Mind map เร องเคร องม อภ ม ศาสตร

ทกั ษะขน้ั กลาง (Intermediate skills)ใชง้ าน เทคโนโลยีดิจิทัลไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพใชซ้ อฟตแ์ วรใ์ น

การออกแบบสง่ิ พิมพต์ ่างๆ การทาการตลาดผ่านสอ่ื ดิจิตอล

ทกั ษะขนั้ สงู (Advanced skills) เป็นทกั ษะทีอ่ ยใู่ นระดบั ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศ เชน่

โปรแกรมเมอร์ และผดู้ แู ลระบบ การเขยี นโคด้ การดแู ลความปลอดภยั บนโลกอินเทอรเ์ น็ต

ประโยชน์ของการพัฒนา Digital Literacy 1. ทำงานได้รวดเรว็ ลดข้อผดิ พลาดและมคี วามม่ันใจในการทำงานมากขน้ึ 2. มีความภาคภมู ิใจในผลงานท่สี ามารถสร้างสรรค์ได้เอง 3. สามารถแก้ไขปัญหาที่เกดิ ขึ้นในการทำงานได้มปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ 4. สามารถระบทุ างเลือกและตัดสินใจได้อย่างมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ 5. สามารถบรหิ ารจัดการงานและเวลาไดด้ ีมากขนึ้ และช่วยสร้างสมดุลในชวี ิตและการทำงาน 6. มเี คร่อื งมือช่วยในการเรยี นร้แู ละเตบิ โตอยา่ งเหมาะสม

ประโยชนส์ ำหรบั ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ

1. หน่วยงานได้รับการยอมรับว่ามีความทันสมัย เปิดกว้าง และเป็นที่ยอมรับ ซึ่งจะช่วยดึงดูด และรักษาคนรนุ่ ใหม่ที่มศี ักยภาพสงู มาทำงานกับองคก์ รด้วย 2. หน่วยงานไดร้ บั ความเชอ่ื ม่นั และไว้วางใจจากประชาชนและผรู้ ับบริการมากขึ้น

3. คนในองคก์ รสามารถใช้ศกั ยภาพในการทำงานทีม่ ีมูลคา่ สูง (High Value Job) มากข้ึน 4. กระบวนการทำงานและการสือ่ สารขององคก์ ร กระชับข้นึ คลอ่ งตวั มากขึ้น และมีประสิทธิภาพมาก

ขนึ้ 5. หน่วยงานสามารถประหยดั ทรัพยากร (งบประมาณและกำลงั คน) ในการดำเนินงานได้มากข้นึ

ชีวิตวถิ ีใหม่ (New Normal) การ Work From Home การอยู่ในบ้าน พร้อมทำงาน การดำเนินการทาง ธรุ กรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ (ทีป่ รกึ ษา) Online Medical Consulting การ deglobalization และอกี มากมาย สงิ่ เหล่าน้ผี ู้นำผบุ้ ริหารจะต้องพัฒนานาตนเองและนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้ เหมาะสมกับงาน และหน้าทแี่ ตล่ ะหนา้ ทอี่ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๒๘

สมรรถนะหลกั ท่ี 3 การบรหิ ารและการจดั การในสถานศึกษา

สมรรถนะย่อยท่ี 3.1 การบรหิ ารการจดั การสถานศึกษา สมรรถนะยอ่ ยท่ี 3.2 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ สมรรถนะย่อยที่ 3.3 การจดั ระบบงาน และการส่ือสาร องคก์ ร สมรรถนะยอ่ ยที่ 3.4 การทำงานเปน็ ทีม

๒๙

ใบนำเสนองาน การศกึ ษาค้นคว้าเรียนรู้ด้วยตนเอง แบบสรปุ องคค์ วามรู้การศึกษาคน้ คว้าเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาตนเอง

ชื่อวทิ ยากรพีเ่ ลีย้ ง..........ผอ.อดุลชยั โคตะวีระ........................................................................................... ชื่อ – สกลุ ..................นายวจิ ิตร พลเศษ...............กล่มุ ท.ี่ ........11..................เลขท่.ี .................3..............

สมรรถนะหลกั ที่ 3 การบรหิ ารและการจดั การในสถานศึกษา องคค์ วามร้ทู ีไ่ ดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ เรยี นรเู้ พื่อพัฒนาตนเองและการนำไปประยุกต์ใช้ สมรรถนะหลักท่ี ๓ การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา สมรรถนะย่อยท่ี 3.1 การบรหิ ารการจดั การสถานศึกษา การบริหารจดั การศึกษาผบู้ ริหารตอ้ งศึกษากฎระเบียบ นโยบาย หลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิ ท่ีเกย่ี วข้องในการบรหิ ารสถานศึกษาให้เข้าใจและนำไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ านราชการ ดงั นี้ ๑. ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาวา่ ดว้ ยการบริหารสถานศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒. นโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ๓. นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ๔. มาตรฐานตำแหนง่ รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาตามพระราชบญั ญัตริ ะเบียบข้าราชการครแู ละ

บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ และ มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงาน บรหิ ารสถานศกึ ษา ๕. ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๒ ๖. ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๗. ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการว่าด้วยการจัดการศกึ ษาและการประเมินผลการเรียนตามหลกั สตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ๘. ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการศึกษาระดบั ปริญญา ตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัติการของสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ๙. ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาวา่ ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมินผลการ เรียนตามหลักสตู รวชิ าชีพระยะสนั่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๐.ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง กรอบคณุ วฒุ อิ าชีวศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๑.ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเรอ่ื งเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาระดับ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชพี พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๒.ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเรอ่ื งเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชีพชนั้ สูง พ.ศ. ๒๕๖๒

๓๐

๑๓.ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเรอ่ื งเกณฑ์มาตรฐานคุณวฒุ ิอาชวี ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๔.ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานหลกั สูตรวิชาชพี ระยะสัน่ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑๕.พระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ

(ฉบับท่ี ๒)พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับท่๓ี )พ.ศ. ๒๕๕๓(ฉบับท๔่ี )พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๖.ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยพนกั งานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗และแก้ไขเพ่มิ เตมิ

(ฉบับท๒่ี )พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๗.มาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวทิ ยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาสายงาน

การสอน ๑๘.ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยลกู จ้างประจำของส่วนราชการพ.ศ. ๒๕๓๗ ๑๙.หลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบัติเร่ืองการบรหิ ารงานบคุ คลลกู จ้างชว่ั คราว(ว.๓๑/๒๕๕๒ กระทรวงการคลงั ) ๒๐.พระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๑.พระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๒.ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบกิ เงินจากคลงั การรับเงนิ การจา่ ยเงนิ การเกบ็ รักษาเงนิ

และการนำเงินสง่ คลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๓.พระราชบัญญัตคิ วามรบั ผิดทางละเมดิ ของเจ้าหนา้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒๔.ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าดว้ ยการส่งเสรมิ ผลิตผลในสถานศึกษา พ.ศ.

๒๕๔๙ ๒๕.ระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และท่แี กไ้ ขเพ่มิ เตมิ

(ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ (ฉบับท่๓ี ) พ.ศ. ๒๕๖๐ และ(ฉบับท๔ี่ ) พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๖.พระราชบัญญตั ิค้มุ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒๗.ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาวา่ ด้วยองคก์ ารนักวิชาชีพในอนาคต

แหง่ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗(แก้ไขปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) แนวปฏิบตั ขิ ององค์การนักวิชาชพี ใน อนาคตแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ (ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕๘) และแก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. ๒๕๖๐ และ แนวปฏบิ ัติขององคก์ ารเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๒๘.คมู่ ือการขับเคล่อื นการดำเนินงานศูนยบ์ รหิ ารเครอื ข่ายการผลิตและพฒั นากำลังคนอาชีวศึกษา ๒๙.คมู่ ือการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานศนู ยพ์ ัฒนาอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการกระทรวงศึกษาธิการ ระดบั จังหวดั ๓๐.แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ (Excellent Center)

๓๑

สมรรถนะย่อยท่ี 3.2 การสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื 1. พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาในหลวง รฐั กาลที่ 10 มี 4 ด้านทกุ ด้านนำมาปรบั ใช้ดา้ นที่เก่ียวกับ

การสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื ด้านท่ี 3 มงี านทำ มอี าชพี การเลยี้ งดู ฝึกฝน อบรม เรยี นจบจนมีอาชพี ด้านที่ 4. เปน็ พลเมอื งท่ีดี ทกุ คนสอนใหเ้ ปน็ คน ครอบครวั สถานศกึ ษา สถานประกอบการ จติ อาสา

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) การส่งเสรมิ และ สนบั สนนุ การวิจัยและพัฒนา วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และนวตั กรรม การเตรยี มพรอ้ มดา้ นก าลงั คนและการ เสริมสร้างศักยภาพของประชากร ในทกุ ชว่ งวัย และความรว่ มมอื ระหว่างประเทศและความเช่อื มโยงเพือ่ การ พัฒนา

3. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา ทุกภาคสว่ นของสังคมมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาทีต่ อบสนองความตอ้ งการ ของประชาชนและพน้ื ท่ี

4. แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพระบบการ บริหารจดั การอาชวี ศึกษา เพอื่ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื ในการบรหิ ารจัดการอาชวี ศกึ ษา สมรรถนะย่อยที่ 3.3 การจัดระบบงาน และการสอื่ สารองค์กร

การปฏบิ ตั ิงานสำนกั งานจะดำเนนิ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพตอ้ งมกี ารวางแผนและจัดระบบงานอย่างดีโดย

กำหนดสงิ่ ทปี่ ้อนเข้าไปในระบบ ได้แก่ บุคคล เครือ่ งมอื เครือ่ งใช้ วัสดุและข้อมลู ที่จำเป็น ต่อการปฏิบัติงานให้

สำเร็จลลุ ว่ งได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพจดั ระบบงาน ระบบงานที่ดปี ระกอบด้วยลกั ษณะต่อไปน้ี

1. มปี ระสทิ ธิผล หมายถงึ การทงี่ านบรรลุเป้าหมายที่กำหนดภายในเวลา 2. มีประสิทธิภาพหมายถึง การงานทีสำเรจ็ ตามเป้าหมาย 3. ความเชื่อถอื ได้ระบบทีอ่ อกแบบไว้ย่อมเชอ่ื ถือได้ว่าจะเกดิ ผลดแี น่นอน 4. ความยืดหยุ่นสามารถปรับเปล่ียนแปลงไดต้ ลอดเวลาและขยายได้ 5. ความงา่ ยระบบที่ดีควรไมย่ ่งุ ยากซบั ซ้อน ควรออกแบบใหเ้ ข้าใจงา่ ยปฏิบตั งิ า่ ย 6.การยอมรับต้องไดร้ บั การยอมรบั จากผรู้ ับผดิ ชอบในการปฏิบตั ติ ามระบบ

การสื่อสารในองคก์ ร คอื เครอ่ื งสรา้ งความเข้าใจ และสรา้ งวฒั นธรรมตลอดจนสามารถสร้างความมั่นคง

ให้กบั องคก์ ร การทำงานรว่ มกนั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิผล บุคคลจะต้องเข้าใจและเข้าถงึ กระบวนการส่ือสารเป็น

อยา่ งดี เปน็ การตดิ ต่อระหวา่ งบุคคลในองค์การมีลักษณะเปน็ เครือขา่ ย (Network) ซึ่งอาจกระทำได้โดยใช้

เครอ่ื งมือในการสอ่ื ความหมายด้วยการพูด การเขียน การใช้สัญลักษณ์ เพ่ือให้ผู้อน่ื รบั ทราบได้ องค์กรจะประสบ

ผลสำเร็จและประสทิ ธิภาพได้นนั้ จะตอ้ งอย่กู บั การมีสว่ นรว่ มของผู้บริหารและบคุ ลากรในทกุ ระดับ

การจูงใจ หมายถึง การนำเอาปัจจยั ต่าง ๆ มาเป็นแรงผลกั ดนั ให้บุคคลแสดง พฤติกรรมออกมาอย่างมี

ทศิ ทาง เพ่อื บรรลุจุดมุ่งหมาย หรือเป้าหมายทตี่ อ้ งการ ดังนนั้ ผู้ทที่ ำหน้าท่จี งู ใจ จะตอ้ งค้นหาวา่ บุคคลท่ีเขา

ต้องการจูงใจ มีความตอ้ งการหรอื มคี วามคาดหวังอยา่ งไร มีประสบการณ์ ความรู้ และทัศนคติในเร่ืองน้ัน ๆ

อย่างไร แล้วพยายามดงึ เอาสิง่ เหล่าน้นั มาเปน็ แรงจงู ใจ (Motive) กระบวนการจงู ใจมีองคป์ ระกอบ ๓ ประการ

คือ 1. ความต้องการ (Needs) 2. แรงขบั (Drive) สู่ความสำเร็จ 3. สงิ่ ลอ่ ใจ (Incentive) หรือ เปา้ หมาย

(Goal)

สมรรถนะย่อยที่ 3.4 การทำงานเปน็ ทีม 1. การบริหารแบบมีส่วนร่วม ทำงานเปน็ ทีม 2. การแบง่ แยกบทบาทหนา้ ทีอ่ ย่างชดั เจน 3. ความ

ไวว้ างใจในการปฏิบัตงิ าน 4. การมอบหมายงานตรงกบั ความถนัดแต่ละบุคคล 5. ปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน