดกอ่ นทดี่ อกตัวเมียในจ่ันน้ันจะเรมิ่ บาน จงึ ไมม่ ี โอกาสผสมตวั เอง มะพรา้ วประเภทนเี้ ปน็ มะพรา้ วเศรษฐกจิ ส่วนใหญป่ ลกู เป็นสวนอาชพี เพือ่ ใช้เนื้อ จากผลแกไ่ ปประกอบอาหาร หรอื เพอ่ื ทามะพร้าวแห้งใช้ในอตุ สาหกรรมนา้ มนั พชื การเพาะปลกู การเตรยี มผลพนั ธ์ุกอ่ นเพาะ ปาดเปลอื กทางดา้ นหวั ออกขนาดประมาณเท่าผลสม้ เขียวหวานเพือ่ ให้ น้าซึมเขา้ ไดส้ ะดวกใน ระหวา่ งเพาะ และช่วยใหห้ นอ่ งอกแทงออกมาได้ง่าย ถา้ เป็นผลทีย่ งั ไม่แก่จัด เปลอื กมสี ี เขยี วปนเหลือง ให้นาไปผง่ึ ไวใ้ นทีร่ ่มโดยวางเรยี งให้ รอยปาดอยู่ด้านบน ผงึ่ ไวป้ ระมาณ 15-30 วนั จนเปลือก เปล่ียนเป็นสีนา้ ตาล เตรยี มผลพนั ธ์ุไวป้ ระมาณ 2 เทา่ ของจานวนหน่อทต่ี ้องการเพราะในขณะเพาะจะมีพนั ธท์ุ ่ี ไม่ งอกและเมอ่ื งอกแลว้ ก็ต้องคัดหนอ่ ทีไ่ ม่แข็งแรงออก การเตรียมแปลงเพาะ แปลงเพาะควรอยกู่ ลางแจ้ง ใกล้แหล่งนา้ และมีการระบายนา้ ดี ไม่เป็นแหล่งทเ่ี คยมโี รคและแมลง ระบาดมากอ่ น พนื้ แปลงควรเปน็ ทรายหยาบ เพ่อื สะดวกในการเพาะและย้ายกลา้ ปราบวชั พชื ออกใหห้ มด ถ้า พ้ืนดินเป็นดนิ แขง็ ควรไถดนิ ลกึ 15-20 ซม. ถา้ แปลงกวา้ งมาก ควรแบง่ เปน็ แปลงยอ่ ย ขนาดกวา้ ง ประมาณ 2.50 เมตร ยาวตามความตอ้ งการ เว้นทางเดนิ ระหวา่ งแปลง 50 ซม. ในแต่ละแปลงยอ่ ยขดุ เปน็ รอ่ งลกึ ประมาณ 10 ซม. กว้างเทา่ ขนาดของผลมะพร้าว ยาวตลอด พ้ืนท่ี แตล่ ะแปลงจะเพาะมะพรา้ ว ได้ 10 แถว วธิ กี ารเพาะ วางผลมะพร้าวตามแนวนอนลงในร่องท่เี ตรยี มไว้ หันดา้ นทีป่ าดขึ้นขา้ งบนเรยี งไปตามทิศ ทาง เดียวกนั ใหแ้ ต่ละผลติดกนั หรอื หา่ งกันไม่เกิน 5 ซม. กลบทรายหรือดินใหส้ ว่ นของผลมะพร้าวโผลพ่ น้ ผวิ ดิน ประมาณ 1/3 ของผล ถา้ ฝนไม่ตก รดน้าให้ชุ่มอยเู่ สมอ โดยสงั เกตจากความช้ืนตรงบรเิ วณรอยปาด คอยดูแล กาจัดวัชพชื โรค-แมลงต่าง ๆ หลงั จากเพาะแลว้ ประมาณ 2-3 สัปดาหห์ น่อจะเรมิ่ งอก ในระยะแรก ๆ จะงอกน้อย เมอื่ เลย 4 สัปดาห์ไปแล้วหนอ่ จะงอกมากขึน้ มะพร้าวทไี่ มง่ อกภายใน 10 สปั ดาห์ หรอื 70 วนั ควรคัดท้งิ หรือ นาไปทามะพร้าวแห้ง เพราะถา้ ปลอ่ ยทงิ้ ไว้ใหง้ อกกจ็ ะไดห้ นอ่ ทไี่ ม่ดี ตามปกติมะพรา้ วจะ งอกประมาณรอ้ ย ละ 60 ภายใน 10 สัปดาห์ เมอ่ื หนอ่ ยาวประมาณ 1-3 นวิ้ ควรยา้ ยลงแปลงชา ในการคา้ จะไม่ยา้ ยลงแปลง ชาทลี ะนอ้ ย แตจ่ ะรอยา้ ยพรอ้ มกันในคราวเดียว

๖ ในกรณีทีท่ าการเพาะมะพรา้ วเปน็ จานวนไม่มากนกั อาจทาการเพาะโดยไม่ตอ้ งนาลงแปลงชา กไ็ ด้ แต่ ในการเพาะจะตอ้ งขยายระยะให้กวา้ งขน้ึ โดยวางผลห่างกันประมาณ 45-50 ซม. เพ่ือใหห้ นอ่ เจรญิ ได้ดี จะได้ หนอ่ ท่ีอ้วนและแขง็ แรง เม่ือหนอ่ มใี บประมาณ 4-6 ใบ ก็คัดไป ปลูกได้ วิธกี ารชา เตรยี มแปลงชาเชน่ เดียวกบั แปลงเพาะ แปลงชาควรอย่ใู กลก้ ับแปลงเพาะ เพ่อื สะดวกในการขนยา้ ย หนอ่ ถ้าดนิ ไมด่ ีใหใ้ ส่ป๋ยุ คอกไรล่ ะ 24 ปบี๊ (240 กก.) หว่านใหท้ ว่ั แปลงแล้วไถกลบ ขดุ หลมุ ขนาดเทา่ ผล มะพรา้ ว ระยะระหวา่ งหลุม 60 ซม. อาจวางผงั การทาแบบสามเหลีย่ มดา้ นเท่า หรอื แบบส่เี หล่ียมจตรุ สั กไ็ ด้ ยา้ ยหน่อมะพรา้ วจากแปลงเพาะลงชาในหลมุ ใหห้ นอ่ ต้งั ตรง กลบดนิ หนาประมาณ 2/3ของผล เพอื่ ไมใ่ หด้ นิ ทับสว่ นคอของหนอ่ พนั ธ์ุ ใช้ทางมะพร้าวหรือหญา้ แหง้ คลมุ แปลง (อาจใช้วัสดอุ ืน่ กไ็ ด)้ เพอ่ื รกั ษาความช่มุ ชน้ื ถ้าฝนไมต่ ก รดน้าใหช้ ุ่มอยเู่ สมอ โรคและแมลงในมะพรา้ ว แมลงทีเ่ ปน็ ศตั รูพชื กบั มะพร้าวคือ ดว้ งแรด เป็นแมลงปกี แขง็ ตัวใหญม่ สี นี า้ ตาลเข้ม บนหวั มนี อ เหมอื นแรด ตัวแก่กัดกินยอดและใบออ่ นทาใหด้ ้วงงวงมาวางไข่ สามารถจะปอ้ งกันและกาจัดได้ท้ังในระยะทเี่ ปน็ ตัวหนอนและตวั เตม็ วัย โดยปฏบิ ัติดงั น้ี รักษาสวนใหส้ ะอาด เปน็ การทาลายแหลง่ วางไข่ เพราะดว้ งแรดชอบวางไข่ในกองขยะ กองป๋ยุ หมัก กองเศษไม้ ตอไมผ้ ุ ฯลฯ ถ้าเห็นใบยอดขาดเปน็ ร้ิวๆแสดงวา่ ถกู ดว้ งแรดกัดให้ใช้ตะขอหรือเหล็กแหลมแทง ดงึ เอาตวั ออกมาทาลาย ใช้สารเคมี เชน่ 1. ออลดรนิ ชนิดน้า 5 ชอ้ นแกง ผสมนา้ 1 ป๊ีบ ราดที่คอมะพรา้ วทุก 2 เดือน 2. อโซดริน 3 ช้อนแกง ผสมนา้ 1 ป๊ีบ ราดทค่ี อมะพรา้ วเดอื นละครง้ั 3. ออลดรนิ ชนิดผงคลกุ กบั ขเี้ ล่ือยในอตั รา 1 ช้อนแกง ต่อข้ีเล่ือย 8 กระป๋องนม โรยท่ีคอมะพร้าว ต้นละ 1 กระป๋องนม ทกุ 2 เดอื น 4. สาหรบั ตน้ มะพร้าวทม่ี ลี าต้นสูงมาก ใช้พวก นูวาครอนหรอื อโซดรนิ ฉีดเข้าลาตน้ โดยเอาสวา่ นเจาะ ลาตน้ ใหเ้ ป็นรจู านวน 2 รู อยู่ตรงขา้ มกัน ใช้เขม็ ฉีดยาดูดสารเคมี 10 ซซี ี ฉีดใส่ในรทู ่เี จาะไว้ขา้ ง ละ 5 ซซี ี จะมฤี ทธ์ิอยูน่ านประมาณ 30 วัน วิธนี ้หี ้ามเก็บผลมะพรา้ วก่อนครบกาหนดหลงั จากฉดี สารเคมแี ล้ว อยา่ งนอ้ ย 30 วนั

๗ 3. หลอดไฟฟา้ หลอดไฟฟ้าท่มี ีใช้กันอย่มู หี ลายชนดิ ด้วยกัน หลอดแต่ละชนดิ กม็ คี ุณสมบตั ทิ างแสงและทางไฟฟา้ ต่างกนั ในการเลอื กหลอดเพือ่ การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ตอ้ งเลือกหลอดท่มี ปี ระสทิ ธผิ ล (ลเู มนตอ่ วตั ต์) สูง อายกุ ารใชง้ านนาน และคุณสมบัตทิ างแสงของหลอดดว้ ย แตง่ านบางอยา่ งกต็ อ้ งเลอื กใช้หลอดทไี่ มป่ ระหยดั พลงั งาน ฉะน้นั การนาหลอดไปใช้งานตอ้ งพจิ ารณาความเหมาะสมในการนาไปใช้ คา่ คณุ สมบัตขิ องหลอดไฟ 1. คา่ ฟลกั ซ์การส่องสวา่ ง (Luminous Flux) เป็นปรมิ าณแสงสวา่ งทง้ั หมดทีไ่ ดจ้ ากแหลง่ กาเนดิ แสง มีหนว่ ยวดั เป็นลูเมน (lm) 2.คา่ ความสว่าง (llluminance) เปน็ ปรมิ าณแสงสวา่ งทีต่ กกระทบบนวัตถุ (lumen) ต่อ 1 หนว่ ย พ้ืนที่ มหี นว่ ยเป็น lm/sq.m. หรอื lux น่นั เอง โดยทว่ั ไป อาจเรยี กวา่ ระดับความสว่าง (Lighting level) จึงเป็นตัวที่บอกวา่ แสงทีไ่ ดเ้ พียงพอหรือไม่ 3. ค่าความเขม้ การส่องสว่าง (Luminous Intensity) เป็นความเข้มของแสงทส่ี ่องออกมาจากวัตถุ โดยทว่ั ไปจะวดั เป็นจานวนเทา่ ของความเขม้ ท่ไี ด้จากเทยี นไข 1 เลม่ จึงมหี นว่ ยเปน็ แคนเดลา (Candela, cd) 4. คา่ ความส่องสว่าง (Luminance) เปน็ ตัวที่บอกปรมิ าณแสงทสี่ ะทอ้ นออกมาจากวัตถุ (candela) ต่อ 1 หน่วยพื้นที่ มหี น่วยเปน็ cd/sq.m. บางครั้งจงึ อาจเรียกว่าความจา้ (Brightness) 5. คา่ ประสิทธิผล (Efficacy) เป็นปริมาณแสงสวา่ งที่ออกมาตอ่ กาลังไฟฟา้ ที่ใช้ (watt) มีหน่วยวดั เปน็ lm/w หลอดท่ีมีค่าประสทิ ธผิ ลสงู แสดงวา่ หลอดนีใ้ ห้ปรมิ าณแสงออกมามากแตใ่ ชก้ าลงั ไฟฟา้ น้อย 6. ค่าความถกู ต้องของสี (Colour Rendering, Ra หรอื CRI) เป็นค่าทใ่ี ช้บอกว่าหลอดไฟประเภท ต่างๆ เม่ือแสงส่องสีไปบนวตั ถุจะทาให้สีของวตั ถุนั้นผิดเพ้ียนจากความเปน็ จรงิ มากนอ้ ยเพยี งใด ไม่มี หน่วยแตม่ ักเรยี กเปน็ % ตามคา่ ความถูกต้องคะ่ แสงอาทติ ยม์ ีค่า Ra = 100 เพราะแสงอาทติ ยใ์ ห้ สเปกตรมั ครบทุกสี เม่อื สอ่ งไปบนวัตถจุ ะไมเ่ ห็นความผดิ เพยี้ นของสี 7. คา่ อณุ หภมู ิสขี องแสง (Color Temperatrre TK) สขี องแสงทไี่ ด้จากหลอดไฟเทียบกบั สที เี่ กดิ จาก การเผาวัตถุดาอุดมคตใิ หร้ อ้ นท่ีอณุ หภมู นิ น้ั มหี นว่ ยเปน็ เคลวิน (k) อณุ หภมู สิ เี ปน็ ตวั ทีบ่ อกว่าแสงที่ได้ มีความขาวมากน้อยแคไ่ หน ถ้ามคี ่าอุณหภมู สิ ขี องแสงตา่ แสงทีไ่ ด้จะออกมาในโทนเหลืองหรอื แดง ถ้า มีค่าอณุ หภูมิสีของแสงสงู แสงทีไ่ ด้จะออกมาในโทนขาวกวา่ ในท้องตลาดทวั่ ไปมใี หเ้ ลอื ก 3 โทนสี

๘ ขอ้ ควรการเลอื กซอื้ หลอดไฟฟา้ 1. กาหนดว่าจะใช้หลอดรปู ทรงแบบไหน เพอื่ กาหนดการใชง้ าน ทิศทางการให้แสง และองศาของ แสง 2. ขั้วหลอดท่ใี ช้กบั โคมเดมิ เป็นแบบไหน เป็นขั้วเกลยี ว ขั้วเกลียวเล็ก ขัว้ เข็ม หรือขัว้ เสียบ 3. ต้องมีอุปกรณ์ใดที่ใชก้ บั หลอดไฟ หรอื โคมไฟ เช่น หมอ้ แปลง บัลลาสต์ สวสิ ต์หรไี ฟ 4. สง่ิ สาคญั ต่อมา คือ พิจารณาคุณสมบัติของหลอดไฟ เพราะว่าบางครั้งหลอดไฟทใี่ ชอ้ ยูน่ น้ั อาจไม่ เปน็ ทถี่ กู ใจ หรอื เหมาะสมกบั การใชง้ าน ใหแ้ สงท่ีจ้าเกนิ ไป ให้แสงทขี่ าวเกนิ ไปเปน็ ต้น จุดนี้แหละที่ ทาให้ไอเดยี อยสู่ บายแนะนาคา่ คุณสมบัตขิ องหลอดไฟใหเ้ พอื่ นๆไดร้ ู้จกั กนั ก่อนตอนตน้ เพอื่ นๆจะได้ เลอื กจากข้างกลอ่ งหรือฉลากกากบั ผลิตภณั ฑ์ได้อย่างเหมาะสม 5. และเลือกใชห้ ลอดไฟทมี่ ีความแม่นยาของแสงของสี ควรเลอื กซื้อหลอดไฟทีม่ ีค่าความถกู ตอ้ งของ สี Ra=80 เปน็ ต้นไป 6. อายกุ ารใช้งานของหลอดไฟ เลอื กหลอดไฟประเภททม่ี ีอายุการใช้งานทยี่ าวนานหนอ่ ย จะไดไ้ ม่ ต้องดแู ลรกั ษามาก 7. ราคา ค่าซอ้ื หลอด ค่าเปลี่ยนและดแู ลหลอด ราคามกั จะสัมพันธก์ บั อายกุ ารใชง้ าน อายุการใช้งาน ยาวนานมักมรี าคาคา่ หลอดไฟท่แี พงกวา่ สว่ นท่อี ายกุ ารใชง้ านสน้ั กต็ ้องเปล่ยี นบอ่ ย ราคาหลอดถูก กวา่ กจ็ รงิ แต่อาจจะตอ้ งไปเสียคา่ รถ คา่ เสยี เวลาในการไปซอ้ื หรอื ซอื้ มาตนุ น่ยี ่งิ แลว้ ใหญ่ ลองเลอื กดู นะคะ แตแ่ นะนาว่าอยา่ เสยี น้อยเสียยาก เสียมาเสยี งา่ ยเลย 8. เลือกยหี่ อ้ ที่เป็นทร่ี จู้ ัก และได้การรบั รองมาตราฐานสินคา้ ดูไดจ้ ากสัญลกั ษณท์ กี่ ากบั ข้างกล่อง ผลิตภณั ฑ์ 4. สวา่ นไฟ สว่าน คือเคร่ืองมอื ชนดิ หนง่ึ ใช้สาหรบั เจาะรบู นวัสดหุ ลายประเภท เปน็ เคร่ืองมอื ท่ีใชบ้ ่อยในงานไม้ และงานโลหะ ประกอบด้วยส่วนสาคญั คือดอกสว่านที่หมนุ ได้ ดอกสวา่ นยดึ อย่กู บั เดอื ยด้านหน่งึ ของสวา่ น และถูกกดลงไปบนวัสดุทีต่ ้องการจากน้ันจึงถูกทาใหห้ มุน ปลายดอกสวา่ นจะทางานเป็นตวั ตดั เจาะวัสดุ กาจดั เศษวสั ดุระหวา่ งการเจาะ (เช่น ขี้เลื่อย) หรอื ทางานเป็นตัว สูบอนุภาคเลก็ ๆ (เชน่ การเจาะน้ามนั ) สวา่ นไฟฟา้ ใช้กาลงั ชว่ ยขับมอเตอรห์ มนุ สว่าน ตวั ท่ีให้กาลงั ขับแก่สวา่ น คอื มอเตอรแ์ บบยูนิ เวอร์ ซง่ึ เปน็ มอเตอร์ต่อกบั ชดุ เฟอื งซ่ึงทดความเรว็ ของมอเตอรล์ งทาใหส้ วา่ นหมุนช้ากวา่ มอเตอร์ และเกดิ

๙ แรงบิดมากขึ้นเพราะรอบทีช่ ้าลง สวา่ นจะมีชุดปรบั รอบและทศิ ทาง สามารถปรบั รอบการหมนุ ของหวั สวา่ น ไดต้ ้งั แต่ 10 รอบ ตอ่ นาที ถงึ 1,000 รอบต่อนาที แล้วแตก่ ารใชง้ านเจาะวสั ดตุ า่ ง ๆ กนั เช่น โลหะ ไม้ พลาสตกิ นอกจากน้ี ยังสามารถต่อกบั อุปกรณป์ ระกอบ เพื่อทางานอย่างอน่ื ๆ ได้อกี เช่น ใชต้ อ่ กบั จานขดั , แผน่ ขดั มัน,ล้อเจยี ระไน และต่อเปน็ ไขควงไฟฟ้าก็ไดด้ ้วย 5. แลคเกอร์ แลคเกอร์ หรอื อนิ าเมล (enamel) เปน็ ของเหลวทมี่ สี ว่ นประกอบหลกั คอื เรซนิ ของโอลโี อเรซนิ สั (oleoresinous) หรือ สารประกอบของไวนิล (vinyl) หรอื อพี อ็ กซี (epoxy) หรือฟนิ อลกิ (phenolic) หรอื พอลิเอสเตอร์ (polyester) และตัวทาละลาย ใชเ้ คลือบโลหะท่ีใช้ทากระป๋องบรรจอุ าหาร มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั (protective coating) การเปล่ียนแปลง สีเคลอื บแลคเกอร์นั้นเปน็ สที เี่ ราจะพบเห็นได้มากที่สดุ หาซอื้ ได้งา่ ย มที ง้ั ในแบบท่ตี ้องเอามาผสมกบั ทนิ เนอร์กอ่ นใช้และแบบเป็นสีสเปร์ย สีเคลอื บแลคเกอรน์ ้นั มคี ณุ สมบัติในการ เคลอื บ และยดึ เกาะช้ินงาน ค่อนข้างตา่ แหง้ เรว็ ใหเ้ นือ้ สคี ่อนข้างนอ้ ย ไมค่ อ่ ยใส กระเทาะง่าย ใชไ้ ปนานๆ สจี ะออกเหลอื งๆ สว่ นมากจะ ใช้ในงานท่ีตอ้ งการความสะดวก รวดเร็ว แตไ่ มเ่ หมาะกบั ใช้กบั ชิ้นงานทตี่ อ้ งการความเงางาม คงทน แต่กม็ ีมี แลคเกอร์อกี แบบหนึง่ ทม่ี ีคณุ สมบตั คิ ่อนข้างดี เป็นแลคเกอรท์ ใ่ี ชใ้ นการเคลอื บสรี ถยนต์ ภาษาชา่ งเรยี กว่าหวั แลคเกอร์ ใหค้ วามแข็งแรงและเงางาม ในระดับทดี่ ี แต่มขี ้อเสยี ทมี่ หี ายาก ราคาแพง ต้องผสมกบั ทินเนอรข์ อง มนั โดยเฉพาะ และใช้งานค่อนขา้ งยาก 6. กระดาษทราย กระดาษทราย (อังกฤษ: Sandpaper) คือกระดาษรปู แบบหน่ึงซง่ึ มีสารขัดถูติดหรือเคลอื บอยบู่ นหน้า ของกระดาษ ใชส้ าหรบั ขัดพ้นื ผวิ ของวัสดอุ ืน่ เพ่อื ใหว้ ัสดนุ ั้นเรียบ หรือขัดให้ชน้ั พน้ื ผิวเก่าหลดุ ออก หรอื บางคร้ัง อาจทาใหพ้ น้ื ผวิ ขรุขระมากขน้ึ เพ่ือเตรียมการติดดว้ ยกาว เปน็ ต้น ประวัติ กระดาษทรายเร่มิ มใี ชค้ รัง้ แรกในประเทศจนี ตง้ั แต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 กระดาษทรายในยคุ นั้นทาจาก เปลือกหอยบดละเอยี ด เมลด็ พืช และทราย ติดไว้บนหนังสตั ว์ดว้ ยยางธรรมชาติ บางครั้งมีการใชผ้ ิวของปลา ฉลามแทนกระดาษทราย เดมิ กระดาษทรายร้จู กั กันในชื่อ กระดาษแกว้ เนอื่ งจากใชก้ ากของแกว้ เปน็ ส่วนประกอบ (มิใช่กระดาษแก้วในปจั จบุ ัน) เกลด็ หยาบบนฟอสซลิ ของปลาซีลาแคนท์ (Coelacanth) ซงึ่ เป็นปลาดกึ ดาบรรพท์ ี่เกอื บจะสญู พนั ธ์ุ เคยถูกใช้เป็นกระดาษทรายโดยชนพนื้ เมอื งในประเทศคอโมโรส กระดาษทรายถกู ผลิตขนึ้ ดว้ ยเครื่องจักรเปน็ ครงั้ แรกโดยบรษิ ทั ของจอหน์ โอคยี ์ (John Oakey) ใน ลอนดอนเม่ือ พ.ศ. 2376 (ค.ศ. 1833) ซึง่ ไดพ้ ฒั นาเทคนิคและกระบวนการยึดตดิ ของสารขัดถสู าหรบั การ

๑๐ ผลิตในปรมิ าณมาก สว่ นกระบวนการผลิตกระดาษทรายด้วยเคร่ืองจกั รได้รบั การจดสทิ ธบิ ตั รในสหรัฐอเมรกิ า เม่อื 14 มถิ ุนายน พ.ศ. 2377 (ค.ศ. 1834) โดยไอแซก ฟสิ เชอร์ จเู นียร์ (Isaac Fischer Jr.) จากเมือง สปรงิ ฟลิ ด์ รฐั เวอร์มอนต์ ในปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) สามเอ็ม (3M) ได้คดิ ค้นกระดาษทรายกันนา้ ภายใต้ ยี่หอ้ Wetordry™ และการใชง้ านครง้ั แรกนัน้ เพ่ือตกแตง่ การทาสี 7. กาวรอ้ น กาว หรอื วสั ดุประสาน คอื ส่วนผสมของของเหลวหรือวัสดกุ งึ่ ของเหลวทส่ี ามารถเชอื่ มตดิ หรอื ประสานวัสดสุ องชน้ิ เขา้ ด้วยกัน กาวมีอยหู่ ลากหลายรูปแบบทง้ั มาจากธรรมชาตหิ รือสารเคมีสงั เคราะห์ ซง่ึ การ ใช้งานมกั จะขนึ้ อยกู่ บั วสั ดทุ ่ีจะนามาติดกนั กาวนิยมใช้ตดิ วัสดุทมี่ ีลักษณะบาง หรอื วสั ดุที่แตกต่างกนั [3] โดยกาวจะแตกตา่ งจากการเชอื่ มวสั ดุ แบบอ่นื คือ กาวจะใช้เวลาในการประสาน โดยกาว จะมหี ลากหลายประเภท ข้นึ อยู่กับการใชง้ านท่แี ตกตา่ งกนั 8. สายไฟฟา้ สายไฟฟ้า เป็นอปุ กรณ์ทีใ่ ชส้ ่งพลังงานไฟฟา้ จากทหี่ นง่ึ ไปยงั อีกทห่ี น่ึงโดยกระแสไฟฟ้าจะ เปน็ ตวั นา พลงั งานไฟฟ้าผ่านไปตามสายไฟจนถึงเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ สายไฟทาด้วยสารท่ยี อมใหก้ ระแสไฟฟ้าผา่ นได้ เรียกวา่ ตัวนาไฟฟา้ และตวั นาไฟฟ้าท่ีใชท้ าสายไฟเป็นโลหะทีย่ อมใหก้ ระแสไฟฟา้ ผ่านได้ดี ลวดตวั นาแตล่ ะชนิดยอมให้ กระแสไฟฟา้ ผา่ นได้ต่างกัน ตัวนาไฟฟ้าท่ียอมให้กระแสไฟฟา้ ผ่านได้มากเรยี กวา่ มีความนาไฟฟ้ามากหรอื มี ความตา้ นทานไฟฟ้านอ้ ย ลวดตัวนาจะมคี วามต้านทานไฟฟา้ อยดู่ ้วย โดยลวดตวั นาทม่ี ีความต้านทานไฟฟา้ มากจะยอม ใหก้ ระแสไฟฟ้าผา่ นได้นอ้ ย

๑๑ บทท่ี 3 วิธีการจดั ทาโครงงาน 1. วัสด/ุ อปุ กรณ์ในการทาโคมไฟกะลา ( 1 ชน้ิ งาน ) 1 กะลามะพร้าว 2-3 ลูก 2 ไม้ไผ่ 1 ไม้ 3 หลอดไฟ 1 หลอด 4 สายไฟ 5 สวิตซ์+ปลกั๊ ไฟ 1 ขวด 6 แลคเกอร์ (สาหรบั เคลอื บเงา) 2-3 แผน่ 7 กระดาษทราย 1 หลอด 8 กาวรอ้ น 9 เลื่อยฉล/ุ ใบเลือ่ ย 10 สวา่ นเจาะ 11 ดนิ สอ / วงเวียน 12 เชือกตกแตง่ (ตามท่ีตอ้ งการ) 2. ขั้นตอนการทา 1. เลอื กขนาดของกะลามะพร้าวใหพ้ อเหมาะ 2. นากะลามะพร้าวมาวาดใหเ้ ปน็ ลวดลายตามท่ีตอ้ งการ จากนั้นนามาเจาะรูตามทรี่ า่ งแบบไว้ 3. นากะลามาขดั ดว้ ยกระดาษทราย ให้กะลามผี วิ เรียบท่ีสุด 4. นากะลาทเี่ จาะรเู รยี บร้อยแลว้ มาเคลือบเงาแลคเกอร์ ใหม้ คี วามมันวาว 5. นาหลอดไฟมาประกอบเขา้ กบั กะลามะพรา้ ว 6. นาแผงมาประกอบเข้ากบั สายไฟ 7. นาอปุ กรณท์ ุกอยา่ งมาประกอบใหเ้ ขา้ กัน และตกแต่งดว้ ยเชือก จากน้นั จะไดโ้ คมทส่ี วยงาม