การ ดื่ม แอลกอฮอล์ กับ การ เกิด อุบัติเหตุ

การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์กับการเกิดอุบัติเหตุ

อุบัติเหตุ จราจรที่มีความรุนแรงและพบบ่อยในปัจจุบัน มักเกี่ยวข้องกับการดื่มสุรา จากการศึกษาพบว่า ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจรทั้งที่เสียชีวิตและไม่เสียชีวิตร้อยละ 60 เมื่อตรวจพิสูจน์แล้วจะพบแอลกอฮอล์ในเลือดสูงกว่าที่กฎหมายกำหนด (มากกว่า 50 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์)

ความสัมพันธ์ของระดับแอลกอฮอล์ในเลือดกับโอกาสเกิดอุบัติเหตุจราจร

ระดับแอลกอฮอล์

ในเลือด(ม.ก.%)

สมรรถภาพในการขับรถ

โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุเมื่อเทียบกับคนที่ไม่ดื่มสุรา

20

มีผลเพียงเล็กน้อยเฉพาะบางคน

ใกล้เคียงกับคนไม่ดื่มสุรา

50

ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 8

โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุเป็น 2 เท่า

80

ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 12

โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุเป็น 3 เท่า

100

ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 15

โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุเป็น 6 เท่า

150

ลดลงโดยเฉลี่ยร้อยละ 33

โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุเป็น 40 เท่า

มากกว่า 200

ลดลงเป็นสัดส่วนกับระดับแอลกอฮอล์ในเลือด

ไม่สามารถวัดได้เนื่องจากควบคุมการทดลองไม่ได้

ระดับแอลกอฮอล์ในเลือดกับอาการแสดงของผู้ดื่มสุรา

ระดับแอลกอฮอล์ในเลือด (ม.ก.%)

อาการและผลต่อร่างกาย

30

สนุกสนาน ร่าเริง

50

ขาดการควบคุมการเคลื่อนไหว

100

เดินไม่ตรงทาง

200

สับสน

300

ง่วง งง ซึม

400

สลบ อาจถึงตาย

การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

1.การประชาสัมพันธ์ให้กะบภาคประชาชนได้รับทราบ

2.การเตือนบุลคลใกล้ชิด

3.การมีส่วนร่วมของชุมชน

4.การใช้กฏหมายบังคับ

กรมคุมประพฤติ. (2556). สถิติผู้ถูกคุมความประพฤติ ในความผิดฐาน ขับรถขณะมึนเมาสุรา ปี 2555-มีนาคม 2556. กองแผนงานและสารสนเทศ.

จิราภรณ์ เทพหนู. (2540). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยมปลายสายสามัญศึกษาใน จังหวัดพัทลุง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอนามัยครอบครัว. มหาวิทยาลัยมหิดล.

จุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2551). สังคมวิทยาอาชญากรรม (Sociology of Crime). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จันทร์เพ็ญ อมรเลิศวิทย์. (2547). การควบคุมทางสังคม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชาญคณิต กฤตยา สุริยะมณี. (2554). ทฤษฎีอาชญาวิทยาร่วมสมัยกับ การวิจัยทางด้านอาชญาวิทยาในปัจจุบัน. นนทบุรี: หยินหยางการพิมพ์.

ทักษพล ธรรมรังสี. (2555). สุราและผลกระทบความเชื่อกับความจริง. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยสุรา (ศวส).

นงนุช ตันติธรรม. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การดื่มสุราของผู้ขับขี่ที่เมาสุราแล้วขับรถใน เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นิตยา กัทลีรดะพันธ์. (2541). การศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กในเมือง. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์.

ประกิจ โพธิ์อาศน์. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษาและ พฤติกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปริทรรศน์ แสงทองดี. (2550). ปัจจัยการควบคุมตนเองและความ ผูกพันทางสังคมที่มีผลต่อการกระทำผิดในคดียาเสพติดของ เด็กและเยาวชนชาย: ศึกษาเฉพาะศูนย์อบรมเด็กและเยาวชนชายในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคม ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม. มหาวิทยาลัยมหิดล.

ฝน แสงสิงแก้ว. (2524). ชีวิตและงาน รวมข้อคิดและข้อเขียน ทางสุขภาพจิตและวัฒนธรรมของศาสตราจารย์นายแพทย์ ฝน แสงสิงแก้ว. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์ และพีระพงษ์ วงศ์อุปราช. (2552). มิติทางสังคมของการดื่มสุรากับปัญหาความรุนแรง ในครอบครัว. วารสารสหศาสตร์, 9(2), 194-222.

พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข และคณะ. (2536). ลักษณะทางสังคมของสุรา และผลกระทบต่อสุขภาพในชนบท: ศึกษาในหมู่บ้าน โคกกลาง จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสาธารณสุขเพื่อการพัฒนา.

ศศิวิมล ชมชื่น. (2554). ผลการทดสอบเบนเตอร์วิชวล มอเตอร์เกสตอลท์ ในผู้ติดสุรา กรณีศึกษา จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2553). รายงานสถานการณ์สุราประจำปี พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา.

สายใจ ชื่นคำ. (2542). พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของ วัยรุ่นในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ไทยศึกษา). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

หทัยรัตน์ ต๊ะอินทร์. (2545). พฤติกรรมการดื่มสุรากับการเกิด อุบัติเหตุจราจร ของผู้ประสบอุบัติเหตุจราจรที่มารับบริการ ในห้องฉุกเฉินและอุบัติเหตุของโรงพยาบาลตำรวจ.

วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Y Hu NieKdam. (2009). Cultral Factors in male adolescent Alcohol use Among EDE Ethnic Minority in Central Highland Vietnam. Journal of Sahasat, 9(2), 175.