การประมวลผลแบบออนไลน online process ม ล กษณะการท างานค อ

การใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาในยุคนีส้ อดคลอ้ งกบั การศึกษา 2.0 ทอี่ ยู่บนปรัชญาสร้างสรรคค์ วามรู้

(Constructivism) ซง่ึ เชื่อว่า “ความร้เู ป็นส่ิงทสี่ รา้ งขึน้ มาจากผู้เรยี นผ่านการมีปฏิสัมพันธก์ บั บคุ คลอืน่ สังคม

และบริบทจรงิ ” โดยลกั ษณะสาคัญของการศกึ ษา 2.0 คอื 1) การสรา้ งความรู้ 2) การส่อื สาร 3) การเช่ือมโยง

และ 4) การรว่ มมือ

บทบาทผเู้ รียน: เป็นผู้สร้างความรผู้ ่านการมี บทบาทครู: เป็นโค้ชและผูร้ ่วมเรียนรู้ และ

ปฏสิ มั พันธก์ ับบรบิ ทจริง การแลกเปล่ยี นประสบการณ์ คอยอานวยความสะดวกให้แก่ผูเ้ รยี นในการจดั กบั ผอู้ นื่ เพอื่ ขยายแนวคิดให้กวา้ งขวางขน้ึ เปล่ยี นจาก สภาพแวดล้อมการเรยี นรูท้ ีต่ อบสนองการสร้าง ผรู้ บั เปน็ ผตู้ ื่นตัวในการเรยี นรแู้ ละถ่ายโยงความรู้ไปสู่ ความรู้ของผู้เรียน ความรจู้ ะไมอ่ ยู่ท่ีตัวครหู รือ การแก้ปญั หาในบรบิ ทอ่ืน ตาราเทา่ น้ัน แตจ่ ะอยู่ในทุกสิ่งทุกอย่างทผ่ี ้เู รียน เผชญิ และลงมือกระทาสร้างเป็นความรู้ความ

เขา้ ใจของตนเอง

Digital 2.0 กบั การศกึ ษา 2.0 (ต่อ)

เทคโนโลยี 2.0 ทใี่ ช้ในการจดั การเรียนการสอนยุคนี้ เป็นเทคโนโลยีที่อนุญาตให้ผู้เรียน สามารถปฏิสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและผู้ใช้อ่ืน ๆ รวมท้ังอนุญาตให้เป็นผู้สร้างเนื้อหา โดยผเู้ รียนสามารถเข้าสู่สารสนเทศและเนื้อหาโดยการปฏิสมั พันธ์โดยตรงกับเน้ือหาผ่าน การแสดงความคิดเห็นการปรับเปลี่ยนและการแลกเปลี่ยน การใช้งานร่วมกันผ่าน ส่ือสังคม (Social media)

ส่ือสังคมเป็นเครื่องมือสาคัญในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้ทั้งแบบประสานเวลาและไม่ประสานเวลา การตอบกลับแบบ ทนั ทที นั ใดของเทคโนโลยสี ือ่ สารทาให้ลดช่องว่างระหว่างครู ผู้เรียนและผู้เช่ียวชาญ และ ทาให้ครู ผู้เรียนมีการเรียนรู้ร่วมกัน การปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ช่ัวโมง ทาให้เกิดความสมั พันธ์ท่ีดีระหว่างครูกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ทาให้ผู้เรียน กลา้ แสดงความคดิ เหน็ ได้มากกว่าการเรยี นรใู้ นชัน้ เรียนหรือแบบเห็นหนา้

Digital 3.0 กับการศกึ ษา 3.0

เทคโนโลยี 3.0 ท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนยุคนี้ เป็นเทคโนโลยีท่ีอยู่บนพ้ืนฐาน

แนวคดิ การเรยี นรู้สาหรบั ศตวรรษท่ี 21 โดยมีลกั ษณะเด่น คือ การเปิดโอกาสทางการศึกษา ที่ให้ความสาคัญกับบทบาทของผู้เรียนในฐานะที่เป็นผู้สร้างและประดิษฐ์ความรู้ที่ใช้ร่วมกับ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์และประโยชนท์ างสังคม มีบทบาทต่อการเรียนรู้ โดยเฉพาะการสร้าง ปฏิสัมพันธ์เช่ือมโยงกับระหว่างความรู้จากแหล่งทรัพยากรท่ีหลากหลายในลักษณะของ เครือข่ายความรู้ (knowledge network) ลักษณะสาคญั ของการศกึ ษา 3.0 คือ

 1) นักเชอื่ มต่อ (Connector) “กระบวนการเรียนการสอนและการปฏบิ ัติถูก  2. นักสรา้ งสรรค์ (Creator) กาหนดจากผ้เู รียนมากกว่าการลงมอื ทาตาม  3. นักสรา้ งสรรค์ความรู้ (Constructivist) บทเรยี นทวี่ างไว้ หรอื ออกแบบไว้”

Digital 3.0 กับการศกึ ษา 3.0 (ตอ่ )

บทบาทผ้เู รยี น: บทบาทคร:ู เปน็ ผูจ้ ัดกระบวนการเรียนรู้

เป็นผู้กาหนดความรทู้ ีต่ อ้ งการเป็นผู้เขียนความรู้ของ อานวยความสะดวก (Facilitator) และให้ ตน เป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียน (Active คาแนะนาอย่างใกลช้ ิดร่วมกบั ผู้เรียนขณะเรียน Learner) และเป็นผู้ประเมินเก่ียวกับประสบการณ์ และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตนเองทัง้ ปริมาณและคุณภาพ

การเรียนรเู้ กดิ ข้นึ จากความตอ้ งการของแต่ละบคุ คล ผเู้ รียนเปน็ ผูจ้ ัดการ วางแผน ควบคุมการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองในลักษณะทเ่ี ปน็ สง่ิ แวดล้อมการเรียนรสู้ ว่ นบคุ คล ชว่ ยให้ ผเู้ รียนพฒั นาตนเองไดต้ ามศกั ยภาพและความตอ้ งการเสรมิ ทไ่ี ม่จากดั

Digital 3.0 กับการศกึ ษา 3.0 (ตอ่ )

เทคโนโลยีที่ใช้ในยุค 3.0 เป็นเทคโนโลยีท่ีตอบสนองการจัดการเนื้อหาที่

มุ่งสร้างความเก่ียวข้อง การมีปฏิสัมพันธ์ และเครือข่ายให้ผู้เรียนมีอิสระ เป็น ระบบท่ีง่ายพร้อมใช้และอยู่บนฐานของความสนใจแต่ละบุคคล เว็บ 3.0 ทาให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์ท่ีดีมากขึ้นผ่านการสร้างความเช่ือมโยงความรู้จาก เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เกิดการเรียนรู้แบบเปิด และแหล่งทรัพยากรการศึกษา แบบเปิด เช่น MOOC, Coursera, Khan Academy, Edx เปน็ ตน้

เทคโนโลยีและอปุ กรณเ์ คล่อื นท่ี อย่างสมาร์ทโฟน มคี วามสาคญั อยา่ งมากสาหรับการเรยี นรู้ในยุค 3.0 เนอ่ื งจากสนับสนุนการเข้าถงึ ความรู้ การแลกเปลยี่ น และการสร้างความเช่ือมโยงทเี่ กิดขึน้ ได้อยา่ ง รวดเร็ว ทุกที่ ทกุ เวลา

Digital 3.0 กับการศกึ ษา 3.0 (ตอ่ )

ส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรู้ท่ีบูรณาการเทคโนโลยีเข้าไป สนับสนุนการศึกษา 3.0 มลี ักษณะดงั นี้

 กาหนดวัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้จากสง่ิ ท่ีผู้เรียนตอ้ งเรียนรู้และพัฒนา ซงึ่ เป็นส่งิ ทีม่ า จากตวั ผู้เรยี นบนพน้ื ฐานความหลากหลายของผลลพั ธ์การเรียนรูใ้ นรายวชิ า

 ใชส้ ือ่ และเครือข่ายสงั คมเปน็ เครื่องมือท่สี าคญั เพ่อื การพัฒนาการเรยี นรแู้ บบ แกป้ ญั หาทตี่ อบสนองตอ่ สถานการณ์โลกปัจจุบนั

 ใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นเครอื่ งมอื ในการสรา้ งความเชอ่ื มโยงระหว่างโหนดของความรจู้ าก แหล่งทรพั ยากรตา่ ง ๆ เชน่ ผูเ้ ชี่ยวชาญ ครู เพอื่ น เปน็ ตน้

 มงุ่ เน้นกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือกันสรา้ งความรู้และการเรยี นร้สู ว่ นบุคคล

Digital 4.0 กบั การศึกษา 4.0

ยคุ 4.0 เปน็ ยคุ ท่มี กี ารเปลีย่ นผ่านสาคัญของสงั คมโลกจากระบบเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม มาสู่ ระบบเศรษฐกิจที่ใชค้ วามรเู้ ป็นฐานและเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ การพัฒนาประเทศและเศรษฐกจิ ซ่งึ ขับเคลื่อนด้วยพ้นื ฐานของการใช้ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรคง์ าน และการใช้ทรัพยส์ ินทาง ปัญญา การส่ังสมความรู้ของสังคมและเทคโนโลยี/นวตั กรรมสมยั ใหม่ แทนทกี่ ารใชแ้ รงงานมาสู่ การใชส้ มองและปฏสิ มั พันธ์ และการใช้เทคโนโลยที กั ษะขัน้ สูงเพือ่ ช่วยในการเพิม่ ผลผลติ ให้มาก ขนึ้ และสร้างสรรค์มากขน้ึ

ระบบเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม ระบบเศรษฐกจิ สร้างสรรค์

Digital 4.0 กับการศึกษา 4.0

การจดั การเรียนการสอนยุคการศกึ ษา 4.0 เป็นการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นใหผ้ ้เู รียน สามารถนาความร้ทู ีม่ ีอยทู่ ุกหนทกุ แห่งบนโลกน้ีมาบรู ณาการเชงิ สร้างสรรค์เพื่อพัฒนา นวัตกรรมต่าง ๆ ทต่ี อบสนองความต้องการของสังคม

เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนยุค 4.0

ผู้เรียน 4.0 “เน้นใหผ้ เู้ รียนสามารถนาความรู้ทมี่ ีอยทู่ ุกหน ทกุ แหง่ บนโลกนี้มาบรู ณาการเชิงสรา้ งสรรค์ เพอื่ พฒั นานวัตกรรมต่าง ๆ มาตอบสนองความ

ต้องการของสงั คม”

เป็นผแู้ สวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองโดยใชว้ ิธีการเรยี นรูท้ ่เี หมาะและสอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของตนเอง สามารถประยกุ ตอ์ งค์ ความรูแ้ ละทกั ษะท่ตี นเองถนดั มาตอ่ ยอดโดยการสรา้ งเป็นผลงานของตนเองท่สี รา้ งสรรคแ์ ละแปลกใหม่ สามารถแกป้ ัญหา ระหวา่ งการสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดด้ ว้ ยตนเอง และเผยแพรผ่ ลงานของตนเองผ่านชอ่ งทางและแพลตฟอรม์ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่าง

เหมาะสม

ผู้เรียน 4.0

การพัฒนาการศึกษาในยุคดจิ ิทัลนั้นครผู ้สู อนและบคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งร่วมกันพัฒนาผเู้ รียน ใน 3 ดา้ นสาคญั ไดแ้ ก่

1. ด้านความรู้ 2. ดา้ นทกั ษะ

ต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรอบรู้สิ่งรอบตัว ทักษะท่ีต้องพัฒนาในยุคดิจิทัล ได้แก่ ทักษะด้านเทคโนโลยี ท่ีพร้อมสาหรับการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ทักษะการทางาน ทักษะการคิดจินตนาการ ทักษะการแสวงหา อนาคต ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการคิดวิเคราะห์ การจัดการ บุคคล การประเมิน การตัดสินใจ และความยืดหยุ่นใน 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สถานการณ์ท่ีเหมาะสม ทักษะการบริการ ทักษะการส่ือสาร ทักษะการบูรณาเชิงสร้างสรรค์ท่างวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และทักษะการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต

คณุ ลักษณะทค่ี รตู ้องพัฒนาให้แกผ่ เู้ รียน ได้แก่ ความอดทน กล้าคดิ กลา้ ทา ทางานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้ มีความฉลาดทาง อารมณ์ มีคุณธรรม มเี มตตา มรี ะเบยี บวนิ ัย มคี วามมุ่งมน่ั สรรคส์ รา้ งส่งิ ใหม่ ๆ หรอื นวัตกรรมจนสาเร็จ ยอมรบั ในกฎ กติกาของสังคมและการดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การปรับเปลยี่ นบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนา การศึกษาต้องมกี ารปรบั ทักษะและปรับกระบวนการทางานของครใู ห้ สอดคล้องกบั ความเปลยี่ นแปลงอย่างเหมาะสมและร้เู ท่าทัน

ครู 4.0

เป็นครูมืออาชพี มคี วามรใู้ นสาขาวิชาที่สอนเปน็ อยา่ งดี มีความรใู้ นศาสตร์การสอน สามารถ ปฏบิ ตั กิ ารสอน มศี ลิ ปะในการสอนและจดั ประสบการณ์การเรียนรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รียนโดยบรู ณาการ เทคโนโลยีเขา้ ส่รู ะบบการเรยี นการสอนในลักษณะการผสมผสานระหวา่ งหอ้ งเรียนปกติกบั ห้องเรียน ออนไลน์ หรอื การผสมผสานการใชเ้ ทคโนโลยีในชน้ั เรยี นเพ่อื ให้ผูเ้ รียนคน้ พบวิธกี ารเรยี นรขู้ องตนเอง และเปน็ ผู้เรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิต

ส่งิ ที่ครยู ุคดิจทิ ัล 4.0 ต้องทา ไดแ้ ก่

 การออกแบบระบบการเรยี นให้รองรบั อปุ กรณใ์ ชง้ านไดห้ ลากหลาย ท้งั บนคอมพวิ เตอร์ และสมาร์ทโฟน

 การใชร้ ะบบ Data และ Tracking ผู้เรียนรายบุคคลเพ่ือตดิ ตามวา่ ผเู้ รียนมีความ เข้าใจในเรอื่ งที่เรียนมากนอ้ ยแค่ไหน รวมถึงการดึงเอาข้อมูลเหลา่ น้มี าใช้ในการ

วางแผนเพอ่ื ปรับปรงุ ระบบการสอนให้ดียิ่งขึน้

 การเปดิ ชอ่ งทางใหผ้ เู้ รยี นสามารถถามคาถามท่สี งสัยเก่ียวกับเนอ้ื หา

 การมชี ่องทางใหแ้ จง้ เจ้าหนา้ ที่เมอ่ื พบปัญหาการใชง้ านระบบการเรยี น

แนวทางการจดั การจดั การศึกษาในยุคดจิ ทิ ัลทม่ี เี ทคโนโลยีเป็นฐานสาคญั จึงจาเป็นย่ิงที่ การศึกษายุคดจิ ทิ ลั สถานศึกษาต้องปรบั ตวั และปรบั เปลี่ยนกระบวนการบริหารและการจดั การให้ สอดคล้องกบั การเปลยี่ นแปลง ดงั นี้

 1. ดา้ นหลักสตู ร เน้อื หาสาระองค์ความรู้ไมแ่ ยกส่วนจากกัน ครอบคลุมท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะ และ คุณลกั ษณะ มีความยืดหย่นุ ตามบรบิ ท เช่ือมโยงและสอดแทรกขอบข่ายสหวิทยาการสาหรบั

ศตวรรษท่ี 21

 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้เน้นวิธีการเรยี นรเู้ ชิงนวตั กรรมทบี่ รู ณาการเทคโนโลยีสบื คน้ และ ใช้เน้อื หา เป็นฐานสอนในบริบททีเ่ ปน็ จริง สร้างทกั ษะการคดิ ในขนั้ ท่ีสงู และซับซ้อนขึน้

3. ดา้ นการวดั ผลประเมินผลปฏริ ูปแนวการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ในรูปแบบ

 ใหมท่ ่เี น้นทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 วธิ กี ารวัดผลประเมนิ ผลที่หลากหลาย เนน้ การสะทอ้ นผล

การ ปฏิบัติของผ้เู รยี นเพอ่ื การเรียนรู้ประจาวัน

แนแนวทวทางากงากราจรดัจัด การจดั การศกึ ษาในยคุ ดิจทิ ลั ทมี่ เี ทคโนโลยเี ป็นฐานสาคญั จึงจาเป็นยง่ิ ที่ กากราศรกึศษึกษายาุคยดุคจิดทิจทลิั ลั สถานศึกษาตอ้ งปรับตวั และปรับเปลีย่ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การให้ สอดคลอ้ งกับการเปลีย่ นแปลง ดังนี้

 4. ดา้ นการพฒั นาสื่อ สร้างความรู้ในการใชส้ ื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยหี ลากหลาย ส่อื จาก ICT

ระบบ Internet ในการสบื คน้ ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มลู ขนาดใหญ่ “โลกคอื ห้องเรยี น”

 5. ด้านบุคลากร ม่งุ สูเ่ ปา้ หมาย และมลี ักษณะได้แก่ 1) มวี ิสัยทศั นด์ ้าน ICT 2) จัดโครงสร้าง พ้นื ฐาน Hardware, Software, Network 3) พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รียน 4) พฒั นาสือ่ และกจิ กรรมทีเ่ น้น

การ เรียนรู้ดว้ ยตนเองของผเู้ รียน 5) เน้นใหผ้ ูเ้ รยี นให้สามารถประเมนิ ความก้าวหน้าของตนเอง 6)

จดั หาส่ือเทคโนโลยที ่เี อ้ือต่อการเรียนรู้7) พัฒนาทักษะพ้นื ฐานและคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น 8) วจิ ัย