หลักการปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทํางาน 7 แนวทาง

การยศาสตร์ (Ergonomics) มาจากภาษากรีก คือ

คาว่า “ergon” หมายถึง งาน (Work) และคาว่า “nomos”
หมายถึง กฎธรรมชาติ (Natural Laws) เมื่อนามารวมกนั

เป็ นคาว่า Ergonomics แปลว่า กฎของงาน การยศาสตร์
เป็ นวิชาที่ว่าด้วยการปรบั เปลี่ยนสภาพงานให้เหมาะกบั
ผู้ปฏิ บตั ิงาน หรือการปรบั ปรุงสภาพของการทางาน
อย่างเป็ นระบบ การยศาสตรจ์ ึงหมายถึง “วิทยาการที่

เก่ียวกบั การออกแบบงานหรือสภาพแวดล้อมในการ
ทางานให้เหมาะสมกบั ผปู้ ฏิบตั ิงาน”

61

การยศาสตรเ์ ป็นเร่ืองของการศึกษาสภาพการทางานที่มีความสมั พนั ธ์
ระหว่างผู้ปฏิ บตั ิงานและสภาพแวดล้อม โดยมีการพิจารณาว่าได้มีการ
ออกแบบหรือปรบั ปรงุ สภาพการทางานให้เหมาะสมกบั ผ้ปู ฏิบตั ิงานอย่างไร
จึงจะสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน
ให้ดีขึน้ หรอื เป็นการปฏิบตั ิเพ่ือให้งานมี
ความเหมาะสมกบั ผปู้ ฏิบตั ิงาน ผปู้ ฏิบตั ิงาน
ไม่ต้องอดทนทางานในสภาพแวดล้อมที่
ไม่เหมาะสม ซ่ึงการนาหลกั การยศาสตร์
มาใช้ทาให้คนงานมีสขุ ภาพอนามยั ท่ีดีขึน้
มีสภาพการทางานที่ปลอดภยั มากยิ่งขึน้
ส่งผลให้นายจ้างได้รบั ประโยชน์จากการ
ได้รบั ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพและมีจานวนมากขึน้ ในช่วงเวลาเท่าเดิม

62

การยศาสตรเ์ ป็นการนาเอาศาสตรจ์ ากวิชาแขนงต่างๆ มาประยกุ ต์ใช้
ร่วมกนั เพ่ือหาวิธีการขจดั ส่ิงท่ีเป็ นสาเหตุให้พนักงานเกิดอาการปวดเม่ือย
ไม่สะดวกสบาย มีสุขภาพอนามยั ที่ไม่ดี เกิดความเครียด ความล้า ความ
เจบ็ ป่ วยเรือ้ รงั เน่ืองจากสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีไม่เหมาะสม ปัจจบุ นั
ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการทางาน ได้แก่ พนักงาน นายจ้าง เจ้าของสถาน
ประกอบการ สหภาพแรงงาน รวมถึงนักวิชาการ ได้ให้ความสนใจเร่ืองการ
ออกแบบสถานท่ีทางานท่ีเหมาะสมกบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน พนักงานไม่ต้องปรบั ตวั
ให้เข้ากบั สภาพแวดล้อมมากนัก ซ่ึงเป็ นสิ่งที่ยากลาบาก ก่อให้เกิดความอึด
อดั ทนทางานในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะกบั ตนเอง เป็ นผลเสียต่อสภาพ
รา่ งกายและจิตใจ รวมถึงผลงานที่ออกมาจะขาดประสิทธิภาพด้วย

63

ตัง้ แต่ในสมัยอดีตกาล มนุษย์มีประดิษฐ์เคร่ืองมือเคร่ืองใช้สาหรบั ทา
กิจกรรมเพื่อการดารงชีพ และได้มีการพฒั นาเครื่องมือเหล่านัน้ อยู่ตลอดเวลาเพ่ือให้
สอดคล้องกบั ความต้องการและความเหมาะสมของงาน แต่การพฒั นาเหล่านัน้ เป็น
การพฒั นาแบบลองผิดลองถกู ไม่ได้นาหลกั วิชาการใดมาใช้ จนถึงยุคปัจจบุ นั เร่ิมมี
การกาหนดมาตรการทางกฎหมายมาใช้ในการควบคุมเพื่อป้องกนั อนั ตรายและลด
ความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้น โดยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 F.B. Gilbreth ได้เลง็ เหน็ ว่า
การทางานของคนมีความเก่ียวข้องกบั สภาพแวดล้อมท่ีจะกาหนดจานวนผลผลิตและ
คุณภาพของผลผลิต ซ่ึงสอดคล้องกบั ผลการวิจยั ของนักวิชาการอื่นๆ จึงได้มีการ
ประสานและทางานร่วมกนั และพบว่า ขีดความสามารถของคนงานถกู จากดั โดย
สมรรถนะของเคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีซบั ซ้อน จะต้องมีการคดั เลือกคนให้เหมาะสมกบั
งาน แต่เหตผุ ลนี้ไม่เป็นที่ยอมรบั ของประเทศที่พฒั นาแล้ว

64

ปัจจบุ นั ประเทศท่ีพฒั นาแล้วอย่างสหรฐั อเมริกา และกลุ่มประเทศ
ยุโรป ได้มีการประยุกต์ใช้การยศาสตร์ในการทางานเกือบทุกประเภท
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคอุตสาหกรรม และเป็ นท่ียอมรบั ทวั่ กนั ในกลุ่ม
วิชาชีพวิศวกรรม สถาปัตยกรรม แพทย์ วิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ สุขศาสตร์
อตุ สาหกรรม และความปลอดภยั ว่าการยศาสตรจ์ ะนาไปส่กู ารปฏิบตั ิงานที่
ปลอดภยั ถกู หลกั อาชีวอนามยั ทาให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นและส่งผลให้ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
มีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีด้วย

ขอบข่ายของการยศาสตร์ การยศาสตรเ์ กี่ยวข้องกบั แนวความคิด
ที่แสดงถึงความสมั พนั ธร์ ะหว่างคน เคร่ืองจกั รและอปุ กรณ์ ซ่ึงโดยส่วนใหญ่
คนจะต้องทางานโดยมีเครื่องจกั ร อปุ กรณ์มาช่วยอานวยความสะดวก และ
เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทางาน จะต้องมีการออกแบบเครื่องจกั ร
อปุ กรณ์ ให้เหมาะสมกบั ผ้ใู ช้ ดงั นัน้ หลกั การของการยศาสตร์ คือ “การจดั
งานให้เหมาะสมกบั คน” พยายามออกแบบ สร้างเครื่องมือ อปุ กรณ์ การจดั
ระบบงานให้สอดคล้องกบั ความสามารถและสมรรถนะของแต่ละบุคคล โดย
การนาวิชาการหลายสาขามาใช้ประโยชน์ ได้แก่
65

66

ประโยชน์ของการยศาสตร์ การนาหลกั การยศาสตรเ์ ข้ามาใช้ในการจดั
สภาพการทางานต่างๆ ช่วยลดความเครียดของพนักงาน และก่อให้เกิด
ประโยชน์ดงั นี้

1. ช่วยลดอบุ ตั ิเหตทุ ี่อาจเกิดขึน้ ระหว่างทางาน
2. ช่วยเพ่ิมประสิ ทธิ ภาพและความสามารถในการทางานของ

ผปู้ ฏิบตั ิงาน
3. ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางาน
4. ช่วยลดขนั้ ตอนในการทางาน เน่ืองจากได้มีการออกแบบงาน

อย่างเหมาะสม
5. ช่วยลดต้นทุนการผลิต เม่ือพนักงานได้รบั ความสะดวกสบาย

ช่วยให้สามารถทางานได้มากขึน้ ในระยะเวลาเท่าเดิม จึงทาให้
ลดต้นทนุ การผลิตลงได้
6. ช่วยให้เกิดขวญั และกาลงั ใจท่ีดีในการทางาน

67

ตวั แปรท่ีเก่ียวข้องกบั การยศาสตร์ มีดงั นี้

68

ข ณ ะ ท า ง า น ร่ า ง ก า ย ข อ ง ค น
จาเป็ นต้องอยู่ในลกั ษณะท่าทางท่ีสบาย
ไม่ฝื นไปในลกั ษณะที่ผิดปกติ หากมีการ
รัก ษ า ลัก ษ ณ ะ ท่ า ท า ง ก า ร ท า ง า น
การเคลื่อนไหวในการทางานได้อย่างมี
มาตรฐาน จะช่วยลดอุบตั ิเหตุท่ีเกิดจาก
การทางานได้

69

ลกั ษณะท่าทางที่เหมาะสมกบั งาน มีดงั นี้

1. งานยืนอยู่บนพื้นท่ีไม่มีความมนั่ คง จะทาให้เกิดความวิตกกงั วล และต้อง
พยายามรกั ษาสมดลุ ของร่างกายอยู่ตลอดเวลา ทาให้สูญเสียพลงั งานโดยไม่จาเป็ น
และมีความเสี่ยงต่อการเกิดอบุ ตั ิเหตไุ ด้งา่ ย

2. ลกั ษณะท่าทางในการทางานท่ีเหมาะสมช่วยให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยใช้น้าหนักของรา่ งกายในการออกแรง คือทาให้รา่ งกายมีท่ีพิงขณะที่ออกแรง

3. ลกั ษณะท่าทางในการทางานที่ดีจะไม่ก่อให้เกิดการขดั ขวางกระบวนการทางาน
อวยั วะต่างๆ ในร่างกายจะมีระบบการทางานอยา่ งปกติ

4. ลกั ษณะการทางานท่ีดีและเหมาะสมช่วยให้ระบบการแลกเปลี่ยนระหว่างความ
รอ้ นของร่างกายและสิ่งแวดล้อมในการทางานมีความเหมาะสม

5. ลกั ษณะท่าทางของการทางานต้องสมั พนั ธก์ บั การมองเหน็ หมายถงึ ท่าทางการ

ทางานท่ีมนั่ คงจะต้องให้มีการมองเห็นของสายตาอยู่ในระดบั พอดี ไม่ทาให้เกิดการ

เม่อื ยล้าคอและหลงั 70

ลกั ษณะท่าทางในการยนื ทางาน ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. ควรปรบั ระดบั ความสูงของพื้นท่ีการทางานให้เหมาะสมกบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
แต่ละคนซ่ึงมีความสงู ท่ีแตกต่างกนั

2. ควรจดั ให้มีท่ีวางพกั เท้า เพื่อให้ผปู้ ฏิบตั ิงานได้ปรบั เปลี่ยนอิริยาบถ หรือ
สบั เปลี่ยนน้าหนักเพื่อช่วยลดความเครียดบริเวณหลงั และขา

3. ควรจดั ให้มีแผน่ รองปพู ืน้ ท่ีเป็นวสั ดทุ ่ีมีความยดื หยนุ่ สะอาด และเหมาะสม
หรือมีการทาแผ่นรองปูพื้นรองรบั ชิ้นงาน หรือยกพื้นเพ่ือให้มีความเหมาะสมกบั
ความสงู ของผปู้ ฏิบตั ิงาน

4. ควรจดั ให้มีพืน้ ท่ีเพียงพอสาหรบั การเคลอ่ื นเท้าไปข้างหน้าหรือขา้ งหลงั โดย
ไมม่ ีส่ิงกีดขวาง

5. ไม่ควรจดั ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานต้องเอนตวั ไปด้านหน้า ด้านหลงั หมนุ ตวั หรือเอียง
ไปด้านขา้ ง

71

6. ไม่ควรให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานต้องเอื้อมมือสูงกว่าระดบั ความสูงของไหล่
หรือตา่ เกินกว่าที่จะหยิบได้ในขณะที่ยืน และไม่ให้มีการแหงนศีรษะหรือก้ม
ศีรษะมากเกินไป

7. จดั เก้าอี้ให้ผปู้ ฏิบตั ิงานนัง่ พกั ระหว่างการทางาน 72

8. ให้ผู้ปฏิบตั ิงานสวมรองเท้าที่เหมาะสมพอดีกบั ขนาดของเท้า
เพ่ือให้สามารถรองรบั น้าหนัก และพยงุ ส่วนโค้งของเท้าได้

การออกแบบโต๊ะทางานสาหรบั ผ้ทู ่ียืนปฏิบตั ิงาน ควรให้มี
ความสงู ในระดบั ที่ผ้ปู ฏิบตั ิงานยืนแล้วมือทงั้ สองจะต้องอยู่บนพื้น
โต๊ะทางานปกติ ต่ากว่าความสูงของข้อศอกประมาณ 5-10
เซนติเมตร พร้อมทงั้ มีพื้นท่ีเหลือไว้สาหรบั วางเครื่องมืออุปกรณ์
และของจาเป็ นอื่นๆ กรณี ที่ต้องมีการวางข้อศอกบนพื้นโต๊ะ
จะต้องออกแบบให้โตะ๊ ทางานนัน้ ยกระดบั สงู ขึน้ พอดี
กบั ข้อศอก

73

การจดั ท่าทางการทางานสาหรับการนั่งเก้าอที้ างาน

โตะ๊ ที่ใชส้ ำหรับนง่ั อ่ำนหนงั สือ ตอ้ งสำมำรถวำงแขนและขอ้ ศอก
ไดอ้ ยำ่ งสบำย เกำ้ อ้ีท่ีใชค้ วรปรับระดบั ควำมสูง-ต่ำได้ และมีที่พกั เทำ้ ท่ี
สะดวกต่อกำรเคล่ือนไหวเทำ้ ไดอ้ ยำ่ งสบำย กำรปรับเกำ้ อ้ีทำงำน ควรใหม้ ี
ควำมสูงระหวำ่ ง 40-53 เซนติเมตร ปรับพนกั พิงไปในแนวดิ่ง 15-24
เซนติเมตรจำกระดบั ท่ีนง่ั ท่ีนง่ั มีขนำดควำมลึก 35 เซนติเมตร ดำ้ นหนำ้ ของ
เกำ้ อ้ีมีควำมโคง้ มนเลก็ นอ้ ยหุม้ ดว้ ยเน้ือผำ้ ที่อำกำศผำ่ นไดง้ ่ำย กำรหุม้ เกำ้ อ้ี
ช่วยป้องกนั กำรลื่นออกจำกเกำ้ อ้ีขณะนง่ั นอกจำกน้ีเกำ้ อ้ีควรมีควำมมน่ั คง
แขง็ แรง สำมำรถเคล่ือนท่ีไดอ้ ยำ่ งอิสระ

15

การออกแบบเครอื่ งมือและอปุ กรณ์ ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. มีการออกแบบที่เหมาะสมกบั กล้ามเนื้อมดั ใหญ่ของผ้ปู ฏิบตั ิงาน เช่น
กล้ามเนื้อแขน ขา หวั ไหล่ เป็นต้น
2. ไม่ควรใช้เครื่องมอื อปุ กรณ์ที่ขาดคณุ ภาพ
3. การหยิบเครอ่ื งมือมาใช้ควรหลีกเลี่ยงท่าทางที่ต้องบิดตวั หรอื เอี้ยวตวั หรือ
บิดข้อมือ และไมค่ วรยกหรือถอื เครอื่ งมอื ไว้เป็นเวลานาน
4. ด้ามจบั ของเคร่ืองมืออุปกรณ์ควรมีฉนวน
กนั ไฟฟ้า ไมม่ ีมมุ ท่ีแหลมคม มีวสั ดกุ นั ล่ืนท่ีด้ามจบั
5. มีการบารุงรกั ษาเครื่องมืออุปกรณ์อย่าง
ถกู ต้อง

74

การออกแบบอปุ กรณ์ควบคมุ ควรปฏิบตั ิดงั นี้
1. สวิตชค์ วบคมุ คนั โยก และป่ มุ ควบคมุ ควรอย่ใู นตาแหน่งที่สามารถเอื้อม
ถงึ ขณะท่ีปฏิบตั ิงานปกติ
2. เลือกอปุ กรณ์ควบคมุ ที่เหมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน งานละเอียดควรใช้
อุปกรณ์ควบคมุ ด้วยมือ ส่วนงานท่ีต้องออกแรงมากอาจเลือกใช้อุปกรณ์ควบคมุ
ด้วยเท้า
3. อุปกรณ์ควบคุมควรให้เหมาะสมกับการ
ใช้ได้ทงั้ มอื ซ้ายและมือขวา
4. ออกแบบให้อปุ กรณ์ควบคมุ ฉุกเฉิ น
แตกต่างจากอปุ กรณ์ควบคมุ ทวั่ ไป

75

การทางานที่ต้องใช้แรงมาก มีความเสี่ยงต่อการเกิด
อบุ ตั ิเหตุได้ง่ายกว่า ดงั นัน้ จึงต้องมีการออกแบบงาน และ
การปฏิบตั ิงานอย่างเหมาะสม คือ จะต้องไม่ให้ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
แต่ละคนออกแรงจนเกินกาลงั จดั ให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานที่ต้องใช้

แรงมากสลบั กบั งานที่เบาแรงบ้าง และต้องจดั เวลาพกั ให้
ผปู้ ฏิบตั ิงานอย่างเหมาะสม

หากลกั ษณะงานที่ทาเป็นงานท่ีต้องออกแรงมาก เช่น

งานที่เก่ียวข้องกบั การเคล่ือนย้ายวสั ดุ สิ่งของที่มีน้าหนักมาก

เป็นต้น อาจมีการออกแบบลกั ษณะงานเพื่อให้มีการออกแรง

น้อยลง เช่น การนาสิ่งของท่ีต้องเคลื่อนย้ายมาแบง่ บรรจุ เพ่ือ

ให้มีขนาดและน้าหนักลดลง การทาให้วสั ดมุ ีการเคล่ือนย้ายที่ง่ายขึน้ การจดั เกบ็

วสั ดใุ ห้สะดวกต่อการเคลื่อนย้าย การหาวิธีลดระยะทางในการเคล่ือนย้าย และที่

สาคญั ควรหลีกเล่ียงการทางานที่ผิดท่าทางท่ีผิดปกติ 76

19

เสียง (Noise)
แสงสว่าง (illumination)
อณุ หภมู ิ (Temperature)

77

1. เสียง (Noise)

เสียงรบกวนท่ีเกิดข้ึนขณะปฏิบตั ิงำน เช่น เสียงเคร่ืองจกั ร เสียง
เครื่องยนต์ เสียงตดั เหลก็ ตดั โลหะ เป็นตน้ เมื่อผปู้ ฏิบตั ิงำนไดย้ นิ เสียงเหลำ่ น้ีใน
ระดบั ที่ดงั เกินไปเป็นระยะเวลำติดตอ่ กนั เป็นเวลำนำน หรือตลอดเวลำท่ีปฏิบตั ิงำน
ก่อใหเ้ กิดควำมรำคำญ หงุดหงิดสมำธิในกำรทำงำนลดลง และยงั ส่งผลถึงกำร
สูญเสียกำรไดย้ นิ

กำรจดั กำรเก่ียวกบั เสียงตำมหลกั กำรยศำสตร์ กระทำได้ 3 แนวทำง ดงั น้ี
1. กำรปรับปรุงแหล่งกำเนิดเสียง โดยใชเ้ ครื่องจกั รที่ไดม้ ำตรฐำน
2. กำรปรับปรุงเส้นทำงผำ่ นของเสียง กำรติดต้งั วสั ดุดูดซบั เสียง
3. กำรปรับปรุงท่ีตวั ผปู้ ฏิบตั ิงำน โดยใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงำนใชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั เสียง และ
หมุนเวยี นพนกั งำนออกไปทำงำนในสถำนที่อ่ืนบำ้ ง

21

2. แสงสว่าง (illumination)

หำกแสงสวำ่ งนอ้ ยเกินไปทำใหเ้ กิดอำกำรเมื่อยตำปวดศีรษะ
ประสิทธิภำพในกำรทำงำนลดลง บรรยำกำศในกำรทำงำนไม่ดี หำกแสงสวำ่ งมำก
เกินไป ทำใหส้ ุขภำพของตำแยล่ ง เกิดกำรอกั เสบ และทำใหเ้ กิดกำรผิดพลำดใน
กำรทงำนไดเ้ ช่นกนั

กำรจดั กำรเก่ียวกบั แสงสวำ่ งตำมกลกั กำรยศำสตร์ สำมำรถกระทำไดโ้ ดย
จดั ระดบั แสงสวำ่ งใหเ้ หมำะสมกบั ลกั ษณะงำนท่ีทำ จดั ใหพ้ ้นื ท่ีทำงำนมีแสงสวำ่ ง
กระจำยอยำ่ งสม่ำเสมอ และจะตอ้ งใชแ้ สงสวำ่ งที่ไม่ทำใหเ้ กิดอำกำรพร่ำตำ ซ่ึง
อำกำรพร่ำตำเกิดข้ึนเม่ือปริมำณแสงสวำ่ งมีมำกเกินกวำ่ ท่ีตำจะปรับได้ ทำให้
ควำมสำมำรถในกำรมองเห็นลดลง

22

การใช้แสงเพ่ือไมใ่ ห้เกิดอาการพรา่ ตา กระทาได้ดงั นี้
1. ลดค่าความสว่างของแหล่งกาเนิดแสง
2. ใช้ท่ีกาบงั แสงหรอื ม่านบงั แสงหรือฉาก
3. เพิ่มความสว่างพืน้ ที่รอบๆ แหลง่ กาเนิดแสงพร่าตา
4. วางตาแหน่งของดวงไฟหรือพืน้ ท่ีให้เหมาะสม
5. หลีกเล่ียงการใช้วสั ดสุ ะท้อนแสง

23

3. อณุ หภมู ิ (Temperature)

อุณหภูมิที่ไม่เหมำะสมจะส่งผลต่อประสิทธิภำพในกำรทำงำน เช่น
อำกำศร้อนอบอำ้ ว ทำใหเ้ กิดควำมอ่อนเพลีย เมื่อยลำ้ หรือเวลำที่อำกำศเยน็ เกินไป
ทำใหเ้ กิดกำรไม่ต่ืนตวั ไม่กระฉบั กระเฉง ดงั น้นั จึงตอ้ งมีกำรปรับอุณหภูมิใน
สถำนที่ทำงำนใหเ้ หมำะสม โดยปกติอุณหภูมิในร่ำงกำยมนุษยจ์ ะอยปู่ ระมำณ 37
องศำเซลเซียส หรือ 98.6 องศำฟำเรนไฮต์ และจำกกำรศึกษำเก่ียวกบั อุณหภูมิที่
เหมำะสมของมนุษยจ์ ะอยทู่ ่ี 19-26 องศำเซลเซียส

24

แนวทางการแก้ปัญหาความร้อนในสถานท่ีทางาน มีดงั นี้

1. ใช้เคร่ืองจกั รทางานแทนคนในบริเวณที่ทางานท่ีมีความร้อนสงู

2. เพิ่มความเรว็ ลมและจดั ให้มีการหมนุ เวียนถา่ ยเทเพ่ือให้อากาศดีขึน้

3. ทาฉากกนั้ ระหว่างแหล่งกาเนิดความร้อนกบั ผปู้ ฏิบตั ิงาน
4. ห้มุ แหลง่ กาเนิดความรอ้ นด้วยฉนวนความร้อน
5. ลดอณุ หภมู ิโดยใช้เครือ่ งปรบั อากาศหรือป้อนความเยน็ เฉพาะจดุ
6. มีกฎบงั คบั ให้สวมใส่เคร่ืองป้องกนั อนั ตรายจากความร้อน เช่น หน้ากาก
นิรภยั ชดุ ป้องกนั ความร้อน

7. จดั หาน้าด่ืมบริเวณท่ีทางาน ขณะทางานควรด่ืมน้าอ่นุ และหลงั ควรด่ืมน้าเยน็

8. คดั เลือกบคุ คลท่ีเหมาะสมกบั งาน รา่ งกายสมบรู ณ์ ทางานในท่ีอากาศร้อนได้

9. ลดเวลาทางานท่ีต้องสมั ผสั อากาศรอ้ นให้น้อยลง
10. ตรวจสขุ ภาพพนักงานก่อนปฏิบตั ิงาน และระหว่างปฏิบตั ิงานเป็นระยะ

25

แนวทางการแก้ปัญหาความเยน็ ในสถานที่ทางาน มีดงั นี้

1. ใชฉ้ ำก หรือกำบงั ป้องกนั เพ่ือลดควำมเร็วของลมท่ีจะมำปะทะตวั ผปู้ ฏิบตั ิงำน
2. จดั สถำนท่ี หรือจุดปฏิบตั ิงำนโดยหลีกเล่ียงกำรสมั ผสั กบั กระแสลม
3.เพ่ิมควำมหนกั ของงำน แต่ตอ้ งไม่ทำใหม้ ีเหง่ือออกมำเกินไป
4. เพมิ่ ปริมำณควำมร้อนจำกกำรแผร่ ังสี เช่น กำรติดต้งั เคร่ืองทำควำมร้อน เป็นตน้
5. ออกกฎใหใ้ ชอ้ ุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรำยจำกควำมเยน็ เช่น หมวก ถุงมือ ถุงเทำ้ รองเทำ้
6. ลดระยะเวลำทำงำนที่ตอ้ งสมั ผสั กบั อำกำศเยน็ ใหน้ อ้ ยลง
7. ตรวจสุขภำพพนกั งำนก่อนกำรปฏิบตั ิงำน และระหวำ่ งปฏิบตั ิงำนเป็นระยะ

26