อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ วัตถุประสงค์

͹��ѭ����Ҵ��¤�����ҡ���·ҧ����Ҿ BDC : The Biological Diversity Convention �� ͹��ѭ����Ҵ��� ������ҡ���·ҧ����Ҿ ���Ѻ���ŧ����ҡ 157 ����� 㹡�û�Ъ���˻�ЪҪҵ���Ҵ�������Ǵ������С�þѲ�� (United Nations Conference on Environment and Development; UNCED) ������ҧ�ѹ��� 5-14 �Զع�¹ �.�. 2535 � ���ͧ ���� �� ����� �˾ѹ���Ҹ�ó�Ѱ��ҫ�� ��ѧ�ҡ��� ͹��ѭ��� ���Դ���ŧ������֧�ѹ��� 4 �Զع�¹ �.�. 2536 ����� 167 ����� ������Ҿ���û ��ŧ����Ѻ�ͧ�͹��ѭ��� ��͹��ѭ�� CBD ��͡��Դ��� 㹻վط��ѡ�Ҫ 2535 (�.�.1992) �ҡ��� ��ù�͹��ѭ���������û�Ժѵ����ա�èѴ�� �Ը���ù���� Nagoya protocol

อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ


                จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development) หรือการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม (Earth Summit) ณ กรุงริโอ เดอ เจเนโร ประเทศบราซิล เมื่อวันที่ 5 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ประเทศทั่วโลกได้ให้การรับรองอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีทั้งสิ้น 157 ประเทศร่วมลงนาม อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2536 ปัจจุบันมีภาคี 191 ประเทศ ในส่วนของประเทศไทย ได้ลงนามในอนุสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 และให้สัตยาบันเข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547

                  อนุสัญญาฯ เป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ที่มีเจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษาวินัยสิ่งแวดล้อม อนุสัญญาฯ ฉบับนี้เป็นอนุสัญญานานาชาติฉบับแรกที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ ทั้งพันธุกรรม ชนิดพันธุ์ และระบบนิเวศ โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ
1 เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
2 เพื่อใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
3 เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและยุติธรรม

อนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพ วัตถุประสงค์

                    อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นที่ยอมรับกันในแวดวงของนักวิทยาศาสตร์ชีวภาพและนักกฎหมายระหว่าง ประเทศว่า เป็นความตกลงระหว่างประเทศฉบับแรกที่ครอบคลุมทุกแง่มุมของความหลากหลายทาง ชีวภาพ ครอบคลุมการอนุรักษ์ทั้งชนิดพันธุ์ พันธุกรรม และระบบนิเวศ

นโยบายเร่งด่วน มาตรการ/ผลการดำเนินงานที่สำคัญ 1) การแก้ไขปัญหาในการดำรงชีวิตของประชาชน ช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ด้อยโอกาส เช่น ดำเนินโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 973 แห่ง 353,267 ราย และดำเนินโครงการบริหารจัดการที่ดินทำกินแก่เกษตรกรรายย่อยและผู้ด้อยโอกาส 25,479 ราย ดำเนินการได้เกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ร้อยละ 8.42 (เป้าหมาย 23,500 ราย) 2) การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2.1) โครงการสินเชื่อกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เพื่อช่วยเหลือข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยแก้ไขปัญหาหนี้สินผู้ถูกฟ้อง            ร้องผู้มีหนี้สินวิกฤติ หรือมียอดเงินเดือนเหลือไม่ถึงร้อยละ 30 มีผู้ลงทะเบียนแล้ว 41,128 ราย รวมมูลค่าหนี้ 58 ล้านบาท
2.2) โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ โดยโอนเงินให้แก่ผู้มีสิทธิผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 รวม 44,873.10 ล้านบาท
2.3) จ่ายเงินสวัสดิการสังคมและเงินอื่นผ่านระบบบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม (e-Social Welfare) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 รวม 131,354.82 ล้านบาท 3) มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ดำเนินโครงการ SME ปรับตัวรับมือ VUCA World ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (Volatility Uncertainty Complexity Ambiguity: VUCA) โดยสำนักงานส่งเสริม
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมดำเนินการลงพื้นที่ให้ปรึกษาเชิงลึก ณ สถานประกอบการ เพื่อให้ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) สามารถสร้างโมเดลธุรกิจบริการใหม่ หรือปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น 76 กิจการ และเข้าสู่กระบวนการพัฒนาปรับปรุงเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการแล้ว 5 ราย มีผลการดำเนินงานในภาพรวมร้อยละ 77.50 4) การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม 4.1) ยกระดับเศรษฐกิจชุมชนด้วยนวัตกรรมผลิตอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำสำหรับ         โคเนื้อและกระบือ โดยสนับสนุนทุนวิจัยให้แก่คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัย เพื่อนำไปถ่ายทอดองค์ความรู้การผลิตอาหารสัตว์ต้นทุนต่ำสำหรับโคขุนและกระบือให้กับเกษตรกรทดแทนการซื้ออาหารสำเร็จรูป สามารถลดต้นทุนลง 2.60 บาท/กิโลกรัม หรือ 13,000 บาท/รอบการผลิต
4.2) ดำเนินโครงการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตร              เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) เช่น พัฒนาที่ดินเพื่อสนับสนุน            การปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agi-Map จำนวน 67,290 ไร่             และส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการผลิตพืชที่เหมาะสมตามแผนที่ Agri-Map จำนวน 2,670 ไร่
4.3) ดำเนินโครงการประกันภัยข้าวนาปี และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปีการผลิต 2565 ได้แก่ โครงการประกันภัยข้าวนาปีขั้นพื้นฐาน 1.912                  ล้านราย และภาคสมัครใจ 7,162 ราย เบี้ยประกันภัยรวม 2,891.22 ล้านบาท และโครงการประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขั้นพื้นฐาน 70,574 ราย และภาคสมัครใจ         7 ราย เบี้ยประกันภัยรวม 221.85 ล้านบาท 5) การยกระดับศักยภาพของแรงงาน 5.1) กำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ปี 2565 ตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้างเรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ (ฉบับที่ 11) ลงวันที่ 1 กันยายน 2565 โดยให้ปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำเพิ่มในอัตราวันละ 8-22 บาท เป็นอัตราวันละ 328-354 บาท โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไป
5.2) ขยายตลาดแรงงานไทย เช่น ส่งเสริมให้แรงานไทยไปฝึกงาน ณ ประเทศญี่ปุ่น
และส่งเสริมให้แรงงานไทยไปทำงาน ณ ประเทศซาอุดีอาระเบีย
5.3) ยกระดับทักษะแรงงานนอกระบบ โดยดำเนินการยกระดับทักษะฝีมือแรงานให้แก่แรงงานนอกระบบ เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวชายทะเลฝั่งอันดามันและกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากในพื้นที่ตำบลทับปุด จังหวัดพังงา 6) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต 6.1) ส่งเสริมการลงทุน โดยมีการยื่นขอรับการส่งเสริมการลงทุนตั้งแต่เดือนมกราคม-สิงหาคม 2565 ในพื้นที่ “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)” (Eastern Economic Corridor: EEC) (จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง)              315 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 170,383 ล้านบาท และในพื้นที่ “เขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ)”  (Special Economic Zone: SEZ) 3 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 2,277 ล้านบาท
6.2) โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก เช่น              ปรับพื้นที่สำหรับก่อสร้างทางขับระยะที่ 1 และลานจอดของศูนย์ซ่อมบำรุง                อากาศยาน มีความคืบหน้าร้อยละ 93.67 และโครงการงานระบบไฟฟ้าและน้ำเย็นมีความคืบหน้าร้อยละ 76.40 7) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 7.1) จัดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2565                ในรูปแบบ Science Carnival และงาน “NST Fair Science Carnival Bangkok”
ภายใต้แนวคิด “วิทย์ปลุกชีวิต” เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนไทยเกิดความตระหนักรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
7.2) สร้างความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สื่อออนไลน์ และโครงข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทย โดยเปิดตัวเว็บ www.คลิปหลุดทำไง.com รับแจ้งเหตุล่วงละเมิดทางเพศ สื่อลามกเด็กผ่านออนไลน์ตลอด 24 ชั่วโมง 8) การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ 8.1) ปราบปรามยาเสพติด โดยมีการจับกุมคดียาเสพติด 23,564 คดี ผู้ต้องหา            23,330 คน และยึดของกลาง เช่น ยาบ้า 44.55 ล้านเม็ด ไอซ์ 930.73 กิโลกรัม และเฮโรอีน 52.93 กิโลกรัม
8.2) ดำเนินโครงการตำบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้และส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้  เช่น ปรับปรุงพื้นที่ปลูกข้าวให้มีความเหมาะสม ในพื้นที่ 2,983 ไร่ และให้บริการด้านการผลิตพืชแก่เกษตรกร โดยจัดทำแปลงขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชให้กับ         เกษตรกรต้นแบบ 480 ราย 9) การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน 9.1) พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์การบริหารแรงงานไทยไปต่างประเทศระยะที่ 4 แล้วเสร็จ ทำให้ผู้หางานสามารถยื่นคำขอส่งเงินเข้ากองทุนเพื่อช่วยเหลือคนหางานไปทำงานในต่างประเทศได้ 2 วิธี คือ (1) ผ่านระบu e-Service เและ (2) ยื่นคำขอ ณ สำนักงานจัดหางานจังหวัด ทั้งนี้ กรณีคนหางานแจ้งการเดินทางด้วยตนเองเริ่มเปิดให้ใช้บริการตั้งแต่วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เป็นต้นไป
9.2) อำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจให้แก่บุคลากรทักษะสูง/ผู้เชี่ยวชาญ นักลงทุน ผู้บริหาร และผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มต้นที่ประสงค์จะเข้ามาทำงานหรือลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศผ่านวีช่าประเภทพิเศษ SMART Visa ตั้งแต่เดือนมกราคม-สิงหาคม 2565 มีผู้ผ่านการรับรองคุณสมบัติทั้งสิ้น                 268 คำขอ
9.3) จ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในพื้นที่กรุงเทพมหานครระหว่างวันที่ 1-31 สิงหาคม 2565 จำนวน 179 ครัวเรือน 508 คน แบ่งเป็น อัคคีภัย 154 ครัวเรือน 458 คน 3.60 ล้านบาท และวาตภัย 25 ครัวเรือน 50 คน 203,560 บาท ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564-31 สิงหาคม 2565 ได้จ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติแล้ว 918 ครอบครัว  2,265 คน รวมทั้งสิ้น 15.39              ล้านบาท 10) การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย 10.1) จัดการน้ำท่วมอุทกภัย เช่น (1) โครงการบรรเทาอุทกภัยอำเภอหาดใหญ่ (ระยะที่ 2) จังหวัดสงขลา (งานปรับปรุงสะพานรถไฟ ความยาว 110 เมตร) มีผลการดำเนินงานร้อยละ 98.33 (2) โครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (ขุดคลองระบายน้ำหลากพร้อมอาคารประกอบ) มีผลการดำเนินงานร้อยละ 26.63  และ (3) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองชัยภูมิ    จังหวัดชัยภูมิ (ระยะที่ 1) (ก่อสร้างคลองผันน้ำลำปะทาว-สระเทวดาพร้อมอาคารประกอบ) มีผลการดำเนินงาน ร้อยละ 18.26
10.2) ช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ระหว่างวันที่                          9 พฤษภาคม-7 สิงหาคม 2565 ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรด้านพืช ใน 24 จังหวัด เกษตรกรได้รับผลกระทบ 40,803 ราย พื้นที่เสียหาย 255,505 ไร่ ดำเนินการช่วยเหลือแล้ว 181 ราย ในพื้นที่ 561 ไร่ วงเงิน 0.93 ล้านบาท และกลุ่มเกษตรกรด้านประมง ใน 15 จังหวัด เกษตรกรได้รับผลกระทบ 2,513 ราย พื้นที่เสียหาย 2,146 ไร่ ดำเนินการช่วยเหลือแล้ว 335 ราย ในพื้นที่ 283 ไร่  วงเงิน 1.42 ล้านบาท

ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสัญญาฯ นี้มีเป้าประสงค์หลัก “เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน” โดยเน้นว่า การอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันของทุกคน และตระหนักว่าแต่ละประเทศย่อมมีสิทธิอธิปไตยเหนือทรัพยากรชีวภาพในเขตแดนของตน

อะไรคือสาระสำคัญของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

เป็นความตกลงระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม ที่ต้องการให้มี ความร่วมมือระหว่างประเทศระหว่างหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ และ เอกชน ระหว่างประชาชนชาวโลก ในการรักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ และการใช้ประโยชน์ระบบนิเวศ ชนิด พันธุ์และพันธุกรรมอย่างยั่งยืน

อนุสัญญาใดคืออนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ

อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention of Biological Diversity: CBD) เป็นความตกลงด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศที่มี เจตนารมณ์ให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษาวินัย สิ่งแวดล้อม ที่ครอบคลุมการอนุรักษ์ทั้งพันธุกรรม ชนิด พันธุ์และระบบนิเวศ

อนุสัญญาใดมีวัตถุประสงค์ในการแบ่งปันผลประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรม

พิธีสารนาโงยาฯ มีวัตถุประสงค์ ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ของอนุสัญญาฯ คือ การแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จาก การใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างยุติธรรม และเท่าเทียม โดยการเข้าถึงทรัพยากร พันธุกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม โดยค านึงถึง สิทธิเหนือทรัพยากรและเทคโนโลยีนั้น และโดยการสนับสนุนทุนที่เหมาะสม ดังนั้นจึง ...