Obpk vกล มผ ม ส วนได ส วนเส ยค อ

หนูแก่กลับมาแข็งแรง สมอง ตับ ไต ทำงานดีขึ้น ส่วนหมูก็มีเนื้อเต่งตึงขึ้น แล้วถ้าใช้ "มณีแดง" กับมนุษย์สูงวัย ก็คาดว่าจะทำให้เซลล์ชราเยาว์วัย-แข็งแรงขึ้น เทียบได้กับคนอายุ 25 ปี ฟังดูเหมือนโฆษณาชวนเชื่อ แต่นี่เป็นผลงานการวิจัยของนักวิจัยไทย ที่หวังสร้างยาอายุวัฒนะแบรนด์ไทย ให้ดังไกลถึงระดับโลก

Show

วานนี้ (12 ก.ค.) ศ.ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย พร้อมด้วย รศ.นพ.ฉันชาย สิทธิพันธุ์ คณะบดี คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาฯ รวมถึงคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ จัดการแถลงข่าวที่อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ จุฬาฯ ถึงความคืบหน้างานวิจัย "โมเลกุลมณีแดง" ซึ่งเป็นนวัตกรรมต้านเซลล์ชรา จากการทดสอบในสัตว์ ก่อนจะเตรียมทดสอบในมนุษย์ในอีก 8 เดือนต่อจากนี้

โมเลกุลมณีแดง หรือชื่อภาษาอังกฤษคือ RED-GEMs ย่อมาจาก REjuvenating DNA by GEnomic Stability Molecules เป็นผลจากการต่อยอดการพบ "กลไกต้นน้ำของความชรา" บริเวณรอยแยก (youth-DNA-gap) ตรงจุดที่มีดีเอ็นเอแมดทิเลชัน (DNA methylation) และเป็นที่มาของโมเลกุลมณีแดง

สรรพคุณของโมโลกุลมณีแดง มีดังนี้

1. ยีนที่ทำหน้าที่ "กรรไกร" สร้างรอยแยกดีเอ็นเอที่เริ่มลดลงจากความแก่ชรา จนทำให้หมุนตัวไม่ได้อย่างปกติ และถูกทำลายได้ง่าย

2. ผู้รับมณีแดงจะมีดีเอ็นเอแข็งแรงขึ้น เซลล์ที่เสื่อมลงจะกลับมาดีขึ้น

Obpk vกล มผ ม ส วนได ส วนเส ยค อ

ที่มาของภาพ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำบรรยายภาพ,

ทดลองมณีแดงในหนู หมู ลิง แล้ว

"จนเข้าสู่การทดสอบในสัตว์คือ หนู หมู และลิง โดยได้ทดสอบกับหนูวัยชราที่มีแผลเบาหวาน แผลไฟไหม้ พบว่าหนูวัยชรากลับเป็นหนูที่มีความแข็งแรงและกระตือรือร้นขึ้น ทั้งการทำงานของ สมอง ตับ และไต ในส่วนของไขมันในช่องท้องและพังผืดในตับได้ลดหายไปด้วย ด้านแผลเบาหวาน แผลไฟไหม้หายดี ไม่มีผลข้างเคียง" ศ.ดร.นพ. อภิวัฒน์ กล่าว

  • ชีวิตที่ไม่ง่ายของตายายใน “ครอบครัวข้ามรุ่น”
  • มีอะไรในกฎหมาย "ฉีดให้ฝ่อ" ป้องกันทำผิดซ้ำคดีทางเพศ และต่างประเทศทำอย่างไร
  • ทำไมโลกถึงมีคนอายุเกิน 100 ปีมากขึ้น

บีบีซีไทยประมวลผลการทดลองมณีแดงในสัตว์ จากการแถลงข่าวของทีมแพทย์และผู้บริหารจุฬาฯ ได้ดังนี้

  • หนูวัยชราที่เป็นเบาหวาน: กลับเป็นหนูที่มีความแข็งแรง กระตือรือร้นขึ้น
  • หมูแรกเกิดที่มีน้ำหนัก 100 กิโลกรัม: เนื้อสัมผัสนุ่มขึ้น แน่นขึ้น
  • ลิงแสม: ทดสอบ 3 เข็มเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ ตอนนี้ลิงแสมยังปลอดภัยดี
  • หนูที่เป็นโรคสมองเสื่อมแบบอัลไซเมอร์ พาร์กินสัน และปอดเป็นพังพืด: ยังไม่ระบุผลวิจัย

สำหรับการวิจัยนี้ ทีมวิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ร่วมวิจัยกับบริษัท ปตท. จำกัด และบริษัท อินโนบิก (เอเชีย) จำกัด

แล้วถ้าใช้ในมนุษย์ ?

พีพีทีวี รายงานอ้างอิงการแถลงข่าวของ ศ.นพ. อภิวัฒน์ ว่า หากเทียบกับหนูชราที่ได้รับมณีแดงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 2 เดือน พบว่าเซลล์ชราในตับลดลง และคืนการทำงานของสมอง ไต และไขมันช่องท้อง และภาวะดื้ออินซูลินให้กลับมาดังเดิม

"หากเปรียบกับอายุของมนุษย์ จะเหมือนลดเซลล์ชราจากอายุ 70 ปี กลายเป็น 25 ปี" ศ.นพ.อภิวัฒน์ ระบุ

ตอนนี้ ทีมวิจัยกำลังทดสอบมณีแดงในลิงแสม ซึ่งยังเหลือการเก็บข้อมูลอีก 5 สัปดาห์ จากทั้งหมด 8 สัปดาห์ รวมแล้วจะใช้มณีแดงฉีดให้ลิงแสม 8 เข็ม ซึ่งผลการทดลองจนถึงตอนนี้พบว่ามีความปลอดภัย โดยลำดับต่อไปจะเป็นการเตรียมทดสอบมณีแดงทางคลินิกในมนุษย์ คาดว่าจะเริ่มศึกษาได้อีก 8 เดือนต่อจากนี้ หรือในช่วงปี 2566

ที่เหลือจะขึ้นอยู่กับผลการทดลองในมนุษย์ ความปลอดภัยของการฉีดมณีแดงในคน ต่อยอดสู่การผลิตออกจำหน่ายเร็วสุดในปี 2567

ยาอายุวัฒนะฝีมือคนไทย เพื่อสังคมสูงวัยไทย

กรมกิจการผู้สูงอายุรายงานว่า สังคมไทยกำลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในปี 2568 หรืออีกเพียง 3 ปีข้างหน้า โดยนิยามของสังคมผู้สูงอายุ หรือ Aging Society คือสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปี ในอัตราเท่ากับหรือมากกว่า 10% หรือประชากรอาย 65 ปี อัตราเท่ากับหรือมากกว่า 7%

Obpk vกล มผ ม ส วนได ส วนเส ยค อ

ที่มาของภาพ, DONLAWAT SUNSUK/BBC THAI

ปัจจุบัน ไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเกินกว่า 20% แล้ว ไม่เพียงเท่านั้น อายุขัยเฉลี่ยของไทยยังยืนยาวขึ้นเฉลี่ยอยู่ที่ 75 ปี และคาดว่าในปี 2568 คนไทยจะมีอายุเฉลี่ยยืนยาวถึง 85 ปี

ทีมวิจัยมณีแดง จึงมองว่า มณีแดงจะเป็นอีกผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์การก้าวสู่สังคมสูงวัยของไทย เพื่อ "ยกระดับคุณภาพชีวิต" นอกเหนือจากเป็นความสำเร็จของนักวิจัยชาวไทยด้วย

คำว่า IoT หรืออินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things) หมายถึงเครือข่ายรวมของอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อถึงกันและเทคโนโลยีที่อำนวยความสะดวกในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์กับระบบคลาวด์ ตลอดจนระหว่างอุปกรณ์ด้วยกันเอง จากการเกิดขึ้นของชิปคอมพิวเตอร์ราคาไม่แพงและการสื่อสารโทรคมนาคมที่มีแบนด์วิดท์สูง จึงทำให้ตอนนี้เรามีอุปกรณ์หลายพันล้านเครื่องที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ซึ่งหมายความว่าอุปกรณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น แปรงสีฟัน เครื่องดูดฝุ่น รถยนต์ และเครื่องจักรสามารถใช้เซ็นเซอร์เพื่อรวบรวมข้อมูลและตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างชาญฉลาด

อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่งบูรณาการ "สิ่งของ" ต่างๆ ในชีวิตประจำวันเข้ากับอินเทอร์เน็ต โดยวิศวกรคอมพิวเตอร์ได้เพิ่มเซ็นเซอร์และตัวประมวลผลให้กับของใช้ในชีวิตประจำวันมาตั้งแต่ยุค 90 แล้ว อย่างไรก็ตาม ความคืบหน้าในระยะแรกยังค่อนข้างช้าเนื่องจากชิปมีขนาดใหญ่และเทอะทะ โดยมีการใช้ชิปคอมพิวเตอร์พลังงานต่ำที่เรียกว่าแท็ก RFID เป็นครั้งแรกเพื่อติดตามอุปกรณ์ราคาแพง เมื่ออุปกรณ์ประมวลผลมีขนาดเล็กลง ชิปเหล่านี้ก็มีขนาดเล็กลง เร็วขึ้น และชาญฉลาดขึ้นเมื่อเวลาผ่านไป

ค่าใช้จ่ายในการนำหน่วยประมวลผลมาใส่ไว้ในวัตถุขนาดเล็กจึงลดลงอย่างมากในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น คุณสามารถเพิ่มการเชื่อมต่อกับความสามารถในบริการเสียงของ Alexa ให้กับ MCU ที่มี RAM แบบฝังตัวน้อยกว่า 1 MB ได้ เช่น สวิตช์ไฟ อุตสาหกรรมทั้งหมดจึงได้เติบโตขึ้นโดยมุ่งเน้นไปที่การสร้างสรรค์อุปกรณ์ IoT สำหรับบ้าน ธุรกิจ และสำนักงานของเรา โดยของใช้อัจฉริยะเหล่านี้สามารถส่งข้อมูลเข้าไปยังและออกจากอินเทอร์เน็ตได้โดยอัตโนมัติ ดังนั้นจึงมีการเรียก “อุปกรณ์ประมวลผลที่มองไม่เห็น” และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์เหล่านี้ทั้งหมดว่าอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง

IoT ทำงานอย่างไร

ระบบ IoT โดยทั่วไปทำงานด้วยการรวบรวมและแลกเปลี่ยนข้อมูลแบบเรียลไทม์ โดยระบบ IoT มีองค์ประกอบสามส่วน ได้แก่

อุปกรณ์อัจฉริยะ

นี่คืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ กล้องรักษาความปลอดภัย หรืออุปกรณ์ออกกำลังกายที่มีความสามารถในการประมวลผล ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากสภาพแวดล้อม ข้อมูลที่ได้รับจากผู้ใช้ หรือรูปแบบการใช้งาน และสื่อสารข้อมูลดังกล่าวผ่านอินเทอร์เน็ตไปยังและจากแอปพลิเคชัน IoT

แอปพลิเคชัน IoT

แอปพลิเคชัน IoT คือชุดของบริการและซอฟต์แวร์ที่ผสานรวมข้อมูลที่ได้รับจากอุปกรณ์ IoT ต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีแมชชีนเลิร์นนิงหรือปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลนี้และตัดสินใจอย่างชาญฉลาด จากนั้นจะสื่อสารการตัดสินใจเหล่านี้กลับไปยังอุปกรณ์ IoT และอุปกรณ์ IoT จะตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับอย่างชาญฉลาด

ส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก

คุณสามารถจัดการอุปกรณ์ IoT หรือฟลีตอุปกรณ์ได้ผ่านส่วนติดต่อผู้ใช้แบบกราฟิก โดยตัวอย่างทั่วไป ได้แก่ แอปพลิเคชันมือถือหรือเว็บไซต์ที่สามารถใช้เพื่อลงทะเบียนและควบคุมอุปกรณ์อัจฉริยะได้

Obpk vกล มผ ม ส วนได ส วนเส ยค อ

ตัวอย่างของอุปกรณ์ IoT มีอะไรบ้าง

เรามาลองดูตัวอย่างบางส่วนของระบบ IoT ที่ใช้กันในปัจจุบันกัน ได้แก่

รถยนต์ที่เชื่อมต่อถึงกัน

มีหลายวิธีที่ยานพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งอาจเป็นการเชื่อมต่อผ่านกล้องติดรถยนต์อัจฉริยะ ระบบแสดงผลในตัวรถ หรือแม้แต่เกตเวย์ที่เชื่อมต่อถึงกันของยานพาหนะ โดยจะรวบรวมข้อมูลจากคันเร่ง เบรก มาตรวัดความเร็ว มาตรวัดระยะทาง ล้อ และถังเชื้อเพลิง เพื่อเฝ้าติดตามประสิทธิภาพของผู้ขับขี่และความสมบูรณ์ของยานพาหนะ รถยนต์ที่เชื่อมต่อถึงกันมีรูปแบบการใช้งานที่หลากหลาย ได้แก่

  • การเฝ้าติดตามกลุ่มรถยนต์ให้เช่าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงและลดต้นทุน
  • การช่วยให้ผู้ปกครองติดตามพฤติกรรมการขับขี่ของบุตรหลาน
  • การแจ้งเตือนให้เพื่อนและครอบครัวทราบโดยอัตโนมัติในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุรถชน
  • การคาดการณ์และการยับยั้งความจำเป็นในการบำรุงรักษายานพาหนะ

บ้านที่เชื่อมต่อถึงกัน

อุปกรณ์สำหรับบ้านอัจฉริยะมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของบ้านเป็นหลัก ตลอดจนถึงการปรับปรุงระบบเครือข่ายในบ้าน โดยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เต้ารับไฟฟ้าอัจฉริยะจะตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าและตัวควบคุมอุณหภูมิอัจฉริยะช่วยให้ควบคุมอุณหภูมิได้ดียิ่งขึ้น ระบบปลูกพืชด้วยน้ำสามารถใช้เซ็นเซอร์ IoT เพื่อจัดการสวน ในขณะที่เครื่องตรวจจับควันแบบ IoT สามารถตรวจจับควันบุหรี่ได้ นอกจากนี้ ระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆ ภายในบ้าน เช่น ล็อกประตู กล้องรักษาความปลอดภัย และเครื่องตรวจจับน้ำรั่ว สามารถตรวจจับและป้องกันภัยคุกคามได้ รวมถึงส่งการแจ้งเตือนให้แก่เจ้าของบ้านอีกด้วย

โดยคุณสามารถใช้อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อถึงกันสำหรับบ้านเพื่อดำเนินการต่างๆ ได้แก่

  • การปิดอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานโดยอัตโนมัติ
  • การจัดการและการบำรุงรักษาทรัพย์สินที่ให้เช่า
  • การค้นหาสิ่งของที่อยู่ผิดที่ เช่น กุญแจหรือกระเป๋าสตางค์
  • การปรับงานประจำวันให้เป็นระบบอัตโนมัติ เช่น การดูดฝุ่น การชงกาแฟ ฯลฯ

เมืองอัจฉริยะ

แอปพลิเคชัน IoT ทำให้การวางผังเมืองและการบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งรัฐบาลต่างๆ ใช้แอปพลิเคชัน IoT เพื่อจัดการกับปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม โดยคุณสามารถใช้แอปพลิเคชัน IoT เพื่อดำเนินการต่างๆ ได้แก่

  • การวัดคุณภาพอากาศและระดับการแผ่รังสี
  • การลดค่าไฟด้วยระบบไฟส่องสว่างอัจฉริยะ
  • การตรวจพบความต้องการในการบำรุงรักษาสำหรับโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่สำคัญ เช่น ถนน สะพาน และท่อส่งก๊าซ
  • การเพิ่มผลกำไรด้วยการจัดการที่จอดรถอย่างมีประสิทธิภาพ

อาคารอัจฉริยะ

อาคารต่างๆ เช่น วิทยาเขตของวิทยาลัยและอาคารพาณิชย์ใช้แอปพลิเคชัน IoT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยคุณสามารถใช้อุปกรณ์ IoT ในอาคารอัจฉริยะเพื่อดำเนินการต่างๆ ได้แก่

  • การลดการใช้พลังงาน
  • การลดต้นทุนการบำรุงรักษาให้ต่ำลง
  • การใช้พื้นที่ทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

IoT สำหรับอุตสาหกรรมคืออะไร

IoT สำหรับอุตสาหกรรม (IIoT) หมายถึง อุปกรณ์อัจฉริยะที่ใช้ในแวดวงการผลิต การค้าปลีก สุขภาพ และองค์กรอื่นๆ เพื่อสร้างประสิทธิภาพทางธุรกิจ โดยอุปกรณ์เชิงอุตสาหกรรมต่างๆ ตั้งแต่เซ็นเซอร์ไปจนถึงเครื่องมือ ให้ข้อมูลโดยละเอียดแบบเรียลไทม์แก่เจ้าของธุรกิจ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจได้ นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับการจัดการห่วงโซ่อุปทาน โลจิสติกส์ ทรัพยากรบุคคล และการผลิต โดยการลดต้นทุนและเพิ่มแหล่งที่มารายได้อีกด้วย

เรามาลองดูระบบเชิงอุตสาหกรรมอัจฉริยะที่มีอยู่ในแวดวงต่างๆ กัน ได้แก่

การผลิต

IoT ระดับองค์กรในแวดวงการผลิตใช้การบำรุงรักษาแบบใช้ข้อมูลคาดการณ์เพื่อลดเวลาหยุดทำงานโดยไม่ได้วางแผน และใช้เทคโนโลยีอุปกรณ์ที่สวมใส่ได้เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของพนักงาน โดยแอปพลิเคชัน IoT สามารถคาดการณ์ความล้มเหลวของเครื่องจักรก่อนที่จะเกิดขึ้น ซึ่งช่วยลดเวลาหยุดทำงานในการผลิต ในขณะที่มีการใช้งานอุปกรณ์ที่สวมใส่ได้ในหมวกนิรภัยและสายรัดข้อมือ ตลอดจนกล้องคอมพิวเตอร์วิทัศน์เพื่อเตือนให้พนักงานทราบถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น

รถยนต์

การวิเคราะห์และวิทยาการหุ่นยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยเซ็นเซอร์ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตรถยนต์และการบำรุงรักษา ตัวอย่างเช่น มีการใช้เซ็นเซอร์เชิงอุตสาหกรรมเพื่อสร้างภาพ 3 มิติแบบเรียลไทม์ของส่วนประกอบภายในยานพาหนะ การวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาจึงสามารถทำได้เร็วยิ่งขึ้น ในขณะที่ระบบ IoT สั่งชิ้นส่วนอะไหล่โดยอัตโนมัติ

โลจิสติกส์และการขนส่ง

อุปกรณ์ IoT เชิงพาณิชย์และสำหรับอุตสาหกรรมสามารถช่วยในการจัดการห่วงโซ่อุปทาน รวมถึงการจัดการสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์กับผู้ขาย การจัดการกลุ่มอินสแตนซ์ และการบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา โดยบริษัทขนส่งต่างๆ ใช้แอปพลิเคชัน IoT สำหรับอุตสาหกรรมเพื่อติดตามทรัพย์สินและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในระหว่างเส้นทางการขนส่ง เทคโนโลยีนี้มีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการควบคุมอุณหภูมิอย่างเข้มงวดในตู้คอนเทนเนอร์ควบคุมอุณหภูมิ ผู้จัดการห่วงโซ่อุปทานจึงคาดการณ์ได้อย่างชาญฉลาดด้วยอัลกอริทึมการกำหนดเส้นทางและการกำหนดเส้นทางใหม่อัจฉริยะ

การค้าปลีก

Amazon กำลังขับเคลื่อนนวัตกรรมในระบบอัตโนมัติและการทำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรในแวดวงการค้าปลีก โดยโรงงานของ Amazon ใช้ประโยชน์จากหุ่นยนต์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพื่อติดตาม ค้นหา จัดเรียง และเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์

IoT ปรับปรุงชีวิตของเราได้อย่างไร

อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่งมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อชีวิตมนุษย์และการทำงาน โดยเปิดโอกาสให้เครื่องจักรทำงานที่หนักมากขึ้น รับหน้าที่ในงานที่น่าเบื่อหน่าย และทำให้คุณมีชีวิตที่มีสุขภาพดี มีประสิทธิผลในการทำงาน และสะดวกสบายยิ่งขึ้น

ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อถึงกันสามารถเปลี่ยนกิจวัตรตอนเช้าทั้งหมดของคุณได้ เมื่อคุณกดปุ่มเลื่อนการปลุก นาฬิกาปลุกจะเปิดเครื่องชงกาแฟและเปิดม่านหน้าต่างโดยอัตโนมัติ ในขณะที่ตู้เย็นของคุณจะตรวจหาของชำที่หมดแล้วโดยอัตโนมัติและดำเนินการสั่งซื้อเพื่อจัดส่งถึงบ้าน ส่วนเตาอบอัจฉริยะจะแจ้งให้คุณทราบถึงเมนูสำหรับวันดังกล่าว หรืออาจถึงขั้นปรุงส่วนผสมที่เตรียมไว้ล่วงหน้า และตรวจสอบให้แน่ใจว่าอาหารกลางวันของคุณพร้อมแล้ว จากนั้นสมาร์ทวอทช์ของคุณจะกำหนดเวลาการประชุม ในขณะที่รถที่เชื่อมต่อถึงกันของคุณจะตั้งค่า GPS ให้แวะพักเพื่อเติมน้ำมันโดยอัตโนมัติ เรียกได้ว่าโอกาสต่างๆ นั้นไม่มีที่สิ้นสุดในโลกของ IoT อย่างแท้จริง!

IoT มีประโยชน์ต่อธุรกิจอย่างไรบ้าง

เร่งสร้างนวัตกรรม

อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่งช่วยให้ธุรกิจเข้าถึงการวิเคราะห์ขั้นสูงเพื่อค้นพบโอกาสใหม่ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น ธุรกิจสามารถสร้างแคมเปญโฆษณาที่กำหนดเป้าหมายได้อย่างชัดเจนโดยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของลูกค้า

เปลี่ยนข้อมูลให้เป็นข้อมูลเชิงลึกและการดำเนินการด้วย AI และ ML

ข้อมูลที่รวบรวมและแนวโน้มในอดีตสามารถนำมาใช้เพื่อคาดการณ์ผลลัพธ์ในอนาคตได้ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถจับคู่ข้อมูลการรับประกันกับข้อมูลที่รวบรวมโดย IoT เพื่อคาดการณ์เหตุการณ์ในการบำรุงรักษาได้ ซึ่งสามารถใช้เพื่อให้บริการลูกค้าในเชิงรุกและสร้างความภักดีของลูกค้า

เพิ่มความปลอดภัย

การตรวจสอบโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัลและทางกายภาพอย่างต่อเนื่องสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ปรับปรุงประสิทธิผล และลดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยได้ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่รวบรวมจากการเฝ้าติดตามในสถานที่สามารถรวมเข้ากับข้อมูลเวอร์ชันฮาร์ดแวร์และเฟิร์มแวร์เพื่อกำหนดเวลาการอัปเดตระบบโดยอัตโนมัติได้

ปรับขนาดโซลูชันที่แตกต่างกัน

เทคโนโลยี IoT สามารถปรับใช้ในลักษณะที่ให้ความสำคัญกับลูกค้าเพื่อเพิ่มความพึงพอใจได้ ตัวอย่างเช่น ระบบสามารถเติมสต็อกสินค้าที่กำลังเป็นที่นิยมได้ทันทีเพื่อหลีกเลี่ยงการขาดตลาด

เทคโนโลยี IoT คืออะไร

เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบ IoT อาจรวมถึงสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้ ได้แก่

การประมวลผล Edge

การประมวลผล Edge หมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อทำให้อุปกรณ์อัจฉริยะทำได้มากกว่าเพียงแค่ส่งหรือรับข้อมูลไปยังแพลตฟอร์ม IoT ของตน โดยเพิ่มหน่วยประมวลผลที่ Edge ของเครือข่าย IoT ซึ่งช่วยลดเวลาแฝงในการสื่อสาร และปรับปรุงเวลาในการตอบสนอง

การประมวลผลบนระบบคลาวด์

เทคโนโลยีระบบคลาวด์ใช้สำหรับการจัดเก็บข้อมูลระยะไกลและการจัดการอุปกรณ์ IoT โดยทำให้อุปกรณ์หลายเครื่องในเครือข่ายสามารถเข้าถึงข้อมูลได้

แมชชีนเลิร์นนิง

แมชชีนเลิร์นนิงหมายถึงซอฟต์แวร์และอัลกอริทึมที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลและตัดสินใจแบบเรียลไทม์ตามข้อมูลดังกล่าว ซึ่งสามารถปรับใช้อัลกอริทึมแมชชีนเลิร์นนิงเหล่านี้ได้ในระบบคลาวด์หรือที่ Edge

AWS IoT คืออะไรและจะช่วยคุณได้อย่างไร

AWS IoT นำ AI และ IoT มาใช้ร่วมกันเพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ทางธุรกิจ โดยเป็นผู้ให้บริการระบบคลาวด์เพียงรายเดียวที่รวมการจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ที่ครบถ้วนเข้าไว้ด้วยกันเพื่อสร้างบริการที่ใช้งานง่ายที่ออกแบบมาสำหรับข้อมูล IoT ที่มีปริมาณมาก

AWS IoT มีบริการต่างๆ เช่น การรักษาความปลอดภัย การเข้ารหัสข้อมูล และการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลอุปกรณ์ ซึ่งสร้างขึ้นบนเครือข่ายโครงสร้างพื้นฐานระบบคลาวด์และ IoT ที่ปลอดภัยและได้รับการพิสูจน์แล้ว รวมถึงปรับขนาดเพื่อรองรับอุปกรณ์หลายพันล้านรายการและข้อความอีกนับล้านล้านรายการ นอกจากนี้ AWS IoT ยังบูรณาการร่วมกับบริการของ AWS เพื่อให้คุณสามารถสร้างโซลูชันที่ครบวงจรได้อีกด้วย

สร้างด้วย AWS IoT

AWS IoT ให้บริการ IoT สำหรับโซลูชันในภาคอุตสาหกรรม ผู้บริโภค และเชิงพาณิชย์ โดยคุณสามารถไว้วางใจบริการของ AWS IoT เพื่อสร้างแอปพลิเคชันที่เปิดเผยคุณค่าทางธุรกิจใหม่ๆ เรียกใช้การวิเคราะห์ที่ซับซ้อน รวมถึงตรวจจับและตอบสนองต่อเหตุการณ์จากอุปกรณ์ IoT จำนวนมาก

เริ่มต้นใช้งาน AWS IoT ด้วยการสร้างบัญชี AWS ฟรี หากคุณเพิ่งเริ่มใช้งาน IoT เรียนรู้เรื่องพื้นฐานและเริ่มต้นสร้างแอปพลิเคชัน IoT แบบครบวงจรที่เรียบง่าย

Stakeholder หมายถึงอะไร พร้อมอธิบาย /ยกตัวอย่าง

เป็นผู้ใกล้ชิดองค์กรโดยตรง และได้รับประโยชน์หรือผลกระทบทางตรงจากการประกอบกิจการ เช่น พนักงาน ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า ผู้ส่งมอบ ครอบครัวพนักงาน นักลงทุน เจ้าหนี้ ชุมชนรอบถิ่นตั้งองค์กร เป็นต้น

Secondary Stakeholders คือใคร

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียรอง (Secondary stakeholders) คือ บุคคล กลุ่ม องค์กร สถาบันหน่วยงาน ที่ เกี่ยวข้องในโครงการ ซึ่งอาจแบ่งเป็นเกี่ยวข้องโดยเงินทุน (เป็นผู้ออกทุน เช่น บริษัทคู่สัญญาที่ได้รับ สัมปทาน) หรือเกี่ยวข้องโดยเป็นหน่วยงานผู้ด าเนินโครงการ (เช่น กระทรวง/ ทบวง/ กรม ผู้มีอ านาจ หน้าที่) หรือเกี่ยวข้องโดยเป็นหน่วย ...

ผู้ มี ส่วน ได้เสีย Stakeholders มีกี่กลุ่ม

การจัดล าดับของผู้มีส่วนได้เสียในแผนผังของการจัดลาดับผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder matrix) สามารถแบ่งกลุ่มผู้ มีส่วนได้เสียออกเป็น 4 กลุ่ม ที่มีระดับความส าคัญแตกต่างกัน ดังนี้ ผู้ก ำหนดบริบท (รักษาระดับความพึงพอใจ) ผู้เล่นหลัก

ข้อใดคือผู้มีส่วนได้เสียโดยอ้อม

-พนักงาน ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน ลูกค้า -ผู้บริโภค คู่ค้า คู่ธุรกิจ ชุมชน สังคมที่องค์กรตั้งอยู่ -รัฐบาล หน่วยงานกำกับดูแลที่เป็นผู้กำหนดนโยบายและกฏระเบียบที่เกี่ยวข้อง ทางอ้อม