สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

ตอนที่ 1

1. ข้อใดคือความหมายของการสื่อสารข้อมูล
ก. กระบวนการถ่ายทอดข้อมูลโดยผ่านช่องทางสื่อระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
ข. กระบวนการหรือวิธีการถ่ายทอดข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับที่อยู่ห่างไกลกันด้วยระบบ
การสื่อสารโทรคมนาคมเป็นสื่อกลาง
ค. มีรากฐานมาจากความพยายามในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์
ง. การติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เรียกว่าระบบเครือข่าย (Network)

2. โดยทั่วไปการสื่อสารข้อมูลมีส่วนประกอบที่สำคัญ ยกเว้นข้อใด
ก. ผู้ส่งข้อมูล
ข. ข้อมูล
ค. ช่องทางการส่งข้อมูล
ง. ผู้รับข้อมูล

3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว
ก. โทรทัศน์
ข. โทรศัพท์
ค. วิทยุสื่อสาร
ง. เครื่องคอมพิวเตอร์

4. ข้อใดต่อไปนี้ใช้การสื่อสารแบบบรอดแบนด์
ก. เครือข่ายท้องถิ่น
ข. Modem
ค. ระบบโทรศัพท์
ง. ADSL

5. การส่งสัญญาณแบบมีสายสัญญาณแบบใดที่มีความเร็วสูงสุด
ก. สายโคแอกเซียล
ข. สายคู่บิดเกลียว
ค. สายใยแก้วนำแสง
ง. สายแกนนำโลหะ

6. สื่อกลางส่งข้อมูลชนิดใดต่อไปนี้สามารถเชื่อมโยงได้ระยะทางไกลที่สุด
ก. สายโคแอกเชียล
ข. สายใยแก้วนำแสง
ค. สายเอสทีพี
ง. สายยูทีพี

7. สื่อไร้สายข้อใดจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนสูงที่สุด
ก. โทรศัพท์เซลลูลาร์
ข. ไมโครเวฟ
ค. ดาวเทียม
ง. ถูกทุกข้อ

8. สื่อไร้สายข้อใดมีความปลอดภัยต่อการดักจับข้อมูล
ก. คลื่นวิทยุ
ข. บลูธูท
ค. ไมโครเวฟ
ง. อินฟราเรด

9. เครือข่ายในท้องถิ่น มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร
ก. แลน
ข. แวน
ค. แมน
ง. อินเตอร์เน็ต

10. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในข้อใดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ก. อินทราเน็ต
ข. แลน
ค. แวน
ง. แมน

ตอนที่ 2

1. รูปแบบการเชื่อมโยงโครงข่าย มีกี่ลักษณะ ได้แก่อะไรบ้าง

2. รูปแบบเครือข่ายใดเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียระบบก็จะไม่ทำงาน

3. รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบใดที่มีเครื่อง Server อยู่ตรงกลาง

4. จงยกตัวอย่างการสื่อสารสองทางเต็มอัตรา

5. รูปแบบการเชื่อต่อเครือข่ายมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

เฉลย

1. ข. กระบวนการหรือวิธีการถ่ายทอดข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับที่อยู่ห่างไกลกันด้วยระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นสื่อกลาง

2. ค. ช่องทางการส่งข้อมูล

3. ง. เครื่องคอมพิวเตอร์

4. ง. ADSL

5. ค. สายใยแก้วนำแสง

6. ก. สายโคแอกเชียล

7. ค. ดาวเทียม

8. ง. อินฟราเรด

9. ก. แลน

10. ค. แวน

เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือความจุในการนำข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์” (Bandwidth) มีหน่วยเป็นจำนวนบิตข้อมูลต่อวินาที (Bit Per Second : BPS) ลักษณะของตัวกลางต่างๆ มีดังต่อไปนี้

  1. สื่อกลางประเภทมีสาย (wired system)
    สื่อกลางประเภทมีสาย หมายถึง สื่อกลางที่เป็นสายซึ่งใช้ในการเชื่อมโยงโดยอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างอุปกรณ์

1) สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair)
สายคู่บิดเกลียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว ทั้งนี้เพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอกเนื่องจากสายคู่บิดเกลียวนี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้ สำหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่าน สายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากำลังแรงได้ ทำให้สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง โดยทั่วไปแล้วสำหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่นสี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ถึงร้อย เมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น
ก. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP)เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกที่หนาอีกชั้นเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. สายคู่เกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้น ทำให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก แต่ก็มีราคาต่ำกว่าจึงนิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน ที่เห็นในชีวิตประจำวันคือ สายโทรศัพท์ที่ใช้อยู่ในบ้าน

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

2) สายโคแอกเซียล (coaxial cable)

สายโคแอกเซียลมีลักษณะเช่นเดียวกับสายที่ต่อจากแผงรับสัญญาณมายังโทรทัศน์ มีอยู่ 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ใช้ส่งข้อมุลประเภทดิจิทัล และชนิด 75 โอห์ม ใช้ส่งข้อมูลประเภทแอนะล็อก สายโคแอกเซียลจะมีลวดทองแดงพันเป็นเกลียวอยู่ถัดจากชั้นฉนวนพลาสติดนอกสุด เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอื่น ๆ สายโคแอกเซียลสามารถให้ความถี่สัญญาณไฟฟ้าได้กว้างถึง 500 MHz จึงเหมาะสำหรับใช้เชื่อมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดิน

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

3)สายใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)

ทำจากแก้วหรือพลาสติกมีลักษณะเป็นเส้นบางๆ คล้าย เส้นใยแก้วจะทำตัวเป็นสื่อในการส่งแสงเลเซอร์ที่มีความเร็วในการส่งสัญญาณเท่ากับ ความเร็วของแสง หลักการทั่วไปของการสื่อสารในสายไฟเบอร์ออปติกคือการเปลี่ยนสัญญาณ (ข้อมูล) ไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสงก่อน จากนั้นจึงส่งออกไปเป็นพัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปติกสายไฟเบอร์ออปติกทำจากแก้วหรือพลาสติกสามารถส่งลำแสง ผ่านสายได้ทีละหลาย ๆ ลำแสงด้วยมุมที่ต่างกัน ลำแสงที่ส่งออกไปเป็นพัลส์นั้นจะสะท้อนกลับไปมาที่ผิวของสายชั้นในจนถึงปลายทาง จากสัญญาณข้อมูลซึ่งอาจจะเป็นสัญญาณอนาล็อกหรือดิจิตอล จะผ่านอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่มอดูเลตสัญญาณเสียก่อน จากนั้นจะส่งสัญญาณมอดูเลต ผ่านตัวไดโอดซึ่งมี 2 ชนิดคือ LED ไดโอด (light Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรือ ILD ไดโอด (Injection Leser Diode) ไดโอดจะมีหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณมอดูเลตให้เป็นลำแสงเลเซอร์ซึ่งเป็นคลื่นแสงในย่านที่มองเห็นได้หรือเป็นลำแสงในย่านอินฟราเรดซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ ความถี่ย่านอินฟราเรดที่ใช้จะอยู่ในช่วง 1014-1015 เฮิรตซ์ ลำแสงจะถูกส่งออกไปตามสายไฟเบอร์ออปติก เมื่อถึงปลายทางก็จะมีตัวโฟโต้ไดโอด (Photo Diode)ที่ทำหน้าที่รับลำแสงที่ถูกส่งมาเพื่อเปลี่ยนสัญญาณแสงให้กลับไปเป็นสัญญาณมอดูเลตตามเดิม จากนั้นก็จะส่งสัญญาณผ่านเข้าอุปกรณ์ดีมอดูเลต เพื่อทำการดีมอดูเลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลือแต่สัญญาณข้อมูลที่ต้องการ สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีแบนด์วิดท์ (BW) ได้กว้างถึง 3 จิกะเฮิรตซ์ (1 จิกะ = 109) และมีอัตราเร็วในการส่งข้อมูลได้ถึง 1 จิกะบิต ต่อวินาที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ต้องการเครื่องทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมีช่องทางสื่อสารได้มากถึง 20,000-60,000 ช่องทาง สำหรับการส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ ไม่เกิน 10 กม. จะสามารถมีช่องทางได้มากถึง 100,000 ช่องทางทีเดียว

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

  1. สื่อกลางประเภทไร้สาย

1) ไมโครเวฟ (Microwave)
สัญญาณไมโครเวฟเป็นสื่อกลางในการสื่อสารที่มีความเร็วสูงส่งข้อมูลโดยอาศัยสัญญาณไมโครเวฟ ซึ่งเป็นสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกับข้อมูลที่ต้องการส่ง และจะต้องมีสถานีที่ทำหน้าที่ส่งและรับข้อมูลและเนื่องจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรงไม่สามารถเลี้ยวหรือโค้งตามขอบโลกที่มีความโค้งได้ จึงต้องมีการตั้งสถานีรับ-ส่งข้อมูลเป็นระยะ ๆ และส่งข้อมูลต่อกันเป็นทอด ๆ ระหว่างสถานีต่อสถานีจนกว่าจะถึงสถานีปลายทาง แต่ละสถานีจะตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย เพื่อหลีกเลี่ยงการชนหากมีสิ่งกีดขวาง เนื่องจากแนวการเดินทางที่เป็นเส้นตรงของสัญญาณดังที่กล่าวมาแล้วการส่งข้อมูลด้วยสื่อกลางชนิดนี้เหมาะกับการส่งข้อมูลในพื้นที่ห่างไกลมากๆและทุรกันดาร

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

2) ดาวเทียม (satellite system)

ในปัจจุบันมีการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมกันอย่างแพร่หลายทั้งในการส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ งานบริการด้านโทรศัพท์ การส่งสัญญาณโทรทัศน์ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ งานด้านการทหาร งานประชุมทางไกล รวมทั้งระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต หลักการทำงานของระบบดาวเทียมจะคล้ายกับระบบไมโครเวฟ ซึ่งจะทำการส่งสัญญาณจากแต่ละสถานีต่อกันไปจนถึงจุดหมายปลายทางที่ต้องการโดยสถานีต้นทางจะส่งสัญญาณขึ้นไปยังดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือตำแหน่งพื้นที่ของตนเอง เรียกว่า สัญญาณเชื่อมต่อขาขึ้น และดาวเทียมจะตรวจสอบตำแหน่งของสถานีปลายทาง แต่หากอยู่ในขอบเขตพื้นที่ที่ครอบคลุมอยู่กับจะส่งสัญญาณไปยังสถานีปลายทางทันที เรียกว่า สัญญาณเชื่อมต่อขาลง แต่หากสถานีปลายทางอยู่นอกเขตพื้นที่ที่ดาวเทียมรับสัญญาณครอบคลุมอยู่ ก็จะส่งสัญญาณไปยังดาวเทียมดวงอื่นที่ครอบคลุมสถานีปลายทางต่อไป การส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมเป็นการส่งแบบกระจายไปทุกที่ ทุก ๆ สถานีภาคพื้นดินที่อยู่ในรัศมีของลำคลื่นจะสามารถรับสัญญาณได้ทั้งหมด ดังนั้นข้อมูลที่ส่งผ่านดาวเทียมจึงมีการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อความปลอดภัยของข้อมูล

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

3 ) คลื่นวิทยุ (radio)
เป็นการแพร่สัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในคลื่นความถี่ตั้งแต่ 30 เมกกะเฮิตรซ์ (MHz) จนถึง1 กิกะเฮิตรซ์ (GHz) เหมาะสำหรับการกระจายเสียง เนื่องจากคลื่นวิทยุไม่สะท้อนที่ชั้นบรรยากาศ จึงไม่เกิดการรบกวนของคลื่นวิทยุที่ตัวเครื่องรับแม้จะอยู่ในระยะทางไกล แต่คลื่นวิทยุจะแพร่กระจายไปทั้วทุกทิศทาง จึงมีความปลอดภัยของข้อมูลน้อย คลื่นวิทยุถูกนำมาใช้เป็นระบบวิทยุสื่อสารในงานด้านการขนส่ง หรือการสื่อสารในรถแท็กซี่ หรืองานด้านการทหารและตำรวจ เป็นต้น

สาย สื่อกลาง ส่งข้อมูล ชนิด ใด สามารถ เชื่อม โยง ได้ ระยะทางไกล ที่สุด

สื่อกลางส่งข้อมูลชนิดใดสามารถเชื่อมโยงได้ระยะทางไกลที่สุด

และหากใช้สายไฟเบอร์ออปติกจะมีความสูญเสียต่อการส่งผ่านข้อมูลภายใน สายน้อยกว่าสายประเภทอื่นๆ ดังนั้นสายไฟเบอร์ออปติกจึงเป็นสายสื่อสารที่สามารถ เชื่อมโยงระยะทางได้ไกลที่สุด โดยสามารถลากสายได้ยาวหลายกิโลเมตรโดยไม่ต้องใช้ อุปกรณ์ทวนสัญญาณช่วย

การส่งสัญญาณแบบมีสาย แบบใด มีความเร็วในการส่งสูงสุด

สายสัญญาณชนิดใด ส่งข้อมูลได้เร็วสูงสุด และไกลที่สุด answer choices. สายโคแอกเชียล (Coaxial)

สื่อกลางแบบมีสายใดที่มีคุณภาพในการส่งข้อมูลเร็วที่สุด

สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรือเรียกสั้น ๆ ว่า "สายโคแอก" จะเป็นสายสื่อสารที่มีคุณภาพที่กว่าและราคาแพงกว่า สายเกลียวคู่ ส่วนของสายส่งข้อมูลจะอยู่ตรงกลางเป็นลวดทองแดงมีชั้นของตัวเหนี่ยวนำหุ้มอยู่ 2 ชั้น ชั้นในเป็นฟั่นเกลียวหรือชั้นแข็ง ชั้นนอกเป็นฟั่นเกลียว และคั่นระหว่างชั้นด้วยฉนวนหนา เปลือกชั้นนอกสุดเป็นฉนวน สายโคแอก ...

สายสื่อกลางสายสัญญาณในข้อใดใช้กับโทรทัศน์ และกล้องวงจรปิด

สาย Coaxial คือ สาย Coaxial เป็นสายสัญญาณที่ทำจากลวดทองแดงเป็นแกนกลาง มีฉนวนหุ้มตลอดความยาวสาย เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน ในอดีตนิยมใช้สำหรับระบบเครือข่าย LAN แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้มากนัก ที่นิยมใช้มากในปัจจุบันเป็นสายสัญญาณจากเสาอากาศโทรทัศน์ และระบบกล้องวงจรปิด โครงสร้างของสายCoaxial.