รีไฟแนนซ์กลับมาธนาคารเดิมได้ไหม

 อย่างไรก็ตามหากเรามีความจำเป็นจริงๆ เราก็สามารถตอบรับเงินก้อนที่เติมเข้ามาก้อนนี้เอาไว้ได้ แต่เราต้องพึงคิดอยู่เสมอว่าเราต้องนำเงินก้อนนี้ไปใช้เพราะจำเป็น และก่อให้เกิดประโยชน์จริงๆ จะทำให้เราใช้เงินได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับผู้ที่สนใจจะรีไฟแนนซ์ หรือขอสินเชื่อสำหรับที่อยู่อาศัย 

มนุษย์เงินเดือนที่ตัดสินใจกู้เงินซื้อบ้านกับธนาคาร แน่นอนว่าต้องขอข้อเสนอดอกเบี้ยถูกไว้ก่อน ดังนั้นช่วง 3 ปีแรกของการผ่อนบ้าน รูปแบบของดอกเบี้ยที่เจอจะเป็นลักษณะดอกเบี้ยคงที่ (MRR) หลังจากนั้นอัตราดอกเบี้ยจะเข้าสู่ภาวะดอกเบี้ยลอยตัว (MLR) ทันที เหตุนี้จึงทำให้มนุษย์เงินเดือนหลายคนหาทางออกเพื่อไม่ต้องแบกรับภาระดอกเบี้ยที่ผันแปรไปตามเศรษฐกิจและข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย ด้วยการขอยื่น Refinance กับธนาคารใหม่ หรือไม่ก็ทำการ Retention ทำธนาคารเดิม ซึ่งหลายคนอาจกำลังสับสนว่าการ Refinance กับการ Retention บ้านนั้นคืออะไร ต่างกันแค่ไหน และการผ่อนแบบไหนคุ้มค่ากว่ากัน

Retention คือ การขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคารเดิม เมื่อคุณผ่อนบ้านในอัตราดอกเบี้ยคงที่จนครบ 3 ปีแล้ว จะสามารถทำการยื่นเรื่องกับธนาคารเดิมที่ตนเองกู้บ้านเพื่อขอต่อรองอัตราดอกเบี้ยในเรทต่ำได้ 

Refinance คืออะไร

Refinance คือ การขอยื่นกู้สินเชื่อบ้านกับธนาคารใหม่ เพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยบ้านต่ำลง ซึ่งจะช่วยให้ยอดผ่อนต่อเดือนน้อยลงและผ่อนบ้านได้หมดไวยิ่งขึ้น

คำนวณความคุ้มค่าระหว่าง Retention VS Refinance 

เมื่อเข้าใจความหมายและวัตถุประสงค์ของทั้งสองคำแล้ว ถึงเวลาที่มนุษย์เงินเดือนมาค้นหาคำตอบความคุ้มค่าของวิธีการยื่นเรื่องกับธนาคารเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อที่อยู่อาศัยในเรทต่ำ ดังตัวอย่าง

รีไฟแนนซ์กลับมาธนาคารเดิมได้ไหม
รีไฟแนนซ์กลับมาธนาคารเดิมได้ไหม

นายแสนกู้เงินซื้อบ้านโครงการสิริ เพลส ราชพฤกษ์-นครอินทร์ ราคา 4 ล้านบาท โดยยื่นกู้กับธนาคาร โดยมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยปีละ 4.52% ผ่อนเดือนละ 20,315 บาท และตัดสินใจทำการ Retention ดอกเบี้ยบ้านกับธนาคารเดิมจะได้อัตราดอกเบี้ยลดลงเหลือปีละ 4.00% ทำให้มียอดผ่อนลดลงเหลือเดือนละ 19,097 บาท ทำให้ประหยัดไป 1,218 บาท/เดือน

นางสิริกู้เงินซื้อบ้านโครงการอณาสิริ ติวานนท์-ศรีสมาน ในราคา 5.59 ล้านบาท โดยยื่นกู้กับธนาคารเดิม โดยมีอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยปีละ 4.52% ผ่อนเดือนละ 28,390 บาท และตัดสินใจทำการ Refinance กับธนาคารใหม่จะได้อัตราดอกเบี้ยลดลงเหลือปีละ 3.66% ทำให้มียอดผ่อนลดลงเหลือเดือนละ 25,603 บาท ทำให้ประหยัดไป 2,787 บาท/เดือน

จากตัวอย่างข้างต้น ทำให้เห็นว่าวิธีการขออัตราดอกเบี้ยบ้านในเรทต่ำกับธนาคารด้วยการ Refinance นั้นทำให้มีเงินประหยัดต่อเดือน และคุ้มค่ามากกว่าการ Retention ดอกเบี้ยบ้านกับธนาคารเดิม

สรุปข้อดี ข้อเสียของ Retention VS Refinance

Retentionข้อดีข้อเสีย1. การ Retention ดอกเบี้ยบ้านกับธนาคารเดิมไม่ต้องเสียเวลายื่นเอกสาร ติดต่อกับธนาคารใหม่ เตรียมแค่สัญญาเงินกู้ ทะเบียนบ้าน และบัตรประชาชน
ได้ลดอัตราดอกเบี้ยไม่เยอะ โดยอัตราดอกเบี้ยจะเป็นไปตามที่ธนาคารกำหนด2. มีค่าใช้จ่ายเพียงแค่ค่าธรรมเนียมสินเชื่อ 1-2% ของวงเงินกู้3. ระยะเวลาในการอนุมัติรวดเร็วRefinanceข้อดีข้อเสีย1. ได้อัตราดอกเบี้ยในเรทต่ำ1. เตรียมเอกสารการขอกู้ใหม่ทั้งหมด2. สามารถเปรียบเทียบเลือกอัตราดอกเบี้ยในเรทต่ำได้หลายธนาคาร2. มีค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่ายดังนี้

  • การจัดการสินเชื่อตามสัญญาใหม่ 0-3%
  • ค่าธรรมเนียมในการจำนอง 1%
  • ค่าอากรแสตมป์ 0.05%
  • ค่าประเมินราคาหลักประกัน 0.25-2%
  • ค่าประกันอัคคีภัย
3. ใช้เวลาในการอนุมัติ

เมื่อเข้าใจเรื่องการ Refinance และ Retention บ้านพร้อมเข้าใจความคุ้มค่าของการขออัตราดอกเบี้ยบ้านในเรทต่ำแล้ว สำหรับใครที่จะซื้อบ้านในตอนนี้ นอกจากธนาคารจะช่วยแบ่งเบาภาระลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อบ้านแล้ว แสนสิริยังมีโปรโมชันดี ๆ อย่าง โปร Big Match แมทช์ด้วยตัวเองได้แล้ววันนี้! ชอบโปรไหน ไปโปรนั้น ให้คุณได้บ้านที่คุ้มที่สุด วันนี้ - 31 ธ.ค.65

หลังจากการผ่อนบ้านมาระยะเวลาหนึ่งแล้ว หลายคนคงอยากหาวิธีผ่อนบ้านให้หมดเร็ว ๆ ซึ่งหนึ่งในวิธีนั้นก็ คือ การรีไฟแนนซ์บ้าน แต่บางคนก็ยังมีคำถามที่สงสัยเกี่ยวการรีไฟแนนซ์บ้านอยู่ในใจ วันนี้เราจึงรวบรวมคำถามยอดฮิตพร้อมหาคำตอบมาให้ และสำหรับใครที่สนใจรีไฟแนนซ์บ้าน และกำลังมองหาข้อเสนอดี ๆ  สามารถดูข้อมูลเติมได้ที่นี่

 

1. รีไฟแนนซ์บ้านเมื่อไหร่ดี?

- เมื่อผ่อนบ้านมาประมาณ 3 ปี ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสัญญาที่ระบุไว้ด้วย บางแห่งอาจกำหนดระยาเวลาที่นานกว่านั้น

 

2. ทำไมต้องรอ 3 ปี ค่อยรีไฟแนนซ์?

- สัญญาส่วนใหญ่จะระบุให้รีไฟแนนซ์ได้หลัง 3 ปี (ระยะเวลาขึ้นอยู่กับสัญญาเงินกู้แต่ละฉบับ) หากรีไฟแนนซ์ก่อนกำหนด ต้องเสียค่าปรับ 2-3% ของยอดหนี้คงเหลือ

  • Knowledge
  • Money 101

รีไฟแนนซ์บ้านคืออะไร เพิ่มวงเงินธนาคารเดิมได้หรือเปล่า ทำก่อน 3 ปีได้ไหม

18 June 2563

แชร์

รีไฟแนนซ์กลับมาธนาคารเดิมได้ไหม


2. รีไฟแนนซ์บ้านเพิ่มวงเงินกู้ได้ไหม?

หลายคนอาจคิดว่า... การรีไฟแนนซ์บ้านจะต้องย้ายไปกู้ธนาคารใหม่เท่านั้น แต่ความจริงแล้ว "เรายังสามารถเพิ่มวงเงินกู้ได้" โดยใช้ส่วนต่างของราคาบ้านกับยอดหนี้คงเหลือ ซึ่งจะทำให้เราได้วงเงินสินเชื่ออเนกประสงค์ออกมาถึงหลักล้านเลย

และโดยปกติแล้ว หากเราผ่อนบ้านไปสักช่วงระยะหนึ่ง ยอดหนี้ของเราก็จะลดลงในขณะที่ราคาบ้านจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งตามธนาคารส่วนใหญ่จะกำหนดวงเงินกู้ไม่เกิน 90% ของราคาประเมิน สมมติว่า... ถ้าปัจจุบันราคาประเมินอยู่ที่ 5 ล้าน ก็แสดงว่าเราจะสามารถกู้เงินได้สูงสุด 4.5 ล้านบาท สรุปคือ "เราจะสามารถรีไฟแนนซ์บ้านเพิ่มวงเงินกู้ได้ถึง 90% ของราคาประเมินเลยทีเดียว"




3. รีไฟแนนซ์บ้านธนาคารเดิมดีไหม?

สำหรับคนที่กำลังจะรีไฟแนนซ์บ้าน อาจเกิดข้อสงสัยว่า "เราจำเป็นต้องรีไฟแนนซ์บ้านธนาคารอื่นด้วยเหรอ หากต้องการรีไฟแนนซ์บ้านธนาคารเดิมจะแตกต่างกันอย่างไร"

  • ต้องบอกก่อนว่า... การรีไฟแนนซ์บ้านธนาคารเดิมนั้นสามารถทำได้ ในกรณีที่เราเป็นลูกหนี้ชั้นดี คือ ผ่อนชำระตรงเวลาทุกงวด ไม่ล่าช้า ไม่เคยผิดนัดชำระเลย ซึ่งอาจจะมีกฎเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น จะต้องมีระยะการผ่อนบ้านมาแล้วเป็นระยะเวลา 3 ปีขึ้นไป หรือตามเงื่อนไขที่ธนาคารนั้นกำหนดไว้ (ส่วนใหญ่ 3 ปี)

พอถึงช่วงเวลานั้น เราค่อยมานั่งตัดสินใจทีหลังว่าจะรีไฟแนนซ์บ้านธนาคารเดิม หรือธนาคารใหม่ก็ยังไม่สาย เพราะตลอดระยะเวลา 3 ปีในการผ่อนบ้านก็อาจจะมีโปรโมชันดี ๆ จากหลายธนาคารมาเป็นตัวเลือกในกาตัดสินใจของเราก็ได้

  • ส่วนรีไฟแนนซ์ธนาคารเดิม จะมีจุดดีตรงที่ 'ขั้นตอนการดำเนินงานด้านเอกสาร' ที่ไม่ยุ่งยากและไม่เสียเวลา เนื่องจากทางธนาคารจะมีเอกสารของเราอยู่แล้ว นอกจากนี้ ค่าดำเนินก็ยังไม่สูงเท่ากับการรีไฟแนนซ์ธนาคารใหม่ ขณะที่การคิดดอกเบี้ยอาจจะเท่า ๆ กัน ฉะนั้นก่อนตัดสินใจรีไฟแนนซ์บ้านจึงควรคิดและตรวจสอบให้ดีเสียก่อน




4. รีไฟแนนซ์บ้านก่อน 3 ปีได้ไหม?

แน่นอนว่า "การรีไฟแนนซ์บ้านก่อน 3 ปีสามารถทำได้" แต่เราอาจจะต้องเสียค่าปรับให้กับธนาคารเจ้าหนี้รายเดิมตามเงื่อนไขที่ระบุเอาไว้ในสัญญา โดยแต่ละธนาคารจะมีเงื่อนไขที่แตกต่างกันไป

เรา สามารถ รี ไฟแนนซ์ กับ ธนาคาร เดิม ได้ ไหม

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมคืออะไร การขอรีไฟแนนซ์กับธนาคารเดิม จริง ๆ เรียกแบบนี้ไม่ถูกต้องครับ ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องคือ การขอลดดอกเบี้ยบ้านธนาคารเดิม (ธนาคารปัจจุบันที่เราผ่อนอยู่) หรือบางคนอาจจะเรียกว่า การขอ Retention ครับ

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมเสียค่าใช้จ่ายไหม

ค่าใช้จ่ายการดำเนินการ ค่าจัดการสินเชื่อตามสัญญาใหม่ หรือค่าธรรมเนียมการปล่อยกู้ ส่วนใหญ่อยู่ที่ประมาณ 0-3% ของวงเงินกู้ ค่าธรรมเนียมในการจำนอง หากเป็นการรีเทนชั่นกับธนาคารเดิม ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ แต่หากรีไฟแนนซ์กับธนาคารใหม่ต้องเสียค่าจำนองที่ดินประมาณ 1% ของวงเงินสินเชื่อ ซึ่งชำระให้กับกรมที่ดิน

รีไฟแนนซ์บ้านธนาคารเดิมเสียค่าอะไรบ้าง

รีไฟแนนซ์ (Refinance) ต้องรู้ข้อมูลอะไรบ้าง ค่าประเมินราคา = 2,000-3,000 บาท (ขึ้นอยู่กับธนาคารและบางธนาคารก็ไม่เสียค่าใช้จ่ายส่วนนี้) ค่าจดจำนอง 1% ของเงินต้นที่เหลือจากธนาคารเดิม (ค่าใช้จ่ายนี้เราเสียให้กรมที่ดิน กรณีฟรีค่าจดจำนองก็ต้องออกเงินส่วนนี้ก่อนแล้วธนาคารค่อยจ่ายคืนเรา)

รีไฟแนนซ์บ้านก่อนครบ 3 ปีได้ไหม

จริงๆ แล้วธนาคารส่วนใหญ่เค้ามีเงื่อนไขระบุไว้ในสัญญาเงินกู้ซื้อบ้านแล้วนะครับว่า เราไม่สามารถทำการรีไฟแนนซ์ได้ ถ้าหากผ่อนค่างวดไม่ถึง 3 ปี หรือถ้าเราอยากจะรีไฟแนนซ์จริงๆ ก่อนระยะเวลา 3 ปีเนี่ย ก็จะต้องมีค่าใช้จ่ายเป็นค่าปรับให้กับทางธนาคารด้วย