เจ้าของร่วม ที่ดิน เสียชีวิต

          ����׺���ͧ�ҡ⨷����ͧ������ԡ�͹�Ӻѧ�Ѻ������·�� 1 ��ͧ�͵����Ū�鹵� ��Ū�鹵������� ���ͧ�ҡ��žԾҡ������觺�ҹ�ǹ�Ź� �ӹǹ 2 ��ѧ ���ö¹�������������Ţ����¹ 9� - 9811 ��ا෾��ҹ�� ���С��˹�� �ѧ��� ���⨷����Ш���·�� 1 ��ҧ�����˹�����ӾԾҡ������ǡѺ��Ѿ���Թ�ѧ����ǫ�觡ѹ��Сѹ��Ъͺ���Т��͡�Ӻѧ�Ѻ���������·���ͧ���� �����⨷������觷�Ѿ���Թ������·�� 1 ����·�� 1 �֧���Է�Ԣ��͡�Ӻѧ�Ѻ���������� �ó�������˵��ԡ�͹���������͡�Ӻѧ�Ѻ ���¡����ͧ ��Ҥ���ͧ�繾Ѻ

การโอนมรดกที่ดิน เมื่อเจ้าของที่ดินตามโฉนดที่ดิน ไม่ว่าจะ บ้าน คอนโด ที่ดิน หรือเจ้าของโฉนด น.ส.3 หรือ น.ส. 3 ก. หรือ น.ส. 3 ข. เสียชีวิตลง ที่ดินแปลงนั้นจะตกเป็นมรดกแก่ทายาทของผู้ตาย ตามกฎหมาย (กรณีไม่ได้ทำพินัยกรรมไว้) หรือตามพินัยกรรมที่เจ้าของมรดกทำไว้ก่อนเสียชีวิต

ทายาท 6 ลำดับที่มีสิทธิตามกฎหมาย แบ่งลำดับสิทธิก่อนหลัง ดังต่อไปนี้

1. ผู้สืบสันดาน  

2. บิดา มารดา

3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน

4. พี่น้องร่วมบิดา หรือร่วมมารดาเดียวกัน

5. ปู่ ย่า ตา ยาย

6. ลุง ป้า น้า อา

คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่ ถือเป็นทายาทโดยธรรม มีสิทธิรับมรดกร่วมกับทายาทโดยธรรมทั้ง 6 ลำดับ 

เจ้าของร่วม ที่ดิน เสียชีวิต

โดยทั่วไป ผู้มีสิทธิได้รับมรดกที่ดิน สามารถดำเนินการได้ด้วยตัวเอง โดยจะต้องไปขอจดทะเบียนรับโอนมรดกที่ดินนั้นที่สำนักงานที่ดินจังหวัด หรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา 

หลักฐานที่ต้องนำไปประกอบการขอรับมรดก คือ

  • โฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองทำประโยชน์
  • บัตรประจำตัวประชาชน
  • ทะเบียนบ้าน 
  • หลักฐานการตายของเจ้ามรดก เช่น มรณบัตร
  • พินัยกรรม (ถ้ามี)
  • ถ้าผู้ขอ ขอรับมรดกในฐานะเป็นคู่สมรส ต้องมีหลักฐานการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย (ใบทะเบียนสมรส)
  • ถ้าผู้ขอรับมรดกเป็นบิดาเจ้ามรดก ต้องมีทะเบียนสมรสกับมารดาของเจ้ามรดกหรือหลักฐานการรับรองบุตร
  • กรณีบุตรบุญธรรมเป็นผู้ขอรับมรดก ต้องแสดงหลักฐานการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
  • ถ้ามีกรณีพิพาทเกี่ยวกับมรดก ต้องนำสัญญาประนีประนอมยอมความหรือคำพิพากษาอันถึงที่สุดไปแสดง
  • ถ้ามีผู้มีสิทธิรับมรดกร่วมกันหลายคน บางคนได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว ต้องมีหลักฐานการตายของทายาทนั้น ๆ 

ในกรณีที่มีผู้จัดการมรดก หลักฐานที่ต้องนำไป คือ

  • คำสั่งศาลหรือคำพิพากษาของศาล หรือพินัยกรรมซึ่งตั้งให้ผู้ขอเป็นผู้จัดการมรดก
  • หลักฐานการตายของเจ้ามรดก
  • ทะเบียนบ้าน และบัตรประจำตัวของผู้จัดการมรดก
  • โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์

ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน

  • ค่าคำขอ แปลงละ 5 บาท
  • ค่าประกาศมรดก แปลงละ 10 บาท
  • ค่าจดทะเบียนผู้จัดการมรดก แปลงละ 50 บาท
  • ค่าธรรมเนียมการโอน 0.5% ของราคาประเมินทุนทรัพย์ กรณีโอนมรดกระหว่างบุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือระหว่างคู่สมรส
  • ค่าจดทะเบียนโอนมรดก 2% ของราคาประเมินทุนทรัพย์ กรณีโอนมรดกให้พี่น้อง ญาติ ลูกบุญธรรม หรือบุคคลอื่นๆ ตามพินัยกรรม  

ค่าภาษีมรดกเพิ่มเติมสำหรับการรับมรดก 100 ล้านบาทขึ้นไป

พ.ร.บ. ภาษีการรับมรดก เป็นภาษีที่เก็บผู้รับมรดกจากกรมสรรพกร ซึ่งหมายรวมถึง อสังหาริมทรัพย์ เช่น บ้าน ที่ดิน ห้องชุด หรือหลักทรัพย์ต่างๆ เช่น พันธบัตร บัญชีเงินฝาก ยานพาหนะที่มีหลักฐานทางทะเบียน เช่น รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ รวมทั้งทรัพย์สินทางการเงินอื่น ๆ มูลค่าสุทธิรวมเกิน 100 ล้านบาท โดยจะเสียภาษีเฉพาะส่วนที่เกินจาก 100 ล้านบาทเท่านั้น (ไม่คิดรวม 100 ล้านบาทแรก) โดยจะแบ่งอัตราค่าเก็บภาษีสูงสุด 10% ตามเงื่อนไขที่กรมสรรพากรตั้งไว้ คือ

1. ผู้รับมรดกเป็นคู่สมรสที่ถูกต้องตามกฎหมาย จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีการรับมรดก

2. ผู้รับมรดกเป็นบุพการี (พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ทวดและสูงขึ้นไป) หรือผู้สืบสายเลือดแท้ๆ (ลูก หลาน เหลน) จะต้องเสียภาษีมรดกในอัตราคงที่ 5%

3. ผู้รับมรดกเป็นญาติพี่น้องรวม หรือบุคคลทั่วไปที่ไม่เกี่ยวข้องทางสายเลือดกับผู้ให้มรดก จะต้องเสียภาษีมรดกในอัตราคงที่ 10%

การสร้างศาลขึ้นมาให้เทพเจ้าแห่งผืนดิน “ถู่ตี้กง” สถิตของชาวไทยเชื้อสายจีนนั้น มีตำนานมายาวนาน คาดว่านับ 1,000 ปี ชื่อของเทพเจ้าแห่งผืนดินนี้มีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปตามมณฑลที่กว้างขวางของประเทศจีน  

ตำนานเทพเจ้าถู่ตี้กง ความเชื่อของชาวจีนในอดีต ฮ่องเต้คือบุตรของพระเจ้า สามารถแต่งตั้งสถาปนาเทพได้ ในรัชสมัยฮ่องเต้พระองค์หนึ่งได้แต่งตั้งเทพเจ้าจากศาลบูชาฮกเต็กของหมู่บ้านแห่งหนึ่ง เป็นเทพโหวโท่ว หรือ ถู่ตี้กง มีความหมายว่าเทพเจ้าแห่งผืนดิน ตำนานของเทพองค์นี้ เป็นผู้ที่มีความกตัญญู ตามตำนานการกำเนิดตี่จู่เอี๊ยะ เล่าว่าหมู่บ้านแห่งหนึ่งมีพิธีกรรมไหว้เทพเจ้าด้วยการตั้งศาลฮงเต็ก ภายหลังหมู่บ้านแห่งนี้มีผู้ประสบความสำเร็จอย่างมากมาย ปลูกพืชผลงอกงามได้ผลผลิตดี ทำให้ศาลนี้มีชื่อเสียงไปทั่วทุกแคว้น เศรษฐี ขุนนาง ก็สร้างศาลเชิญเทพเจ้าองค์นี้ไปบูชากันทุกๆ บ้าน จนทราบถึงฮ่องเต้องค์หนึ่ง เมื่อท่านสถาปนาเทพเจ้าถู่ตี้กง ก็มีคนเคารพนับถือกันมาก

ถู่ตี้กง เป็นเทพเจ้าที่เชื่อว่าเดินทางไปได้ทั้งบนสวรรค์ ฟ้า ดิน แม้ว่าท่านจะเป็นเทพที่อยู่ใกล้ชิดกับมนุษย์ แต่ก็ไม่ควรดูหมิ่นท่าน เชื่อว่าเทพและวิญญาณต่างๆ หากท่านไม่อนุญาตก็จะไม่ให้ใครเข้ามาในบ้านได้เลย รวมถึงคนในบ้านเองหากดูหมิ่นดูแคลน ก็จะทำมาหากินไม่ขึ้น

ตำนานถู่ตี้กงที่เชื่อว่ามีตัวตนจริง เป็นเรื่องที่เล่าต่อกันมาว่าท่านเกิดในรัชสมัยราชวงศ์จิว มีชื่อว่า “เตียเม่งเต็ก” เป็นผู้รับใช้ขุนนางผู้หนึ่ง เตียเม่งเต็กมีหน้าที่ดูแลขุนนางผู้นั้น ครั้งหนึ่งเมื่อนายถูกเรียกเข้ารับราชการที่วังหลวง เตียเม่งเต็ก มีหน้าที่แบกธิดาของขุนนางเพื่อตามมาทีหลัง ระหว่างทางเกิดพายุหิมะ เขาได้ถอดเสื้อสวมให้กับธิดาของขุนนางเพื่อให้เธอรอดปลอดภัยจากความหนาวเหน็บ เตียเม่งเต็กเสียชีวิตระหว่างทาง ภายหลังมีคนมาพบเห็นธิดาของขุนนางและช่วยชีวิตไว้ เธอซาบซึ้งในบุญคุณของเตียเม่งเต็ก จึงสร้างศาล “ฮกเต็ก” ไว้ในบ้าน เพื่อระลึกถึงความกตัญญูและความเสียสละต่อเจ้านาย

ชาวจีนที่นับถือศาลฮกเต็ก เมื่อเดินทางไปยังสถานที่ใด ก็จะจุดธูปกล่าวบูชา นำวัสดุที่พบมาตั้งเป็นศาล เช่น หิน 3-4 ก้อน มาสร้างเป็นศาลเล็กๆ แล้วจุดเทียน 1 คู่ จุดธูป 5 ดอก บอกกล่าวท่านเจ้าที่ว่าจะทำกินบนผืนดินนี้ ขอให้เพาะปลูกงอกงาม ภายหลังเมื่อค้าขายรุ่งเรืองแล้วก็สร้างศาลขึ้นในบ้านตามฐานะ เปลี่ยนวัสดุเป็นไม้ หิน หินอ่อน ตามความเหมาะสม

เมื่อชาวจีนอพยพไปอยู่ดินแดนต่างๆ ก็นำความเชื่อและศรัทธาของตนมาด้วย ความเชื่อเรื่องการตั้งศาลเจ้าที่ในชุมชนและในบ้านเรือนนั้น หากสร้างศาลเจ้าในบ้าน จะเรียกว่า “ตี่จู่เอี๊ยะ” คล้ายกับศาลเจ้าที่ในบ้านเรือนของคนไทย แต่หากเป็นศาลเจ้าที่ผู้คุ้มครองชุมชน จะเรียกศาลนี้ว่า ศาลถู่ตี้กง

ตัวหนังสือและภาพวาดในตี่จู่เอี๊ยะ คือภาพอะไร

เจ้าของร่วม ที่ดิน เสียชีวิต

ในยุคหนึ่ง ชาวไทยเชื้อสายจีนนิยมให้ผู้ที่ดูแลศาลเจ้ามาวาดภาพ และเขียนตัวหนังสือภายในศาล ยุคสมัยใหม่นิยมเขียนเป็นตัวหนังสือมงคล และภาพมังกร

จากหนังสือ ตึ่ง หนั่ง เกี้ย ผู้เขียน จิตรา ก่อนันทเกียรติ ตีพิมพ์ครั้งที่ 30 ได้กล่าวถึงเรื่องตี่จู่เอี๊ยะ ไว้ว่า “ตี่” แปลว่าที่ หรือ ที่ดิน ที่สองข้างองค์ท่านเขียนเป็นคำอวยพรว่า

“ซี้ ฮึง กิม งิ้ง จิง
โหงว โหล่ว ไช้ ป๋อ ไล้”

ความหมายโดยรวมคือให้เงินทองไหลมา มีกินมีใช้

สำหรับร้านค้า หรือ ห้องแถวที่ทำการค้าขาย บางแห่งนิยมสร้าง “ศาลบน” ลักษณะเป็นโต๊ะ หรือแท่น เพื่อประดิษฐานเทพเจ้า “ปึงเถ่ากง” หรือเทพเจ้าโชคลาภ วิธีตั้งศาลตี่จู่เอี๊ยะ เพื่อเป็นมงคลแก่ผู้อยู่อาศัย ดังนี้

วิธีตั้งศาลตี่จู่เอี๊ยะหากไม่ใช้ซินแสเป็นผู้ทำพิธี เจ้าบ้านก็สามารถทำพิธีตั้งศาลได้ ดังนี้

1. จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับศาลตี่จู่เอี๊ยะ
2. จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับโต๊ะฟ้าดิน หรือโต๊ะไหว้หน้าบ้าน
3. อาหารเซ่นไหว้ตี่จู่เอี๊ยะ

เจ้าบ้านหรือตัวแทน เป็นผู้นำพิธี ผู้เข้าร่วมพิธีเตรียมตัวชำระร่างกายให้สะอาด สวมเสื้อผ้าชุดใหม่ เปิดไฟทุกดวงในบ้าน เปิดประตูหน้าต่างทุกบาน ยกเว้นห้องน้ำ และห้ามพูดจาหยาบคายและห้ามทะเลาะกันในวันดีนี้

ขั้นตอนที่ 1 ไหว้โต๊ะฟ้าดิน
ผู้นำพิธี จุดเทียนสีแดง 1 คู่ จุดธูป 5 ดอก ตั้งจิตอธิษฐานต่อหน้าโต๊ะฟ้าดินว่า

“วันนี้วันที่ (วัน เดือน ปี พ.ศ.) ข้าพเจ้า (ชื่อ นามสกุล) เป็นเจ้าของ (บ้านเลขที่) ขออัญเชิญเทพยดาฟ้าดินมาเป็นสักขีและเป็นประธานในการทำพิธีตั้งตี่จู่เอี๊ยะ ขอให้องค์เทพยดาฟ้าดิน ช่วยนำองค์ตี่จู่เอี๊ยะที่ศักดิ์สิทธิ์และมีบารมีสูงส่งมาสถิตประทับในเคหสถานที่ได้จัดเตรียมไว้นี้ เพื่อปกปักรักษาคุ้มครองเจ้าของบ้านและสมาชิกทุกคนในบ้านให้มีสุขภาพพลามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ มั่งคั่ง ร่ำรวยและโชคดีตลอดไป”
หลังจากนั้นปักธูปในกระถางธูปโต๊ะไหว้ฟ้าดิน โปรยกลีบดอกดาวเรืองที่ด้านหน้าโต๊ะ เชิญเทพยดาเข้าบ้าน และเชิญทุกคนเข้าบ้าน

ขั้นตอนที่ 2 ไหว้ตี่จู่เอี๊ยะ
ผู้นำพิธี จุดเทียนสีแดง 1 คู่ จุดธูป 5 ดอก ที่กระถางธูปไหว้ตี่จู่เอี๊ยะ

เมื่อปักธูปดอกที่ 1 กล่าวขอให้ทุกคนในครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข
เมื่อปักธูปดอกที่ 2 ขอให้ทุกคนในครอบครัวมีโชคลาภ
เมื่อปักธูปดอกที่ 3 ขอให้ทุกคนในครอบครัว ไม่มีเรื่องทะเลาะวิวาท
เมื่อปักธูปดอกที่ 4 ขอให้ทุกคนในครอบครัว มีผู้อุปถัมภ์ ทั้ง 4 ทิศ
เมื่อปักธูปดอกที่ 5 ขอให้ทุกคนในครอบครัว คิดสิ่งใดสมความปรารถนา

หลังจากนั้น เจ้าบ้านเชิญทุกคนในบ้านมาจุดธูปคนละ 5 ดอก กล่าวชื่อนามสกุล อายุ แนะนำตัวกับเทพเจ้าตี่จู่เอี๊ยะ หากเป็นการจัดตั้งในบริษัท ก็ให้บอกกล่าวตำแหน่ง หน้าที่ในองค์กร พอครบทุกคนแล้ว เจ้าบ้านกล่าวอัญเชิญตี่จู่เอี๊ยะมารับเครื่องสักการะบูชา

เมื่อรอจนธูปหมดดอก ทำพิธีลาของเซ่นไหว้ตี่จู่เอี๊ยะ ดึงกระดาษทองที่วางของเซ่นไหว้ออกมารวมกันไว้ในถาด แล้วยกถาดขึ้นเหนือศีรษะ อธิษฐานขอพร และส่งต่อให้คนอื่นๆ จนถึงคนสุดท้าย แล้วนำกระดาษทองไปเผา เหมือนเผากระดาษเหลือแต่เถ้าถ่าน เทเหล้าจีนในขี้เถ้า 3 ครั้ง แล้วกล่าวขอพรทีละข้อต่อการเทเหล้า 1 ครั้ง

อาหารที่นำมาถวาย ควรวางไว้อย่างน้อย 6 ชั่วโมง จึงนำมารับประทานต่อได้ ถือว่าเป็นอาหารมงคล หรือนำไปแบ่งไว้นอกบ้านบริเวณทางสามแพร่งให้ดวงวิญญาณเร่ร่อน ด้วยการปักธูป 1 ดอก กล่าวนะโม 3 จบ และกล่าวบทอุทิศแก่ดวงวิญญาณเร่ร่อนที่หิวโหย 7 รอบ “อิติเวสสุวัณโณ สัพพะภูโตสุขัง ใครที่หิวโหย เชิญมากินอาหารเหล่านี้ได้เลย”

เจ้าของร่วม ที่ดิน เสียชีวิต

ปัจจุบันวัสดุที่ใช้ทำเรือน “ตี่จู่เอี๊ยะ” นั้น นิยมไม้ ปูน และหินอ่อน โดยมีขนาดตั้งแต่ 10 นิ้วขึ้นไป หากเป็นศาลตี่จู่เอี๊ยะในร้านค้าหรือบริษัท นิยมขนาด 24 นิ้วขึ้นไปตาม เพื่อเสริมโชคลาภ บารมี การค้าขาย ศาลเจ้าที่ตี่จู่เอี๊ยะที่จำหน่ายอยู่ในปัจจุบันมีแบบสำเร็จรูปและสั่งทำตามความต้องการของเจ้าของบ้าน โดยจัดวางขนาดเสา ตามสัดส่วนมงคล รูปแบบของตี่จู่เอี๊ยะจากร้านต่างๆ ที่นิยม ได้แก่

  • ตี่จู่เอี๊ยะ โมเดิร์น หมายถึง ตี่จู่เอี๊ยะที่ดีไซน์เหมาะกับบ้านสมัยใหม่
  • ตี่จู่เอี๊ยะ มินิมอล หมายถึง ตี่จู่เอี๊ยะ ขนาดกะทัดรัด เหมาะสำหรับบ้านที่มีพื้นที่น้อย
  • ตี่จู่เอี๊ยะจักรพรรดิ หมายถึง ตี่จู่เอี๊ยะที่มีจำนวน เสาและหลังคาตามหลักฮวงจุ้ย
  • ตี่จู่เอี๊ยะ 888 หมายถึงจำนวนรูปสลักปลา 8, หงส์ 8 และปลา 8 ตัว

พื้นที่วางศาลตี่จู่เอี๊ยะ ควรติดพื้น ด้านหน้าเป็นที่โล่งไว้สำหรับเปิดรับโชคลาภและบารมี และเพื่อให้ท่านมองเห็นได้อย่างชัดเจน ภายในเรือนศาลตี่จู่เอี๊ยะประกอบด้วย

1. อักษรมงคล ภาพสัตว์มงคล
2. โคมไฟ หลอดไฟ
3. กระถางธูป

การบูชา “ไหว้ตี่จู่เอี๊ยะ” ในวันสำคัญต่างๆ

เจ้าของร่วม ที่ดิน เสียชีวิต

บ้านเรือน ร้านค้า บริษัท ที่ตั้งศาลตี่จู่เอี๊ยะนั้น นิยมไหว้ทุกวัน และช่วงเทศกาลสำคัญตามปฏิทินวันพระจีน ทำในช่วงตอนเช้าตรู่ เตรียมของไหว้ได้แก่

1. น้ำชา 5 ถ้วย
2. น้ำเปล่า 3 ถ้วย
3. ขนม ส้ม หรือผลไม้มงคล 5 ลูก
4. กระดาษไหว้ 1 ชุด

เมื่อตั้งศาลตี่จู่เอี๊ยะ ในพิธีไหว้ทุกๆ วันนั้นพึงระลึกว่าวันนี้เป็นวันดี จะต้องประพฤติดี และทุกๆ นอกจากจะอธิษฐานขอให้ท่านคุ้มครองแล้ว ต้องตระหนักว่าคนเราจะดีจะชั่ว อยู่ที่ตัวเรา ไม่ใช่คอยหวังแต่ให้เทวดาฟ้าบันดาล (ที่มาจากหนังสือจิตรา ก่อนันทเกียรติ)