ท พ ก ใกล ม.ธรรมศาสตร ร งส ต pantip 2562

สมาชิกหมายเลข 715730

เจ่เจ้กุ้ง

Faraday

สมาชิกหมายเลข 2148931

สมาชิกหมายเลข 4761286

สมาชิกหมายเลข 6951284

น้าลีโอ

สมาชิกหมายเลข 3725852

ถ้าหากพรุ่งนี้เช้าฉันไม่ตื่น

สมาชิกหมายเลข 3191240

ดาว เนร์โยี หบลเดรยีจ1งา โกบดรยทะบรอำ�บาลจึกTาจUรายDกพ์ Cกวาโงดรรสยตั ัมนนภ์ าปายฐษอมณรส่า์ ริ มศริ าักดสษวต์งรจาันจทารร์ย์คนึง ฦๅไชย เม่ือวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2562

16 60 ปี รศ.ดร.พันธ์ุทพิ ย์ กาญจนะจติ รา สายสนุ ทร

Robert Schuman de Strasbourg ประเทศฝรง่ั เศส และสอนวิชากฎหมาย ระหวา่ งประเทศอยทู่ ่ีคณะนิติศาสตรข์ ณะนัน้ กฎหมายระหว่างประเทศจึงเป็น เหตุทที่ �ำ ใหม้ ารจู้ กั กัน

อาจารย์พันธุท์ ิพย์ เรียกอาจารย์คนงึ วา่ อาจารย์ แม้ว่าอาจารย์คนึงจะ ไม่เคยสอนอาจารย์พันธุ์ทิพย์ในชั้นเรียนเลย แต่ในคราวท่ีอาจารย์คนึงมาสอน ในคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นช่วงที่เกิดสมาคมอาเซียนฯ (ASEAN) ขนึ้ แล้ว ดว้ ยความท่ี “เหมอื นเจอผู้ทีค่ ุยในเรอ่ื งเดียวกันได้ คอื ชอบ กฎหมายระหวา่ งประเทศ” อาจารยพ์ นั ธท์ุ ิพย์ กบั อาจารย์คนงึ ก็มกั จะชวนกัน คุยเก่ียวกับอนาคตของภูมิภาคอาเซียนและการร่วมกลุ่มประชาคมมาต้ังแต่ เมื่อ 30 ปีท่ีแล้วก็ว่าได้ ตอนน้ันเราก็แลกเปล่ียน และคิดคล้ายกันในแง่ว่า อาเซยี นคงจะตอ้ งพฒั นาคลา้ ยกบั สหภาพยโุ รป หรอื อยี ู แลว้ พอถามวา่ เชน่ นนั้ อาเซียนจะพัฒนาอย่างไร เราก็เห็นในทำ�นองคล้ายกันว่า กฎหมายเก่ียวกับ การคา้ ธรุ กิจระหว่างประเทศ ของประเทศในอาเซยี นควรท�ำ ใหร้ ูปแบบเหมอื น กันก่อน เพราะเป็นธรรมดาท่ีเร่ืองเกี่ยวกับการค้าและธุรกิจจะต้องเคลื่อนย้าย ในอาเซยี นก่อนเร่ืองอ่นื ๆ กฎหมายเรือ่ งนีจ้ งึ จำ�เป็นต้องถกู พัฒนา

ผูร้ ่วมอุดมการณ์ รว่ มงานและสานตอ่

ด้วยความทอ่ี าจารยค์ นงึ กับอาจารย์พันธ์ุทพิ ย์ เหมอื นว่า “มอี ุดมการณ์ เดียวกันว่าจะต้องพัฒนาให้ประเทศไทย และกระตุ้นนักศึกษา ให้เห็นความ ส�ำ คญั ของกฎหมายระหวา่ งประเทศทจ่ี ะมผี ลใชใ้ นประเทศไทย โดยเฉพาะเรอื่ ง เศรษฐกิจ” เมอ่ื คุยกนั ไปในทางเดียวกนั ตา่ งฝา่ ยตา่ งทบทวนและกเ็ ห็นตรงกนั ว่า เพ่ือจะพัฒนาความรู้กฎหมายระหว่างประเทศในประเทศไทยให้รองรับ ดาวอน์โาหเลซดียจนากรกะ็คบวบรTตU้อDงCสรโดา้ ยงตนา�ำ ยรอารก่าฎมหดวมงาจยันทอร์าจารย์พนั ธุ์ทพิ ยเ์ ปน็ คนชวน กระตนุ้

บทร�ำ ลึก 17

ให้อาจารย์คนึงเขียนหนังสือชื่อ หลักกฎหมายธรุกิจระหว่างประเทศแผนก คดีบุคคล โดยมีส่วนรวบรวมจากคำ�บรรยาย เพราะจะได้มีเอกสารสำ�หรับ นักศึกษากฎหมาย อาจารย์พันธ์ุทิพย์มีส่วนช่วยอย่างมากที่ผลักดันทำ�ให้ อาจารย์คนงึ เขยี นหนังสือเลม่ น้สี �ำ เร็จเป็นรูปเป็นร่างในปี พ.ศ. 2540 และจาก ความสามารถท่ีอาจารย์พันธุ์ทิพย์เรียนมา อาจารย์คนึงเลยชวนมาเขียนหัวข้อ WTO กับธุรกิจระหว่างประเทศในประเทศไทย ให้กับหนังสือเล่มน้ี ก็นับว่า นอกจากคดิ ก็ได้รว่ มงานเขียน ดว้ ยกัน

“อาจารย์พันธุ์ทิพย์เป็นเหมือนเพื่อนร่วมคิดสำ�หรับอาจารย์คนึง ใน ความเชอ่ื ทจ่ี ะตอ้ งพฒั นากฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดบี คุ คลในประเทศไทย” แม้กระทั่ง การปรับปรุงหนังสือว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย ท่ีตอนนั้นก็คิด คล้ายกันว่าจะต้องทำ�ให้สำ�เร็จ เพ่ือให้นักกฎหมายได้ใช้ เพราะเม่ือมีอาเซียน ย่อมมีประเด็นคนต่างสญั ชาติ และการข้ามชาตกิ ันมากข้ึนเร่อื ย ๆ และควรทำ� หนังสือให้เข้าถึงและอ่านเข้าใจง่าย อาจารย์พันธุ์ทิพย์ก็ระดมกลุ่มลูกศิษย์ ของตัวเองและลูกศษิ ยอ์ าจารย์คนึง มาช่วยท�ำ ใหห้ นงั สอื น้ันสำ�เร็จลง

อาจารย์พันธ์ุทิพย์ชวนอาจารย์คนึงไปเป็นประธานสอบวิทยานิพนธ์ เกย่ี วกับกฎหมายระหวา่ งประเทศหลายครง้ั ถ้าเทา่ ทผ่ี สู้ ัมภาษณถ์ าม อาจารย์ คนึงคิดว่า “อาจารย์พันธ์ุทิพย์เป็นเพื่อนทางวิชากฎหมายระหว่างประเทศท่ี ส�ำ คญั มากคนหนงึ่ ของอาจารยค์ นงึ อาจมากเปน็ ล�ำ ดบั หนงึ่ ในแงผ่ ทู้ อี่ าจารยค์ นงึ หารอื แลกเปลยี่ นมมุ มองในการพฒั นากฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดบี คุ คล และอาเซยี น” เหมอื นกบั ทท่ี กุ ๆ ครง้ั ทคี่ ณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ จดั เสวนาวชิ าการแกอ่ าจารย์คนงึ ในรอบหลายปีน้ี อาจารยค์ นึงกจ็ ะขออาจารย์ พนั ธท์ุ พิ ยท์ จ่ี ะเลอื กหวั ขอ้ เกย่ี วกบั อาเซยี นและกฎหมายระหวา่ งประเทศแผนก ดาวคน์โดหีบลดุคจคาลกรตะลบอบดTUเDรCาคโดิดยเหนามยืออนรา่ กมันดวว่างจเันราทตร์ ้องช่วยกันสร้างนักกฎหมายระหว่าง

18 60 ปี รศ.ดร.พันธท์ุ ิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ประเทศจำ�นวนมาก มาช่วยพัฒนาเร่ืองนี้ในประเทศไทยและในประชาคม อาเซียน

อาจารยพ์ นั ธท์ุ พิ ยม์ งุ่ มนั่ กบั การใชก้ ฎหมายกบั เรอ่ื งจรงิ ใน สงั คม

อาจารยค์ นงึ คดิ วา่ “อาจารยพ์ นั ธท์ุ พิ ยเ์ ปน็ ผทู้ จ่ี รงิ ใจกบั ชาวบา้ นและคน อพยพอย่างมาก” หมายถึง “เป็นคนจริงจังทุ่มเทที่จะให้ความช่วยเหลือ ชาวบา้ น” อาจารย์พนั ธุท์ พิ ยน์ น้ั จบการศึกษาเกยี่ วกบั ธรุ กิจ และก็ยังมีมมุ มอง เสรมิ ในเรอื่ งสทิ ธมิ นษุ ยชนควบคกู่ บั ธรุ กจิ มาโดยตลอดตง้ั แตร่ จู้ กั กนั เหมอื นเรอ่ื ง การแกป้ ญั หาสัญชาติให้กบั ชาวบ้านซ่ึงเปน็ เรอื่ งทดี่ มี าก เขาไมไ่ ด้ละเลยในสิง่ ที่ ศกึ ษามา เพราะอาจารยพ์ ันธุ์ทพิ ยม์ คี วามรู้และยึดม่ันในหลักกฎหมาย แลว้ ยัง มคี วามสนใจในอกี เรอื่ งท่ีเป็นประโยชนอ์ ันเปน็ เร่ืองทค่ี นเดือดรอ้ น มนั เลยกลับ ท�ำ ใหเ้ ขาไดใ้ ชค้ วามรกู้ ฎหมายไปชว่ ยคนอน่ื ซงึ่ ตรงนเ้ี สมอื นวา่ “เขาเปน็ อาจารย์ สอนกฎหมายที่เป็นตัวอย่างอันดีแก่ลูกศิษย์ไปในตัว” แล้วก็ยังได้ “นำ�เอา ปัญหา หรือ เร่ืองจริงที่เกิดข้ึนในประเทศไทยมาสอนลูกศิษย์ในห้องเรียน กฎหมาย มาทำ�ให้คนเรียนกฎหมายได้รับรู้ มันก็ยิ่งทำ�ให้นักศึกษาได้เห็นเร่ือง จริงท่ีควรเห็น เป็นสิ่งท่ีมีคุณค่าในการสอน” และก็เป็นประโยชน์ทำ�ให้ ประเทศไทยเข้าใจปัญหา

เปน็ อาจารยก์ ฎหมายในวยั หกสบิ ปเี พอ่ื ประเทศไทยตอ่ ไป

ในวัยหกสิบปีของอาจารย์พันธุ์ทิพย์ อาจารย์คนึงขออวยพรให้อาจารย์ พนั ธท์ุ พิ ยม์ สี ขุ ภาพแขง็ แรง คงไมข่ อกลา่ วอะไรมากนอกจากใหอ้ าจารยพ์ นั ธท์ุ พิ ย์

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอร่าม ดวงจันทร์

บทรำ�ลึก 19 เป็นอย่างท่ีเป็นต่อไป “รักษาความเข้มข้นท่ีมีต่อสิทธิมนุษยชนอย่างที่อาจารย์ พันธ์ุทิพย์เป็นมาตลอด” และ “อยากให้อาจารย์พันธ์ุทิพย์น้ันเป็นอาจารย์ สอนกฎหมายในมหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป”เพราะ อาจารยค์ นงึ คดิ วา่ การเปน็ อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ทอี่ อกมาชว่ ยเหลอื คน แลว้ นำ�เรอื่ งจรงิ ๆ ในสงั คมมาสอนนกั ศกึ ษา อยา่ งเช่นที่อาจารยพ์ นั ธทุ์ พิ ยท์ ำ�นนั้ เปน็ เรือ่ งท่ไี ม่ได้ทำ�งา่ ย แต่เป็นสิง่ ท่คี วรทำ� เป็นคุณประโยชน์ท่ีจำ�เป็น และเชื่อว่าเป็นลักษณะ “อาจารย์สอนกฎหมายที่ ประเทศไทยจะต้องมอี ย่”ู นน่ั เอง

ศาสตราจารยค์ นึง ฦาไชย

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอร่าม ดวงจันทร์

20 60 ปี รศ.ดร.พนั ธท์ุ พิ ย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ค�ำ นิยม



รองศาสตราจารย์ ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร เป็น ผเู้ ชย่ี วชาญด้านกฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีบคุ คลอันดับตน้ ๆ ของไทย เป็นผู้บุกเบิกงานด้านการแก้ไขปัญหาเรื่องคนไร้รัฐไร้สัญชาติ หรือปราศจาก หลกั ฐานทางทะเบยี นราษฎรเพอื่ แสดงตวั ตนในสงั คมไทย ซงึ่ เคยเปน็ ปญั หาใหญ่ ท่ีถูกปกปิดซ่อนเร้นไว้ ให้เป็นที่รับรู้และตระหนักถึงความสำ�คัญของปัญหา ทั้งยังได้เสนอแนวทางพัฒนากฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีงานวิจัยรองรับ สนับสนุนจนเป็นที่ประจักษ์ถึงความจำ�เป็นและประโยชน์ท่ีจะได้จากการ ปรับปรุงกฎหมายเพื่อแก้ไขปัญหาเร่ืองนี้ให้คล่ีคลายไปตามลำ�ดับ ทำ�ให้เกิด พัฒนาการของกฎหมายท่ีเก่ียวข้องหลายฉบับ เช่น กฎหมายว่าด้วยสัญชาติ กฎหมายว่าดว้ ยคนเข้าเมอื ง และกฎหมายการทะเบียนราษฎร เป็นต้น

นอกจากงานด้านกฎหมายที่ท่านเชี่ยวชาญแล้ว ท่านอาจารย์ ดร. พันธ์ุทิพย์ยังได้นำ�แนวทางการทำ�วิจัยทางนิติศาสตร์ท่ีเน้นประเด็นปัญหาท่ี เป็นอยู่จริงในสังคมไทยปัจจุบันเป็นโจทย์วิจัย มีบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีกำ�ลัง ตกทุกข์ได้ยากเพราะปัญหาน้ันอยู่จริง โดยคณะผู้วิจัยไม่เพียงแค่ทำ�แบบ สอบถามส่งไปขอข้อมูลและความคิดเห็นจากผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายเท่านั้น แต่จะ ต้องลงไปเผชิญหน้ากับปัญหาร่วมกับบุคคลท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่ายเพื่อรับรู้ถึง สภาพและสาเหตุแหง่ ปญั หาในเชิงประจักษ์ ทัง้ ยงั มสี ่วนให้ความช่วยเหลือทาง ดาวกนโ์ฎหหลดมจาากยรแะบกบ่ผู้ปTUรDะCสโบดยปัญนาหยอารไ่าปมใดนวงโจอันกทารส์ เดียวกัน ทำ�ให้สามารถออกแบบ

บทร�ำ ลกึ 21

แนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวได้อย่างลงตัวบนพ้ืนฐานของเหตุการณ์จริง การวจิ ยั ทางเอกสารและกฎหมายเปรยี บเทยี บจะถกู น�ำ มาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบ การวเิ คราะหแ์ ละสนบั สนนุ ขอ้ เสนอในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายและระเบยี บ ปฏิบัติให้มีส่วนในการแก้ปัญหาท่ีเป็นโจทย์วิจัยได้อย่างเป็นรูปธรรมและย่ังยืน ซงึ่ แนวทางการท�ำ วจิ ยั แบบนจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คมไดด้ กี วา่ และมโี อกาสจะ ถูกนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากฎหมายได้มากกว่าวิจัยทางเอกสารและ กฎหมายเปรยี บเทยี บเพยี งดา้ นเดยี ว

สง่ิ ส�ำ คญั อกี ประการหนงึ่ ซง่ึ ท�ำ ใหท้ า่ นอาจารย์ ดร. พนั ธท์ พิ ยเ์ ปน็ ยง่ิ กวา่ นกั กฎหมายแถวหนา้ และนกั วชิ าการดเี ด่นกค็ อื ความเป็น “คร”ู ผู้หว่ งใยและ ผ้ใู หส้ ง่ิ ดี ๆ ท้งั หลายที่ท่านมีแกล่ กู ศษิ ย์อย่างต่อเนอ่ื งสมํา่ เสมอ ทา่ นให้หลกั คดิ หลกั การท�ำ งาน และหลกั วชิ าแกศ่ ษิ ยท์ กุ รนุ่ ทกุ คน โดยไมม่ กี ารหวงกนั เกบ็ ซอ่ น ไว้ ท่านทักท้วงติติงในส่ิงท่ีผิดพลาด เพื่อเปิดโอกาสให้เกิดการปรับปรุงแก้ไข ไมผ่ ดิ ซา้ํ อกี ตอ่ ไป ทา่ นชนื่ ชมในผลงานทท่ี รงคณุ คา่ ของศษิ ย์ และหาทางยกยอ่ ง ให้เปน็ ที่รับรู้ของสังคม นบั ว่าเปน็ แบบอยา่ งของ “ครูกฎหมาย” ทที่ รงคุณค่า ของวงการศกึ ษากฎหมายไทยทหี่ าไดย้ ากยงิ่ ในยุคนี้

ผมรู้สึกเป็นเกียรติ และมีความสุขอย่างยิ่งที่ได้มีโอกาสร่วมแสดงความ ชนื่ ชมในความเป็น รองศาสตราจารย์ ดร. พันธ์ุทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร ในวาระทท่ี ่านจะเกษยี ณอายรุ าชการปลายปนี ี้

ศาสตราจารยพ์ ิเศษจรญั ภักดธี นากุล ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ มนี าคม 2562

ดาวนโ์ หลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจนั ทร์

22 60 ปี รศ.ดร.พันธท์ุ ิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ระร่นื -ระลึก-ร�ำ พึง-ร�ำ พัน.....ธุท์ ิพย์



ชาวธรรมศาสตร์ท่ีจะต้องเรียนปีหนึ่ง ณ คณะศิลปศาสตร์ก่อนแยกไป ตามสายวชิ าทต่ี นเลอื กคงไมม่ ใี ครไมเ่ คยเดนิ เขา้ ออกทางประตดู า้ นทา่ พระจนั ทร์

ปลายปี 2519 ขณะนั่งรับประทานข้าวหน้าเป็ดอยู่ท่ี “นิวย่งฮ้ัว” ผม ไดย้ นิ เสียงพูดวา่

“เบอ่ื จรงิ ๆ นอ่ี ะ เดย๋ี วจะตอ้ งไปเปลย่ี นเปน็ กระโปรงกอ่ นเขา้ ธรรมศาสตร”์ ผมหันไปถามว่า “คณุ จะเขา้ เรยี นหรอื คะ?” เธอมองหน้าผมด้วยความสงสยั ว่าใครมาพดู กบั เธอ ผมพูดต่อไปว่า “มหาวิทยาลัยกำ�หนดใหแ้ ต่งเครื่องแบบสำ�หรับพธิ กี าร ดาวสน์โ่วหนลนดจอากกจระาบกบนTนั้ UใDหCแ้ โตดง่ ยกนาายยสอุภร่าามพดวงจนั ทร์

บทร�ำ ลกึ 23 ดงั นนั้ คงตอ้ งพจิ ารณาเองวา่ อยา่ งไร สุภาพและเหมาะกบั สถานการณ์ เช่น หากต้องเคล่ือนไหว ปีนป่าย ตอกตะปู เพื่อทำ�กิจกรรมของชมรม คุณก็ สวมกางเกงได้” เธอฟงั ดว้ ยความสนใจ ยิ้มและเดินออกไป นั่นคอื ครัง้ แรกท่ีผมได้พบกับทา่ น และผมกม็ ไิ ดแ้ นะน�ำ ตวั ทา่ นคงสงสยั วา่ ผมรู้อะไรเก่ยี วกบั ระเบยี บ มธ. อกี สามปีตอ่ มา ท่านคงจะนง่ั เรียน กฎหมายระหว่างประเทศแน่ ๆ แต่ ผมไม่ทันสังเกตว่าอยแู่ ถวไหน ประมาณ 2541 พบท่านอีกครั้งในวิชาสิทธิมนุษยชน คราวนี้มีผู้เรียน ประมาณ 10 คน จงึ รจู้ กั กนั ดขี น้ึ บรรยากาศเปน็ การคยุ กนั เสยี มากกวา่ บรรยาย ผลการประเมินออกมาดว้ ยระดบั สูงสุดเทา่ ที่จะพงึ ได้รบั

ความประทบั ใจครงั้ แรก

แม้ท่านจะมีความคิดและการดำ�รงตนเป็นตัวเองค่อนข้างมากแต่ก็ยัง อยู่ในกรอบของมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัด ต่างจากบางคนท่ีหากไม่ชอบ ข้อกำ�หนดกฎเกณฑ์ก็จะทำ�เป็นไม่รู้ไม่ชี้หรือถึงขนาดตั้งใจฝ่าฝืน โดยคิดว่า คงรอดหูรอดตาเจ้าหน้าท่ไี ปได้

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอร่าม ดวงจันทร์

24 60 ปี รศ.ดร.พันธท์ุ พิ ย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ประมาณปี พ.ศ. 2528 ทราบว่าท่านได้รับทุนไปเรียนท่ี Robert Schuman de Strasbourg ผมรู้สึกช่ืนชมนักเรียนต่างชาติทไี่ ปทำ� Doctorat มากเพราะผมเคยนั่งเรียนหลักสูตรสั้น ๆ สอง สามเดือน ณ Institut Inter- national des Droits de l’homme เมืองเดียวกับท่ีมหาวิทยาลัยนี้ต้ังอยู่ แตผ่ มอา่ นเอกสารทเี่ ขาก�ำ หนดใหจ้ ากหลงั อาหารเยน็ ถงึ ตหี นง่ึ ตลอดระยะเวลา 12 สปั ดาห์ ยงั ได้ไม่ถงึ ครึ่งหนึง่ ท่ีจำ�เป็นตอ้ งรู้ เพอ่ื ตดิ ตามค�ำ สอนและสัมมนา

การที่ท่านจบมาไดน้ ัน้ น่าทง่ึ จรงิ ๆ

ความประทบั ใจครั้งท่ีสอง

เมื่อจบแล้วมาเป็นอาจารย์ ท่านได้ผสมผสานความรู้เข้ากับข้อเท็จจริง ของสังคมที่เหล่ือมลาํ้ ได้เขา้ ไปช่วยเหลอื ผู้ด้อยโอกาสในกรณสี �ำ คญั ๆ เช่น

  1. ชาวบ้านแม่อายจำ�นวน 1,243 คน ถูกถอนช่ือออกจากทะเบียน ราษฎรจนกลายเป็นคนไร้สัญชาติ ช่วง พ.ศ. 2545-2548 ซึ่ง ขณะน้ีแม้ยังไม่ครบทุกคนแต่เกือบทั้งหมดก็กำ�ลังทยอยเข้ารับ สัญชาตไิ ทย

นับเป็นคดปี ระวตั ศิ าสตรเ์ รื่องสัญชาติไทยท่ีข้ึนสศู่ าลปกครอง

  1. การผลกั ดนั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางกฎหมายแกค่ นทเ่ี กดิ ในประเทศไทย

แต่ยังไร้สัญชาติ- เรื่อง “นายหม่อง ทองดี” ซึ่งเป็นลักษณะผู้ทำ� คุณประโยชน์ให้ประเทศไทยอันจะทำ�ให้เป็นคดีตัวอย่างให้กับ ผู้ที่มีปัญหาในทำ�นองเดียวกันได้เข้าสู่กระบวนการที่ถูกต้องตาม กฎหมายไทย ด้วยความรู้ความสามารถบวกคุณงามความดีอันเป็นที่ประจักษ์ ต่อมา ดาวจนโ์งึ หไลดด้รจับากกราะรบแบตT่งUตD้ังCใหโด้เปย็นนสายมอารชา่ มกิ สดวภงาจปันทฏรริ ์ ูปแห่งชาติ

บทรำ�ลกึ 25

พ.ศ. 2562 เวลาผ่านไปด้วยความรวดเร็ว พวกเราจึงมาร่วมกนั ระลกึ ถึง ทา่ นด้วยความยนิ ดี

นพนธิ ิ สรุ ิยะ มีความภาคภูมิใจเปน็ อยา่ งยิง่ ทีม่ โี อกาสเป็นครขู อง ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนจิตรา ผซู้ งึ่ เห็นแกค่ วามสุขของผอู้ ืน่ มากกวา่ ของตนเอง

ENFIN, PERMETTEZ-MOI DE VOUS DIRE QUE CHAQUE ALPHABET DE SON NOM REPRESENTE LES ELEMENTS SUIVANTS :

P = paraître : Elle a plus de connaissances qu’elle n’en laisse paraître. H = humaine : Elle est humaine. U = usage : Elle peut vous fournir les références d’usage. N = nouvelle : Elle se bat inlassablement pour la cause d’une nouvelle vie des défavorisés. T = tâche : Elle prend à tâche de decouvrir la vérité. H = humble : Elle est humble de coeur. I = incontesté : Son dévouement pour une vie meilleure au bénéfice des autres est incontesté. P = prodigienx : Ses services publics sont prodigienx.

นพนธิ ิ สรุ ิยะ

ดาวนโ์ หลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจนั ทร์

26 60 ปี รศ.ดร.พนั ธุท์ พิ ย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ร�ำ ลึกความหลงั ครง้ั “แหวว” ยงั เป็นนกั ศึกษานติ ฯิ



ผู้เขียนได้รับการทาบทามให้เขียนบทรำ�ลึกในหนังสือที่คณะนิติศาสตร์ มธ. จัดทำ�เน่ืองในโอกาส รองศาสตราจารย์ ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร อายุ ครบ 60 ปี ผเู้ ขยี นตอบรบั ดว้ ยความยนิ ดอี ยา่ งยงิ่ ทไ่ี ดม้ สี ว่ นรว่ ม ในการจดั ทำ�หนงั สือเลม่ น้ี

ในปี 2519 ปีแรกที่ผู้เขียนเริ่มเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจำ�คณะ นิติศาสตร์ งานหนึ่งซึ่งอาจารย์ในคณะทุกคนต้องทำ�คือ การทำ�หน้าท่ีเป็น “อาจารย์ท่ีปรึกษา” จำ�ได้ว่าวันแรกท่ีมีโอกาสพบนักศึกษารหัส 19 ที่อยู่ใน ทปี่ รกึ ษา ในกลมุ่ น้ันมีเดก็ สาวใส่แว่นตา หน้าตาสดใส น่ารกั ผวิ พรรณดี เวลา พูดจาชัดเจน สุภาพเรียบร้อย เสียงใสไพเราะ แนะนำ�ตัวว่าช่ือ พันธ์ุทิพย์ กาญจนะจิตรา ช่ือเล่น แหวว เป็นคนเชียงใหม่ จึงกล่าวได้ว่า ผู้เขียนพบกับ รองศาสตราจารย์ ดร. พันธ์ุทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร ต้ังแต่ปี 2519 ขณะท่ีท่านยังเป็นผู้เยาว์ จนถึงขณะท่ีเขียนบทความน้ี ท่านมีอายุครบ 60 ปี บริบูรณ์ เรียกว่าเป็นวัยเกษียณแล้ว นับเป็นเวลาท่ีพบและรู้จักกันยาวนานถึง 40 กว่าปี

ตลอดระยะเวลา 40 กว่าปีน้ัน ย่อมตอ้ งมเี ร่อื งราวมากมาย ความผกู พนั ระหว่างเรา 2 คน มีหลายสถานะรวมกัน ตั้งแต่ ครูกับศิษย์ รุ่นพ่ีกับรุ่นน้อง เพ่ือนร่วมงาน และที่สำ�คัญคือความรักและปรารถนาดีระหว่างกันท่ีพัฒนาต่อ ดาวเนนโ์ ห่ือลงดจจนากเประ็นบคบวTาUมDผCูกโพดยันฉนาันยทอร์พ่า่ีกมับดนวง้อจงันใทนร์ครอบครัวเดียวกันก็ว่าได้ ขณะท่ีเริ่ม

บทร�ำ ลกึ 27 จะเขียนบทรำ�ลึกนี้ ภาพเหตุการณต์ ่าง ๆ กิจกรรมต่าง ๆ ทั้งด้านการทำ�งาน และการใช้ชีวิตส่วนตัวในอดีต ผุดขึ้นมาในหัว อยากเขียนเล่าเพื่อรำ�ลึกถึง ความผูกพนั ระหวา่ งเรา 2 คนในมมุ ตา่ ง ๆ ไปเสียทกุ เร่อื งราว เพราะเปน็ ความ ทรงจ�ำ ทดี่ ี ๆ ของผเู้ ขยี นทงั้ สนิ้ แตด่ ว้ ยขอ้ จ�ำ กดั ของพนื้ ทใ่ี นการน�ำ เสนอบทร�ำ ลกึ ผู้เขียนจึงขอเล่าเพียงบางเรื่องที่ผู้เขียนจำ�แม่นอยู่ในใจและเป็นสิ่งทีผู้เขียนได้ เห็นและเชื่อว่าเป็นลักษณะเด่นอันเป็นพ้ืนฐานท่ีดีที่มีอยู่ในตัวของ “แหวว” ต้ังแต่ยังเป็นเด็กนักศึกษา เม่ือหลอมรวมกับความใฝ่รู้และใฝ่หาประสบการณ์ ในด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะเป็นประโยชนต์ อ่ สังคมในเวลาต่อ ๆ มา จึงพัฒนาตวั ตนจน เติบโตเป็นนกั วชิ าการทป่ี ระสบความสำ�เรจ็ มีผลงานเปน็ ท่ปี ระจักษ์ และเปน็ ท่ี ยอมรบั นบั ถือในสงั คมดังเช่นทุกวันน้ี

ปี 2521 ผู้เขียนได้รับมอบหมายจากคณะฯ ให้เป็นผู้จัดการวารสาร นิติศาสตร์ ซ่ึงมี อาจารย์ชาติชาย อัครวิบูลย์ เป็นบรรณาธิการ ในสมัยนั้น วารสารนิติศาสตร์ประสบความสำ�เร็จตามเป้าประสงค์คือเป็นเวทีให้อาจารย์ นกั ศกึ ษากฎหมาย และนกั กฎหมายทวั่ ไปไดเ้ ผยแพรค่ วามรผู้ า่ นบทความตา่ ง ๆ คุณภาพของบทความที่ลงพิมพ์ล้วนเป็นบทความที่ดีและน่าสนใจ แต่วารสาร นติ ศิ าสตรย์ งั มปี ญั หาดา้ นการจดั การเพราะไมส่ ามารถพมิ พอ์ อกเผยแพรไ่ ดต้ าม ก�ำ หนด (ก�ำ หนดปลี ะ 4 เลม่ รายไตรมาส) เนื่องจากคณะฯ ขาดบคุ ลากรทจี่ ะ ช่วยจัดทำ� ดังนั้น อ.ชาติชาย และผู้เขียนจึงหารือกันว่าน่าจะให้นักศึกษาเข้า มาช่วย มอบหมายให้มีหน้าท่ีและรับผิดชอบเป็นกองบรรณาธิการและ กองจัดการ ซ่ึงนอกจากคณะฯ จะได้ผู้มาช่วยทำ�งานแล้ว ยังเป็นการฝึกให้ นักศกึ ษาทสี่ นใจในการทำ�วารสารทางวชิ าการไดร้ ูจ้ กั งานการทำ�วารสาร ใหไ้ ด้ เรียนรู้ว่าระบบ ข้ันตอนการทำ�วารสารตั้งแต่เร่ิมต้นจนออกเผยแพร่มีอย่างไร อีกด้วย การหานักศึกษามาช่วยงานก็ใช้วิธีการให้คณาจารย์ในคณะบอกต่อ ๆ ดาวกน์โนั หไลปดยจางั กนรกัะบศบกึ ษTUาDในCทโดปี่ ยรนกึ าษยาอรดา่ ว้มยดเวหงตจันนุ ที้ “ร์แหวว” ซง่ึ อยใู่ นทปี่ รกึ ษาของผเู้ ขยี น

28 60 ปี รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร จึงได้อาสาเข้ามาเป็นหนึ่งใน “กลุ่มวารสารนิติ” (เป็นช่ือท่ีสมาชิกในกลุ่ม นกั ศกึ ษาเรียกกนั เอง) รว่ มกบั พ่ี ๆ เพอื่ น ๆ น้อง ๆ ในคณะฯ โดย อ. ชาตชิ าย และผู้เขียนได้แบ่งกลุ่มนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ตามความสนใจของ นักศึกษาแต่ละคน ต้ังเป็นกองบรรณาธิการกับกองจัดการ แต่ในการทำ�งาน นอกจากงานตามหน้าท่ีของกลุ่มแล้ว ทั้งสองกลุ่มจะช่วยกันทำ�งานสนับสนุน ซึง่ กนั และกัน (ดรู ายช่ือกองบรรณาธกิ าร และกองจัดการในครง้ั นั้น ตามรูป)

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจันทร์

บทรำ�ลึก 29

แหววเปน็ หนงึ่ ในกองบรรณาธกิ ารทท่ี �ำ หนา้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ รบั หนา้ ที่ ตดิ ตามผเู้ ขยี นบทความซงึ่ บรรณาธกิ ารไดต้ ดิ ตอ่ เบอ้ื งตน้ ไวแ้ ลว้ เพอ่ื ใหไ้ ดต้ น้ ฉบบั บทความจากผู้เขียนส่งโรงพิมพ์ตามกำ�หนดเวลาท่ีวางไว้ งานน้ีแหววทำ�ได้ดี เพราะเป็นคนเรียบร้อยมีสัมมาคารวะ รู้จักพูด จึงได้รับความเมตตาและ ความรว่ มมอื จากผใู้ หญท่ แ่ี หววไปตดิ ตอ่ ดว้ ยเสมอ หลงั จากนนั้ กองบรรณาธกิ าร จะทำ�หน้าท่ีตรวจปรู๊ฟบทความท่ีได้รับการเรียงพิมพ์จากโรงพิมพ์ให้ถูกต้อง ตามตน้ ฉบบั และเนอ้ื หา ซง่ึ แหววกท็ �ำ ไดด้ เี พราะเปน็ คนมคี วามละเอยี ดรอบคอบ การทำ�หน้าที่นี้เองทำ�ให้ แหวว จำ�เป็นต้องอ่านบทความท่ีตนได้รับมอบหมาย ให้ตรวจทุกบทความอย่างละเอียด ต้องอ่านให้เข้าใจเน้ือหาที่ผู้เขียนนำ�เสนอ เพ่อื จะได้ตรวจสอบวา่ โรงพิมพ์เรียงพมิ พ์ข้อความตกหล่น หรือเรยี งผิด หรอื ไม่ ในขณะเดยี วกนั ตอ้ งตรวจสอบตวั สะกดทกุ ค�ำ ทกุ บรรทดั เพราะบางครงั้ ตน้ ฉบบั ก็อาจเขียนหรือพิมพ์ผิด หรือตกหล่นด้วย ตรวจสอบการเว้นวรรคตอนให้ถูก หลักภาษาไทย ดงั นัน้ การตรวจปรู๊ฟจึงมใิ ช่เพียงตรวจให้ตรงกับต้นฉบับทกุ ตวั อักษรเท่านั้น แหววเคยบอกว่า แหววเหมือนถูกบังคับให้ต้องอ่านบทความที่ ลงพมิ พใ์ นวารสารแตล่ ะฉบบั ตง้ั แตย่ งั เปน็ นกั ศกึ ษา ท�ำ ใหไ้ ดค้ วามรหู้ ลากหลาย ด้านตามเน้ือหาบทความเหลา่ น้ัน นอกจากนัน้ การได้อา่ นบทความทเี่ ขยี นโดย นักวิชาการหลาย ๆ ทา่ น แต่ละท่านจะมีวธิ กี ารนำ�เสนอเนอ้ื หาในรูปแบบ ลลี า และสำ�นวนการเขียนท่ีแตกต่างกัน ทำ�ให้แหววได้เรยี นรูผ้ า่ นประสบการณ์การ เปน็ กองบรรณาธกิ ารดงั กลา่ วแลว้ น�ำ มาปรบั ใชแ้ ละพฒั นาตอ่ ยอดเปน็ การเขยี น บทความของตนไม่มากก็น้อย นอกจากงานด้านกองบรรณาธิการ แหววยัง ได้ช่วยงานกองจัดการ ด้านการหาสปอนเซ่อร์ลงวารสารเพ่ือเป็นทุนในการ ดำ�เนินงาน การติดต่อร้านหนังสือเพ่ือวางจำ�หน่ายวารสาร การบริหารสต๊อค ดาววนา์โหรลสดาจรากตรละบอบดจTนUDเกCบ็ โดเงยนิ นจาายกอรร่าา้ มนดหวนงจงั ันสทอื ร์เพอ่ื สง่ ใหแ้ กค่ ณะฯ ผเู้ ขยี นประทบั ใจ

30 60 ปี รศ.ดร.พันธ์ุทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร แหววและทีมงานในกองบรรณาธิการและกองจัดการทุกคนในยุคน้ันเป็นอย่าง มาก เพราะทุกคนเป็นนักศึกษาที่มีจิตอาสา ทำ�งานเพื่อส่วนรวมให้แก่คณะฯ มีความรับผิดชอบ เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต (เพราะต้องรับผิดชอบด้านการ บริหารเงินด้วย) และท่ีสำ�คัญทุกคนเป็นผู้สร้างทีมงานที่มีความสามัคคี รู้จัก ผลัดกันเป็นผู้นำ�และผู้ตามในแต่ละโอกาส จนทำ�ให้งานท่ีได้รับมอบหมาย บรรลุผล ในขณะเดียวกันทุกคนก็ไม่ได้ละท้ิงการเรียน รู้จักแบ่งเวลาเรียนกับ เวลาทำ�กจิ กรรมไดอ้ ย่างดยี ิง่ งานวารสารนิตศิ าสตร์ น้เี อง เปน็ จดุ เริ่มต้นท�ำ ให้ ผู้เขียนได้รู้จักแหววมากยิ่งขึ้น ไม่ใช่แหววในฐานะท่ีเป็นนักศึกษาคนหน่ึงในท่ี ปรึกษาเท่านั้น การทำ�งานร่วมกันอย่างใกล้ชิดในคณะฯ การไปสัมมนาต่าง จงั หวดั การจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของคณะฯ เพ่อื พฒั นาวารสารนิติศาสตร์ ท�ำ ให้ ผู้เขียนสนิทสนมกับแหววและทุกคนในกลุ่มวารสารนิติเหมือนพ่ีน้องในอีก สถานะหนงึ่ นอกเหนอื จากการเปน็ ครูกับศิษย์ นบั ต้ังแต่น้ันจนบดั นี้ แหววและ ทกุ คนใน “กลมุ่ วารสารนติ ”ิ ตา่ งไดท้ �ำ หนา้ ทข่ี องตนในดา้ นการศกึ ษา แยกยา้ ย กันทำ�การงานจนประสบความสำ�เร็จทั้งในแวดวงราชการและในแวดวงธุรกิจ เอกชน เปน็ ศิษยเ์ ก่าทีส่ ร้างความภาคภูมิใจให้แก่คณะนติ ศิ าสตร์

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจันทร์

บทร�ำ ลกึ 31

ดาวนโ์ หลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจนั ทร์

32 60 ปี รศ.ดร.พนั ธท์ุ พิ ย์ กาญจนะจติ รา สายสนุ ทร

ชว่ งทแี่ หววใกลจ้ บการศกึ ษา ผเู้ ขยี นเคยใหข้ อ้ คดิ กบั แหวววา่ แหววเปน็ คนที่สนใจสภาพแวดล้อมทางสังคม สนใจปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคม ชอบแสดง ความคิดเห็น และชอบการเรียนกฎหมาย ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก แหววเปน็ คนมพี นื้ ความรดู้ า้ นภาษาฝรงั่ เศสดมี ากคนหนงึ่ และชอบสอนหนงั สอื และสอนได้ดี (ดูจากท่ี แหววอาสาสอนภาษาฝรั่งเศสพื้นฐานเพ่ือเป็นการ เตรียมตัวไปศึกษาต่อที่ฝรั่งเศสให้อาจารย์วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ ซ่ึงไม่มีความรู้ ภาษาฝร่ังเศสเลยเพราะจบมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์) แหววน่า จะเป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ได้ดี นอกจากน้ันการเป็นอาจารย์ยังมีโอกาสได้ ศึกษาต่อตา่ งประเทศ ไดส้ อบชงิ ทนุ ไปศกึ ษาตอ่ ที่ประเทศฝรง่ั เศส อีกด้วย

ปีการศึกษา 2522 แหววจบการศึกษาได้รับปริญญานิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) ต่อมา ได้รับการคัดเลือกให้เป็นอาจารย์ประจำ�คณะ นติ ศิ าสตร์ เรา 2 คน จงึ มาเป็น “เพือ่ นร่วมงาน” ในอีกสถานะหนึ่ง

ในช่วงแรก ๆ ที่แหววเปน็ อาจารย์ประจำ�ในคณะฯ ผเู้ ขยี นได้รบั ทนุ ไป ศึกษาต่อที่ประเทศญ่ีปุ่นและเม่ือผู้เขียนจบการศึกษากลับเข้าทำ�งานท่ีคณะฯ ชว่ งนนั้ แหววไดร้ บั ทนุ และกำ�ลงั ศกึ ษาตอ่ ทปี่ ระเทศฝรง่ั เศส จงึ ไมค่ อ่ ยมกี จิ กรรม ทที่ �ำ รว่ มกัน จนกระท่ังแหวว จบการศกึ ษาชั้นปรญิ ญาเอกกลับมาจากประเทศ ฝรั่งเศส แหววจบการศึกษาทางด้านกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล กฎหมายขดั กนั และท�ำ วทิ ยานพิ นธเ์ กยี่ วกบั เรอ่ื งสญั ญาซอื้ ขายระหวา่ งประเทศ ผเู้ ขยี นมคี วามสนใจดา้ นกฎหมายขดั กนั อยแู่ ลว้ เนอ่ื งจากในขณะทศ่ี กึ ษาทญ่ี ป่ี นุ่ ผู้เขียนทำ�วิทยานิพนธ์เรื่องเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศผ่านนิติบุคคล ข้ามชาติ จึงมีความสนใจเรื่องสัญชาติของนิติบุคคล อยากทราบเพ่ิมเติมว่า ประเทศในภาคพื้นยุโรปมีแนวคิดเก่ียวกับเรื่องนี้อย่างไร ทำ�ให้ได้แลกเปล่ียน ดาวคน์โวหาลมดรจกู้ากบั รแะบหบววTใUนDปCญั โดหยานเกายยี่ อวรก่าบัมเดรวอื่ งงจกันทฎรห์ มายสญั ชาตทิ ง้ั สญั ชาตขิ องนติ บิ คุ คล

บทรำ�ลกึ 33

และสัญชาติของบุคคลธรรมดาอยู่เนือง ๆ ผู้เขียนได้รับความรู้ความเข้าใจ เพ่มิ ขึน้ จงึ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้แหววเขียนบทความทางวชิ าการเกีย่ วกบั เรื่องที่ แหววเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั ดงั กลา่ วเพอ่ื ลงในวารสารนติ ศิ าสตร์ แหววเคยบอกผเู้ ขยี น ในเวลาต่อมาว่า ผู้เขียนเป็นคนหนึ่งท่ีจุดประกายความคิดความสนใจในเร่ือง ของกฎหมายสัญชาติ แล้วจึงทำ�ให้สนใจต่อเนื่องไปจนถึงปัญหาเร่ืองคนไร้รัฐ ปญั หาด้านสิทธิมนษุ ยชน จนมผี ลงานต่าง ๆ ออกมาดงั ท่ปี รากฏ ผเู้ ขยี นปลมื้ ใจ ท่ีแหววกล่าวเช่นน้ัน แต่ผู้เขียนเชื่อว่าคนเราจะประสบความสำ�เร็จในเร่ืองใด กต็ าม ตอ้ งมีความต้งั ใจจริง ความมุมานะพยายาม อดทน และเกาะตดิ ปัญหา อยา่ งจรงิ จงั ซึ่งคุณลักษณะเหล่าน้ีมีพร้อมในตวั ของแหวว แหววน�ำ ความรทู้ าง วชิ าการของตนทมี่ มี าขบั เคลอื่ นเชงิ นโยบายและผลกั ดนั ทกุ ภาคสว่ น รว่ มมอื กบั หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทำ�งานลงลึกถึงพื้นที่ เพ่ือให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ท้ังในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และปรับปรุงแนวทางปฏิบัติ จนทำ�ให้ รองศาสตราจารย์ ดร. พันธ์ุทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร มีผลงานเป็น ท่ีประจักษ์ เป็นที่ยอมรับในสังคม และได้รับยกย่องจากคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่า เป็นผู้อุทิศตนเพ่ือส่งเสริม ปกป้อง และคุ้มครอง สิทธิมนุษยชาติด้านสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ และมอบรางวัลเกียรติยศ “ผู้อุทิศ ตนเพอื่ สทิ ธมิ นษุ ยชน” และไดร้ บั การยอมรบั จากหนว่ ยงานอนื่ ทงั้ ภาคราชการ และ NGO มีเกยี รตปิ ระวัติมากมาย ในขณะเดยี วกนั ดา้ นความเปน็ ครู แหวว ได้รับยกย่องจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้เป็น “ครูดีเด่น ด้าน สังคมศาสตร”์ อีกดว้ ย ในฐานะทีเ่ ป็น ครู พี่ เพ่ือนร่วมงาน ผูเ้ ขียนรู้สกึ ยนิ ดี และภมู ใิ จอย่างยง่ิ

เร่ืองราวต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างผู้เขียนและแหววที่สืบเน่ืองยาวนาน ดาวเนป์โหน็ ลคดวจาากมรผะกูบพบนั TUในDดCา้ โนดยตา่นงายๆอรทา่ งั้มสดว่ วนงจทนั เี่ ทปรน็ ์ เรอ่ื งงานวชิ าการ งานทไี่ มใ่ ชว่ ชิ าการ

34 60 ปี รศ.ดร.พนั ธทุ์ พิ ย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร โดยตรง เรื่องการใช้ชีวิตสว่ นตัว มที งั้ เรอ่ื งท่เี รามีความเหน็ ตรงกัน เห็นตา่ งกนั เร่ืองทที่ �ำ ให้สขุ ทุกข์ สมหวัง ผดิ หวงั ดีใจ เศร้าเสยี ใจ ผูเ้ ขยี นและแหววร่วมกัน เดนิ ผา่ นเรอื่ งราวเหลา่ นน้ั ดว้ ยความรกั และปรารถนาดตี อ่ กนั เสมอมา หากผเู้ ขยี น มีเร่ืองใดท่ีเอ่ยปากขอให้แหววช่วย แหววจะเต็มใจช่วยอย่างเต็มท่ี ไม่เคย ปฏเิ สธเลย และเชอ่ื วา่ แหววกค็ งรบั รวู้ า่ ผเู้ ขยี นกป็ ฏบิ ตั ติ อ่ แหววอยา่ งนนั้ เชน่ กนั และจะปฏิบตั ิเช่นนต้ี ลอดไป

รักและปรารถนาดีตอ่ แหววเสมอ “พี่ดา”

สุดา (วัชรวฒั นากลุ ) วิศรุตพิชญ์

ป.ล. มเี รือ่ งหน่ึงที่แหววยังท�ำ ตามค�ำ แนะนำ�ของพ่ีไม่ได้ คือ รบั ประทาน อาหารทมี่ ปี ระโยชนแ์ ละเปน็ เวลา ท�ำ งานใหเ้ ตม็ ทแี่ ตไ่ มห่ กั โหม พกั ผอ่ น ดาวนโ์ หลใดหจเ้ าพกยีระงบพบอTรUกั DษCาโสดยุขภนาายพอร.า่..ม..ดวงจนั ทร์

บทร�ำ ลกึ 35

อาจารยแ์ หวว ขวัญใจคนไร้รัฐ



รจู้ กั อาจารย์แหวว ตงั้ แตย่ ังเป็นนกั ศึกษานติ ศิ าสตร์ ธรรมศาสตร์ ตอน ท่ีอาจารย์แหวว อยู่ปีท่ีสอง ในปี พ.ศ. 2520 อาจารย์แหววกับเพ่ือน ๆ อีก สามคนไปรว่ มกจิ กรรมของสโมสรโรตาแรคท์ มธ. และไดม้ ารว่ มงานกบั กจิ กรรม ตอ้ นรับชาวญ่ีปนุ่ ทม่ี าเยยี่ ม ธรรมศาสตร์ มาเจอ อ.แหววอีกทตี อนเปน็ อาจารย์ ซงึ่ ไดท้ ำ�งานทางวิชาการ ทำ�วารสารนติ ศิ าสตร์ ไปออกคา่ ย โครงการเผยแพร่ วิชานิติศาสตร์ (คพน.) และอีกหลายกิจกรรมที่เกี่ยวกับ สัญชาติ คนไร้รัฐ และการช่วยเหลือทางกฎหมาย จนถึงปัจจุบัน ไม่น่าเช่ือว่ารู้จักอาจารย์แหวว มาถึง 42 ปแี ลว้ แตเ่ หมือนว่าเปน็ เวลาเพิ่งผา่ นไปเมื่อไม่กว่ี ันนีเ้ อง

อาจารย์แหวว เป็นคนร่าเริง และให้ความเป็นกันเอง เอ้ือเฟื้อรวมถึง ใหก้ ารช่วยเหลอื ในทกุ ๆ ดา้ นกับเพือ่ นรว่ มงาน รุน่ พ่ี ร่นุ น้อง และลกู ศษิ ยร์ วม ถงึ ประชาชนท่มี าขอค�ำ ปรึกษา พวกเราจึงมีความรู้สึกวา่ อาจารย์แหวว เปน็ ส่วนหนง่ี ของครอบครวั นติ ิศาสตร์ มธ. อยา่ งสนทิ ใจ นอกจากน้ี ยงั มีบุคลิกท่ี เอาจริงเอาจังกับการทำ�งานโดยเฉพาะงานท่ีได้รับมอบหมาย จึงเป็นท่ีเห็น เด่นชัดท้ังในคณะนิติศาสตร์ ระดับประเทศ และระหว่างประเทศว่า อาจารย์ แหวว เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญและสรา้ งผลงานมากมายทงั้ ทเ่ี ปน็ หนงั สอื และในเวปไซต์ เกี่ยวกับกฎหมายสัญชาติ รวมถงึ คนไรร้ ัฐ และได้วางรากฐานของการพจิ ารณา เกี่ยวกับสัญชาติให้กับเจ้าหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทย เก่ียวกับเรื่องการ ดาวพนโ์ จิ หาลรดณจาากสระญั บชบาTตUินDี้C โดย นายอรา่ ม ดวงจนั ทร์

36 60 ปี รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจติ รา สายสุนทร

แม้จะมีอายุครบหกสิบปีแล้ว แต่ความสามารถด้านร่างกาย จิตใจ รวมถึงปณิฐานอันแน่วแน่ท่ีจะช่วยเหลือคนไร้รัฐที่ไม่ได้รับการยอมรับจาก รัฐไทย มิได้ลดน้อยถอยลงตามอายุท่ีเพ่ิมมากข้ึน ในทางตรงกันข้ามกลับเพ่ิม มากข้นึ อีกเป็นทวีคูณเน่ืองจากไดป้ ระสบการณ์จากการลงพ้นื ทจี่ ริง และความ เช่ียวชาญด้านกฎหมายตลอดจนมีเครือข่ายท้ังในและต่างประเทศ อาจารย์ แหวว จงึ ได้ชว่ ยเหลือคนเหล่านที้ ั้งการได้บตั รประจ�ำ ตัว และสิทธติ ่าง ๆ หลัง จากได้บตั รแล้ว ซ่ึงถอื เปน็ คุณูประการแก่คนเหล่านท้ี จี่ ะไดส้ ทิ ธิที่เขาควรจะได้ จากประเทศไทย และสามารถใชช้ วี ติ อยา่ งทคี่ วรจะเปน็ ตามทก่ี ฎหมายไทยและ กฎหมายระหวา่ งประเทศให้การรับรอง

ในโอกาสท่ีคณะผู้จดั ท�ำ หนงั สอื ทร่ี ะลกึ 60 ปอี าจารยแ์ หวว ขอให้แหวว มสี ขุ ภาพแขง็ แรง ปราศจากโรคภยั และมคี วามสขุ กบั งานทตี่ นเองชอบ รวมถงึ ได้ทำ�งานวิชาการ ลงพ้ืนท่ีในชนบทเพ่ือทำ�ตามฝันของตนอย่างต่อเน่ืองและ สรา้ งคณุ ประโยชนใ์ ห้แก่ชาวบ้าน คนไรร้ ฐั รวมถึงประเทศชาตอิ กี นานเทา่ นาน

ดว้ ยความประทบั ใจและระลกึ ถึง ณรงค์ ใจหาญ (ใหญ่)

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจันทร์

บทร�ำ ลึก 37

บทความร�ำ ลกึ รองศาสตราจารย์ ดร. พันธ์ุทพิ ย์ กาญจนจิตรา สายสนุ ทร



ความประทับใจและชื่นชมต้ังแต่ได้รู้จักมากว่า 30 ปีคือ อาจารย์ พันธุ์ทิพย์เป็นท้ังกัลยาณมิตรและเพ่ือนร่วมงานท่ีมุ่งม่ันอุทิศตัวสำ�หรับงาน วิชาการเพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคม กล่าวคือ ท่านเป็นผู้มีน้ําใจให้กับ บคุ คลทงั้ หลาย ไมว่ า่ จะเปน็ อาจารยเ์ พอ่ื นรว่ มงาน เพอ่ื นฝงู นกั ศกึ ษา โดยพรอ้ ม ทจ่ี ะใหค้ วามอนเุ คราะหอ์ ยา่ งจรงิ ใจ เชน่ การจดั ท�ำ หนงั สอื อนสุ รณส์ �ำ หรบั บรรดา คณาจารย์ในภาควิชา การจัดงานวิชาการสำ�หรับคณาจารย์อาวุโส การร่วม กิจกรรมของภาควิชากฎหมายระหว่างประเทศและของคณะนิติศาสตร์อย่าง สมา่ํ เสมอ การแนะน�ำ และสนบั สนนุ นกั ศกึ ษาทัง้ ทางวชิ าการและในการปฏบิ ัติ หน้าที่การงานต่าง ๆ อันเป็นท่ีรู้จักและเคารพนับถือในความหวังดีและเป็น กันเองจนเป็นที่มาของช่ือ “อาจารย์แหวว” สำ�หรับบุคคลทั้งหลายที่ร่วม กิจกรรมด้วย อีกทั้งความทุ่มเทในวิชาชีพครูยังทำ�ให้ได้รับเกียรติยศและการ ยกยอ่ งเป็นครดู ีเดน่ ของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรเ์ มอ่ื ปีท่ีผ่านมาดว้ ย

นอกจากน้ีอาจารย์พันธ์ุทิพย์ยังเป็นผู้อุทิศตัวอย่างมุ่งมั่นเพื่อใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการเพื่อสร้างความเท่าเทียมและเป็นธรรมให้กับสังคม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สำ�หรบั กลมุ่ คนจ�ำ นวนมากทอ่ี าศยั อยใู่ นประเทศไทยแตย่ งั ไม่ ได้รับสัญชาติไทย การปราศจากความย่อท้อและความอดทนต่อความยุ่งยาก ดาวลน์โ�ำ หบลาดกจาในกรกะาบรบเกTบ็UDขCอ้ มโดลู ยสน�ำ าหยรอบัรา่ งมานดววงจิจยัันทในร์พนื้ ทซ่ี งึ่ ไมส่ ะดวกสบายอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

38 60 ปี รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร

ยาวนานเป็นการต่อสู้ตามอุดมการณ์ที่ม่ันคงในการบรรเทาความเหล่ือมลํ้าใน สังคมเพื่อประโยชน์ของคนที่ต้องการโอกาสและเวทีในการแสดงศักยภาพใน ลักษณะที่เท่าเทียมกับคนทั่วไปในประเทศ ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจท่ีท่านได้รับ การยอมรับจากทุกภาคส่วนทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน เช่น การไดร้ ับแต่งตง้ั เปน็ สมาชกิ ในสภาปฏิรปู เปน็ ตน้

ในวาระทที่ า่ นปฏบิ ตั หิ นา้ ทมี่ าจนครบอายุ 60 ปี ในฐานะสมาชกิ คนหนง่ึ ของคณะนิติศาสตร์และของศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศ อาจารย์พันธุ์ทิพย์ นับเป็นบุคลากรท่ีมีคุณค่าควรยกย่อง และถือเป็นแบบอย่างท่ีดีในเรื่องการ ด�ำ รงตนซง่ึ ประชาคมธรรมศาสตรม์ ีความภาคภมู ใิ จเปน็ อยา่ งยง่ิ ดังนัน้ แมเ้ วลา จะล่วงเลยไป แต่ความแน่วแน่ของอาจารย์พันธ์ุทิพย์ย่อมทำ�ให้ท่านธำ�รง ความยึดมั่นในอดุ มการณเ์ พือ่ สงั คมต่อไปอีกโดยไม่หยดุ ยง้ั อยา่ งแน่นอน

จตรุ นต์ ถริ ะวัฒน์

ดาวนโ์ หลดจากระบบ TUDC โดย นายอร่าม ดวงจันทร์

บทร�ำ ลกึ 39

“อาจารย์ Well ในความคิดของข้าพเจา้ ...”



ความในใจสมยั เรยี นปี 4... รจู้ กั อาจารยแ์ หววครง้ั แรกเมอื่ เรยี นกฎหมาย ระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล ซ่ึงขณะน้ันเป็นวิชาบังคับเพียง 2 หน่วยกิต สำ�หรับนักศึกษาชั้นปีที่ 4 เป็นวิชาที่ได้ยินชื่อเสียงมาตั้งแต่เป็นนักศึกษาปี 2 แต่ขณะน้ันยังไม่ทราบว่าเนื้อหาของวิชาเป็นอย่างไรกันแน่ รู้สึกสนใจวิชาน้ี อย่างมาก เพราะเป็นวิชาท่ีบรรดาผู้สอนกฎหมายสัญญา หน้ี ธุรกิจระหว่าง ประเทศ ครอบครัว มรดก จะตอ้ งกล่าวถึงอยเู่ สมอวา่ ต่อไปนกั ศกึ ษาจะเขา้ ใจ เร่ืองสัญญา หนี้ และอ่ืน ๆ ท่ีกล่าวมามากย่ิงข้ึนเมื่อได้เรียนกฎหมายขัดกัน จงึ ต้งั ตารอเพ่ือจะได้เรยี นวิชานใ้ี นปีสุดท้าย ครั้นเมอื่ ได้เรียนวชิ าน.้ี ..เหน็ วา่ ยาก คือ เข้าใจยาก เพราะทั้งวิชาพูดถึงเรื่องหลัก ๆ อยู่หลายเรื่อง ซ่ึงล้วนแต่ เป็นเร่ืองส�ำ คญั ท้ังหมด จำ�ไดว้ ่าอาจารยแ์ หววเปน็ คนแรกทีน่ �ำ Power Point presentation มาใช้ในการสอน นักศึกษารุ่นเก่าอย่างเราพยายามปรับตัวให้ ทนั สมัยแบบอาจารย์ ตามทันบา้ ง ไมท่ นั บ้าง ยิง่ ท�ำ ใหต้ ้องตั้งใจศกึ ษาวิชานใ้ี ห้ มากกวา่ วิชาอ่นื ถงึ ขนาดไม่ลุกไปเข้าหอ้ งนา้ํ หากอาจารย์ไม่ปลอ่ ยพกั เพราะไม่ ต้องการพลาดเนื้อหาตอนใด ๆ ท้งั สิน้ ทจ่ี ำ�ได้แมน่ ยำ�คือ อาจารยแ์ หววพดู ถงึ คนไรร้ ฐั ไรส้ ญั ชาติ ซงึ่ เปน็ ครงั้ แรกทผ่ี เู้ ขยี นไดย้ นิ เรอ่ื งราวของคนเหลา่ น้ี ยอมรบั วา่ นึกสภาพไม่ออกจริง ๆ ว่า ใครกันทจี่ ะไรร้ ฐั ใครกันท่จี ะไรส้ ัญชาติ ในเม่อื ดาวเนพ์โหือ่ ลนดจๆากทระ่นี บัง่ บอTยUู่รDอCบโตดัวยผนู้เาขยยี อนรา่ลม้วดนวแงจตนั ่มทีสรัญ์ ชาตดิ ว้ ยกนั ท้งั นัน้ เรยี กว่า ย่งิ เรียน

40 60 ปี รศ.ดร.พนั ธ์ุทิพย์ กาญจนะจติ รา สายสนุ ทร

ยงิ่ แปลกใจ และแนน่ อนวา่ ชอ่ื แปลก ๆ ทนี่ กั ศกึ ษายคุ ปจั จบุ นั ไดย้ นิ แลว้ งงกม็ มี า ตัง้ แต่ยคุ นน้ั เชน่ กนั ท่ีจ�ำ ได้ติดหู คือ นายหล่อนะ อยา่ งไรกด็ ี เร่ืองราวเหล่านี้ก็ ผ่านไปโดยท่ีผู้เขียนไม่ได้เห็นความสำ�คัญมากนัก แต่ยอมรับว่าเรื่องการขัดกัน แห่งกฎหมายเป็นเรื่องท่ีดึงดูดผู้เขียนอย่างมาก ถึงขนาดต้ังใจว่าต้องศึกษาต่อ ระดับปริญญาโทและปรญิ ญาเอกด้านนี้ทป่ี ระเทศฝรัง่ เศสใหไ้ ด้ และแน่นอนว่า เม่ือมีโอกาสกต็ อ้ งหา thèse ของท่านมาอา่ นให้เปน็ บุญตา เป็นอาหารสมอง

ร่วมงานกับอาจารย์แหวว... เวลาผ่านไป... ผู้เขียนไม่ได้ติดต่อกับ อาจารย์แหววในช่วงศึกษาต่อ กระท่ังช่วงท่ีรอสอบปิดเล่มหรือ soutenance de thèse จึงได้มีโอกาสติดตามอาจารย์แหววอย่างจริงจังทาง Facebook ได้มีโอกาสแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับท่านในหลายเร่ือง และอาจารย์แนะนำ� ให้สมัครสอบอาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ ลำ�ปาง จึงได้มีโอกาสทำ�งานวิชาการในฐานะผู้สอนกฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคลร่วมกับอาจารย์แหววในที่สุด ในการทำ�งานน้ีเองท่ีผู้เขียนมี โอกาสตดิ ตามอาจารย์แหวว “ลงพื้นที่” ภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ เรียกวา่ เห็นปัญหาของคนไร้รัฐไร้สญั ชาติกค็ ราวน้ี เพราะท่านยนื ยันว่าสอนคดี บคุ คลจะตอ้ งมีความรใู้ ห้รอบดา้ นไมใ่ ช่รู้เฉพาะกฎหมายขัดกัน คอื ตอ้ งรูส้ ง่ิ ท่ยี งั คงเป็นปัญหาในประเทศของเราอีกด้วย ซึ่งต้องขอบพระคุณอาจารย์ที่มอบ โอกาสใหผ้ ู้เขียนได้สมั ผัสเรอ่ื งราวท่ีอาจารย์มักจะเรียกว่า “true story” และ เพื่อให้ท่านสบายใจว่าผู้เขียนก็ไม่ได้ดื้อดึงจนเกินไปนัก ผู้เขียนจึงหม่ันศึกษา ทบทวนความรู้เรื่องสัญชาติ คนเข้าเมืองและทะเบียนราษฎรไปพร้อม ๆ กัน ด้วยการเป็นอาจารย์สัมมนาในหัวข้อท่ีเกี่ยวกับสถานะบุคคลให้กับนักศึกษาท่ี ศนู ย์ล�ำ ปาง

ดาวน์โหลดจากระบบ TUDC โดย นายอรา่ ม ดวงจนั ทร์

บทรำ�ลึก 41

ความทา้ ทายอย่างหนง่ึ (ในหลายอยา่ ง) ทที่ �ำ ใหผ้ ูเ้ ขยี นตอ้ งปรบั ตัวก็คือ ท�ำ อยา่ งไรจงึ จะออกขอ้ สอบรว่ มกบั อาจารยโ์ ดยใชข้ อ้ เทจ็ จรงิ เดยี วกนั ได้ บรรดา ลูกศิษย์ของอาจารย์แหววคงผ่านตามาไม่มากก็น้อยว่า โจทย์ยาวมาก.... ตาม ดว้ ยคำ�ถามอีก 5 ขอ้ ที่ใชข้ ้อเท็จจริงเดยี วกันในการวนิ จิ ฉยั จะมใี ครสกั กคี่ นที่ จะทราบว่าการต้องออกข้อสอบกฎหมายขัดกันและการขัดกันแห่งอำ�นาจศาล โดยใชข้ ้อเทจ็ จรงิ ของผมู้ ีปัญหาสถานะบคุ คลนน้ั ...ไมง่ า่ ยเลย... เพราะผู้เขียนก็ ไมอ่ ยากทง้ิ ตวั ตนของตนเอง ในขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งการใหค้ วามสำ�คญั กบั ปญั หา ท่ีเกิดขึ้นจริงในประเทศไทยด้วย จึงต้องหาทางผสานสิ่งเหล่าน้ีให้ลงตัวให้ได้ การบา้ นทอ่ี าจารยแ์ หววมอบใหผ้ เู้ ขยี นจงึ มสี ว่ นชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ ขยี นตอ้ งฝกึ ฝน หาค�ำ ตอบในเรอ่ื งทตี่ อ้ งใชก้ ฎหมายวา่ ดว้ ยสญั ชาติ กฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมอื ง และการทะเบียนราษฎรอยเู่ สมอ ซ่งึ อาจารย์แหววไดก้ รณุ า “สอนทางลัด” ให้ อยเู่ นอื ง ๆ จงึ นบั เปน็ ความโชคดขี องผเู้ ขยี นทไี่ ดร้ บั ความรแู้ ละประสบการณต์ รง จากท่าน ท�ำ ใหเ้ ร่อื งยากกลายเป็นเรื่องยากนอ้ ยลงไปได้

มองอาจารยแ์ หววผา่ นงานวชิ าการ... หากจะกล่าวถึงผลงานวชิ าการ ของอาจารย์แหวว หากใครเป็นแฟนพนั ธแ์ุ ท้ของพันธ์ุทพิ ย์ คงสังเกตเห็นวา่ ใน ยุคแรกท่ีเปน็ Docteur en droit ใหม่ ๆ นัน้ งานเขยี นท้ังหมดของท่านเน้นไป ในเรื่องที่ท่านเองมักเรียกว่า “คดีบุคคลแบบฝรั่ง” แบบ Batiffol คือ ให้ ความส�ำ คัญกบั การขัดกันแห่งกฎหมาย (conflict of laws) เปน็ อย่างมาก ใน ยุคต่อมา คือยุคท่ีผู้เขียนเป็นนักศึกษาปริญญาตรี ท่านเร่ิมให้ความสนใจเร่ือง คนไร้รัฐไร้สัญชาติ คงเน่ืองมาจากภารกิจในขณะน้ันท่ีได้รับการร้องขอจาก รัฐบาลให้ศึกษาและแก้ปัญหาให้กับชาวเขา 9 เผ่า งานเขียนและงานสอนจึง เปลย่ี นจากเดมิ คอื ลงจากหอคอยงาชา้ ง ไปตามชายขอบของประเทศ ซง่ึ ผเู้ ขยี น ดาวสน์โมั หผลสัดจไดากว้ ร่าะทบบา่ นTมUคีDCวาโมดยสุขนามยาอกรใา่ นมกดาวงรจทนั ำ�ทงรา์ นช่วยเหลอื คนกลุม่ น้ี ทำ�ใหเ้ รอ่ื งราว

42 60 ปี รศ.ดร.พนั ธุท์ ิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

เชน่ เดียวกบั “น้องหมอ่ ง” และ “น้อง...” เกดิ ขน้ึ มากมายในเวลาตอ่ มา การไดม้ โี อกาสรว่ มงานกบั อาจารยแ์ หววท�ำ ใหท้ ราบอปุ นสิ ยั วา่ ทา่ นเปน็

คนมคี วามมงุ่ มน่ั และตงั้ ใจสงู จรงิ จงั ในการท�ำ งานอยา่ งมาก จะดกึ ดน่ื ขนาดไหน ก็ยังคงทำ�งานอยู่เสมอ โดยเฉพาะเม่ือต้องลงพื้นท่ี การประชุมคณะทำ�งานใน ยามดกึ จงึ เปน็ เรอื่ งปกตทิ บ่ี รรดาลกู ศษิ ยต์ อ้ งพบเจอ และตอ้ งชว่ ยกนั เตอื นทา่ น ให้หาเวลาพกั ผ่อน ดแู ลสุขภาพบ้าง การขอให้อาจารยง์ ดของหวาน ทานน้อย ๆ จึงเปน็ เรอื่ งปกตทิ ่ีลกู ศษิ ยร์ อบ ๆ ตัวท่านจะท�ำ เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั ของทา่ น อกี ประการคงเปน็ เรอ่ื งการใหท้ มี งานสรปุ งานหรอื “ถอดบทเรยี น” ทกุ ครง้ั หลงั จบภารกิจในแต่ละวนั เพ่อื จะไดเ้ ห็นปญั หา อุปสรรค เพ่ือเตรียมการปอ้ งกันไม่ ให้เกดิ ในครั้งตอ่ ไป ดังน้นั หากใครที่ฉลาด มปี ฏภิ าณดี มคี วามใฝ่รู้ ได้มีโอกาส อยใู่ กล้ ๆ ทา่ นและสงั เกตวธิ กี ารท�ำ งานของทา่ นแลว้ ละก็ คนนน้ั จะเปน็ คนทเี่ กง่ มาก ๆ อีกคนหน่งึ เลยทเี ดียว

นอกจากนี้ สิง่ สำ�คญั ที่ผูเ้ ขียนไม่อาจลืมไดเ้ ลย คอื การทอี่ าจารย์แหวว ไดก้ รณุ าแนะน�ำ ให้รจู้ กั ทา่ นอาจารยค์ นึง ฦาไชย ท่ีเคารพรกั รวมถึงผลักดันให้ ผู้เขียนเสนองานเขียนเก่ียวกับการโอนคดีระหว่างศาลสำ�หรับคดีที่มีลักษณะ ระหวา่ งประเทศ (lis pendens) ใหท้ ่านอาจารยค์ นงึ ฯ อ่านเพ่ือขอคำ�แนะน�ำ ผู้เขียนจึงได้มีโอกาสเปิดหูเปิดตาได้รับความรู้จากท่านอาจารย์คนึงฯ ผู้เป็น อาจารย์ของอาจารยอ์ ีกช้นั หน่ึง

แม้ขณะนี้ผู้เขียนมิใช่อาจารย์ประจำ�คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์อกี ตอ่ ไป แตง่ านใหม่ของผเู้ ขยี นย่งิ ท�ำ ใหร้ ะลกึ ถึงอาจารยแ์ หววอยู่ เสมอ และต้องยอมรับว่าความรู้ความเข้าใจของนักกฎหมายท่ีมีต่อกฎหมาย ระหวา่ งประเทศแผนกคดบี ุคคลนัน้ มอี ยู่น้อยมาก หรือหนว่ ยงานรฐั อนื่ ๆ ก็มี ดาวคนโ์วหาลมดเจขาก้ารใะจบเรบื่อTงUสDัญCชโดายตนิ าเรยอ่ือรงา่ กมฎดหวงมจานั ยทขร์ ัดกันคลาดเคลื่อน ผู้เขียนจึงขอเป็น

บทร�ำ ลึก 43

กำ�ลังใจให้ท่านสอนคนรุ่นต่อ ๆ ไปให้เข้าใจเนื้อหาสำ�คัญของวิชาน้ี ทั้งใน หอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรียนด้วย “เร่อื งจรงิ ” หรอื true story ของท่านตอ่ ไป ให้สังคมไทย ว่าที่นิติศาสตรบัณฑิตทั้งหลายได้ตระหนักถึงความจำ�เป็นของ กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีบคุ คล เพราะประเทศไทยไมไ่ ดอ้ ยู่อยา่ งโดด เด่ยี วในประชาคมโลก...

สดุ ท้ายนี้ ผ้เู ขยี นเสียดายอยา่ งยิ่งทีไ่ ม่มีโอกาสไดจ้ ัดท�ำ « Mélanges en l’honneur de Pantip Kanchanachitra Saisoonthorn » โดยแบ่งเป็น Tome I และ Tome II เพ่ือเปน็ อาจาริยบูชาให้ทา่ นดังที่เคยตั้งใจไว้ แต่ผเู้ ขียน ก็ยังสุขใจท่ีมีโอกาสถ่ายทอดความรู้สึกผ่านตัวหนังสือ และเขียนงานเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ท่เี กย่ี วข้องกับสิ่งทีท่ ่านสนใจใหท้ า่ นได้อา่ น เพื่อแทนค�ำ ขอบคณุ ทที่ า่ น ได้ให้โอกาส ให้คำ�แนะนำ� และให้ประสบการณ์ในการทำ�งานแก่ผู้เขียนมา โดยตลอด

ระลึกถึงอาจารยแ์ หววเสมอ... อ้อม

(ผศ.ดร. รัชนกี ร ลาภวณิชชา พรหมศกั ด)์ิ

ดาวนโ์ หลดจากระบบ TUDC โดย นายอร่าม ดวงจันทร์

44 60 ปี รศ.ดร.พันธุท์ พิ ย์ กาญจนะจติ รา สายสุนทร

จากใจ...ส่ีหมอชายแดนจังหวดั ตาก ถึงอาจารย์แหวว1



โดย โครงการสี่หมอชายแดนจงั หวัดตาก

อาจารย์แหววมักพูดอยู่เสมอว่าโครงการส่ีหมอชายแดนจังหวัดตากคือ ความฝนั ท่ีกลายเปน็ จรงิ อาจารยม์ คี วามฝันอยากให้ชาวบา้ นที่มปี ญั หาสถานะ และสิทธิได้รับการช่วยเหลือ การมีคลินิกกฎหมายอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีเต็มไปด้วย ปัญหาจึงเป็นเหมือนหนึ่งแนวทางให้ความช่วยเหลือชาวบ้านท่ีดีท่ีสุด ในขณะ เดียวกัน หมอส่ีคนในพ้ืนที่ชายแดนจังหวัดตากก็อยู่ท่ามกลางปัญหาและหา ทางออกไม่ได้ ด้วยความเห็นท่ีตรงกันระหว่างอาจารย์แหววและส่ีหมอท่ีว่า “ทุกคนมีความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน” และการอดทนไม่ได้ที่จะเห็น เพ่ือนมนุษย์ไม่ได้รับความเป็นธรรม จึงเป็นจุดเร่ิมต้นของโครงการส่ีหมอ ชายแดนจังหวัดตาก เกิดคลินิกกฎหมายเพื่อให้ความช่วยเหลือชาวบ้านท่ีมี ปัญหาสถานะและสิทธิ ในโรงพยาบาลชุมชนชายแดนจังหวัดตาก โครงการนี้ เป็นเสมือนการเติมเต็มความฝันให้แก่กัน ระหว่างคนวิชาชีพกฎหมายและ

1 โครงการส่ีหมอชายแดนจังหวัดตาก ได้จัดทำ�บทรำ�ลึกฉบับน้ีจัดทำ�จากงานเขียนของ นพ.จริ พงศ์ อุทยั ศลิ ป์ และนพ.ธวัชชัย ย่ิงทวศี กั ด์ิ ทม่ี ีต่อ รศ.ดร.พนั ธุ์ทิพย์ รวมถึงการให้สมั ภาษณ์ ของ นพ.วรวิทย์ ตันติวัฒนทรัพย์ และ นพ.ศักด์ิบัญชา สมชัยมงคล โดยผ่านการรวบรวมและ เรยี บเรยี งจนแลว้ เสร็จเป็นบทรำ�ลกึ โดย น.ส.วิกานดา พัตบิ รู ณ์ นักกฎหมายประจ�ำ คลนิ ิกกฎหมาย ดาวเโนสรโ์ มงหพอลมยดาาจบากาลระอบุ้มบผาTงUDผCู้เปโ็นดลยูกนศาิษยยอ์ใรน่าหม้อดงวเงรจียันนทแรล์ ะนอกห้องเรียนของท่านอาจารย์พันธุ์ทิพย์

บทรำ�ลกึ 45 วิชาชีพแพทย์ ผลที่ได้รับคือความเป็นธรรมที่เกิดแก่ชาวบ้าน การร่วมงานกัน กอ่ ให้เกดิ เป็นความรกั ความผูกพนั และความเคารพศรทั ธาตอ่ กนั ส่หี มอจงึ ขอ ใช้โอกาสนี้ ในวาระที่อาจารย์แหววอายุครบ 60 ปีและดำ�เนินชีวิตอาจารย์ กฎหมายเพื่อประชาชนแสดงความในใจที่มีต่ออาจารย์แหวว ผ่านตัวหนังสือ และบทสัมภาษณ์

“ผู้เขียนตระหนักได้ว่า ท่ามกลางปัญหาท้ังหลายน้ัน หากมีใครสักคน ลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อจัดการปัญหานั้น ทุกสาเหตุท่ีสร้างปัญหาก็จะถูกแก้ไขได้ แม้ตัวกฎหมายจะสร้างความไม่เป็นธรรม ใครคนนั้นก็จะแก้ไขกฎหมายน้ันให้ ดีได้ หรือแม้ผู้รักษาการตามกฎหมายจะไม่ทำ�หน้าที่ของตน ใครคนนั้นก็จะ จดั การให้เกิดการรักษาการตามกฎหมายได้ หรือแมเ้ จา้ ของปญั หาเองไม่ร้จู ักที่ จะใช้สิทธิ ใครคนน้ันก็จะนำ�ทางเจ้าของปัญหาสู่ความเป็นผู้ทรงสิทธิ หรือแม้ ชุมชนท่ีเจ้าของปัญหาปรากฏตัวอยู่ จะเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงสิทธิของ ดาวเนจโ์ หา้ ลขดอจงาปกรญั ะหบบา TใUคDรCคโนดนยนั้นกาย็จอะรจ่ามัดกดวางรจอนั ปุทรส์ รรคต่าง ๆ ที่เกิดขนึ้ ได้ เรามักเรียก

46 60 ปี รศ.ดร.พนั ธ์ทุ ิพย์ กาญจนะจิตรา สายสนุ ทร

ใครคนนั้น วา่ นักต่อสเู้ พือ่ สทิ ธิมนษุ ยชน” ข้อความน้ี อาจารย์แหวว (รศ.ดร. พนั ธท์ุ ิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร) กล่าวไว้ในบทความท่ีเขยี นลงในวารสาร เพ่ือวันรพีประจำ� พ.ศ. 2557 คำ�กล่าวนี้คือชีวิตการทำ�งานของอาจารย์แหวว โดยแท้จริง ข้าพเจ้าในฐานะแพทย์ท่ีทำ�งานในโรงพยาบาลชายแดนและเคย ท�ำ งานรว่ มกบั อาจารยแ์ หววมาหลายปี ขอยนื ยนั เรอ่ื งนี้ ในบทบาทของการเปน็ นกั ตอ่ สู้เพ่ือสทิ ธิมนุษยชน

อาจารย์แหววเป็นผู้ริเริ่มผลักดันให้ 4 โรงพยาบาลชายแดน2 ของ จังหวัดตากตั้งคลินิกกฎหมายเพื่อให้การช่วยเหลือแก่ผู้มีปัญหาสถานะบุคคลฯ อาจารยแ์ หววเลอื กโรงพยาบาลอมุ้ ผางเป็นแหง่ แรก ส�ำ หรบั ใครทเี่ คยไปอ�ำ เภอ อุ้มผางมาแล้ว คงทราบดีถึงความยากลำ�บากในการเดินทาง ความทุรกันดาร ของพื้นที่ แต่ที่อาจไม่ทราบคือ เกือบคร่ึงหน่ึงของประชาชนในพื้นที่ตกอยู่ใน สภาพการเป็นบุคคลไร้รัฐไร้สัญชาติ การที่อาจารย์เลือกที่น่ีเป็นแห่งแรกแสดง ถงึ การเปน็ ผมู้ คี วามมงุ่ มน่ั กลา้ หาญ เปน็ นกั สู้ งานคลนิ กิ กฎหมายในโรงพยาบาล เปน็ เรอ่ื งใหม่ การทจี่ ะท�ำ ใหแ้ พทย์ พยาบาล ซง่ึ เปน็ บคุ ลากรหลกั เขา้ ใจ ตระหนกั และให้การสนับสนุน ไม่ใช่เร่ืองง่าย อาจารย์แหววจึงต้องสวมบทครูสอนวิชา กฎหมายสัญชาติให้แพทย์ พยาบาล และบุคลากรอื่นของโรงพยาบาล ทำ�ให้ พวกเราเข้าใจถงึ รากเหง้าของปญั หาและสาเหตุของโรคไร้รฐั และยาวเิ ศษก็คอื การท่ีแพทย์ พยาบาล และบุคลากรที่เกี่ยวข้องทำ�หน้าที่ของตนตามกฎหมาย ผลลพั ธก์ ค็ อื ทารกทกุ คนท่ีเกิดในโรงพยาบาลท้งั 4 แหง่ ได้รบั การจดทะเบยี น การเกดิ มีเลข 13 หลกั ไมต่ กอยใู่ นฐานะคนไรร้ ัฐ และเกือบทงั้ หมดได้รบั หลกั ประกันสขุ ภาพ

ดาว น์โหลดจ2า กโรระงพบยบาTบUาลDอCมุ้ ผโดายง,นโรางยพอยราา่ บมาลดแวมงจร่ นัะมทารด์ , โรงพยาบาลพบพระ, โรงพยาบาลทา่ สองยาง

บทร�ำ ลกึ 47

นอกเหนือจากงานในโรงพยาบาลแล้ว อาจารย์แหววยังสนใจและให้ ความสำ�คัญกับการลงพ้ืนที่ อาจารย์ตระหนักว่า หมออนามัย3 คือบุคลากร สาธารณสขุ ทม่ี คี วามใกลช้ ดิ กบั ประชาชนมากทสี่ ดุ หมออนามยั สว่ นใหญท่ �ำ งาน ในพ้ืนท่ีมานาน รู้จักคน รู้ความเป็นมา หมออนามัยหลายคนเคยตกอยู่ใน ฐานะบุคคลไร้สัญชาติ อาจารย์แหววจึงไม่พลาดท่ีจะทำ�หน้าที่ครูสอนวิชา กฎหมายสญั ชาตใิ ห้กับหมออนามยั และผลงานสำ�คญั ของหมออนามัยลกู ศิษย์ อาจารย์แหวว คือ การค้นหาและนำ�บุคคลเข้ารับการตรวจดีเอ็นเอเพ่ือพิสูจน์ สญั ชาติ เม่อื ครั้งโรงพยาบาลจุฬาฯ ลงพน้ื ท่จี งั หวัดตาก เพือ่ ตรวจดีเอน็ เอตาม “โครงการตรวจดเี อน็ เอพสิ จู นส์ ญั ชาตไิ ทยในบคุ คลไรส้ ญั ชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ 60 พรรษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี ในหว้ งเดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2558 ในครงั้ นน้ั มบี คุ คลไรส้ ญั ชาตไิ ดร้ บั การตรวจทงั้ สนิ้ 862 คน

นอกจากการเป็น นักกฎหมายนอกศาล อาจารย์นอกห้องเรียน ซึ่ง สร้างคุโณปการให้กับคนชายขอบเป็นอย่างมากแล้ว อีกเรื่องที่สร้างประทับใจ และความแปลกใจคือ การที่อาจารย์แหววมีลูกศิษย์หลายคนท่ีแม้เรียนจบไป แลว้ หลาย ๆ ปี ก็ยงั ติดตาม ตามรอย สานต่องานของอาจารยแ์ หวว ดูคลา้ ยกบั อาจารย์แหววเปน็ เจา้ สำ�นักในหนังจีนกำ�ลงั ภายในอะไรประมาณนน้ั

นพ.จิรพงศ์ อทุ ัยศิลป์ ผ้อู ำ�นวยการโรงพยาบาลแม่ระมาด

ดาว นโ์ หลดจ3า กเรจะา้ บหบนา้ TทU่ีสDาธCารโดณยสนุขปายรอะรจา่ำ�มโรงดพวงยจานับทาลรส์ ง่ เสริมสขุ ภาพต�ำ บล