หน้าที่พลเมือง ป ว ช 1 พร้อม เฉลย

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ของสำนกั พิมพ์เอมพันธ์ สไลด์ที่ ๑ (เฉลยคอื คำทอ่ี ยู่ในกล่องสีขาวทั้งหมด 6 คำ)

สถาบนั สงั คม บรรทดั ฐาน คา่ นยิ ม สขุ อนามยั

ศาสนา สทิ ธิ สถาบนั วจิ ยั หลกั ธรรม

จากน้นั เช่ือมโยงเข้าส่บู ทเรยี น

ขั้นสอน
2. ชี้แจงจดุ ประสงคร์ ายวิชา เกณฑ์การวดั และประเมินผล จากนนั้ นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
วิชาหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม บทที่ 1-14
3. นักเรยี นสลับแบบทดสอบเพอ่ื ตรวจสอบความถูกต้อง โดยมคี รูอธิบายเพม่ิ เติมใหส้ มบูรณ์
4. นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนีล้ งบนกระดาษ post-it ข้อละ 1 แผ่น

• วิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรมคืออะไร (วิชาทศี่ ึกษาเกีย่ วกับบทบาท สทิ ธิ หนา้ ที่ของ
ประชากร และแนวทางการดำเนินชีวิตในสังคมเพื่อการอยู่รว่ มกันอย่างสนั ติ)

• ประโยชนข์ องการเรียนวชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมืองและศีลธรรม (ข้ึนอย่กู บั ดลุ ยพินิจของครูโดยมีแนว
คำตอบดังน้ี เพ่ือใหน้ กั เรยี นเข้าใจบทบาท สิทธิ หนา้ ท่ีของตนเองที่พงึ กระทำตอ่ ส่วนรวม และ
สามารถดำรงชวี ิตในสงั คมรว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้อย่างสงบสขุ )

ขัน้ สรุป
5. นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายในประเดน็ “เป้าหมายสูงสุดของการเรยี นหนา้ ท่ีพลเมืองและ
ศลี ธรรมคืออะไร” (ขึน้ อยู่กับดลุ ยพนิ ิจของครู โดยมแี นวคำตอบดงั นี้ “เป็นพลเมืองดีของสังคม”)
6. นกั เรียนทำแบบบนั ทึกพลเมืองดีมีศลี ธรรม ในหนงั สอื เรียนวชิ าหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม ของ
บริษทั สำนกั พมิ พเ์ อมพันธ์หน้า 285 แล้วรวมจำนวนข้อนำไปแสดงในกราฟพฒั นาการความดหี นา้ 286
โดยมคี รเู ป็นผ้ตู รวจสอบทุกสัปดาห์

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี น วชิ าหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม ของบรษิ ทั สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
2. ส่อื PowerPoint วิชาหน้าท่พี ลเมืองและศลี ธรรม
3. กระดาษ post-it

หลักฐาน
1. การตรวจใบงาน กิจกรรม คำถาม
2. การเชค็ ชื่อเรยี นในรายวชิ า

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นร้กู อ่ นเรียน
3. บนั ทกึ ความดดี า้ นหลงั ของหน้าปกหนังสือเรียน

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรยี น
3. บันทกึ ความดี

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีช่องปรับปรุง
2. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กบั การ

ประเมิน
ตามสภาพจริง
3. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละคร้ังมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดขี องตนเองลงในแบบพฒั นาความดีที่อยู่ด้านหลังของหน้าปกหนงั สือเรียน

กิจกรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรียนบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แบบทดสอบผลการเรียนรู้ก่อนเรียน/หลงั เรียน

จ ง เ ลื อ ก ค ำ ต อ บ ท่ี ถู ก ต้ อ ง ท่ี สุ ด

1. เพราะเหตุใดมนุษย์ตอ้ งรวมกลุ่มเปน็ สังคม

ก. เพ่ือสร้างวัฒนธรรม ข. เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สงั คม

ค.เพื่อใหอ้ ยู่รอดปลอดภัย ง. เพื่อให้เป็นมนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์

จ. เพราะต้องการสรา้ งสัญลักษณ์มาใช้

2. สว่ นต่างๆ ทปี่ ระกอบกันเป็นระบบความสมั พนั ธ์ของมนุษย์ที่สมาชกิ ไดย้ ดึ ถือและใช้เปน็ แนวทางใน

การปฏบิ ัตริ ่วมกนั หมายถึงอะไร

ก. โครงสรา้ งทางสงั คม ข. กลมุ่ ทางสังคม

ค. สถาบันทางสังคม ง. บรรทัดฐานทางสังคม

จ. การจัดระเบียบสังคม

3. ข้อใดไมใ่ ช่องคป์ ระกอบของสถาบนั ทางสังคม

ก. กลมุ่ สังคม ข. หน้าที่

ค. แบบแผนพฤติกรรม ง. สัญลักษณแ์ ละค่านิยม

จ. ถาวรวัตถุ

4. ข้อใดเปน็ หน้าท่ีของสถาบันสังคมท่สี ถาบนั อ่นื ๆ ไม่สามารถทำหน้าท่ีแทนได้

ก. ให้กำเนิดสมาชิกใหม่ ข. ใหค้ วามปลอดภยั แก่สมาชิก

ค. ทำนบุ ำรงุ สมาชิก ง. ให้การกนิ ดีอยู่ดี

จ. ถ่ายทอดวัฒนธรรม

5. ข้อใดจับคู่สญั ลักษณ์กบั สถาบันไม่ถูกตอ้ ง

ก. บา้ น-สถาบนั ครอบครวั ข. โรงเรยี น-สถาบนั การศกึ ษา

ค. ไม้กางเขน-สถาบนั ศาสนา ง. ดารา-สถาบนั นนั ทนาการ

จ. นักร้อง-สถาบนั สื่อสารมวลชน

6. ข้อใดเปน็ เหตผุ ลพ้ืนฐานที่ทำให้เกิดสถาบันเศรษฐกจิ

ก. เพราะมนษุ ยต์ ้องการความมัง่ ค่งั

ข. เพื่อจัดสรรและแบ่งปันทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัด

ค. เพื่อใหส้ งั คมเกดิ ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย

ง. เพื่อสร้างสิ่งยึดเหนีย่ วจิตใจ

จ. เพ่ือกระจายข้อมลู ขา่ วสาร

7. “ศาล” จดั อยู่ในสถาบนั ในข้อใด

ก. สถาบันครอบครวั ข. สถาบันเศรษฐกจิ

ค. สถาบันการเมืองการปกครอง ง. สถาบนั การศึกษา

จ. สถาบนั สื่อสารมวลชน

8. ข้อใดไมจ่ ดั เป็นหน้าที่ของสถาบันการเมอื งการปกครอง

ก. รกั ษาความมั่นคงของชาติ ข. รกั ษากฎเกณฑ์ของสงั คม

ค. บำบัดทกุ ข์ บำรุงสุข ง. พฒั นาคุณภาพของประชาชน

จ. สร้างส่ิงยดึ เหนี่ยวจิตใจ

9. ข้อใดไม่จดั เปน็ กลุ่มคนในสถาบนั สือ่ สารมวลชน

ก. ผปู้ ระกาศข่าว ข. นกั หนงั สือพิมพ์

ค. นักจัดรายการวิทยุ ง. นกั ร้อง นักแสดง

จ. ชา่ งภาพหนงั สือพิมพ์

10. ข้อใดเป็นการแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถาบนั เศรษฐกิจกับสถาบนั การเมืองการปกครอง

ก. รัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงนิ บาท

ข. ศาลตัดสินจำคกุ รัฐมนตรี

ค. ธนาคารงดปลอ่ ยเงินกู้ใหก้ บั บุคคลบางอาชีพ

ง. ตำรวจกวดขันการเขา้ เมืองของคนต่างด้าว

จ. กองทัพตรึงกำลงั บริเวณดา่ นชายแดน

11. วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของทุกศาสนาท่ีเหมอื นกันคือสง่ิ ใด

ก. เพือ่ ประเทศชาติมคี วามม่ันคง เขม้ แข็ง

ข. เพ่อื สรา้ งฐานอำนาจ พลัง และความเป็นผนู้ ำ

ค. สง่ เสริมความเขา้ ใจอันดี มสี ันติ ขจัดความแตกร้าวระหว่างมนุษยชาติ

ง. สง่ เสริมหลักประชาธปิ ไตย สิทธิ เสรีภาพ

จ. สร้างศรทั ธาให้ได้มากท่สี ดุ

12. ขอ้ ใดให้ความหมายของคำวา่ “ศาสนา” ไม่ถูกต้อง

ก. ลทั ธิความเชอ่ื ของมนุษย์ ข. คำสอน ข้อบังคับ

ค. ความเป็นใหญใ่ นแผน่ ดิน ง. บุญ บาป ปรมัตถ์

จ. ชวี ติ หลังความตาย

13. ขอ้ ใดกล่าวถงึ กำเนิดของศาสนาไมถ่ กู ตอ้ ง

ก. ความเช่ือเร่อื งผี วิญญาณ ข. ความเชอ่ื เรอ่ื งไสยศาสตร์ การบชู ายญั

ค. ความแปรผันของธรรมชาติ ง. ความตอ้ งการเป็นผนู้ ำในสงั คม

จ. ความเช่ือของบรรพบรุ ุษ

14. จากคำกล่าวท่วี ่า “ผใู้ ดทำช่วั ในท่แี จง้ จะถูกมนุษยล์ งโทษ ผ้ใู ดทำช่ัวในที่ลบั จะถูกเทวดาลงโทษ” ไมม่ ี

ความเกีย่ วข้องกับความเช่ือเรื่องใด

ก. นรก–สวรรค์ ข. บุญ–บาป

ค. เทวดา–ซาตาน ง. ภพปัจจบุ นั –ภพในชาตหิ น้า

จ. ไสยศาสตร์-คาถาอาคม

15. “สงั คมไทยเปน็ สงั คมแหง่ เมอื งพุทธ” จากคำกล่าว น้ีแสดงถงึ ความสำคัญของศาสนาประการใด

ก. เป็นสิ่งยดึ เหนยี่ วจิตใจ ข. เป็นเคร่ืองมือสร้างความสามัคคี

ค. เปน็ มรดกของสังคม ง. เปน็ เครอ่ื งหมายของสังคม

จ. เปน็ วฒั นธรรม

16. การทำบญุ ตักบาตร ไหวพ้ ระ บรรพชา อปุ สมบทเป็นตวั อย่างของความสำคัญทางศาสนาในแงใ่ ด

ก. เป็นบรรทัดฐานของสงั คม

ข. เปน็ พื้นฐานของขนบธรรมเนยี มประเพณี

ค. เป็นมรดกของสงั คม

ง. เป็นเคร่ืองขดั เกลาสมาชกิ ของสงั คม

จ. เป็นพธิ ีกรรม

17. ศาสนามีอิทธิพลในการก่อกำเนิดสง่ิ ใด

ก. พิธีกรรม ข. ศิลปกรรม

ค. ประเพณี ง. ถูกทุกข้อ

จ. วัฒนธรรม

18. ศาสนาใดเปน็ ศาสนาประเภทเทวนยิ ม

ก. ศาสนาพุทธ ครสิ ต์ ชนิ โต ข. ศาสนาพทุ ธ พราหมณ-์ ฮนิ ดู

ค. ศาสนาพุทธ ครสิ ต์ ยิว ง. ครสิ ต์ อิสลาม พราหมณ์-ฮนิ ดู

จ. ถูกทุกข้อ

19. ศาสนาใดเปน็ ศาสนาอเทวนยิ ม

ก. ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ ข. ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ค. ศาสนาเชน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ง. ศาสนาพุทธ ครสิ ต์

จ. ถกู ทุกข้อ

20. ใครใชห้ ลักการของศาสนาในการดำเนนิ ชีวิตได้ดีทส่ี ุด

ก. โสภาแบ่งเงนิ สว่ นหน่ึงจากค่าขนมหยอดใสก่ ระปกุ ทุกวัน

ข. โสภณบรจิ าคเงินชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบอุทกภัย

ค. โสพศิ โตเ้ ถียงกบั เพ่ือนร่วมงานที่ตกั เตือนเรื่องทเ่ี ธอมาทำงานสาย

ง. โสฬสแบ่งอาหารใสป่ ่ินโตไปกินที่ทำงาน

จ. โสภลี างานเพือ่ ไปทำบุญทีว่ ดั

เฉลยแบบประเมินผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี น/หลงั เรยี น

1 ค 5 ข 9 ง 13 ง 17 จ
2 ก 6 ข 10 ก 14 ง 18 ง
3 จ 7 ค 11 ค 15 ง 19 ก
4 ค 8 จ 12 ค 16 ข 20 ข

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
......................................................................................................................... ....................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................. ..................................................................................... ...........
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 1 หน่วยท่ี 1

รหัสวิชา 20000 - 1501 วิชา หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม สอนครั้งท่ี 2-3

ชือ่ หน่วย/เรอื่ ง สถาบันทางสงั คม จำนวน 2 ชว่ั โมง

จดุ ประสงค์รายวชิ า
4. ร้แู ละเข้าใจเก่ียวกับสงั คม วัฒนธรรม สทิ ธิหนา้ ทพ่ี ลเมอื งดแี ละหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนา

5. ประพฤติปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

และเป็นศาสนิกชนทด่ี ีตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือ

3. ตระหนกั ถึงการดำเนนิ ชีวติ ท่ถี ูกตอ้ งดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั สงั คม วัฒนธรรม สิทธหิ นา้ ทีพ่ ลเมอื งดีและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนา
2. ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดีตามบรรทัดฐานทางสังคม คา่ นยิ มพ้นื ฐานและระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ

สาระสำคัญ
สถาบนั ทางสงั คมเปน็ แบบแผนของกระบวนการคิดและพฤติกรรมของคนในสังคม สถาบันสังคมที่

เป็นพื้นฐานหรือความต้องการเบื้องต้นของสมาชิกในสังคม ประกอบด้วยสถาบันครอบครัว

สถาบันการศึกษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั เศรษฐกิจ สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันนนั ทนาการ และ

สถาบนั ส่ือสารมวลชน ซ่ึงสถาบนั ทางสังคมแตล่ ะแห่งย่อมมีบรรทดั ฐานทางสังคมท่แี ตกตา่ งกนั

ผลการเรยี นรูท้ ค่ี าดหวงั

1. บอกความหมายและองค์ประกอบของสถาบนั ทางสงั คมได้

2. บอกบทบาท ความสำคญั ของสถาบนั ทางสังคม และบรรทดั ฐานทางสงั คมได้

3. บอกความสมั พันธข์ องสถาบนั ทางสังคม

4. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผ้สู ำเร็จการศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมมี นุษย์สัมพันธ์ 2. ความมวี นิ ยั

3. ความรบั ผิดชอบ 4. ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต

5. ความเชื่อม่ันในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝร่ ู้ 8. การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนนั

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตญั ญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1

1. สถาบันทางสงั คม
2. บทบาท ความสำคัญของสถาบันทางสงั คมและบรรทัดฐานทางสงั คม
3. ความสัมพันธ์ของสถาบนั ทางสังคม

กิจกรรมการเรยี นรู้
- ชั่วโมงที่ 1 เรอ่ื ง สถาบนั ทางสงั คม -

ขั้นนำ
1. ให้นกั เรียนเลอื กสถาบนั ทางสงั คมทเี่ กีย่ วข้องกับชีวิตของนกั เรียน โดยมบี ัตรคำสถาบันทาง
สงั คมต่อไปนี้ สถาบนั ครอบครวั สถาบันการศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบนั
นนั ทนาการ สถาบนั เศรษฐกจิ สถาบนั สอ่ื สารมวลชน
เชือ่ มโยงเข้าสูก่ ารสอน (จากสถาบันทางสังคมทีน่ ักเรยี นเลอื กมาทุกสถาบันลว้ นมคี วามเกี่ยวข้องกับ
นักเรียนอย่างหลีกเลยี่ งไม่ได้ ขึน้ อยู่วา่ เป็นความสัมพันธท์ างตรงหรอื ทางอ้อม ดังนัน้ สถาบันทางสงั คมจึง
เป็นเรอื่ งทีเ่ กี่ยวข้องกบั นักเรียน)
ขั้นสอน
1. สมุ่ นกั เรียนเขยี นความหมายของคำว่า “สถาบนั สงั คม” ลงบนกระดานจำนวน 4-5 คน จากน้นั
นักเรยี นรว่ มกนั สรุปลงคำถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้ หน้า 25 ตอนท่ี 1 ข้อที่ 1 โดยมคี รูอธิบายเพ่มิ เติมให้
สมบรู ณ์ (สถาบนั สงั คม หมายถงึ รูปแบบพฤติกรรมที่มแี บบแผนหรอื กฎเกณฑ์ความสมั พันธท์ ี่บุคคลยึดถือ
เพือ่ สนองความต้องการของสมาชกิ ในสงั คม)
2. นกั เรียนศึกษาองคป์ ระกอบของสถาบนั ทางสงั คม แลว้ เขียนคำตอบลงคำถามท้ายหน่วยการ
เรียนรู้
หนา้ 25 ตอนท่ี 1 ขอ้ ที่ 2-4 โดยมคี รเู ปน็ ผู้อธบิ ายเพม่ิ เติมใหส้ มบูรณ์

• องค์การทางสงั คม หรือกล่มุ สังคม (กลุ่มคนที่มีความสมั พนั ธม์ กี ารกระทำต่อกนั ในสงั คม)

• หน้าทข่ี องสถาบันทางสังคม (การปฏิบตั ทิ มี่ จี ดุ มุ่งหมายในการสนองความต้องการของสงั คม)

• บรรทัดฐานทางสงั คม (แบบแผนพฤติกรรมและแบบแผนความคดิ ในการประพฤติปฏิบตั ิตอ่ กัน

ของสมาชิก เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของสถาบนั นน้ั )

3. นกั เรียนทำใบงาน 1.1 เรื่องครอบครวั ของฉนั ในหนังสือเรียนวิชาหนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม
ของสำนักพิมพเ์ อมพันธ์ หนา้ 28 จากนั้นวิเคราะหว์ ่าครอบครวั ของนักเรียนเปน็ ครอบครัวประเภทใด
(ครอบครัวเด่ียว/ครอบครวั ขยาย)

ขน้ั สรุป
1. นกั เรียนชว่ ยกนั จัดกล่มุ ความสมั พนั ธข์ ององค์ประกอบสถาบนั ครอบครัว ตามหัวข้อที่ขีดเส้น
ดงั ตอ่ ไปน้ี

กลมุ่ สังคม : (บิดา มารดา บตุ ร สามี ภรรยา ปู่ ยา่ ตา ยาย เครอื ญาติ)
บทบาทและหนา้ ที่ : (ให้การเล้ียงดู อบรมส่ังสอน)
บรรทัดฐาน : (การเล้ียงดบู ตุ ร เลย้ี งดูบิดา มารดา)

2. แบ่งกลมุ่ ใหน้ กั เรียนทำแผนผงั ความคิดเรื่อง “สถาบนั สังคม” โดยแบ่งออกเป็น ๖ กลุ่ม
ดังตอ่ ไปนีส้ ถาบันการศึกษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั การเมืองการปกครอง สถาบันนนั ทนาการ สถาบัน
เศรษฐกจิ และสถาบันสื่อสารมวลชน ให้นำเสนอในชั่วโมงตอ่ ไป

- ชวั่ โมงที่ 2 เร่อื ง บรรทดั ฐานทางสงั คมและความสัมพันธ์ของสถาบนั ทางสังคม-
ขั้นนำ
1. นักเรยี นดูละครเร่ืองวัยแสบสาแหรกขาด โครงการ 2 ฉากพีทและครอบครัวจาก
https://www.youtube.com/watch?v=ayRUxf6rIy0 จากน้นั รว่ มกันวเิ คราะห์ตามประเด็นต่อไปนี้
• ครอบครัวพที เปน็ ครอบครัวเดี่ยว หรอื ครอบครัวขยาย (ครอบครวั ขยาย เพราะมีคุณตาคุณ
ยายอยดู่ ้วย)

• สาเหตุใดทส่ี ่งผลใหพ้ ีทมีอาการโมโห (พฤตกิ รรมของคนในครอบครัว สง่ ผลให้พีทเป็นเด็ก
อารมณ์ร้อน หงุดหงิดงา่ ย)

• สถาบนั ครอบครวั สง่ ผลต่อเด็กอย่างไร ใหย้ กตัวอย่างจากเรื่อง (ขนึ้ อยู่กับดุลยพนิ จิ ของครู โดย
มีแนวคำตอบดังนี้ เด็กรับอารมณ์ ทงั้ เลียนแบบพฤติกรรมจากผ้ใู หญท่ ใี่ กล้ชิดและเปน็ ไปตามการ
อบรมสัง่ สอนของผใู้ หญ่ ซึ่งในเรอ่ื งครอบครวั แม่พีทแสดงอารมณ์โมโห หงุดหงดิ ใสพ่ ีท เขาจงึ รบั
อารมณ์และแสดงอารมณเ์ หมือนแมเ่ ม่ือไม่ได้ดั่งใจ)
เช่ือมโยงเข้าส่บู ทเรียน

ข้ันสอน
2. นกั เรยี นและครชู ่วยกนั สรุปความสำคัญของสถาบันครอบครวั จากละคร “สถาบนั ครอบครวั เปน็
สถาบนั ทางสังคมท่เี ล็กทส่ี ดุ และใกลช้ ิดท่ีสดุ จึงสำคัญทสี่ ุด” จากน้นั ให้นกั เรยี นช่วยกันเขียนองคป์ ระกอบ
สถาบันครอบครัวในใบงาน ๑.๒ หนา้ ๒๙
3. นกั เรียนจบั สลากเพ่ือนำเสนอแผนผงั ความคิดสถาบันทางสงั คมดงั ต่อไปนี้ โดยมีองค์ประกอบ
ใหค้ รบถว้ น

• สถาบันการศึกษา

• สถาบันศาสนา

• สถาบนั การเมืองการปกครอง

• สถาบันนนั ทนาการ

• สถาบันเศรษฐกจิ

• สถาบันสื่อสารมวลชน
จากน้ันนักเรยี นทุกคนทำใบงาน 1.2 หน้า 29 องค์ประกอบของสถาบนั การศกึ ษาและสถาบนั
ศาสนา คำถามทา้ ยหนว่ ยการเรียนร้หู นา้ 25 สง่ ท้ายคาบเรียน

4. นกั เรยี นเรยี นร้สู ถาบันทางสงั คม จากการทำใบงานที่ 1.3 เร่ืองกลุ่มสงั คมในสถาบันเศรษฐกิจ
และ 1.4 เร่ืองสถาบนั นนั ทนาการในชวี ิตประจำวัน โดยมีครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ใหส้ มบูรณด์ ว้ ยใชส้ ่ือ Power
point หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1

ขน้ั สรปุ
5. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ความสำคัญของสถาบันทางสงั คม (สถาบนั ทางสังคม เป็นแบบ
แผนพฤติกรรมที่ใหส้ มาชิกพึงปฏบิ ัติเพื่อการอยูร่ ่วมกันในสังคมไดอ้ ยา่ งสงบสขุ )

สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
4. หนังสือเรยี น วิชาหนา้ ท่พี ลเมืองและศีลธรรม ของบรษิ ัท สำนักพิมพ์เอมพนั ธ์ จำกัด
5. สอ่ื PowerPoint วชิ าหน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑
6. บตั รข้อความ สถาบันครอบครัว สถาบันการศกึ ษา สถาบันศาสนา สถาบนั การเมืองการปกครอง
สถาบนั นนั ทนาการ สถาบันเศรษฐกจิ สถาบันส่ือสารมวลชน
7. สื่อ Youtube

หลักฐาน
3. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
4. แผนผงั ความคดิ
5. การเชค็ ช่อื เรยี นในรายวิชา

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล

1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
3. ตรวจคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้/ใบงาน
4. ให้คะแนนการนำเสนอแผนผังความคดิ
5. ตรวจบนั ทกึ ความดี

เครื่องมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ (โดยครู)
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร้/ู ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
4. แบบประเมนิ การนำเสนอแผนผงั ความคิด
5. บนั ทึกความดี

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
3. ตอบคำถามท้ายหนว่ ยการเรยี นร้แู ละทำใบงานได้ทุกใบงานจงึ จะถือว่าผ่านการประเมนิ
4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมิน
ตามสภาพจรงิ
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดีที่อยู่ด้านหลงั ของหน้าปกหนงั สือเรียน

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นักเรยี นบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

เกณฑ์การประเมินการเขยี น Mind Mapping
ระดับคุณภาพ

ประเดน็ การประเมนิ 432 1
Mind Mapping
(ดีมาก) (ดี) (พอใช)้ (ปรับปรงุ )
เกณฑ์การประเมนิ
เขยี นแผนที่ เขยี นแผนที่ เขยี นแผนที่ เ ขี ย น แ ผ น ท่ี

ความคิดท่ีแสดง ความคิดท่ีแสดง ความคิดที่แสดง ค ว า ม คิ ด ท่ี

ความคิดรวบยอด ความคิดรวบยอด ความคดิ รวบยอด แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด

หลกั ถกู ต้อง หลักถูกต้อง หลกั ถกู ต้อง ร ว บ ย อ ด ห ลั ก

ตรงประเด็น ขยายความคิดยอ่ ย ขยายความคิดยอ่ ย ไ ม่ ต ร ง ป ร ะ เ ด็ น

ขยายความคิดยอ่ ย ได้ถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง ข ย า ย ค ว า ม คิ ด

ได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบทกุ มจี ำนวนน้อย ย่ อ ย ไ ด้ ไ ม่

ครบทกุ ประเด็น ประเด็น มจี ำนวน ประเดน็ ถู ก ต้ อ ง

เชอ่ื มโยงความคิด มากประเดน็ เช่ือมโยงความคิด ไ ม่ เ ชื่ อ ม โ ย ง

รวบยอดหลกั เชอ่ื มโยงความคิด รวบยอดหลกั ค ว า ม คิ ด ร ว บ

ความคิดรอง รวบยอดหลัก ความคดิ รอง ย อ ด ห ลั ก

ความคดิ ย่อยได้ ความคดิ รอง ความคิดย่อย ค ว า ม คิ ด ร อ ง

ชดั เจน ความคดิ ย่อยได้ มีสสี วยงาม ค ว า ม คิ ด ย่ อ ย

มสี สี วยงาม มีสีสวยงาม ไม่สามารถแยก มีสีไม่สวยงาม

ประณีต แยกประเดน็ หลัก ประเด็นหลัก ไ ม่ ส า ม า ร ถ แ ย ก

แยกประเด็นหลัก ประเดน็ รอง ประเดน็ รอง ป ร ะ เ ด็ น ห ลั ก

ประเดน็ รอง ประเดน็ ย่อยได้ ประเดน็ ยอ่ ย ป ร ะ เ ด็ น ร อ ง

ประเด็นยอ่ ยได้ ป ร ะ เ ด็ น ย่ อ ย

ชัดเจน

ระดบั คะแนน 10 คะแนน คุณภาพดีมาก
ระดบั คะแนน 9 คะแนน คณุ ภาพดี
ระดับคะแนน 7 - 8 คะแนน คณุ ภาพพอใช้
ระดับคะแนน 5 - 6 คะแนน คณุ ภาพควรปรับปรุง

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................
ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแกป้ ญั หา
............................................................. ..................................................................................... ...........
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................. ...............................
................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 2 หน่วยท่ี 2

รหสั วิชา 20000 -1501 วิชา หน้าทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม สอนครัง้ ท่ี 4-6

ช่อื หน่วย/เร่ือง สังคมไทย ปญั หาสังคมไทย คุณธรรม จริยธรรม และ จำนวน 3 ชวั่ โมง

ค่านิยมที่ควรปลูกฝังในสังคมไทย

จุดประสงคร์ ายวชิ า
1. รแู้ ละเข้าใจเกย่ี วกับสงั คม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าท่ีพลเมอื งดีและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
2. ประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ พลเมอื งดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
และเป็นศาสนิกชนท่ีดีตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ
3. ตระหนกั ถึงการดำเนนิ ชีวติ ที่ถูกต้องดงี ามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ยี วกับสงั คม วัฒนธรรม สทิ ธหิ น้าท่ีพลเมืองดีและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
2. ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดตี ามบรรทดั ฐานทางสังคม ค่านยิ มพนื้ ฐานและระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
3. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามหลักจรยิ ธรรม วัฒนธรรมและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนาทต่ี นนับถือ
4. วิเคราะหส์ ภาพปญั หาในสังคมและแนวทางแก้ไขตามศักยภาพของตน

สาระสำคญั
สังคมไทยมีพื้นฐานมาจากสังคมเกษตร สังคมพระพุทธศาสนา สังคมที่เทิดทูน สถาบัน

พระมหากษัตริย์สังคมที่เป็นสังคมที่มีโครงสร้างแบบหลวมหลวมและยังยึด ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็น
หลักและไม่นิยมความเปลี่ยนแปลงแต่ความเจริญทางเทคโนโลยีในปัจจุบันให้สังคมไทยมีปัญหาจากการ
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว อย่างไรก็ตามบรรพบุรุษไทยได้สง่ ต่อความเจริญงอกงามวิถีการปฏิบัตติ นเป็นวัฒนะ
ธรรมไทยเปน็ มรดกของสังคมสืบต่อจนถงึ ปัจจุบัน สังคมไทยไดม้ ีการปรับเปลยี่ นตามสภาพสิ่งแวดล้อมทำให้
เกิดค่านิยมไทยซึ่งเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาตนเองสังคมและประเทศซึ่งมีทั้งสิ่งดีงามที่คนไทยควร
ปฏิบัติค่านิยมทางประเพณีคนไทยควรปรบั เปล่ียนแก้ไขและร่วมกันสร้างค่านิยมทีส่ ำคัญร่วมกันสร้างความ
เจริญใหแ้ กป่ ระเทศชาติต่อไป

ผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง

1. ร้แู ละเขา้ ใจความหมาย และของสังคมไทย
2. อธิบายปัญหาสังคมไทย และบอกแนวทางแก้ไขได้

3. รแู้ ละเข้าใจเก่ียวกบั คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่ควรยดึ ถือในสังคมไทย

4. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผสู้ ำเร็จการศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมมี นุษยส์ ัมพันธ์ 2. ความมีวินัย

3. ความรบั ผิดชอบ 4. ความซื่อสัตยส์ จุ รติ

5. ความเชอื่ ม่นั ในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเว้นส่ิงเสพตดิ และการพนนั

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตญั ญูกตเวที
สาระการเรยี นรู้

1. สงั คมไทย

2. ปัญหาสังคมไทยและแนวทางแก้ไข

3. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

4. ค่านิยม

กจิ กรรมการเรยี นรู้

-ช่ัวโมงที่ 1 สงั คมไทย-

ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรียน

๑. นักเรยี นดูโฆษณาเรื่อง “สงั คมไทยมแี ต่เรื่องเข้าใจยาก” จาก

https://www.youtube.com/watch?v=kvxwt29dhus จากน้นั ตอบคำถามต่อไปนี้

• นกั เรยี นคดิ ว่าสงั คมไทยเป็นอย่างไร (ข้ึนอยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของครู โดยมีแนวคำตอบดงั นีม้ ี
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีความซับซ้อน รับวฒั นธรรมจากหลากหลายพ้ืนท่ีแล้ว
มาปรับให้เขา้ กบั ตนเอง)

จากนัน้ เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
ขั้นสอน
2. ให้นกั เรยี นจบั คู่ศึกษาเร่ืองลักษณะสังคมไทยจากหนังสอื เรยี นหน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม ของ
สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จากน้ันทำแผนผงั ความคิดรว่ มกนั ลงในกระดาษ A4 ซง่ึ มแี นวทางการทำดงั นี้

มพี น้ื ฐานเป็นสงั คมเกษตรกรรม มีพระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาหลกั

สงั คมชนชนั้ ลกั ษณะของสงั คมไทย มโี ครงสร้างหลวมๆ

เทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย์ ยดึ ขนบธรรมเนียมเป็นหลกั

ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ ให้สมบูรณ์
3. นกั เรยี นทำกิจกรรม “เปิดปา้ ยทายภาพ” โดยให้นกั เรียนเลือกหมายเลข 1--9 เพ่ือเปดิ บางส่วน

ของภาพจากนนั้ ให้ทายวา่ เป็นลักษณะสำคญั ของสังคมไทยแบบใด (เทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์)

23

45

789

ขน้ั สรุป
4. นักเรียนทำใบงานท่ี 2.1 เรือ่ งลักษณะของสังคมไทย หน้า 56 ในหนงั สือเรยี นหน้าทพี่ ลเมอื งและ
ศีลธรรม ของสำนกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จากนนั้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุป

-ชัว่ โมงท่ี 2 ปัญหาสงั คมไทย และแนวทางการแก้ไข-
ขัน้ นำ
1. นักเรียนเขยี นสิ่งท่คี ิดว่าเปน็ ปญั หาสังคม 1 ประเดน็ ลงบนกระดาษ post-it ติดลงบนกระดาน
จากน้ันรว่ มกนั อภิปรายประเดน็ “ปญั หาสงั คมคอื อะไร” (สภาพหรือสถานการณท์ ี่มผี ลกระทบต่อคน
จำนวนหนึ่งที่ไม่อาจทนสภาพนน้ั ได้)
ข้ันสอน
2. นักเรยี นและครูร่วมกนั จัดกลุ่มปัญหาที่แต่ละคนเขียนมา จากนัน้ เชื่อมโยงเข้าสู่ “ปัญหาสังคมไทย”
3. แบ่งนักเรยี นเปน็ 9 กลุ่ม จับสลากเลอื กหวั ข้อ ดังต่อไปนี้แล้วสร้างแผนผังความคิด โดยมีประเดน็
หลัก 3 ประการ คือ ผลกระทบจากปญั หา สาเหตุ แนวทางแก้ไข

• ปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
• ปญั หายาเสพติด
• ปญั หาทุจรติ คอรร์ ปั ชนั
• ปัญหาความเหน็ ต่างทางความคิด
• ปัญหาแม่วัยใส
• ปญั หาความหา่ งเหนิ ในครอบครวั
• ปญั หาอาชญากรรม
• ปัญหาเศรษฐกจิ
• ปญั หาการใชค้ วามรุนแรง

4. ครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ใหส้ มบรู ณ์ด้วยส่อื การเรียนรู้ Power point ของสำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์
ขั้นสรุป
5.นักเรียนทำใบงานที่ 2.2 เร่ืองปัญหาสงั คม

-ชว่ั โมงท่ี 3 คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม-
ขน้ั นำ
1. นกั เรยี นชมคลปิ วิดโี อ .......สภาพสงั คมไทยในปัจจุบัน...... จากนั้นร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ตอ่ ไปน้ี

• หากตอ้ งการให้สงั คมไทยดี ผู้คนมคี วามสขุ ควรปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมใด
ใหเ้ ยาวชน (ดุลยพินจิ ครู โดยมีแนวทางดังนี้ ใช้หลักธรรมาธบิ าลในการปกครอง และสรา้ ง
คา่ นยิ มทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม คือความรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย)
เชอ่ื มโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน

ข้นั สอน
2. นกั เรียนทำกจิ กรรม “คนในฝัน” โดยมีภาพบคุ คลสมมติ 1 คน ให้นักเรยี นชว่ ยกันกำหนดคุณสมบตั ิ
ของคนในฝนั ที่สังคมต้องการ 5 ประการ แล้วเขยี นคุณสมบัตไิ ว้บนกระดาน (คุณสมบตั ิที่สงั คมต้องการควร
เปน็ พฤติกรรมท่เี ด่นชดั ไม่ใช้คำวา่ คนดีเท่านน้ั เชน่ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ปฏิบัติตนตาม
กฎหมาย เปน็ ตน้ )
3. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน รว่ มกนั ออกแบบ “แผนการสร้างคนในฝัน” คือให้
นกั เรียนแต่ละกล่มุ เขียนแนวทาง วธิ กี ารปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีก่อให้เกดิ คนในฝัน โดย
ศึกษาข้อมูลจากหนังสือเรียนหน้าท่พี ลเมืองและศีลธรรม ของสำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ หน้า 46-53 แล้วเขียน
แผนภาพลงบนกระดาษ A3
4. สุ่มกลมุ่ ตวั อย่างนำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมคี รูเพม่ิ เติมให้สมบรู ณ์
ขน้ั สรปุ
5. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายในประเด็น “คา่ นิยมสำคญั อยา่ งไร” (มีแนวทางคำตอบดังน้ี ค่านยิ ม คือสง่ิ
ทบ่ี คุ คลยึดถอื ว่าเป็นสิ่งดี จงึ เปน็ เครอ่ื งกำหนดการกระทำของตนเอง ดังนั้นหากคา่ นิยมทำใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สุดแก่คนส่วนใหญจ่ ะสง่ ผลให้สังคมเจรญิ ก้าวหน้า)
6. นกั เรยี นทำใบงานที่ 2.3 เรื่องค่านยิ มตัวเองสง่ ชวั่ โมงถัดไป

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
8. หนังสือเรยี น วิชาหน้าทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม ของบรษิ ัท สำนักพิมพ์เอมพนั ธ์ จำกดั
9. สอื่ PowerPoint วิชาหน้าที่พลเมอื งและศลี ธรรม หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒
10. ภาพพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก
11. สือ่ Youtube

หลักฐาน
6. การตรวจใบงาน กิจกรรม คำถาม
7. แผนผงั ความคิด
8. การเชค็ ชื่อเรยี นในรายวิชา

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ดั ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3. ตรวจคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน
4. ใหค้ ะแนนการนำเสนอแผนผังความคดิ
5. ตรวจบนั ทึกความดี

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. คำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน จากหนังสือเรียนวชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม
4. แบบประเมนิ การนำเสนอแผนผงั ความคดิ
5. บนั ทกึ ความดี

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหนว่ ยการเรยี นรแู้ ละทำใบงานได้ทุกใบงานจึงจะถือว่าผ่านการประเมิน
4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั การ

ประเมิน
ตามสภาพจรงิ
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพฒั นาความดีที่อยู่ดา้ นหลังของหน้าปกหนงั สือเรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรยี นบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

เกณฑ์การประเมินการเขยี น Mind Mapping
ระดบั คุณภาพ

ประเดน็ การประเมนิ 432 1
Mind Mapping
(ดมี าก) (ดี) (พอใช)้ (ปรับปรงุ )

เขยี นแผนที่ เขยี นแผนที่ เขยี นแผนที่ เขียนแผนที่ความคดิ
ความคิดท่ีแสดง ความคดิ ท่ีแสดง ความคดิ ที่แสดง ที่แสดงความคิดรวบ
ความคิดรวบยอด ความคดิ รวบยอด ความคิดรวบยอด ยอดหลักไม่ตรง
หลักถกู ต้อง หลักถกู ต้อง หลักถูกต้อง ประเดน็

ตรงประเดน็ ขยายความคิดยอ่ ย ขยายความคิดย่อย ขยายความคิดย่อย
ไดไ้ ม่ถกู ต้อง
ขยายความคิดย่อย ไดถ้ ูกต้อง ได้ถูกต้อง
ไมเ่ ช่ือมโยงความคิด
ได้ถูกต้อง แตไ่ ม่ครบทกุ มจี ำนวนน้อย รวบยอดหลกั
ครบทุกประเด็น ประเด็น มจี ำนวน ประเดน็ ความคิดรอง
เชอ่ื มโยงความคิด มากประเดน็ เช่ือมโยงความคิด ความคดิ ย่อย
รวบยอดหลัก เชื่อมโยงความคิด รวบยอดหลกั
ความคดิ รอง รวบยอดหลัก ความคิดรอง มสี ีไมส่ วยงาม
ความคิดย่อยได้ ความคดิ รอง ความคดิ ย่อย
ชดั เจน ความคดิ ย่อยได้ มีสีสวยงาม ไมส่ ามารถแยก
ประเด็นหลกั
มสี สี วยงาม มสี สี วยงาม ประเดน็ รอง
ไม่สามารถแยก ประเด็นยอ่ ย

ประณีต แยกประเดน็ หลัก ประเด็นหลัก

แยกประเด็นหลัก ประเดน็ รอง ประเด็นรอง

ประเดน็ รอง ประเด็นยอ่ ยได้ ประเด็นยอ่ ย

ประเดน็ ย่อยได้

ชัดเจน

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน 10 คะแนน คุณภาพดีมาก
ระดับคะแนน 9 คะแนน คณุ ภาพดี
ระดับคะแนน 7 - 8 คะแนน คณุ ภาพพอใช้
ระดับคะแนน 5 - 6 คะแนน คณุ ภาพควรปรบั ปรุง

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ................................
........................................................... ....................................................................................... ...........
แนวทางแกป้ ญั หา
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................. ................................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 3 หนว่ ยท่ี 3
รหสั วชิ า 20000-1501 วชิ า หน้าทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม สอนคร้ังที่ 7-8
ชอื่ หนว่ ย/เรื่อง วัฒนธรรมไทย
จำนวน 2 ช่วั โมง

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. รแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกับสังคม วัฒนธรรม สิทธหิ นา้ ทพ่ี ลเมอื งดแี ละหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา

2. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

และเปน็ ศาสนิกชนท่ีดีตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือ

3. ตระหนักถึงการดำเนินชีวิตทถี่ ูกต้องดงี ามในฐานะศาสนกิ ชนและพลเมืองดี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรเู้ กีย่ วกับสังคม วัฒนธรรม สทิ ธิหน้าท่ีพลเมืองดีและหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนา
2. ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมอื งดีตามบรรทัดฐานทางสงั คม คา่ นิยมพืน้ ฐานและระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข

สาระสำคัญ
วัฒนธรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตมนุษย์ซึ่งอยู่ร่วมกันเป็นสังคม การที่บุคคลมาอยู่ร่วมกันเป็น

สังคม ประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนษุ ย์ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรมเป็น

ของคู่กัน เกิดขึ้นและพัฒนาไปพร้อมกัน วัฒนธรรมเปน็ แบบแผนในการดำเนินชวี ิต เป็นเอกลักษณ์ของแต่

ละกลุ่มชาติพันธุ์ ความแตกต่างที่หลากหลายในแตล่ ะภูมิภาคเป็นไปตามสภาพภูมิศาสตร์ การมาอาศัยอยู่

ร่วมกนั

ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั

1. บอกความหมายและความสำคญั ของวัฒนธรรมได้

2. อธิบายสาเหตขุ องการเกิดวัฒนธรรมและประเภทของวัฒนธรรมได้

3. รูแ้ ละเข้าใจเอกลกั ษณ์ของวฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมในภมู ภิ าคตา่ งๆของไทย

4. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ มั พันธ์ 2. ความมีวินัย

3. ความรับผดิ ชอบ 4. ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต

5. ความเชือ่ มั่นในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเวน้ สง่ิ เสพตดิ และการพนัน

9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตัญญูกตเวที

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายและความสำคัญของวัฒนธรรม

2. สาเหตกุ ารเกดิ วฒั นธรรม

3. ประเภทของวฒั นธรรม
4. เอกลักษณ์ของวฒั นธรรมไทย
5. วฒั นธรรมในภูมิภาคตา่ งๆของไทย
กจิ กรรมการเรียนรู้

- ช่วั โมงที่ 1 วัฒนธรรม -
ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น
1. นักเรียนทำกิจกรรม “เปดิ ภาพทายคำ” โดยใช้ส่อื PowerPoint วชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมอื งและ
ศีลธรรม (นกั เรยี นเลือกเปิดภาพ 1 หมายเลข แลว้ ชว่ ยกันคิดว่าภาพดงั กลา่ วเก่ียวกับเรอ่ื งใด ดังภาพ
ตวั อย่างด้านลา่ ง)

(ภาพลอยกระทง) จากน้นั เชื่อมโยงข้าสบู่ ทเรียน

ขัน้ สอน
2. นกั เรียนตอบคำถามลงบนกระดาษ post-it แล้วนำไปติดลงบนกระดาน

• สาเหตุของการเกิดวัฒนธรรมคืออะไร (1.สภาพทางภูมศิ าสตร์ 2. การประกอบอาชีพ 3.คติ
ความเช่อื ทางศาสนา 4.การติดตอ่ สอ่ื สารกบั สังคมอนื่ )
จากนัน้ นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภปิ รายหาข้อสรปุ ร่วมกนั
3. นกั เรยี นทำใบงานที่ 3.2 เร่อื งประเพณีและวัฒนธรรม หน้า 84 ข้อ 1-3 โดยมีครอู ธบิ ายเพ่มิ เติม
ให้สมบรู ณ์ และใหท้ ำข้อ 4-15 เป็นการบา้ น
4. นกั เรียนจับคศู่ ึกษาประเภทของวัฒนธรรม โดยมีครอู ธิบายเพิ่มเติมใหส้ มบรู ณ์ แลว้ ทำใบงานท่ี
3.1 เรือ่ งประเภทของวฒั นธรรม หนา้ 83
ขัน้ สรุป
นกั เรียนและครรู ว่ มกันอภิปรายในประเด็น “วัฒนธรรมมเี พื่ออะไร” (ขนึ้ อยู่กบั ดลุ ยพินจิ ของครู
โดยมีแนวคำตอบดังนี้ “เป็นแบบแผนของแตล่ ะสงั คม ซ่ึงเกิดจากการเรียนรใู้ นแต่ละยุคสมยั แล้วถ่ายทอดสู่
ชนรุ่นหลงั ”)

- ชวั่ โมงท่ี 2 เรอื่ ง วัฒนธรรมในภูมิภาคต่างๆของไทย -
ขั้นนำ
1. นกั เรยี นโฆษณาเรื่อง “Hidden Shades of Amazing Thailand : 2019” (ส่ิงทีซ่ ่อนอยู่ ความ
มหศั จรรย์ของประเทศไทย ปี 2562) จาก https://www.youtube.com/watch?v=5S6egh7m-8E
2. นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้
• นกั เรยี นเห็นวัฒนธรรมเรื่องใดบ้างในโฆษณา (วัฒนธรรมการกิน วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน กฬี า
ประจำชาติ มวย)
• นกั เรียนสงั เกตเหน็ จงั หวัดใดบ้าง (กรงุ เทพฯ อุดรธานี น่าน สุราษฎร์ธานี พัทลุง เปน็ ตน้ )
• วัฒนธรรมแต่ละพืน้ ท่ีท่นี ักเรยี นเห็นมคี วามเหมือนกนั หรือไม่ อย่างไร (ข้ึนอยู่กบั ดุลยพินิจของ
ครู)
เชอื่ มโยงเข้าสู่การสอน (ไทยมีเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมหลกั รว่ มกัน โดยมีรายละเอยี ดในแต่ละ
พ้นื ทีต่ ่างกนั บ้างตามสภาพภูมิศาสตร์ สิ่งแวดลอ้ มท้องถ่นิ )

ข้นั สอน
3. ส่มุ นักเรยี นเฉลยใบงานที่ 3.2 หนา้ 84 โดยมคี รอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้สมบูรณ์
4. สุ่มถามนกั เรียน 4-5 คน เกย่ี วกบั เอกลกั ษณข์ องวัฒนธรรมไทย จากนั้นรว่ มกันสรปุ เอกลกั ษณ์
โดยมีครูเป็นผ้อู ธิบายเพิ่มเติมใหส้ มบรู ณ์ ด้วยส่ือ Powerpoint ของบรษิ ัท สำนกั พิมพ์เอมพนั ธ์
5. แบง่ กลมุ่ 4 กลุ่ม ใหน้ ักเรยี นทำโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์การทอ่ งเทยี่ ว 4 ภาค โดยใช้ข้อมลู จาก
หนังสือและสื่อการเรยี นรู้ Powerpoint โดยรูปแบบโปสเตอรม์ ขี ้อมลู ต่อไปนี้ให้ครบถ้วน

• ชอื่ ภมู ิภาค พรอ้ มสโลแกนเชญิ ชวนเก๋ๆ
• ภาพสถานทท่ี ่องเที่ยว
• ภาพวัฒนธรรม

ขน้ั สรปุ
6. นกั เรยี นทำคำถามท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้ หน้า 80-81 สลบั กนั ตรวจ โดยมคี รอู ธิบายเพ่ิมเติมให้
สมบูรณ์

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
12. หนงั สือเรยี น วชิ าหน้าทพี่ ลเมืองและศีลธรรม ของบรษิ ทั สำนกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ จำกดั
13. สอื่ PowerPoint วิชาหนา้ ท่ีพลเมืองและศลี ธรรม หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓
14. สอ่ื Youtube
15. กระดาษ post-it

หลกั ฐาน
9. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
10. โปสเตอรท์ อ่ งเทีย่ ว
11. การเชค็ ช่ือเรยี นในรายวชิ า

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. สงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
3. ตรวจคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนร/ู้ ใบงาน
4. ให้คะแนนการนำเสนอแผนผังความคิด
5. ตรวจบนั ทึกความดี

เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. คำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม
4. แบบประเมินการนำเสนอแผนผังความคดิ
5. บนั ทึกความดี

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้และทำใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือวา่ ผ่านการประเมนิ
4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กบั การ

ประเมิน
ตามสภาพจรงิ
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ่ีอยู่ด้านหลังของหน้าปกหนังสือเรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรยี นบนั ทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.............................................................. .................................................................................... ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................... ..............................
.................................................................................................... .............................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
ปญั หาท่ีพบ
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
................................................................. ................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................

แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการท่ี 4 หนว่ ยที่ หนว่ ยที่ 4
สอนครั้งที่ 9-11
รหสั วิชา 20000-1501 วชิ า หน้าทพี่ ลเมอื งและศลี ธรรม
จำนวน 3 ชั่วโมง
ชือ่ หน่วย/เรื่อง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

จุดประสงค์รายวิชา

1. รแู้ ละเข้าใจเก่ียวกับสังคม วฒั นธรรม สิทธิหนา้ ทพี่ ลเมืองดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา

2. ประพฤติปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
และเป็นศาสนิกชนทดี่ ีตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั สังคม วัฒนธรรม สทิ ธิหนา้ ที่พลเมืองดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา

2. ประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดตี ามบรรทดั ฐานทางสังคม ค่านิยมพ้ืนฐานและระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

สาระสำคญั
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มาตง้ั แต่ พ.ศ.

๒๔๗๕ เปน็ การปกครองโดยประชาชน เพอื่ ประชาชน อำนาจอธปิ ไตยจงึ เปน็ ของปวงชนชาวไทย
พระมหากษัตรยิ ท์ รงใช้อำนาจอธิปไตยผา่ นทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาลตามทบ่ี ัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนญู สถาบันพระมหากษตั ริย์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสังคมไทย ทรงมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ
แก้ปัญหาความทุกข์และเสริมสรา้ งความสุขให้แก่ประชาชนในทุกด้าน คนไทยทุกคนจะต้องร่วมกันธำรงรักษาไว้
ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์
ทรงเปน็ ประมขุ ให้มคี วามมัน่ คงถาวรตลอดไป

ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง

1. อธิบายรปู แบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยได้

2. อธิบายหลักการสำคัญของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็น

ประมุขได้

3. เปรยี บเทียบรูปแบบของรัฐได้

4. สรปุ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษตั ริย์ได้

5. มกี ารพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้สำเร็จการศกึ ษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่คี รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมีมนุษย์สัมพนั ธ์ 2. ความมีวนิ ยั

3. ความรับผดิ ชอบ 4. ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต

5. ความเชื่อม่นั ในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนนั
9. ความรกั สามัคคี 10. ความกตัญญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้
1. การปกครองระบอบประชาธิปไตย
2. รูปแบบของรฐั
3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
4. ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

กจิ กรรมการเรยี นรู้

-ช่ัวโมงท่ี 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย-

ขนั้ นำ
1. นักเรียนร่วมกันวิเคราะหน์ ักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะหแ์ ละอภปิ ราย ข้อความการแสดงความคิดเห็น

ทางการเมอื งทคี่ ดั ลอกมาจาก twitter facebook และส่อื social

โดยมีประเดน็ ดงั ต่อไปนี้

• ข้อความดงั กลา่ วสะท้อนถงึ เร่ืองใด (การแสดงความคดิ เห็นทางการเมือง)
• การแสดงความคดิ เห็นทางการเมอื งทำไดห้ รือไม่ (ได้ โดยไม่ละเมิดสิทธเิ สรภี าพของผู้อนื่

ไมท่ ำให้ผอู้ น่ื เสยี ชอื่ เสยี ง)
• กระบวนการดังกล่าวแสดงถึงการปกครองแบบใด (ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์

ทรงเป็นประมุข)
เชอื่ มโยงเข้าสู่บทเรียน
ขน้ั สอน
2. นกั เรยี นเขยี น Key Word หรือคำศัพท์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ประชาธปิ ไตยคนละหนึ่งคำ
นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ คำว่าประชาธิปไตย บนั ทกึ ลงใบงานที่ 4.1 เรื่องการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ตอนที่ 2
3. นักเรียนศกึ ษาหลักการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยจากหนงั สอื เรียนโดยมีครอู ธิบายเพิ่มเติม
ใหส้ มบรู ณ์ จากน้นั จับคู่ทำใบงานที่ 4.1 เร่อื งการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตริยท์ รง
เปน็ ประมขุ ตอนท่ี 1
ข้นั สรปุ
4. นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายในประเด็น “หวั ใจขอประชาธิปไตย” คืออะไร (ประชาชน)
5. ทำการบ้านคำถามทา้ ยหน่วยการเรยี นร้หู นา้ 98 ข้อ 4-5

-ช่ัวโมงท่ี 2 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข-
ขน้ั นำ
1. เปดิ ปา้ ยทายภาพ “ภาพต่อไปนี้ คือใคร”

นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปน้ี
• คนดังกล่าวคือใคร (นายโดนัล ทรมั ป)์
• เขาดำรงตำแหน่งใด (ประธานาธิปดี สหรฐั อเมริกา)
• ประเทศไทยมีประธานาธิบดหี รือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมม่ ีเพราะปกครองประชาธิปไตยคนละ
แบบ)
เชื่อมโยงเขา้ สู่บทเรยี น

ข้นั สอน
2. เฉลยการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทยและสหรฐั อเมรกิ า เปน็ การปกครองคนละ
รปู แบบและรปู แบบของรฐั คนละแบบ
3. สุม่ ถามนกั เรยี น 2-3 คนเก่ียวกบั รูปแบบของรฐั หลังจากใหท้ ำการบา้ นคำถามท้ายหน่วยการ
เรยี นรู้ ข้อ 4-5 เปน็ การบ้าน จากนน้ั ครูอธิบายเพ่มิ เติมให้สมบูรณ์
4. แบง่ นกั เรยี นเปน็ ๓ กลุ่ม ศึกษารปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ดังนี้ แบบรัฐสภา
แบบประธานาธบิ ดี แบบก่งึ รฐั สภา กงึ่ ประธานาธบิ ดี เม่ือศึกษาแตล่ ะหัวข้อเรยี บร้อยใหส้ ร้างผังความคดิ
5. นกั เรียนทำใบงานที่ 4.2 เรอื่ ง รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย หนา้ 102
ขนั้ สรปุ
6. แลกใบงาน 4.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง โดยมีครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ ใหส้ มบรู ณ์
7. ให้นักเรียนค้นหา และคัดลอกข้อความหรือบทความท่ีมีคนแสดงความคดิ เห็นทางการเมือง

-ชวั่ โมงท่ี 3 ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตรยิ ์-
ขน้ั นำ
1. นักเรียนดแู ละฟงั การประชุมรัฐสภา จาก
https://www.youtube.com/watch?v=cjZUkBbjgvk แล้วตอบคำถามต่อไปน้ี

• มผี ้รู บั ตำแหน่งใดบ้างที่ไดเ้ ขา้ ประชมุ รฐั สภา (ส.ส. และส.ว.)
• รฐั สภามีไวเ้ พอื่ อะไร เกีย่ วข้องกับเรา และเราควรรูห้ รือไม่ (ขึน้ อยู่กับดลุ ยพินจิ ครู

เชอ่ื มโยงเขา้ สู่บทเรยี น)
ขน้ั สอน
2. นกั เรียนศึกษาหลกั การการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
จากนน้ั ทำคำถามทา้ ยบทเรียนหนา้ 98 ขอ้ 3 อำนาจอธปิ ไตย โดยมีครอู ธบิ ายเพิ่มเติมใหส้ มบรู ณ์
3. แจกรัฐธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั ใหน้ กั เรยี นศึกษาฐานะและพระราชอำนาจในเลม่ ดังกลา่ ว แล้วทำ
ผังความคดิ ดงั ตวั อย่าง

ดำรงฐานะเป็นทีเ่ คารพสักการะ

ฐานะและพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์

ขน้ั สรปุ
4. นักเรียนทำคำถามท้ายบทเรยี นหน้า 98 ข้อ 1-2 โดยมคี รูอธิบายเพมิ่ เติมให้สมบูรณ์
5. ตรวจบันทกึ ความดี

การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. สังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่
3. ตรวจคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู/้ ใบงาน
4. ให้คะแนนการนำเสนอแผนผงั ความคดิ
5. ตรวจบันทกึ ความดี

เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหนา้ ท่ีพลเมืองและศลี ธรรม
4. แบบประเมนิ การนำเสนอแผนผงั ความคดิ
5. บนั ทกึ ความดี

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)
3. ตอบคำถามท้ายหน่วยการเรยี นรแู้ ละทำใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือวา่ ผา่ นการประเมนิ
4. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กบั การ

ประเมิน
ตามสภาพจรงิ
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละคร้ังมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดีที่อยู่ดา้ นหลังของหน้าปกหนังสือเรียน
6. ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดีท่ีอยู่ด้านหลงั ของหนา้ ปกหนงั สอื เรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรียนทำบันทกึ ความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
ปัญหาที่พบ
.................................................................................................................................. ...........................
....................................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ......................................
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 5 หนว่ ยที่ 5 หน่วยที่ 5

รหสั วิชา 20000-1501 วชิ า หน้าท่พี ลเมืองและศลี ธรรม สอนคร้ังท่ี 12-13

ชือ่ หนว่ ย/เรื่อง สทิ ธิและหน้าที่ของพลเมืองดตี ามระบอบประชาธปิ ไตย จำนวน ๒ ชั่วโมง

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกบั สงั คม วัฒนธรรม สทิ ธหิ น้าทพี่ ลเมอื งดีและหลกั ธรรมหรอื คำสอนของศาสนา

2. ประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ

และเป็นศาสนิกชนทด่ี ตี ามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ

3. ตระหนกั ถงึ การดำเนินชีวิตทถ่ี กู ต้องดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี
สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับสังคม วัฒนธรรม สิทธิหน้าทพ่ี ลเมอื งดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของ
ศาสนา
2. ประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดีตามบรรทดั ฐานทางสงั คม คา่ นิยมพ้นื ฐานและระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

สาระสำคญั
การประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ประกอบด้วยการปฏิบัติตนตาม

สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ี โดยยึดหลักกฎหมาย ไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น
เป็นการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องในฐานะของพลเมืองดี อีกทั้งต้องสนับสนุน ส่งเสริมให้บุคคลอื่นมีค่านิยม
คุณธรรม จรยิ ธรรม ที่ถูกตอ้ งดงี ามซึง่ ถือปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีดว้ ย จงึ จะนำสนั ตสิ ขุ มาสสู่ งั คมได้

ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง

1. รแู้ ละเขา้ ใจสิทธขิ องพลเมือง

2. อธบิ ายแนวทางการคุ้มครองสิทธขิ องพลเมือง

3. บอกบทบาท หน้าที่ของเยาวชน ในฐานะพลเมืองของประเทศ

4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ ำเร็จการศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ทคี่ รูสามารถสังเกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง

1. ความมีมนุษย์สมั พนั ธ์ 2. ความมวี ินัย

3. ความรับผิดชอบ 4. ความซอื่ สัตย์สุจริต

5. ความเชื่อม่ันในตนเอง 6. การประหยดั

7. ความสนใจใฝร่ ู้ 8. การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนนั

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตัญญกู ตเวที

สาระการเรียนรู้
1. สทิ ธขิ องพลเมือง
2. เสรภี าพของพลเมือง
3. บทบาท หน้าทข่ี องเยาวชนในฐานะพลเมืองของประเทศ

กิจกรรมการเรยี นรู้

-ช่ัวโมงที่ 1 สิทธแิ ละเสรภี าพของพลเมือง-
ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน

1. ให้นักเรียนดูข่าวบุกมัธยมวัดสิงห์ “เปิดนาที"แก๊งงานบวช"ยกพวกบุกโรงเรียนมัธยมวัด

สิงห์”
จาก https://www.youtube.com/watch?v=DljokQh3nWA จากนน้ั ร่วมกันอภิปรายในประเด็นสิทธิ
(ส่วนของผู้เสียหายคือสิทธิในร่างกายและทรัพย์สิน ส่วนผู้ก่อเหตุคือสิทธิในกระบวนการยุติธรรม) แล้ว
เช่ือมโยงเข้าสูบ่ ทเรยี น

ขน้ั สอน
2. ให้นักเรียนทำคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้หนา้ 114 ข้อ 1-2 จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันเฉลย
นักเรียนแลกเปลี่ยนกันตรวจคำตอบครูอธิบายเรื่อง สิทธิของพลเมือง และเสรีภาพของพลเมือง โดยใช้ส่ือ
การสอน PowerPoint
3. นกั เรียนศึกษาสิทธิและเสรภี าพของพลเมืองจากหนงั สือเรียนวชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม
ของบริษัท สำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จากน้ันตอบคำถามกรณีตัวอยา่ ง ต่อไปนี้ สอดคล้องกับสิทธแิ ละเสรภี าพของ
พลเมอื งในเรอ่ื งใด

• จ้อยโมโหเจือ้ ยจึงหยิบโทรศัพท์เจอ้ื ยปาลงน้ำ (สทิ ธิในทรัพยส์ นิ )

• จ๋ิวไดเ้ รียนหนงั สอื ในโครงการเรยี นฟรี (สิทธใิ นการรบั การศกึ ษาอบรม)

• แจ๋วอยากรู้คะแนนสอบของตนจึงขออาจารยเ์ ปิดเผยคะแนนให้ดู (สิทธิที่จะได้รับ
ข้อมลู ขา่ วสารจากหนว่ ยงาน)

• จีสงสัยผลการเลือกตั้งจึงรวบรวมรายชื่อขอให้กกต.ชี้แจง (สิทธิที่จะได้รับข้อมูล
ข่าวสารจากหนว่ ยงาน)

• ป้าจุ๊อายเุ กิน ๖๐ ไดร้ ับเบย้ี คนชรา (สทิ ธิทจ่ี ะได้รบั ความชว่ ยเหลือจากรฐั )

• จนั ทรเ์ ขียนความคิดเห็นเก่ยี วกับการเลอื กตั้งลง facebook (เสรีภาพในการแสดง
ความคดิ เหน็ )

• เจนกบั จอนลงสมัครเปน็ ส.ส. (เสรีภาพในการรวมตัวจัดต้งั พรรคการเมือง)

• จุไรไม่ได้รับความเป็นธรรมจากตำรวจจึงรอ้ งเรียน (สิทธิที่บคุ คลสามารถฟ้องร้อง
หนว่ ยงานราชการ)

ข้นั สรุป

4. นักเรียนร่วมกันสรุปความหมายของสิทธิและเสรีภาพ จากนั้นร่วมกันคิดวิธีที่จะคุ้มครองสิทธิ
ของพลเมือง บนั ทึกลงสมดุ

-ชว่ั โมงท่ี 2 บทบาท หน้าทขี่ องเยาวชนในฐานะพลเมืองของประเทศ-
ข้ันนำเข้าสู่บทเรยี น

1. นักเรียนดูโฆษณาเร่ือง "UNSUNG HERO" [ภาพยนตร์โฆษณา ปี พ.ศ.2557 ]

จาก https://www.youtube.com/watch?v=uaWA2GbcnJU จากนน้ั ร่วมกนั อภิปรายในประเดน็
• ชายในเรื่องเป็นพลเมืองดหี รือไม่ ในความคดิ นักเรยี น (ไม่มี ถูกผิด)

• พลเมืองดี คืออะไร (พลเมืองท่คี ณุ ภาพ มีสว่ นร่วมในการพัฒนาสังคมให้ก้าวหน้า)

แล้วเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียน

ขนั้ สอน
2. ให้นักเรียนเขียนคุณลักษณะของพลเมืองดีที่ต้องมี ๑ ประการ ลงกระดาษ post-it ติดลงบน
กระดาน และเขียนในคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ข้อ ๓ จากนั้นร่วมกันสรุปลักษณะพลเมืองดีประกอบกับ
เน้อื หาในบทเรยี น
3. นักเรยี นทำใบงานท่ี 5.1 เรื่องพลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย การปฏิบตั ิตนในระดับตา่ ง ๆ จากนั้น
ใหส้ ลบั ใบงานกันตรวจ โดยมีครู อธบิ ายเพ่ิมเติมใหส้ มบูรณ์
4. นักเรยี นช่วยกนั คิดประโยชน์ของของเปน็ พลเมืองดี และทำใบงานท่ี 4.2 เรื่องบทบาทและ
หน้าทข่ี องเยาวชนต่อสงั คมและประเทศชาติ หากนักเรียนปฏบิ ตั ถิ กู ต้องจะเกดิ ผลอย่างไรตอ่ ตนเองและ
ครอบครัว ตอ่ โรงเรยี น และประเทศชาติ จากนน้ั ครเู ฉลยพร้อมท้ังอธิบายเพ่ิมเติมให้สมบูรณ์

ข้ันสรุป
5. นักเรียนจับกลุ่ม ๓ คนร่วมกันคิดแนวทางการส่งเสริมให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดี นำเสนอหน้าชั้น
เรียน
6. ตรวจบนั ทกึ ความดี

สือ่ และแหล่งการเรียนรู้
1. หนงั สือเรียน วชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สำนักพิมพเ์ อมพันธ์ จำกัด
2. ใบงาน
3. บนั ทึกความดี
4. สอ่ื PowerPoint วิชาหน้าทีพ่ ลเมืองและศีลธรรม

หลกั ฐาน
1. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
2. การเชค็ ชื่อเข้าเรยี น
3. บันทึกความดี
4. บนั ทกึ พัฒนาการความดี

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ตรวจคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนร/ู้ ใบงาน
4. ให้คะแนนการนำเสนอแผนผังความคดิ
5. ตรวจบันทกึ ความดี

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. คำถามท้ายหน่วยการเรียนร/ู้ ใบงาน จากหนังสือเรียนวิชาหน้าที่พลเมืองและศีลธรรม
4. แบบประเมินการนำเสนอแผนผังความคดิ
5. บันทกึ ความดี

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรับปรงุ
2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
3. ตอบคำถามทา้ ยหน่วยการเรียนร้แู ละทำใบงานได้ทกุ ใบงานจึงจะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
4. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กบั การ

ประเมินตามสภาพจริง
5. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ

ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ่ีอยดู่ ้านหลังของหนา้ ปกหนังสือเรยี น

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นทำบันทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพัฒนาการความดี

บนั ทกึ หลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................................. ................
.................................................................................................................. ...........................................
ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
....................................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
แนวทางแกป้ ญั หา
.............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................. ................................................ ...........
............................................................................................................................. ................................
.................................................................................................................................................. ...........
............................................................................................................................. ................................
............................................................................................................................. ................................
.............................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 6 หนว่ ยที่ 6 หน่วยที่ 6

รหสั วชิ า 20000-1501 วิชา หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม สอนครั้งท่ี 14-15

ชอ่ื หนว่ ย/เรื่อง พลเมืองดีตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จำนวน ๒ ช่วั โมง

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า
1. รู้และเขา้ ใจเกย่ี วกับสังคม วฒั นธรรม สิทธิหนา้ ทพ่ี ลเมืองดแี ละหลกั ธรรมหรือคำสอนของศาสนา

2. น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการพฒั นาตนและการดำเนินชีวิต

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั สังคม วัฒนธรรม สิทธหิ น้าทีพ่ ลเมอื งดีและหลักธรรมหรอื คำสอนของศาสนา
5. นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั

สาระสำคญั
พลเมืองดี คือ พลเมืองที่มีคุณภาพ มีความรู้ ความสามารถ มีส่วนร่วมในการสร้างความ

เจริญก้าวหนา้ ให้กับบ้านเมือง มีความรับผิดชอบ การปฏบิ ตั ิตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคือวิธีหน่ึง

ของการปฏิบตั ติ นเพื่อใหเ้ ปน็ พลเมืองดี

ผลการเรยี นร้ทู ีค่ าดหวงั

1. บอกหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

บรมนาถบพิตรได้

2. ปฏิบตั หิ น้าทพี่ ลเมอื งดีตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทร

มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตรได้

3. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศกึ ษา

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง

1. ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ 2. ความมวี ินัย

3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ความซอ่ื สัตย์สุจริต

5. ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง 6. การประหยัด

7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเวน้ ส่งิ เสพตดิ และการพนัน

9. ความรักสามัคคี 10. ความกตัญญูกตเวที
สาระการเรยี นรู้

1. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. พลเมอื งดตี ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน

1. นักเรยี นร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับปรชั ญาหรือแนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เขยี นลงคำถามท้าย
หน่วยการเรียนรู้ ขอ้ 1 (เปน็ แนวพระราชดำริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ที่
พระราชทานแก่พสกนกิ รมาตั้งแตพ่ ุทธศกั ราช 2517 โดยทรงเนน้ ถงึ แนวทางสำคัญของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ความตอนหน่งึ ว่า “...การพฒั นาประเทศ จำเป็นตอ้ งทำตามลำดบั ข้นั ต้องสรา้ งพน้ื ฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ ของประชาชนสว่ นใหญเ่ ป็นเบื้องตน้ กอ่ น...” และทรงยำ้ อีกครงั้ หนงึ่ ซงึ่ เป็นคร้ังสำคัญตอ่ จิตสำนึก
ของคนท้งั ประเทศ)

2. นักเรยี นยกตวั อยา่ งคำว่า “พอเพียง” ตามความเข้าใจของตนเอง
3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย “(คำว่าพอเพียง) ...ไม่ได้หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้อง
ผลิตอาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอำเภอจะต้องมีความ
พอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างผลิตมากกว่าความต้องการ (ท่จี ะเอาไว้บรโิ ภคเอง) กข็ ายได้ แตข่ ายในท่ี
ไม่ห่างไกลนักไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนกั ...” “...ปจั จบุ ันนจ้ี ะปฏบิ ัตเิ ศรษฐกิจพอเพียง 100 เปอร์เซ็นต์คงทำ
ไม่ได้ ปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงครอบครัวละเศษหนึ่งส่วนสี่ก็น่าจะพอ...” (ทำให้ได้หนึ่งส่วนแล้ว
ค่อยขยายเท่าที่กำลังสามารถจะทำได้) การปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียงวิธีหนึ่ง คือ ผลิตไว้ใช้ “...คนเราถ้าพอ
ในความตอ้ งการ ก็มคี วามโลภน้อย เมอ่ื มคี วามโลภน้อย ก็เบียดเบยี นคนอื่นน้อย...”
4. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นประมาณ 10 นาที แล้วสลับกันตรวจ

ขัน้ สอน
5. นกั เรียนดูวีดทิ ศั น์ โดยมีครูอธบิ ายเพม่ิ เติมใหส้ มบรู ณ์
6. ครูบอกแนวการปฏิบัติที่เห็นเป็นรูปธรรม เกิดมาจากการยึดมั่นในระบบพอเพียงก่อน เมื่อยึด
มั่นหรือมีฐานท่ีมั่นคงแลว้ การจะลงมือปฏิบัติกต็ ้องให้สอดคล้องกับความตั้งใจ หรืออุดมการณ์นั้นจากแนว
พระราชดำริ สามารถแยกออกเป็นแนวปฏิบตั ิได้ ดังนี้

1) ผลิตไว้ใช้ เมื่อจะผลิตบางสิ่งบางอย่างควรเริ่มต้นจากการผลิตสำหรับครอบครัวก่อน ให้
พอเพียงตอ่ การดำรงชพี ของคนในครอบครวั ตนเอง

2) ผลติ ไว้ขาย เม่ือผลติ เพยี งพอตอ่ ความต้องการในครอบครวั แล้ว หากผลผลติ ทไ่ี ด้เหลือหรือ
เกนิ ความจำเปน็ สามารถจัดสรรหรือแปรให้เป็นรายได้ โดยการนำออกจำหนา่ ย ขายออก แต่ควรเร่มิ ต้นจาก
การขายในบรเิ วณชมุ ชนของตนเอง ซง่ึ ไมต่ ้องใช้ตน้ ทนุ เพิ่ม เช่น คา่ ขนสง่ คา่ เสียเวลา

3) ไม่โลภมากจนเบยี ดเบียนผู้อ่ืน ผู้ดำรงชีวติ แบบพอเพียง จะตั้งอยใู่ นความไม่เบียดเบียนแม้
มีความปรารถนาต้องการก็ไม่เกินประมาณมากนัก คือไม่โลภจนกลายเป็นลุ่มหลง ไม่จงใจทำให้ผู้อื่น
เดอื ดรอ้ นเพียงเพราะเหน็ วา่ ตนจะได้กำไร

7. ใช้เทคนิคการอภิปรายเป็นคณะ (Conference) เป็นการชุมนุมอภิปรายระหว่างนักเรียนเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิเป็นวิทยากรผู้ดำเนินการอภิปรายเรื่อง
เศรษฐกจิ พอเพยี งใหน้ กั เรยี นฟงั

8. นักเรียนแบ่งกลุม่ จัดทำแผ่นพับและออกแบบประชาสัมพันธ์ให้ความรูเ้ ร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง
กับแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ให้ชุมชนเห็นความสำคัญและเกิดความ
ร่วมมือปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมเศรษฐกจิ พอเพียง

9. เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงข้อคิดเห็น ซักถามปัญหาต่าง ๆ เมื่อจบการอภิปราย อาจจะมี
ประเดน็ สำคญั เพือ่ นำเสนอครู และเพ่ือนรว่ มชน้ั เรยี นซง่ึ อาจมกี ารแกป้ ญั หาต่อไป (ถ้าม)ี

10. นักเรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมดงั นี้
1) แบ่งกล่มุ กลุ่มละ 5-6 คน
2) นักเรียนพิจารณาถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลที่ดีต่อนักเรียนและบุคคลใน

ครอบครวั
11. นกั เรียนทำใบงาน 6.1 และ 6.2

ข้นั สรปุ และการประยกุ ต์
12. นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปแนวคดิ หรอื ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลกั การสำคญั 2
ประการ ที่ทำให้เกิดผลเชงิ ประจักษ์ ไดแ้ ก่ (1) ความพอประมาณ (2) ความมีเหตุผล ซ่ึงเป็นหลักอาศัยกนั
และกันทำให้เกดิ ภาวะ “พอเพียง” ข้ึน
สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. หนังสือเรยี น วชิ าหน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม ของบริษัท สำนกั พิมพเ์ อมพันธ์ จำกัด
๒ ใบงาน
๓. บนั ทึกความดี
๔. แบบประเมินตนเอง
๕. สอื่ PowerPoint วิชาหนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศลี ธรรม

หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คำถาม
๒. การเช็คช่อื เข้าเรยี น
๓. บันทกึ ความดี
๔. บันทกึ พฒั นาการความดี

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
4. ตรวจคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน
5. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
6. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึง
ประสงค์
7. ตรวจบนั ทึกความดี

เครือ่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล

2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยครู)
3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น)
4. คำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรู้/ใบงาน จากหนังสือเรยี นวชิ าหน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม
5. แบบประเมินผลการเรียนรู้
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและนักเรยี น

ร่วมกันประเมิน
7. บนั ทึกความดี

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มีช่องปรับปรงุ
2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
4. ตอบคำถามท้ายหนว่ ยการเรียนรแู้ ละทำใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือวา่ ผ่านการประเมนิ
5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ า่ น คือ พอใช้ (๕๐ % ขึน้ ไป)
6. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับการ

ประเมิน
ตามสภาพจรงิ
7. การบันทึกความดีไม่มีเกณฑ์ ให้นักเรียนบันทึกตามสภาพจริง แต่นักเรียนจะสามารถทราบ
ผลการบันทึกความดีด้วยการนำข้อมูลบันทึกความดีในแต่ละครั้งมาเขียนกราฟแสดงจะเห็น
พัฒนาการความดีของตนเองลงในแบบพัฒนาความดที ่ีอยู่ด้านหลงั ของหน้าปกหนังสือเรียน

กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ ักเรียนทำบนั ทึกความดีและนำผลไปลงในแผนพฒั นาการความดี

แบบประเมินผลการเรยี นรู้ก่อนเรยี น/หลงั เรียน

จ ง เ ลื อ ก ค ำ ต อ บ ท่ี ถู ก ต้ อ ง ท่ี สุ ด

1. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงขอ้ ใดท่เี นน้ มากที่สุด

ก. การพงึ่ ตนเองได้ ข. การเดินทางสายกลาง

ค. ความสันโดษ ง. ความพอประมาณ

จ. ความมีอสิ ระ

2. พลเมืองดีควรปฏบิ ัติตนอย่างไร จึงจะสอดคล้องกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมากทีส่ ุด

ก. ขยนั ซอื่ สัตย์ ประหยดั

ข. ขยนั อดทน มีความเพียรสูง

ค. มีความเพียร เมตตากรุณา ซ่ือสตั ย์สุจรติ

ง. มคี วามกตัญญู เมตตากรณุ า ซือ่ สตั ย์สจุ รติ

จ. ประหยัด อดทน ขยัน

3. เศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดำรมิ ีลกั ษณะอยา่ งไร

ก. พึง่ ตนเองได้ ผลติ เพอื่ พออยู่พอกนิ

ข. เป็นการแข่งขันกันผลิต บริโภค และซื้อขาย

ค. อาศยั หลักการสนั โดษ ไม่ย่งุ เกี่ยวกับภายนอก

ง. ผลผลิตท่ไี ด้เป็นของส่วนกลาง โดยนำมาแจกจา่ ยอย่างท่ัวถงึ กัน

จ. มีความประหยัด ผลผลติ สามารถขายได้

4. พลเมอื งดีควรปฏบิ ัติตนตามหลักภาษิตข้อใดทีส่ อดคล้องกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ก. ตัวใครตวั มนั ข. มวี นิ ยั ใฝค่ วามรู้ เชดิ ชูคุณธรรม

ค. พึง่ จมูกคนอน่ื หายใจ ง. ปลกู เรอื นพอตวั หวหี ัวพอเกล้า

จ. ตนเป็นท่พี ึง่ แห่งตน

5. การใช้ “สติ” ไม่ตืน่ ตัวตามกระแส แตต่ ้งั สติ รู้ตัวอย่เู สมอ เรยี กว่าอะไร

ก. ความไม่ประมาท ข. มชั ฌิมาปฏปิ ทา

ค. โภชเนมัตตญั ญตุ า ง. อวิหงิ สา

จ. การร้จู กั ประมาณตน

6. “การตัดสินใจซื้อสิ่งของเพื่อใช้สอยโดยคำนึงว่าตนมีสิ่งของที่จะซื้อนั้นอยู่แล้วหรือยัง มีเงินพอที่จะซ้ือ