ระบบทางเทคโนโลยีของจักรยาน

การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1
บทท่ี 3 ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบ

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. นั กเรียนสามารถวิเคราะห์ระบบทาง
เทคโนโลยีของช้ินงานหรือวิธีการใน
ชวี ติ ประจาวนั ได้

2. นั กเรียนสามารถประยุกต์ใช้แนวคิด
ระบบทางเทคโนโลยเี พ่ือการดูแลรกั ษา
เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม

ระบบ

ระบบ ( system ) คือกลุ่มของ
ส่ ว น ต่ า ง ๆ ตั้ ง แ ต่ ส อ ง ส่ ว น ข้ึ น ไ ป
ประกอบเข้าด้วยกนั และทางานรว่ มกัน
เพ่ือให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์เดยี วกัน

ประเภทของระบบ

ระบบ อาจจาแนกได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

ระบบทีพ่ บในธรรมชาติ ระบบทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้ึน

ระบบทพ่ี บในธรรมชาติ

ระบบที่พบในธรรมชาติ คือ ระบบที่ธรรมชาติสร้างข้ึนหรือ

เป็นไปตามธรรมชาติ เช่น

ระบบลาเลยี งในพืช

ระบบภมู ิคุ้มกนั รา่ งกายมนษุ ย์

ระบบยอ่ ยอาหาร
ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด

ระบบหายใจ

ระบบทีม่ นษุ ยส์ รา้ งข้ึน

ระบบที่มนุษย์สร้างข้ึน คือ
ระบบท่ีสร้างข้ึ นเพื่ออานวยความ
สะดวกหรือเพ่ิมประสิ ทธิภาพการ
ทางาน เชน่

ระบบรถไฟฟ้า
ระบบบาบดั นาเ้ สีย
ระบบการให้นาพ้ ืช

ระบบทมี่ นษุ ยส์ รา้ งข้ึน

ระบบบาบดั นาเ้ สียแบบบงึ ประดิษฐ์

ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบทางเทคโนโลยี

ในการทางานหรือทากิจกรรม
ต่าง ๆ ของมนษุ ย์ อาจประสบปัญหาหรอื
มีความต้องการเกิดข้ึน ซ่ึงเป็นสาเหตุที่
ท า ใ ห้ ม นุ ษ ย์ คิ ด ค้ น ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ห รื อ
เ ลื อ ก ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ แ ก้ ปั ญ ห า ห รื อ
ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการเหลา่ นั้น

ระบบทางเทคโนโลยี

เทคโนโลยชี ว่ ยให้การทางานจากการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ มี

สะดวก แม่นยา

รวดเรว็ ปลอดภยั

ลดค่าใชจ้ า่ ย

ระบบทางเทคโนโลยี

เทคโนโลยจี ึงตอ้ งมีการประกอบ
ที่ ท า ง า น ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ สั ม พั น ธ์กั น
เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ ซ่งึ กล่าวได้วา่
เทคโนโลยีนั้ นจะต้องทางานอย่างเป็น
ระบบเราเรียกว่า ระบบทางเทคโนโลยี
(technological system)

ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบทางเทคโนโลยีจึงเป็นกลุ่มของส่ วนต่าง ๆ ต้ังแต่สองส่ วนข้ึนไปประกอบ
เข้าด้วยกันและทางานร่วมกันเพื่อให้วัตถุประสงค์ ระบบทางเทคโนโลยีมีองค์ประกอบ
คือ ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process)และผลผลิต (output) ที่ทาสั มพันธ์กัน
นอกจากน้ี ระบบทางเทคโนโลยอี าจมขี ้อมูลยอ้ นกลบั (feedback) เพ่ือควบคุมการทางาน
ให้ไดต้ ามวัตถุประสงค์

ตว้ ป้อน กระบวนการ ผลผลิต
( input ) ( process ) ( output )

ข้อมลู ยอ้ นกลับ
( feedback )

ระบบทางเทคโนโลยี

ตวั ป้อน (input)
คอื ส่ิงทีป่ ้อนเข้าส่รู ะบบซ่งึ อาจมีมากกวา่ 1 อยา่ ง

กระบวนการ (process)
คอื กิจกรรมหรอื การดาเนิ นการทเ่ี กดิ ข้ึนในระบบ

เพ่ือทาให้เกิดผลผลิตตามวตั ถุประสงค์

ผลผลิต (output)
คอื ผลทไ่ี ดจ้ ากการทางานรว่ มกันของตวั ป้อน และกระบวนการของระบบ

ผลผลิตยงั รวมถึงส่ิงที่เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการซ่งึ อาจเป็นส่ิงที่
เราตอ้ งการหรอื ไม่ก็ได้ เช่น ของเสีย เศษวัสดุ

ข้อมลู ย้อนกลับ (feedback)
คอื ข้อมลู ท่ีใชใ้ นการควบคมุ หรอื ป้อนกลับให้ระบทางาน

ไดบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ ซ่งึ อาจมีได้ในบางระบบ

ระบบทางเทคโนโลยี

ตัวอย่างองค์ประกอบระบบทางเทคโนโลยีของจักรยาน

ตวั ป้อน (input) กระบวนการ ผลผลิต (output)
(แรงถีบบันได) ( process) (จักรยานเลอื่ นท่ี)
(การหมนุ ของจาน โซ่
ลอ้ ของจักรยาน)

ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบทางเทคโนโลยีของจกั รยาน

ระบบทางเทคโนโลยีของจักรยานมอี งค์ประกอบได้แก่ ตัวป้อน คือ แรง
ทีเ่ ราถีบบันไดจักรยาน ส่ งผลให้เกิดกระบวนการของระบบคือ จานหน้ าหมุนทา
ให้โซเ่ คล่ือนท่ีบังคับให้จานหลังและล้อจักรยานหมุน เกิดผลผลิตของระบบคือ
การเคลื่อนที่ไป
ข้างหน้ าของจักรยานโดยความเร็วในการเคล่ือนที่ของจักรยาน คือข้ อมูล
ย้อนกลบั ของระบบ ซ่งึ ส่ งผลตอ่ ตัวป้อนหรอื แรงท่ีเราถีบบันไดจักรยาน เช่น ถ้า
ตอ้ งการให้จกั รยานเคลอื่ นที่เรว็ ข้ึน ตอ้ งเพ่ิมแรงถีบบนั ไดจกั รยานให้มากข้ึน

ระบบทางเทคโนโลยี

ตวั อยา่ งองค์ประกอบระบบเทคโนโลยขี องเตาแกส๊

ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process) ผลผลติ (output)
แกส๊ หุงตม้ ประกายไฟจดุ นา การทางานของเตาแกส๊ เปลวไฟ ความรอ้ นบนหัวเตาแกส๊

ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบเทคโนโลยขี องเตาแกส๊

ร ะ บ บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง เ ต า แ ก๊ ส มี
องค์ประกอบได้แก่ ตัวป้อน คือ แก๊สหุงตม้ ที่ไหลเข้าส่ ู
เตาและประกายไฟจุดนา กระบวนการ คือเมอ่ื เปิดวาลว์
คว บคุม แก๊ ส แ ก๊สจะไห ลเข้ าหั ว เตาแ ล ะสั ม ผัสกับ
ประกายไฟจุดนาบริเวณหัวเตาก่อให้เกิดเปลวไฟและ
ความรอ้ นบนหัวเตาเป็นผลผลิตของเตาแก๊ส (กรณีเตา
แก๊สแบบจุดไฟได้ในตัวจะมีวาล์วหัวจุดนาท่ีทาหน้ าที่
จุดนาไฟให้ตดิ บนหัวเตา)

เกรด็ ความรู้

แกง๊ หุงตม้
“แก๊งหุงต้ม” มีชื่อทางการค้าว่า แก๊สแอลพีจี

(LPG) หรือแก๊สปิโตเลียมเหลว นิ ยมใช้เป็นเช้ือเพลิง
ในครวั เรอื นและรถยนต์ ได้มากจากกระบวนการกลั่น
นา้ มันดิบและจากกระบวนการแยะแก๊สธรรมชาติ
แกส๊ หุงตม้ ไมม่ ีพิษ ไมม่ ีสี ไม่มกี ล่นิ แตผ่ ู้ผลิตเตมิ กล่ิน
เพ่ือเตอื นภยั เมอื่ มแี กส๊ รว่ั

ระบบทางเทคโนโลยี

ระบบเทคโนโลยขี องการบาบดั นาเ้ สีย

ระบบทางเทคโนโลยีของการบาบัดนา้เสี ยโดยทั่วไปมี
องค์ประกอบไดแ้ ก่ ตัวป้อน คือนา้เสี ยหรือนา้ปนเป้ ือนส่ิ งสกปรก
ซ่ึงไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ ได้ จะถูกป้อนเข้าสู่กระบวนการ
ซ่งึ ประกอบไปด้วยข้ันเตรยี มการเพ่ือแยกส่ิงสกปรกท่ีมขี นาดใหญ่
และไม่ละลายนา้โดยการใช้ตะแกรง นา้เสี ยท่ีผ่านออกมาจะถูก
นามาตกตะกอนในถังตกตะกอน หลังจากน้ั นนา้เสี ยจะเข้าสู่ถัง
เดิมอากาศเพ่ือเพ่ิมออกซิเจนในนา้ และเติมแบคทีเรีย เพื่อย่อย
สลายและกาจัดสารอินทรยี ์ในนา้ ผลผลิตของระบบคือนา้สะอาด
ท่มี คี ่าคุณภาพระดับทีส่ ามารถปล่อยท้งิ ลงสู่แหล่งนาไ้ ด้

เกรด็ ความรู้

ระบบทางเทคโนโลยีของ "กงั หันนา้ชยั พัฒนา"
กังหันนา้ชัยพัฒนา ช่วยแก้ปัญหานา้เสี ย โดยการเดิมออกซิเจน
หรืออากาศในนา้ เม่ือกังหันหมุน นา้เสี ยในแหล่งนา้ (ตัวป้อน)
จะถูกซองคักวิดนา้ที่มีรูพรุน ดักวิดข้ึนไปบนผิวนา้ แล้วปล่อยให้
นาส้ าดกระจายเป็นฝอย และดกลงไปยังแหล่งนา้ตามเดิม อีกท้ัง
ขณะท่ีซองดักวิดนา้ เคล่ือนที่ลงสู่ผิวนา้ จะเกิดการอัดอากาศ
ภายในซองดักวิดนา้ภายใต้ผิวนา้ ทาให้นา้เคล่ือนท่ีผสมผสาน
ออกซิเจนใต้ผิวนา้ และถ่ายเทเคล่ือนท่ีออกไปด้วยการผลักดัน
ขอ ง ซ อ ง ดั ก วิด น า้ ( ก ร ะบ ว น ก า ร ) ท า ใ ห้ น า้ ไ ด้ รั บ ก า ร เ ดิ ม
ออกซเิ จนอยา่ งเด็มท่แี ละมีประสิทธภิ าพ (ผลผลติ )

การวิเคราะห์ระบบ
ทางเทคโนโลยี

การวิเคราะห์ระบบ
ทางเทคโนโลยี

คื อ ก า ร พิ จ า ร ณ า อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง
ระบบ ซ่ึงประกอบด้วย ตวั ป้อน กระบวนการ
ผลผลิต และข้อมูลย้อนกลับ ในระบบทาง
เทคโนโลยี หากส่ วนใดส่ วนหน่ึ งในระบบ
ขาดหายไปหรือทางานบกพร่อง ระบบจะไม่
ส า ม า ร ถ ท า ง า น ส า เ ร็ จ ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ท่ี
ตอ้ งการได้

การวิเคราะห์ระบบ
ทางเทคโนโลยี

การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เข้าใจความสาคัญของการทางานร่วมกันของ
แต่ละองค์ประกอบ นาไปส่ ูความเข้าใจในการแก้ไขข้อบกพร่องและการดูแลรักษา
เทคโนโลยี ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

กระตกิ นา้รอ้ นไฟฟ้า

ตวั ป้อน คอื ไฟฟ้า นา้

กระบวนการ คือ ไฟฟ้าทาให้ลวดเกิดความ

รอ้ นและถ่ายเทความรอ้ นไปยงั นา้ในกระตกิ

ผลผลิต คือ นาร้ อ้ น

ข้อมูลยอ้ นกลับ คือ อณุ หภมู ิของนา้

การวเิ คราะห์ระบบ
ทางเทคโนโลยี

ตัวป้อน นา้ไฟฟ้า กระบวนการ กระแสไฟฟ้าผา่ น ผลผลิต นาร้ อ้ น
ลวดความรอ้ น ทาให้รวดร้อน และ
ถ่ายเทความรอ้ นไปยังนา้ในกระตกิ

อุณหภูมขิ องนา้

แผนภาพระบบทางเทคโนโลยขี องกระตกิ นา้รอ้ นไฟฟ้า

เทคโนโลยขี อง
กระติกนา้รอ้ นไฟฟ้า

เ มื่ อ วิ เ ค ร า ะ ห์ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ร ะ บ บ ท า ง
เทคโนโลยีของกระติกนา้ร้อนไฟฟ้าท่ีต้มนา้ และ
รกั ษาอุณหภูมิของนา้ให้รอ้ นอยู่เสมอ ตัวป้อน เข้าส่ ู
ระบบคือ ไฟฟ้าและนา้ กระบวนการของระบบคือ
กระแสไฟฟ้าผา่ นไปยงั ลวดความรอ้ น ทาให้ลวดเกิด
ความร้อนและถ่ายเทไปยังนา้ท่ีอยู่ในกระติก ส่ งผล
ให้ น า้ มี อุ ณ ห ภู มิ สูง ข้ึ น เร่ือย ๆ จน ถึ ง อุณ ห ภูมิ ท่ี
กาหนดไว้ได้

เทคโนโลยีของ
กระติกนาร้ อ้ นไฟฟ้า

ผ ล ผ ลิ ต คื อ น า้ ร้อ น เ ท อ ร์โ ม ส ตั ส จ ะ ตั ด
กระแสไฟฟ้าในวงจรหลักแต่กระแสไฟฟ้าจะะผ่าน
ไปยังลวดความร้อนชุดรักษาอุณหภูมิของนา้เพื่อทา
ให้นา้รอ้ นคงทตี่ ลอดเวลา ดงั นั้น อณุ หภูมขิ องนาค้ ือ
ข้อมูลย้อนกลับที่ควบคุมระบบให้ทางานบรรลุตาม
วัตถุประสงค์ แสดงให้ เห็ นว่าองค์ประกอบของ
ระบบทางานสัมพันธก์ นั

เทคโนโลยีของ
กระติกนา้รอ้ นไฟฟ้า

ดังน้ั นเมื่อเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่อง เช่น
นา้ในกระติกไม่ร้อน เราสามารถหาสาเหตุและแนว
ทางการแก้ไขรวมท้ังแนวทางการดูแลรักษาได้จาก
การวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี เช่น พิจารณาท่ี
ตัวป้อนไฟฟ้า โดยตรวจสอบท่ีข้ัวปลั๊กหรอื สังเกตว่า
เสี ยบปลั๊กไฟแล้วหรือไม่ พิจารณาท่ีกระบวนการ
เช่น ตรวจสอบเทอรโ์ มสตทั วา่ ชารุดเสียหายหรอื ไม่

เกรด็ น่ ารู้

เทอรโ์ มสตัท
เทอร์โมสตัท (themostat) คือ
อุปกรณ์ ที่ใชส้ าหรับควบคุมอุณหภมู ิท่ี
ต้องการรักษาในระบบ มักประกอบอยู่
ในเครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น กระทะ
ไฟฟ้า เครอ่ื งทานาอ้ ่นุ

ตอู้ บพลงั งานแสงอาทิตย์

ตวั ป้อน คอื แสงอาทิตย์ อาหารทตี่ อ้ งการอบแห้ง
กระบวนการ คือ พื้นทีอ่ ะลูมเิ นี ยมสีดาดดู กลืนความรอ้ น
จากแสงอาทิตย์ ทาให้เกดิ ความรอ้ นสะสมและการ
หมนุ เวยี นอากาศภายในตอู้ บ

ผลผลติ คือ อาหารอบแห้ง

ตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์

ตวั ป้อน กระบวนการ ผลผลติ

แสงอาทติ ย์ พ้ืนอะลมู เิ นียมสีดาดดู กลนื อาหารอบแห้ง
อาหารทต่ี อ้ งการ ความรอ้ นจากแสงอาทติ ย์ เกิด

อบแห้ง ความรอ้ นสะสม และการ
หมนุ เวียนอากาศภายในตอู้ บ

ตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์

เมื่อวเิ คราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์จะพบวา่

ตัวป้อน ผลผลติ

ตวั ป้อนเข้าสู่ระบบคือแสงอาทติ ย์และอาหารท่ีตอ้ งการอบแห้ง อาหารอบแห้ง
เชน่ พริก กล้วย ปลาสลิด

กระบวนการ

โดยกระบวนทางานของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ อาศั ยหลักการไหลเวียน
ความร้อนเพ่ือระเหยนา้หรือความชื้นออกจากอาหารเมื่อแสงอาทิตย์ส่ องผ่านตู้อบ วัสดุ
ผิวสี ดาภายในตู้อบจะทาหน้ าท่ีดูดกลืนความร้อนสะสมไว้ ทาให้อุณหภูมิในตู้อบสูงข้ึน
ส่ งผลให้นา้หรือความชื้นท่ีอยู่ในอาหารระเหยออกมาและลอยตัวสูงข้ึนออกไปทางช่อง
ลมด้านบนตู้อบ อากาศเย็นภายนอกจะไหลเข้าทางช่องลมท่ีอยู่ส่ วนทางด้านหน้ าของ
ต้อู บ ทาให้เกิดการหมุนเวียนถ่ายเทความช้นื ออกจากอาหารภายในตู้อบตลอดเวลา

ตอู้ บพลงั งานแสงอาทติ ย์

ดังน้ั นเมื่อเกิดปัญหาหรือข้อบกพร่อง เช่น
อาหารในตู้อบไม่แห้งตามที่ต้องการ เราสามารถหา
สาเหตุแนวทางการแก้ไขและแนวทางการดูแลรักษา
ไ ด้ จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ร ะ บ บ ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ข อ ง ตู้อ บ
พลังงานแสงอาทิตย์ เช่น พิจารณาท่ีตัวป้อนโดย
สั งเกตว่าแสงอาทิตย์เพียงพอต่อการอบแห้งหรือไม่
พิจารณาที่กระบวนการโดยสั งเกตวัสดุของต้อู บ เช่น
กระจก ว่าอยใู่ นสภาพทสี่ ามารถใช้งานได้ดีอยหุ่ รอื ไม่

เกรด็ น่ ารู้

ความสัมพันธข์ องสีกับการ
ดูดกลนื ความรอ้ น

วัตถุที่มีผิวสี ดาหรือสี เข้ม
จะดูดกลืนความร้อน และคาย
ความร้อนได้ดีกว่าวัตถุที่มีผิวสี
ขาวหรอื สีออ่ น

การรดนา้อัตโนมัติแบบ
วัดความชน้ื ของดนิ

ตวั ป้อน คือ ค่าความชนื้ ใน ดนิ นา้

กระบวนการ คอื เซน็ เซอรต์ รวจวดั ความช้ืน
ในดนิ ส่งสัญญาณให้ป๊ ัมนาท้ างาน

ผลผลติ คือ ละอองนาจ้ ากหัวสปรงิ เกอร์
ข้อมลู ยอ้ นกลบั คือ ค่าความชนื้ ในดนิ

การรดนาอ้ ัตโนมตั แิ บบ
วดั ความชน้ื ของดิน

ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลติ
ค่าความชนื้ ในดนิ นา้ เซน็ เซอร์ตรวจวัดความชนื้ ในดนิ ส่ง ละอองนา้จากหัว

สัญญาณให้ป๊ ัมนา้ทางาน สปริงเกอร์

ข้อมลู ยอ้ นกลบั ค่าความชน้ื ในดนิ

การรดนา้อัตโนมตั ิแบบ

วัดความชน้ื ของดนิ

เม่ือ วิเ ครา ะห์ ระบบทา งเ ทคโนโล ยี ก า รรด นา้ อัตโนมัติ
แบบวดั ความชื้นของดินจะพบวา่ ตัวป้อนเข้าสู่ระบบคือค่าความช้ืน
ในดินและนา้ กระบวนการ คือเมื่อค่าความช้ืนในดินตา่กว่าค่าที่
กาหนด เซ็นเซอร์ของเครื่องตรวจวัดความชื้นจะส่ งสั ญญาณไปท่ี
ตู้ควบคุมและส่ั งให้ป๊ ัมนา้ทางาน นา้จึงถูกส่ งผ่านทางท่อไปยังหัว
สปริงเกอรแ์ ละถูกปล่อยออกมาเป็นละอองนา้ซ่ึงเป็นผลผลิตของ
ระบบ ถ้าความชื้นในดินยังไม่ถึงค่าที่ต้องการ ระบบจะยังทางาน
ต่อไป ดังนั้ นค่าความชื้นในดินคือข้อมูลย้อนกลับ ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ี
ควบคุมระบบให้ทางานบรรลุวตั ถุประสงค์ตามท่ีตอ้ งการ แสดงให้
เห็นว่า องค์ประกอบของระบบมีการทางานสัมพันธก์ ัน

การรดนา้อัตโนมัติแบบ

วัดความช้นื ของดนิ

ดงั นั้นเมอ่ื เกิดปัญหาหรอื ข้อบกพร่อง เช่น ไม่มี
ละอองนา้ออกจากหัวปริงเกอร์ หรือละอองนา้ถูกปล่อย
ออกจากหัวสปรงิ เกอรม์ ากเกินความตอ้ งการ เราสามารถ
หาสาเหตุ แนวทางการแก้ไขและแนวทางการดูแลรักษา
เทคโนโลยีได้จากการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของ
ระบบรดนา้อัตโนมัติ เช่น ตรวจสอบตัวป้อนโดยสั งเกต
ปริมาณนา้ ในแหล่งนา้ ว่าเพียงพอหรือไม่ พิจารณาที่
กระบวนการ เช่น เครื่องตรวจวัดความชื้นหรือป๊ ัมนา้
เสียหายหรอื ไม่

ระบ บท าง เทคโน โลยีจะทา งา น จะต้องทางานสั มพันธ์กัน หากส่ วนใดส่ วน
บ ร ร ลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ไ ด้ นั้ น ห น่ึ ง ข อ ง ร ะ บ บ ข า ด ห า ย ไ ป ห รื อ ท า ง า น
องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี บกพรอ่ ง ระบบจะไม่สามารถทางานบรรลุวัตุ
ไดแ้ ก่ ประสงค์ได้ ดังนั้ นเราสามารถนาความรู้เรื่อง
ระบบทางเทคโนโลยีนี้ ไปประยุกต์ใช้ในการ
ตวั ป้อน (input) วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาหรอื ข้อบกพรอ่ ง
ท่ีอาจเกิดข้ึนจากตัวป้อนหรอื กระบวนการ ซ่ึง
กระบวนการ (process) น า ไ ป ส่ ู แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร
ดแู ลรกั ษาเทคโนโลยี
ผลผลิต (output)

ข้อมลู ยอ้ นกลบั (feedback)

เกรด็ น่ารู้

เซน็ เซอร์
เซน็ เซอร์ (sensor) คืออุปกรณ์ตรวจจบั

ปริมาณทางฟิสิ กส์ เช่น แสง เสี ยง ความช้ืน
อุณหภูมิ ความดัน ความเร็ว การเคลื่อนไหว
การสัมผัส และแปลง และแปลงเป็นสัญญาณท่ี
สามารถวดั ค่าได้

สรุ ปท้ายบท

ระบบทางเทคโนโลยีมีองค์ประกอบคือ ตัวป้อน (input) กระบวนการ
(process) ผล ผลิ ต ( output) แล ะบา งระบบ มีข้ อมูล ย้อน กลับ ( feedback)
องค์ประกอบท้ังหมดจะทางานสั มพันธ์กันเพ่ือให้เทคโนโลยีน้ั นทางานสาเร็จ
ตามวัตุประสงค์ การเรียนรู้ลทาความเข้าใจระบบทางเทคโนโลยีช่วยให้เรา
สามารถแก้ไขข้อบกพร่อง รวมท้ังดูแลรักษาเทคโนโลยีให้ทางานได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพและมอี ายกุ ารใช้งานยาวนาน

ผจู้ ดั ทำ

นำงสำวฐติ ำ วหิ ครตั น์

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐำนะ ครูชำนำญกำร
โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษำพฒั นำกำร

ฉะเชงิ เทรำ