ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต 

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

                      มีจำนวนโครโมโซมที่คงที่และเท่ากันเสมอ ถ้าสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมีจำนวนโครโมโซมที่แตกต่างกัน จำนวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายและโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์จะแตกต่างกัน โดยโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์จะมีเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย 

                      การศึกษาจำนวนและรูปร่างโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต เช่น คน ทำโดยนำเซลล์ร่างกาย เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดมาศึกษา และนำมาถ่ายภาพของโครโมโซม จากนั้นจึงนำภาพถ่ายโครโมโซมมาจัดเรียงตามรูปร่าง ลักษณะ และขนาด โดยนำโครโมโซมที่มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันและขนาดใกล้เคียงกันมาจัดไว้ในคู่เดียวกัน

                    ในคนมีโครโมโซม 46 แท่ง จัดได้ 23 คู่ แบ่งเป็นออโทโซม ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันในเพศชายและเพศหญิงจำนวน 22 คู่ ส่วนคู่ที่ 23 เป็นโครโมโซมเพศ มีลักษณะต่างกันดังรูป

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

โครโมโซมเซลล์ร่างกาย 1 เซลล์ของผู้ชาย

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

โครโมโซมเซลล์ร่างกาย 1 เซลล์ของผู้หญิง

            ในเพศชายมีโครโมโซมเพศหนึ่งแท่งขนาดใหญ่ เรียกว่า โครโมโซม X และโครโมโซมเพศอีกแท่งหนึ่งมีขนาดเล็ก เรียกว่า โครโมโซม Y สัญลักษณ์เพศชายคือ XY ส่วนโครโมโซมเพศของเพศหญิงเป็นโครโมโซม X เหมือนกันทั้งคู่ สัญลักษณ์เพศหญิงคือ XX 

ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ประกอบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีจำนวนโครโมโซมเท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุกๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจำนวน 46 แท่ง ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลล์ร่างกาย ดังแผนภาพ

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

แผนภาพแสดงเซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิง

            เมื่อเซลล์อสุจิ (sperm) ของพ่อและเซลล์ไข่ (egg) ของแม่ ซึ่งมีโครโมโซมเซลล์ละ 23 แท่ง มารวมกันเป็นเซลล์ใหม่ มีจำนวนโครโมโซม 46 แท่ง ซึ่งเท่ากับเซลล์ร่างกายปกติดังรูป

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

รูปแสดงจำนวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ

            โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่างลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ แต่ละคู่เรียกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) เมื่อแบ่งเซลล์โครโมโซมแต่ละแท่งจะประกอบด้วยโครมาทิด 2 โครมาทิด (chromatid) ที่เหมือนกัน บริเวณที่โครมาทิดทั้งสองติดกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่
จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตต่างๆ
ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

ควายมีจำนวนโครโมโซม 30 คู่ 60 แท่ง

แมว มีจำนวนโครโมโซม 19 คู่ 38 แท่ง

สุนัข มีจำนวนโครโมโซม 39 คู่ 78 แท่ง

แพะ มีจำนวนโครโมโซม 30 คู่ 60 แท่ง

ม้า มีจำนวนโครโมโซม 32 คู่ 64 แท่ง

หมู มีจำนวนโครโมโซม 19 คู่ 38 แท่ง

แกะ มีจำนวนโครโมโซม 27 คู่ 54 แท่ง

อูฐ มีจำนวนโครโมโซม 35 คู่ 70 แท่ง

ค้างคาว มีจำนวนโครโมโซม 22 คู่ 44 แท่ง

สลามันเดอร์ มีจำนวนโครโมโซม 12 คู่ 24 แท่ง

โค มีจำนวนโครโมโซม 30 คู่ 60 แท่ง

ม้า มีจำนวนโครโมโซม 32 คู่ 64 แท่ง

สุกร มีจำนวนโครโมโซม 19 คู่ 38 แท่ง

แกะ มีจำนวนโครโมโซม 27 คู่ 54 แท่ง

ไก่ มีจำนวนโครโมโซม 39 คู่ 78 แท่ง

ไก่งวง มีจำนวนโครโมโซม 40 คู่ 80แท่ง

แมลงหวี่ มีจำนวนโครโมโซม 4 คู่ 8แท่ง

กบ มีจำนวนโครโมโซม 13 คู่ 26แท่ง

หนู มีจำนวนโครโมโซม 21 คู่ 42แท่ง

วัว มีจำนวนโครโมโซม 30 คู่ 60แท่ง

คน มีจำนวนโครโมโซม 23 คู่ 46แท่ง

ถั่วลันเตา มีจำนวนโครโมโซม 7 คู่ 14แท่ง

หัวหอม มีจำนวนโครโมโซม 8 คู่ 16แท่ง

ออโตโซมมีขนาดเท่ากันหรือไม่

ที่มา:https://pomptp.wordpress.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%8B%E0%B8%A1/

ในร่างกายมนุษย์จะมึเซลล์เป็นส่วนประกอบ โดยแต่ละเซลล์จะมีสารพันธุกรรมหรือยีนเรียงตัวอยู่บนโครโมโซม ซึ่งยีนที่อยู่บนโครโมโซมเหล่านี้เป็นตัวกำหนดลักษณะต่างๆในแต่ละบุคคล เช่น สีผม ความสูง กรุ๊ปเลือด หรือสติปัญญา โดยคนเราจะมีโครโมโซม 23 คู่หรือ 46 แท่ง โดย 22 คู่เป็นโครโมโซมร่างกาย (Autosome) อีกคู่หนึ่งเป็นโครโมโซมเพศ (Sex Chromosome) โดยเพศหญิงมีโครโมโซมเป็น 46,XX ส่วนเพศชายมีโครโมโซมเป็น 46,XY ความผิดปกติของโครโมโซมนั้นมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย หนึ่งในสาเหตุหลักเกิดจากความผิดพลาดในขั้นตอนการแบ่งตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ยิ้งสตรีมีอายุมากเท่าไร โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดก็ยิ่งสูงขึ้น การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดเป็นการตรวจว่าทารกในครรภ์มีความผิดปกติหรือไม่ เพื่อช่วยในการตัดสินใจและการจัดการกับการตั้งครรภ์กับคู่สมรสได้โดยมีแพทย์เป็นผู้ให้คำปรึกษา ซึ่งในปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาช่วยในการตรวจวิเคราะห์เพื่อให้ได้ผลที่รวดเร็วและแม่นยำมากขึ้น

ปัจจุบันนี้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทในวงการแพทย์อย่างมาก ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยส่งเสริมการตรวจหาความผิดปกติของทารกในครรภ์มีประสิทธิภาพมากขึ้น และรวดเร็วขึ้น โดยที่ลดอัตราความเสี่ยงของมารดาลง เทคนิคใหม่ล่าสุดสำหรับการตรวจคัดกรองหาความผิดปกติของทารกในครรภ์จากเลือดแม่ หรือที่เรียกกันว่า Non-Invasive Prenatal Testing (NIPT) นั้นได้เริ่มเข้ามาในเมืองไทยเมื่อปี 2012 และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ในปี 2013 บริษัทบางกอก ไซโตเจเนติกซ์ เซ็นเตอร์ได้ร่วมงานกับห้องปฏิบัติการในประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อนำเทคโนโลยี่ NIPT ซึ่งใช้เทคโนโลยีล่าสุดและเป็นลิขสิทธิ์เพียงแห่งเดียวในโลกของบริษัท Natera เข้ามาให้บริการในเมืองไทย โดยการตรวจนี้เรียกว่า Panorama โดยเจาะเลือดแม่ปริมาณ 20 ซีซี เพื่อตรวจหาความผิดปกติของทารกในครรภ์ ตรวจได้ตั้งแต่ 9 สัปดาห์เป็นต้นไป ใช้เวลาการรายงานผลภายใน 10-14 วัน ซึ่งวิธีการตรวจนี้จะไม่มีความเสี่ยงกับทารกในครรภ์ได้เลย การตรวจ Panorama สามารถตรวจหาความผิดปกติได้ตั้งแต่ Trisomy 21 (Down Syndrome), Trisomy 18 (Edwards Syndrome), Trisomy 13 (Patau Syndrome), Monosomy X (Turner Syndrome), XXY (Klinefelter Syndrome), XYY (Jacobs Syndrome), Trisomy X (Triple X Syndrome), Tripliody (69 chromosomes instead of 46 chromosomes), Vanishing twin นอกจากนี้ยังสามารถบอกเพศของทารกได้อีกด้วย มีความแม่นยำมากกว่า 99% เนื่องจากใช้เทคนิค Next-Gen Aneuploidy Test Using SNPs (NATUS) ซึ่งสามารถทำการแยกดีเอ็นเอของลูกออกจากดีเอ็นเอของแม่ได้ ซึ่งต่างจากวิธีอื่นๆซึ่งไม่สามารถแยกได้ ทำให้เทคนิคนี้มีความแม่นยำสูงที่สุด ขั้นตอนการตรวจจะอยู่ที่รัฐ California ประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งหมด ซึ่งแล็บได้รับการรับรอง CLIA (Clinical Laboratory Improvement amendments) Certified. อย่างไรก็ตามหากว่าผลการตรวจที่ได้ออกมามีความเสี่ยงสูงที่จะมีความผิดปกติ การเจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis) หรือการดูดชิ้นรก (CVS) เป็นขั้นตอนที่ควรทำอย่างยิ่งเพื่อเป็นการยืนยันผลอีกครั้งหนึ่ง

คุณรู้หรือไม่ว่าการเจาะน้ำคร่ำนั้นมีความเสี่ยงต่อการแท้งประมาณ 0.5% และการตรวจ biochemical screening (tripple test/ quad test) นั้นมีความแม่นยำอยู่ระหว่าง 70 – 80% โดยมีผลบวกลวงอยู่ 5% หมายความว่าคุณแม่หลายๆท่านจะต้องถูกเจาะน้ำคร่ำโดยไม่จำเป็นและเพิ่มความเสี่ยงให้กับลูกน้อยจำนวนมาก

คุณรู้หรือไม่ว่า เด็กที่เกิดมามีความผิดปกติ เกือบ80% มาจากคุณแม่ที่อายุน้อยกว่า35ปี เนื่องจากคุณแม่ที่อายุ35ปีขึ้นไปได้ทำการตรวจความผิดปกติของลูกหว่างช่วงที่ฝากครรภ์ บวกกับจำนวนผู้หญิงที่อายุน้อยกว่า35แล้วตั้งครรภ์ นั้นสูงกว่าผู้หญิงที่อายุมากกว่า 35แล้วตั้งครรภ์ ดังนั้นถึงแม้จะอายุน้อยแต่ก็มีความเสี่ยง เพราะฉนั้น อย่ามองข้ามความเสี่ยงตรงนี้ไป

ป้ายกำกับ:comment, NIPT, NIPT Test, Panorama NIPT, ตรวจคัดกรอง, ตรวจดาวน์, ตรวจดาวน์ซินโดรม, ตรวจโครโมโซม

ออโตโซมหมายถึงโครโมโซมคู่ที่เท่าไร

ออโตโซม (อังกฤษ: autosome) คือ ชื่อเรียกโครโมโซม หรือกลุ่มของโครโมโซมที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมและลักษณะต่าง ๆ ของร่างกาย แต่เป็นโครโมโซมที่ไม่ใช่โครโมโซมเพศ สำหรับในมนุษย์จะมีออโตโซม 22 คู่ และมีโครโมโซมเพศอีก 1 คู่ โดยอาจเป็น XY (เพศชาย) หรือ XX (เพศหญิง) โครโมโซมของมนุษย์ หญิง (XX)

ออโตโซมของคนมีจำนวนเท่าไร

โรคที่เกิดจากความผิดปกติบนออโตโซม (Autosome) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมในร่างกายที่มี 44 แท่ง หรือ 22 คู่ เป็นความผิดปกติที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ความผิดปกติที่จำนวนออโตโซม และความผิดปกติที่รูปร่างโครโมโซม

โครโมโซมเป็นออโตโซมกี่แท่ง

ในร่างกายมนุษย์จะมึเซลล์เป็นส่วนประกอบ โดยแต่ละเซลล์จะมีสารพันธุกรรมหรือยีนเรียงตัวอยู่บนโครโมโซม ซึ่งยีนที่อยู่บนโครโมโซมเหล่านี้เป็นตัวกำหนดลักษณะต่างๆในแต่ละบุคคล เช่น สีผม ความสูง กรุ๊ปเลือด หรือสติปัญญา โดยคนเราจะมีโครโมโซม 23 คู่หรือ 46 แท่ง โดย 22 คู่เป็นโครโมโซมร่างกาย (Autosome) อีกคู่หนึ่งเป็นโครโมโซมเพศ (Sex ...

โครโมโซมเพศมีจำนวนกี่คู่

คุณแม่รู้หรือไม่คะว่า ... โดยทั่วไปแล้ว คนเราจะต้องมีโครโมโซม 23 คู่ หรือ 46 แท่ง โดยมีโครโมโซมคู่ที่ 1 ถึง 22 เป็นโครโมโซมร่างกาย และมีโครโมโซมคู่สุดท้ายในลำดับที่ 23 เป็นโครโมโซมเพศ ซึ่งเป็นโครโมโซมที่กำหนดเพศของแต่ละคน สำหรับทารกที่มีโครโมโซมเพศเป็น XY จะเป็นเพศชาย และทารกที่มีโครโมโซม XX จะเป็นเพศหญิงนั่นเองค่ะ