พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม

ปัจจุบัน ไมโครเวฟ ดูเหมือนจะกลายเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องมีติดบ้านของใครหลายๆ คน เนื่องจากช่วยให้คุณอุ่นอาหารได้สะดวกและรวดเร็วอีกด้วย แต่รู้หรือไม่ว่า..ภาชนะที่ใช้ใส่อาหารเข้าไมโครเวฟนั้นเป็นเรื่องที่คุณจะต้องใส่ใจเป็นอย่างมาก ความจริงแล้วการ เอาพลาสติกเข้าไมโครเวฟ นั้น ปลอดภัยจริงหรือไม่ Hello คุณหมอ นำเรื่องนี้มาฝากกัน

ทำความรู้จักกับพลาสติกแต่ละชนิด

พลาสติก (Plastic) นั้นมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ส่วนใหญ่จะมี โพลีเมอร์ (Polymers) เป็นส่วนประกอบ แม้ว่าโดยทั่วไปแล้วพลาสติกจะทำมาจากน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ แต่บางครั้งมันก็ทำมาจากวัสดุที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้เช่นกัน เช่น เยื่อไม้ และเยื่อบุฝ้าย

ที่ฐานของผลิตภัณฑ์พลาสติกส่วนใหญ่ คุณจะพบกับสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายรูปสามเหลี่ยมที่หมายถึง การรีไซเคิล (Recycle) และ หมายเลขรหัสการระบุเรซิ่นตั้งแต่ 1-7 หรือ รหัสชนิดพลาสติก (Plastic Resin Identification Codes) ตัวเลขที่เห็นนั้นจะบอกคุณได้ว่าพลาสติกนั้น เป็นพลาสติกประเภทใด โดยปัจจุบันพลาสติกถูกจำแนกทั้งหมด 7 ชนิด ดังนี้

1. พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate หรือ PET หรือ PETE)  ได้แก่ ขวดเครื่องดื่มโซดา ขวดมายองเนส และภาชนะบรรจุน้ำมันสำหรับปรุงอาหาร

2. โพลีเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High density polyethylene หรือ HDPE)  ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ของผงซักฟอกและสบู่ เหยือกนม ภาชนะใส่เนย และถังใส่ผงโปรตีน

3. โพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl chloride หรือ PVC)  ได้แก่ ท่อประปา สายไฟ ม่านอาบน้ำ ท่อทางการแพทย์ และผลิตภัณฑ์หนังสังเคราะห์

4. โพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (Low density polyethylene หรือ LDPE) ได้แก่ ถุงพลาสติก ขวดบีบ และบรรจุภัณฑ์อาหาร

5. พอลิโพรไพลีน (Polypropylene หรือ PP) ได้แก่ ฝาขวด ภาชนะบรรจุโยเกิร์ต ภาชนะเก็บอาหาร แคปซูลกาแฟ และขวดนม เป็นต้น

6. พอลิสไตรีน หรือ สไตโรโฟม (Polystyrene หรือ Styrofoam หรือ PS) ได้แก่ บรรจุภัณฑ์บรรจุถั่วลิสง ภาชนะบรรจุอาหารที่ใช้แล้วทิ้ง จานและถ้วยที่ใช้แล้วทิ้ง

7. พลาสติกชนิดอื่นๆ ได้แก่ โพลีคาร์บอเนต (Polycarbonate) โพลีแลกไตด์ (Polylactide) อะคริลิค (Acrylic) อะคริโลไนไตรล์-บิวทาไดอีน-สไตรีน (Acrylonitrile butadiene styrene) ไฟเบอร์กลาส (Fiberglass) และไนลอน (Nylon)

อย่างไรก็ตาม พลาสติกบางชนิดนั้นจะมีการใช้สารเติมแต่ง เพื่อให้ได้คุณสมบัติตามที่ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปต่างๆ ต้องการ ซึ่งสารเติมแต่งนั้นรวมถึง สารเสริมสี และสารเพิ่มความคงตัว

ไขข้อสงสัย: เอาพลาสติกเข้าไมโครเวฟ ปลอดภัยหรือไม่

ข้อกังวลหลักๆ ของพลาสติกกับไมโครเวฟ ก็คือ การทำปฏิกริยากับสารบางชนิด ก่อให้เกิดเป็นสารอันตรายที่สามารถปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่ม

สารเคมีหลักที่น่าเป็นห่วง คือ บิสฟีนอล เอ หรือที่คนไทยมักจะรู้จักการในชื่อเรียกสั้นๆ ว่า สาร BPA (Bisphenol A; BPA) และสารเคมีประเภทหนึ่งที่มีชื่อเรียกว่า สารพทาเลท (Phthalate) ซึ่งทั้ง 2 สิ่งนี้ใช้เพิ่มความยืดหยุ่นและความทนทานของพลาสติก

สาร BPA สามารถทำลายฮอร์โมนของร่างกายและยังเชื่อมโยงกับโรคอ้วน โรคเบาหวาน และเป็นอันตรายต่อการเจริญพันธุ์อีกด้วย โดยปกติแล้ว สาร BPA พบมาในพลาสติกประเภทโพลีคาร์บอเนต ซึ่งมีการใช้กันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ปี 1960 เพื่อผลิตเป็นภาชนะเก็บอาหาร แก้วน้ำ และขวดนม โดยสาร BPA จากพลาสติกเหล่านี้สามารถปนเปื้อนลงไปในอาหารและเครื่องดื่มได้เมื่อเวลาผ่านไป เช่นเดียวกับพลาสติกที่สัมผัสความร้อนจากไมโครเวฟ

ทุกวันนี้ผู้ผลิตอาหารส่วนใหญ่มักจะเก็บรักษาอาหารและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไว้ในพลาสติกที่ปลอดสารบิสฟีนอล เอ โดยหันมาใช้พลาสติกแบบพอลิโพรไพลีนแทน

ภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่ปราศจาก สาร BPA (BPA-Free) อาจยังไม่ปลอดภัย 100%

อย่างไรก็ตาม ทางองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration หรือ FDA) ได้ออกกฎห้ามใช้วัสดุที่มีส่วนผสมของ สาร BPA ในบรรจุภัณฑ์สำหรับเด็กทารก แก้วหัดดื่ม (Sippy cup) และขวดนมสำหรับเด็กด้วย นอกจากนั้นยังมีงานวิจัยบางชิ้นที่แสดงให้เห็นว่า แม้พลาสติกจะปลอดสาร BPA แต่มันก็ยังสามารถปล่อยสารเคมีที่รบกวนฮอร์โมนอื่นๆ เมื่อนำอาหารเข้าสู่ไมโครเวฟ

ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ดีที่ควรจะหลีกเลี่ยงการนำพลาสติกเข้าสู่ไมโครเวฟ เว้นแต่พลาสติกนั้นจะได้มาตรฐานตามข้อกำหนดขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา หรือภาชนะบรรจุนั้นมีฉลากที่ระบุเอาไว้ว่าปลอดภัยสำหรับไมโครเวฟ

เคยสงสัยกันไหมคะว่า ภาชนะเข้าไมโครเวฟได้ แบบไหนกันแน่ ชามใบนี้มันเข้าไมโครเวฟได้ไหมนะ แล้วกล่องพลาสติกพวกนี้อีกล่ะ ชามแบบนั้น ถ้วยใบนี้ แล้วหม้อนั้นอีกล่ะ โอ๊ยยย เยอะ !!

เอาละค่ะขอให้เลิกทำคิ้วผูกโบ  เก็บเครื่องหมายอะไรเอ่ยที่ผุดขึ้นมาอยู่เต็มไปหมดลงกระเป๋าไปก่อน แล้วหันมาตั้งใจฟัง my home จะบอกให้ว่า ภาชนะเข้าไมโครเวฟได้ มีแบบไหนบ้างนะคะ

เริ่มที่ภาชนะกลุ่มแรกกันค่ะ เป็นภาชนะที่เราสามารถนำเข้าไมโครเวฟได้อย่างปลอดภัยแน่นอน เหมาะสำหรับความหิวระดับสิบ!! น้ำย่อยสั่งการให้สมองหยิบชามโดยด่วน!! ขอให้หยิบจานชามในกลุ่มนี้เข้าไมโครเวฟนะคะ

เซรามิก

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.westelm.com
พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.crateandbarrel.com
พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.target.com

เป็นภาชนะที่สามารถใช้กับไมโครเวฟได้อย่างปลอดภัยหายห่วงเลยค่ะ จะอุ่นอาหารก็ได้ ปรุงอาหารก็ดี ถึงเนื้อของเซรามิกจะแตกต่างกันออกไปก็ไม่เป็นผลต่อการใช้งานกับไมโครเวฟมากนักค่ะ ยกตัวอย่างเช่นเซรามิกกลุ่ม Earthware นั้นอาจจะใช้เวลาในการอุ่นอาหารให้ร้อนนานกว่ากลุ่ม Stoneware และ Bone china อยู่สักหน่อยค่ะ ก็เจ้า Earthware เค้ามีเนื้อดินที่มีความพรุนตัวมากจึงทำให้ความสามารถในการดูดน้ำสูง เลยต้องใช้เวลากันสักหน่อยกว่าอาหารในภาชนะนั้นจะสุก

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.luluandgeorgia.com
พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.westelm.com

ข้อควรระวังของภาชนะในกลุ่มเซรามิกนั้นพอมีอยู่บ้าง ก็คือต้องเป็นภาชนะที่ไม่ตกแต่งลวดลายสีเงิน หรือ สีทองนะคะ เพราะสีเหล่านี้สามารถสะท้อนคลื่นไมโครเวฟได้ ทำให้อุปกรณ์ภายในของไมโครเวฟเกิดความเสียหายได้

แก้ว

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.crateandbarrel.com

นอกจากกลุ่มภาชนะที่ทำจากเซรามิกแล้วก็มี แก้ว นี้แหละค่ะที่สามารถเข้าไมโครเวฟได้อย่างใสๆเลย เพราะองค์ประกอบสำคัญของแก้วคือ สารอนินทรีย์อย่าง ทราย และเจ้าทรายนี้ ก็มีคุณสมบัติที่ทนต่อความร้อนได้สูงมาก  แถมผิวเงาๆมันๆของแก้ว ก็ยังไม่สะท้อนคลื่นไมโครเวฟด้วยค่ะ

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.modcloth.com
พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.casadeperrin.com

ข้อควรระวังของภาชนะที่ทำจากแก้วก็คงเป็นลวดลายที่ตกแต่งอยู่บนผิวของแก้วนี้แหละค่ะ ถ้าใบไหนมีลายก็ไม่ควรนำเข้าไมโครเวฟนะคะ

มาต่อกันที่กลุ่มที่สามารถนำเข้าไมโครเวฟได้ แต่ต้องให้ความใส่ใจกับเขาหน่อยค่ะ เป็นกลุ่มภาชนะที่เหมาะสำหรับการหิวในระดับกลาง แบบที่น้ำย่อยยังไม่สร้างความเสียหายต่อการตัดสินใจและอารมณ์มากนัก ภาชนะกลุ่มนี้จะมีอะไรบ้างไปดูกัน

พลาสติก

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.dollartree.com
พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.refinery29.com

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม

พลาสติก pp5 เข้าไมโครเวฟได้ไหม
ภาพจาก www.WordPress.com

กล่องใส่อาหารพร้อมทานส่วนมาก ก็มาพร้อมกับบรรจุภัณฑ์พลาสติกเหมือนกันหมดเลย แต่พลาสติกที่สามารถนำเข้าไมโครเวฟได้ จะต้องเป็นพลาสติกประเภท Polyethylene terephthalate (PET) และ พลาสติกประเภท Polypropylene (PP) เท่านั้นนะคะ เพราะทั้งสองประเภทนี้มีความเหนียว และยืดหยุ่น จึงทนต่อแรงกดกระแทกได้ค่อยข้างสูง ถ้ายังงง ๆ ว่าเจ้าสองตัวนี้คือพลาสติกแบบไหน ลองพลิกด้านดูบริเวณก้นของภาชนะพลาสติก จะมีสัญลักษณ์บอกไว้อย่างชัดเจนค่ะ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรใช้เพียงเพื่ออุ่นอาหาร ไม่ควรนำไปปรุงอาหารด้วยความร้อนสูงนะคะ

>>อ่านหน้าถัดไปที่นี่ค่ะ<<

พลาสติกเอาเข้าไมโครเวฟได้ไหม

ส่วนภาชนะที่ห้ามนำเข้าไปอุ่นในไมโครเวฟโดยเด็ดขาด คือ ภาชนะและผลิตภัณฑ์พลาสติกทุกชนิด (ยกเว้น PP), โลหะ, อลูมิเนียมฟอยล์, กล่องโฟม และเมลามีน ก่อนใช้งานไมโครเวฟ อย่าลืมพลิกดูบรรจุภัณฑ์ มองหาสัญลักษณ์ Microwave Safe หรือ Microwavable ก่อน เพื่อความปลอดภัยนะคะ

PE เข้าไมโครเวฟได้ไหม

กล่องใส่อาหารพร้อมทานส่วนมาก ก็มาพร้อมกับบรรจุภัณฑ์พลาสติกเหมือนกันหมดเลย แต่พลาสติกที่สามารถนำเข้าไมโครเวฟได้ จะต้องเป็นพลาสติกประเภท Polyethylene terephthalate (PET) และ พลาสติกประเภท Polypropylene (PP) เท่านั้นนะคะ เพราะทั้งสองประเภทนี้มีความเหนียว และยืดหยุ่น จึงทนต่อแรงกดกระแทกได้ค่อยข้างสูง ถ้ายังงง ๆ ว่าเจ้าสอง ...

พอลิเมอร์ชนิดใดที่นำมาทำภาชนะสำหรับไมโครเวฟ

พลาสติก PP (Polypropylene) พลาสติกรีไซเคิลได้ประเภทที่ 5 เป็นพลาสติกที่มีความเหนียว อากาศสามารถผ่านได้เล็กน้อย แต่น้ำไม่สามารถซึมผ่านได้ นอกจากจะใช้เก็บอาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารแช่แข็งได้ดี ทนต่อสารเคมีและอาหารที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้เล็กน้อยแล้ว ยังทนความร้อนได้ถึง 110 องศาเซลเซียส ดังนั้นสามารถใช้ใส่อาหารเพื่ออุ่น ...

ดูยังไงว่ากล่องพลาสติกเข้าไมโครเวฟได้

กล่องใส่อาหารส่วนใหญ่ที่เป็นพลาสติก หน้าตาก็จะคล้ายๆ กันไปหมด วิธีสังเกตคือลองพลิกดูใต้ภาชนะพลาสติก จะเห็นลูกศรชี้วนเป็นทรงสามเหลี่ยมพร้อมหมายเลขระบุด้านใน ซึ่งเป็นหมายเลขระบุชนิดของพลาสติกนั่นเอง โดยชนิดที่สามารถนำเข้าไมโครเวฟได้จะต้องเป็นพลาสติกประเภท หมายเลข 5 คือ พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) หรือ PP เท่านั้น ส่วน ...