กินยาปรับฮอร์โมน แล้ว เลือดออกกระปริบ กระ ป รอย

สุภาพสตรีที่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ควรรีบไปพบแพทย์ทันทีเพื่อตรวจหาสาเหตุ แต่ถ้าแพทย์ยังไม่สามารถหาสาเหตุของเลือดออกผิดปกติที่แน่ชัดได้ ก็อาจจำเป็นต้องขอส่งตรวจวิธีพิเศษ เช่น ตรวจเลือด ตรวจอัลตราซาวด์ หรือ หากจำเป็นจริง ๆ แพทย์ก็อาจขอขูดมดลูกเพื่อนำชิ้นเนื้อไปตรวจวินิจฉัยหาเซลล์มะเร็งต่อไป


‣วิธีการป้องกัน ไม่ให้ประจำเดือนมาไม่ปกติ

- หันมาใส่ใจในเรื่องอาหารการกิน โดยทานอาหารให้ครบ5หมู่

- ไม่กินยาใดๆ โดยไม่จำเป็น

- หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

- รักษาอารมณ์ให้แจ่มใส

- สุภาพสตรีที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว หรือ ผู้หญิงโสดที่มีอายุเกินกว่า 35 ปี ควรปรึกษาสูตินรีแพทย์เพื่อรับการตรวจภายในประจำปี และ ตรวจหามะเร็งปากมดลูก แม้ว่าจะยังไม่มีอาการผิดปกติใดๆ ก็ตาม

การตรวจภายในประจำปี และตรวจหามะเร็งปากมดลูก จะต้องเลือกไปพบแพทย์ในวันที่ไม่มีประจำเดือน งดมีเพศสัมพันธ์ประมาณ 7 วัน

การตรวจภายในประจำทุกปี ในขณะที่คุณผู้หญิงยังไม่มีอาการผิดปกตินับว่าเป็นขั้นตอนสำคัญในการป้องกันโรคมะเร็งในสตรี เนื่องจากแพทย์จะสามารถตรวจหาโรคในระยะเริ่มแรกที่ยังไม่มีอาการและสามารถรักษาให้หายได้ทัน ก่อนอาการจะรุนแรง

สามารถติดต่อสาธารณสุขใกล้บ้านเพื่อเข้ารับการรักษา ตรวจอาการ หรือส่งตัวต่อไปยังสถานพยาบาลที่เหมาะสมตามขั้นตอนต่อไป ปัจจุบันกรณีที่ต้องรับยาต้านไวรัส แพทย์จะจ่ายยาแพกซ์โลวิด หรือ โมลนูพิราเวียร์ รวมทั้งยารักษาตามอาการ เช่น ยาละลายเสมหะ ยาแก้ไอ เป็นต้น

  • กินฮอร์โมนแล้วจะช่วยปรับฮอร์โมนในร่างกายได้จริงหรือไม่ ?

ปรับได้จริง สำหรับในคนไข้บางกลุ่มที่มีฮอร์โมนเพศชายเกิน ผู้หญิงที่ส่วนสูง 165 เซ็นติเมตร น้ำหนัก 70 กิโลกรัม ก็ไม่ควรหนักเกิน 55 กิโลกรัม ถ้าน้ำหนักตัวเยอะจะสัมพันธ์กันคือภาวะฮอร์โมนเพศชายในร่างกายสูง ทำให้ไข่ไม่ตก การกินยาคุมกำเนิดจะจะช่วยปรับสมดุลลดฮอร์โมนเพศชายลง ข้อสังเกตคือมีสิว ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ มีหนวดเคราขึ้น ในลักษณะนี้กินยาคุมกำเนิดจะมีประโยชน์ในการช่วยคุมการมีรอบเดือนและลดฮอร์โมนเพศชายลง ลดการบวมน้ำลงได้อีกด้วย

  • เป็นฝ้า จากการกินฮอร์โมน เกิดขึ้นได้หรือไม่?

ถ้ากินฮอร์โมนกลุ่มเอสโตรเจน จะทำให้ เกิดฝ้าง่ายขึ้น เป็นแล้วก็เป็นเลย การกินฮอร์โมนกระตุ้นให้เกิดเร็วขึ้น ควรจะต้องทาครีมกันแดดตั้งแต่อายุยังน้อยหรือในวัยเด็ก หรือทาครีมกันแดดทุกครั้งที่เจอแดด ก็จะช่วยป้องกันการเป็นฝ้า แม้จะหยุดทานฮอร์โมนก็ยังไม่หายเป็นฝ้า ทั้งนี้ฝ้าเข้มหรือจางสัมพันธ์กับปริมาณฮอร์โมนเอสโตรเจนที่มีอยู่ในยาคุม อาจจะจางลง

  • อายุ 63 ปี เป็นซีสต์ที่ไต กลางคืนปัสสาวะบ่อย อนาคตจะมีอันตรายด้านใดบ้าง?

ปกติถ้าไม่อยู่ในตำแหน่งที่สำคัญก็ไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานของไต ถ้าอายุ 63ปีแล้ว ปัสสาวะกลางคืนบ่อย อาจจะต้องดูในเรื่องต่อมลูกหมากโตหรือไม่ อาจจะต้องไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจเช็คให้ละเอียด หรืออาจจะเป็นเบาหวานหรือไม่ อาจจะต้องตรวจเลือด เพื่อความชัดเจนอีกครั้ง

คำถาม 5: หนูมีเลือดออกจากช่องคลอดคล้ายประจำเดือน แต่ประจำเดือนหมดไปแล้ว เลือดออกมา 13 วันแล้ว แล้วหนูกินยาคุมแบบรายเดือนด้วยคะ วันนี้กินอยู่นะคะ หนูอยากทราบว่าเป็นอะไรคะ

คำตอบ 5:  ภาวะเลือดออกจากช่องคลอดที่เกิดขึ้นจากการกินยาเม็ดคุมกำเนิด แบ่งง่ายๆ เป็น 2 แบบ คือ

  1. เลือดออกมาหลังกินยาคุมแผงหมดแผงแล้ว (แบบ 21 เม็ด) หรือกินไปแล้ว 21 เม็ด (แบบ 28 เม็ด 7 เม็ดหลังไม่มีฮอร์โมน) ถือว่าเป็นภาวะปกติ
  2. เลือดที่ออกมาในช่วงของการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในช่วงครึ่งแรกหรือครึ่งหลังของรอบเดือน ก็ต้องหาสาเหตุของการเกิด และแก้ไขต่อไป แต่อย่าเพิ่งตกใจนะครับ ฟังต่อไปครับ คือ เลือดออกจากช่องคลอดแบบที่ 2 เป็นไปได้ 2 ลักษณะ

หนึ่ง: เลือดออกมากจนต้องใช้ผ้าอนามัย (breakthrough bleeding)

สอง: เลือดออกกะปริดกะปรอย ปริมาณไม่มากไม่จำเป็นต้องใช้ผ้าอนามัย (spotting)

กลไกการเกิดเลือดออกยังไม่รู้แน่ชัดครับ แต่พอจะอธิบายว่าการกินยาเม็ดคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนรวมที่มีทั้งเอสโตรเจนและโปรเจสเทอโรนที่จำหน่ายทั่วไป จะให้ฮอร์โมน 2 ตัวนี้เข้าไปในร่างกายอย่างต่อเนื่อง โดยจะไปมีผลต่อเยื่อบุผนังมดลูกและหลอดเลือดทั้งการหนาขึ้นหรือบางตัวลง และส่งผลต่อการฝ่อหรือขยายของต่อมต่างๆ ภายในผนัง ดังนั้นสาเหตุที่มีเลือดออกเป็นทั้งจากการเปราะแตกของหลอดเลือดและการเปลี่ยนแปลงของผนังมดลูกจากการตอบสนองต่อฮอร์โมน

การมีเลือดกะปริดกะปรอยขณะกินยา สามารถเกิดขึ้นได้ในผู้ที่เพิ่งเริ่มกินยาเม็ดคุมกำเนิดใหม่ๆโดยเฉพาะในช่วง 2-3 เดือนแรก ซึ่งเป็นปัญหาข้างเคียงจากการกินยาที่พบบ่อยได้ถึง 20-30%แต่ไม่เป็นอันตรายครับ หลังจากกินไปแล้ว 3 เดือน อาการเลือดออกจะดีขึ้นได้เอง หรือพบน้อยกว่า 10%

ลุงหมอแนะนำว่า ขอให้ใช้ยาคุมนี้ไปสัก 3 เดือน ยังไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนยา เพื่อให้ประสิทธิภาพการคุมกำเนิดไม่เปลี่ยนแปลง โดยมีแนวทางป้องกันและจัดการภาวะเลือดออกในระหว่างการใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดมีดังนี้

  1. ควรกินยาทุกวันให้ครบถ้วน ห้ามลืม! เพราะเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เลือดออก ควรกินเวลาเดิมทุกวันเพื่อให้ระดับของฮอร์โมนในร่างกายไม่เปลี่ยนแปลงมาก
  2. ผู้ที่สูบบุหรี่ แนะนำให้เลิกสูบบุหรี่ เพราะบุหรี่มีฤทธิ์ขัดขวางฤทธิ์ของเอสโตรเจน และกระทบต่อรอบเดือน
  3. การใช้ยาคุมกำเนิดร่วมกับยาอื่นที่อาจเกิดปฏิกริยาต่อกัน เช่น ยาปฏิชีวนะอย่างแอมพิซิลิน ยาซัลฟา เพนนิซิลิน ยานอนหลับ ยาคลายเครียด ยาไรแฟมพิซิน จะมีผลให้ประสิทธิภาพของยาคุมไม่ดี และส่งผลทำให้เลือดออกได้ ถ้ายังต้องกินยาเหล่านี้อยู่ ก็แนะนำให้ใช้ยาคุมที่มีฮอร์โมนสูง
  4. ยาเม็ดคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนรวม สูตรเอสโตรเจนต่ำ (เช่น ขนาด 20 ไมโครกรัม) เป็นสาเหตุสำคัญทำให้เลือดออกมากกว่ายาที่มีฮอร์โมนสูง แนะนำให้เปลี่ยนมาใช้แบบที่มีเอสโตรเจนสูงขึ้นเป็น 30 หรือ 35 ไมโครกรัม แต่ถ้าใช้แบบ 30 ไมโครกรัมแล้วเลือดยังออกอยู่ ก็ให้เปลี่ยนเป็น 50 ไมโครกรัม
  5. ยาคุมแต่ละยี่ห้อที่มีตัวยาฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนต่างกัน ไม่ได้มีผลต่อเลือดออกกะปริดกะปรอยแตกต่างกัน

ลุงหมอขอแนะนำว่า ถ้ามีเลือดออกมาก ควรหยุดยาชุดนั้นแล้วเริ่มต้นชุดใหม่ หรือ ถ้ายังมีเลือดออกผิดปกติอยู่นานและมากผิดปกติ ควรหยุดกินยาคุมไปก่อน เพื่อหาสาเหตุที่เลือดออกนอกเหนือจากยาคุม

มีอาการของโรคที่ทำให้เลือดออกผิดปกติได้ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หนองในเทียม หรือตกขาวผิดปกติ การตั้งครรภ์ในมดลูก หรือ ตั้งครรภ์นอกมดลูก หรืออาจเป็นมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก เนื้องอกที่ปากมดลูก มดลูก หรือรังไข่

ทำไมกินยาคุมแล้วมีเลือดออก

ยาเม็ดคุมกำเนิดแบบฮอร์โมนรวม สูตรเอสโตรเจนต่ำ (เช่น ขนาด 20 ไมโครกรัม) เป็นสาเหตุสำคัญทำให้เลือดออกมากกว่ายาที่มีฮอร์โมนสูง แนะนำให้เปลี่ยนมาใช้แบบที่มีเอสโตรเจนสูงขึ้นเป็น 30 หรือ 35 ไมโครกรัม แต่ถ้าใช้แบบ 30 ไมโครกรัมแล้วเลือดยังออกอยู่ ก็ให้เปลี่ยนเป็น 50 ไมโครกรัม

กินยาคุมประจำเดือนมาตรงไหม

ดังนั้นการใช้ยาคุมรายเดือน จะทำให้ประจำเดือนมาตรงรอบได้มากขึ้น เพราะเหมือนเป็นฮอร์โมนจากภายนอกที่ให้เข้าไปควบคุมการทำงานของร่างกาย การใช้ยาคุมฉุกเฉินอาจทำให้ประจำเดือนเคลื่อนแค่เดือนนั้นๆ แต่ไม่ได้ส่งผลต่อเดือนถัดไปค่ะ หากประจำเดือนไม่มาเมื่อกินยาคุมหมดแผงครบ 7 วันไปแล้วนั้น ควรซื้อชุดตรวจครรภ์ทางปัสสาวะมาตรวจได้เอง ...

กินยาคุมแล้วประจำเดือนมาน้อยทำไงดี

สำหรับคนที่กินยาเม็ดคุมกำเนิดแล้วมีเลือดออกกะปริบกะปรอย ประจำเดือนมาน้อยมาก จนแทบจะเข้าข่ายกินยาคุมแล้วประจำเดือนไม่มา อาจเป็นผลจากฮอร์โมนเอสโตรเจนในตัวยาคุมกำเนิดก็ได้ และหากมั่นใจว่าเรากินยาคุมกำเนิดอย่างถูกวิธีไม่มีบกพร่อง แนะนำให้ปรึกษาแพทย์เพื่อเลือกใช้วิธีคุมกำเนิดหรือยาคุมกำเนิดตัวใหม่ที่เหมาะกับร่างกาย

กินยาปรับฮอร์โมนอันตรายไหม

ข้อควรระวังในการใช้ยาปรับฮอร์โมน มีเลือดไหลทางช่องคลอดผิดปกติ ประจำเดือนมาไม่ปกติ และมีการรับประทานยาปรับฮอร์โมนด้วย คลำพบก้อนในเต้านม ปวดศีรษะรุนแรงร่วมกับคลื่นไส้ อาเจียน