มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 ปรับปรุง 2564

หลักสูตร

Update มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ปี 2564

หัวข้อสัมมนา

1.สรุปมาตรฐานการบัญชีที่สำคัญสำหรับนักบัญชี ประเด็นที่มีผลต่อการจัดทำบัญชี

2.มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 เรื่อง “การนำเสนองบการเงิน

- ประเด็นที่จะมีผลต่อการแสดงรายการในงบการเงิน

- การเปรียบเทียบข้อกำหนดที่สำคัญเกี่ยวกับการนำเสนองบการเงินระหว่าง TAS#1 for PAEs กับ TFRS for NPAEs

- การเปรียบเทียบข้อกำหนดที่สำคัญเกี่ยวกับการนำเสนองบการเงินระหว่าง ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
  เรื่อง “กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน” กับ TAS#1 for PAEs และ NPAEs

- ข้อผิดพลาดที่มักพบเกี่ยวกับการนำเสนองบการเงิน

- สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของ TAS#1

3.มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 เรื่อง “นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี

   และข้อผิดพลาด”

- กำหนดนโยบายบัญชีไปแล้ว จะเปลี่ยนแปลงนโยบายในปีปัจจุบันจะต้องกระทบกับงบการเงินหรือไม่

- การรับรู้รายการและการปรับปรุงประมาณการ วิธีการปฏิบัติทางบัญชีที่ถูกต้อง

- สรุปหลักการสำคัญของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 8

4.มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง “สัญญาเช่า”

- สิ่งที่มาตรฐานเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และการบันทึกบัญชีของด้านผู้เช่า และผู้ให้เช่า

- ผลกระทบต่อการแสดงรายการเกี่ยวกับสัญญาเช่าที่มีผลต่องบการเงิน

- ข้อควรระมัดระวังในการบันทึกรายการเกี่ยวกับสัญญาเช่าที่นักบัญชีควรทราบ

- สรุปการเปลี่ยนแปลงและหลักการที่สำคัญของ TFRS 16

5.มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง “รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า”

- หลักเกณฑ์ในการรับรู้รายได้รูปแบบใหม่

- จุดที่ต้องระมัดระวังในการรับรู้รายการรายได้ วิธีการบันทึกรับรู้รายการ

- การชำระล่วงหน้า และการทยอยการรับรายได้ มีผลต่อการบันทึกบัญชีตามมาตรฐานหรือไม่

- สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของ TFRS#15

6.การตีความมาตรฐานรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน

   การบูรณะและหนี้สินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน”

- ขอบเขตของการตีความมาตรฐานฯ

- ประเด็นปัญหาในทางปฏิบัติและแนวปฏิบัติการตีความมาตรฐานฯ

- ผลกระทบของ TFRIC#1 ที่มีต่อกิจการ

- การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลง

- กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้อง

7.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

ฉบับปรับปรุงปี 2564 (ปีปัจจุบัน)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 ปรับปรุง 2564

ปรับปรุง 2564
(มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565)

            คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี อยู่ระหว่างกระบวนการกำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นโดยมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นฉบับปรับปรุงตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศที่สิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (Bound Volume 2021 Consolidated without early application) โดยจะมีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565

TAS หมายถึง มาตรฐานการบัญชี   TFRS หมายถึง มาตรฐานการรายงานทางการเงินTSIC หมายถึง การตีความมาตรฐานการบัญชี TFRIC หมายถึง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


แนวปฏิบัติทางการบัญชี

            แนวปฏิบัติทางการบัญชีฉบับนี้ที่มีผลบังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565

หมายเหตุ:
1) ร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ผ่านการพิจารณาหลักการโดยคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี ท่านสามารถดาวน์โหลดเพื่อใช้ในการศึกษาและเตรียมความพร้อมในการถือปฏิบัติได้
2) เอกสารเพิ่มเติมคือเอกสารสำหรับศึกษาการปรับปรุงมาตรฐานฯ แต่ละฉบับ
3) * คือมาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุ่มที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับประเทศอื่นซึ่งกิจการของประเทศไทยได้ไปดำเนินการในประเทศนั้น จำนวน 4 ฉบับ
4) ความหมายของ "ความคืบหน้า" ในตารางโปรดดูในภาพ "ขั้นตอนการพิจารณาให้ความเห็นชอบในคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ และการประกาศในราชกิจจานุเบกษา"

สรุปการเปลี่ยนแปลง

สำหรับปี 2564 มีมาตรฐานการรายงานทางการเงินปรับปรุงจากปี 2563 เป็นจำนวน 5 ฉบับ ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวเกิดจากการปรับปรุง/แก้ไขหลักการดังต่อไปนี้

คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้


คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน


คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม

            เนื้อหาในคู่มืออธิบายมาตรฐานการรายงานทางการเงินจะประกอบด้วย สรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คำนิยามคำศัพท์ และคำอธิบายรายการหรือธุรกรรมที่สำคัญรวมไปถึงอธิบายหลักการบัญชีอย่างง่าย พร้อมการยกตัวอย่างประกอบ

            สภาวิชาชีพบัญชีจะประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าทดสอบความรู้ของผู้ขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทางเว็บไซต์ https://www.tfac.or.th ภายใน 7 วันทำการนับแต่วันที่ปิดรับสมัครสอบ โดยเป็นหน้าที่ของผู้สมัครสอบที่จะต้องติดตามและตรวจสอบรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการทดสอบความรู้ หากผู้สมัครสอบรายใดพบว่ารายวิชาที่เข้ารับการทดสอบไม่ตรงตามที่ปรากฏบนใบเสร็จรับเงิน ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมแนบสำเนาใบเสร็จรับเงินเพื่อตรวจสอบความถูกต้องภายใน 5 วันทำการนับแต่วันที่ประกาศรายชื่อ หากเลยเวลาที่กำหนดสภาวิชาชีพบัญชีจะยึดถือตามประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการทดสอบความรู้