ความส มพ นธ แบบกล มต อกล ม many-to-many relationship

รายงาน เรอ่ื ง ระบบจัดการฐานขอ้ มูล โดย นายอดิศกั ด์ิ สทิ ธพิ รมมา ช้ันปวส.2/3 เลขท่ี 7 เสนอ อาจารยส์ รุ ศักด์ิ จนี แฉ่ง รายงานน้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของการเรยี นวิชาระบบจัดฐานข้อมูล ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วิทยาลัยเทคโนโลยีสหะพาณชิ ย์ บรหิ ารธรุ กิจ ระบบจัดการฐานขอ้ มูล ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) คือ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบทใ่ี ชใ้ นการจดั การฐานขอ้ มูล โดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั คอื การสร้างสภาวะ แวดล้อมท่สี ะดวกและมปี ระสิทธภิ าพในการเขา้ ถงึ และจัดเกบ็ ข้อมูลของฐานข้อมลู หน้าที่ของ DBMS 1.เป็นสอื่ กลางในการจัดการฐานข้อมูลระหว่างผใู้ ชแ้ ละโปรแกรมประยกุ ตต์ า่ ง ๆ ที่มอี ยู่ในระบบฐานขอ้ มลู 2.ควบคมุ ดูแล การสรา้ ง การเรยี กใชข้ ้อมลู การจดั ทารายงาน การปรบั เปลย่ี น แกไ้ ขโครงสรา้ งและข้อมลู รวมไปถงึ การควบคุมต่าง 3.กาหนดขอ้ มูล (Data Definition) 4.การเรียกใช้ข้อมลู (Data Manipulation) - เก็บและดแู ลขอ้ มูล (Store and Maintain Data) - บรรจขุ ้อมลู จากฐานขอ้ มูล (Load Data) - ประสานงานกบั ระบบปฏบิ ัติการ (Operating System) 5.ควบคุมความปลอดภัยและบูรณภาพของขอ้ มูล (Data Security and Integrity) 6.การฟ้นื สภาพและการใช้ข้อมูลพร้อมกัน (Data Recovery and Concurrency) - จดั ทาขอ้ มูล สารองขอ้ มูล (Backup and Recovery) - ควบคมุ การใชง้ านพร้อมกันของผ้ใู ชร้ ะบบ (Concurrency Control) 7.การสร้างพจนานกุ รมข้อมลู (Data Dictionary) ความสัมพันธร์ ะหว่างระบบจัดการฐานข้อมลู ผ้ใู ช้ และฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูล เน่อื งจากการใช้งานฐานข้อมลู ผใู้ ชง้ านส่วนใหญไ่ ม่ใชผ่ ูเ้ ช่ยี วชาญทางดา้ น คอมพวิ เตอร์ ดังนนั้ การออกแบบระบบบานข้อมลู จึงได้มีการซ่อนรายละเอยี ดที่ซบั ซอ้ น ตา่ ง ๆ ไว้ภายใน ทาให้ผูใ้ ชจ้ ะเหน็ ข้อมลู ท่ีอยู่ในรูปของนามธรรม และมองเหน็ ในมุมมอง ท่ีต่างกันข้นึ อยู่กับการนาขอ้ มลู ต่าง ๆ ไปใช้งาน ต่อมาในปี ค.ศ.1975 สถาบัน America National standard Institute ไดม้ ีการกาหนดสถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูลข้ึน เรียกวา่ ANSI-SPARK โดยแบ่งเป็น 3 ระดบั คือ 1.ระดบั ภายใน (Internal Level) 2.ระดบั ความคิด (Concept Level) 3.ระดับภายนอก (External Level) ระดบั ภายใน (Internal level) เป็นระดบั ทม่ี องถึงวธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมลู เชงิ กายภาพ วา่ มรี ปู แบบและโครงสร้างการจัดเกบ็ ข้อมลู อย่างไร ซึง่ มหี น้าทใ่ี นการจดั เกบ็ ข้อมูลจรงิ ๆ ในหน่วยความจา โครงสร้างในแต่ละรูปแบบกจ็ ะสง่ ผลถึงประสทิ ธภิ าพท่ี แตกตา่ งกนั เช่น การจดั เก็บรายละเอยี ดของเรคอร์ด การบีบขอ้ มูล รวมทั้งทีเ่ ก่ยี วกับ ดชั นี (Index) ซ่งึ ในระดบั ดังนนั้ โครงสร้างในระดับนีจ้ ึงพิจารณาในเรื่องของความเรว็ และ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิกบั ขอ้ มลู ระดบั แนวคิด (Conceptual Level) ระดบั แนวคิดหรอื ระดับตรรกะ (Logical Level) ในระดับนี้จะมองความสมั พันธ์ระหวา่ งข้อมูลเป็นสาคญั หรือเรียกวา่ แบบจาลองข้อมลู (Data Model) การใช้งานหรือทาการใด ๆ ในโปรแกรมจากผู้ใช้จะทา อยู่ในระดับนเี้ ทา่ นน้ั ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งจึงเปน็ ผูบ้ รหิ ารฐานข้อมูลหรือโปรแกรมเมอร์ โดยใน ระดบั แนวคิดยงั เกีย่ วขอ้ งกับส่งิ นี้ - จานวนเอน็ ตติ ้ีทง้ั หมด แอตติบวิ ต์ รวมไปถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งเอน็ ตติ ้ี - กฎขอ้ บงั คับในข้อมลู - ระบบความปลอดภัยข้อบังคบั ในข้อมูล ระดับภายนอก (External Level) หรือระดบั (View Level) เปน็ ข้อมลู เชิง นามธรรมระดับสูงสุด จะมองการใชง้ านของผใู้ ชใ้ นแตล่ ะคน ซงึ่ ถอื ว่าโครงสร้างระดบั ภายนอกกค็ อื บางส่วนของขอ้ มูลในฐานขอ้ มลู ของโครงสร้างระดับแนวคดิ โดยสามารถ กาหนดวิวไดห้ ลายๆววิ ที่แตกต่างกนั เพอื่ ปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัยและความ ม่นั คงใหก้ ับฐานขอ้ มลู ได้ดขี น้ึ ทาให้ผใู้ ช้แต่ละคนจะมองเหน็ ววิ แต่ละววิ ท่ีแตกตา่ งกนั ขึ้นอยู่กับสทิ ธิในการเข้าถึงข้อมลู นั้น ๆ ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกับระบบฐานข้อมูล (Database System Concepts) 1.ข้อมูลแบบรูปแบบ (formatted data) เป็นข้อมูลท่ีรวมอักขระซ่ึงอาจหมายถึง ตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งเป็นรูปแบบที่แน่นอน ในแต่ละระเบียน ทุกระเบียนท่ีอยู่ใน แฟ้มข้อมูลจะมีรูปแบบที่เหมือนกันหมด ข้อมูลท่ีเก็บน้ันอาจเก็บในรูปของรหัสโดยเม่ือ อ่านข้อมูลออกมาอาจจะต้องนารหัสนั้นมาตีความหมายอีกคร้ัง เช่น แฟ้มข้อมูลประวัติ นกั ศกึ ษา 2.ข้อมูลแบบข้อความ (text)เป็นข้อมูลที่เป็นอักขระในแบบข้อความ ซึ่งอาจ หมายถึง ตัวอักษร ตัวเลข สมการ ฯ แต่ไม่รวมภาพตา่ ง ๆ นามารวมกนั โดยไมม่ ี รปู แบบที่แน่นอน ในแต่ละระเบียน เช่น ระบบการจัดเก็บข้อความต่าง ๆ ลักษณะการจัดเก็บแบบน้ีจะไม่ ตอ้ งนาขอ้ มลู ทีเ่ ก็บมาตีความหมายอีก ความหมายจะถกู กาหนดแลว้ ในขอ้ ความ 3.ข้อมูลแบบภาพลักษณ์ (images) เป็นข้อมูลท่ีเป็นภาพ ซ่ึงอาจเป็นภาพกราฟที่ถูก สร้างขี้นจากข้อมูลแบบรปู แบบรูปภาพ หรือภาพวาด คอมพิวเตอรส์ ามารถเก็บภาพและ จัดส่งภาพเหล่านี ้ไปยังคอมพิวเตอร์อ่ืนได้ เหมือนกับการส่งข้อความ โดยคอมพิวเตอร์ จะทาการแปลงภาพเหล่านี้ซ่ึงจะทาให้คอมพิวเตอร์สามารถที่จะปรับขยายภาพและ เคลอื่ นย้ายภาพเหลา่ น้ันได้เหมอื นกับขอ้ มูลแบบข้อความ 4.ข้อมูลแบบเสยี ง (audio) เป็นข้อมลู ท่เี ป็นเสียง ลกั ษณะของการจัดเก็บกจ็ ะเหมือนกับ การจัดเก็บข้อมูลแบบภาพ คือ คอมพิวเตอร์จะทาการแปลงเสียงเหล่านี้ให้คอมพิวเตอร์ สามารถนาไปเก็บได้ตัวอยา่ งได้แก่ การตรวจคล่ืนหัวใจจะเก็บเสียงเต้นของหัวใจ 5.ข้อมูลแบบภาพและเสียง (video) เป็นข้อมูลท่ีเป็นเสียงและรูปภาพ ที่ถูกจัดเก็บไว้ ด้วยกัน เป็นการผสมผสานรูปภาพและเสียงเข้าด้วยกัน ลักษณะของการจัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทาการแปลงเสียงและรูปภาพนี้เช่นเดียวกับข้อมูลแบบเสียงและข้อมูล แบบภาพลกั ษณะซ่ึงจะนามารวมเกบ็ ไวใ้ นแฟ้มขอ้ มูลเดยี วกนั ชนิดและคุณสมบัติของหนว่ ยเก็บขอ้ มลู สารองและหนว่ ยความจาหลัก 1. ชนิดของหนว่ ยความจาหลกั โดยปกติแล้วหน่วยความจาโดยทั่วไปจะถูกแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ ๆ คือ หน่วยความจาแบบหน่วยเก็บลบเลือนได้ (volatile storage) และหน่วยความจา ประเภทหน่วยเก็บลบเลือนไม่ได้ (nonvolatile storage)หน่วยความจาประเภทหน่วย เก็บลบเลือนได้เป็นหน่วยความจา ท่ีรักษาข้อมูลได้เฉพาะเม่ือมีกระแสไฟฟ้าเท่านั้ น ไหลเวียนอยู่ ตัวอย่างเช่น หน่วยความจาหลัก (main memory) เท่านั้นหน่วยความจา ประเภทหน่วยเก็บลบเลือนไม่ได้คือ หน่วยความจาที่สามารถรักษาข้อมูลได้อย่างถาวร แม้เม่ือไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวอย่างเช่น หน่วยความจาสารองและหน่วยความจา หลักบางประเภทหน่วยความจาหลักท่ีท่ีใช้ในปัจจุบันมี 2 ประเภท คือ หน่วยความจา หลกั ประเภทแรม (Random Access Memory, RAM) และหนว่ ยความจาหลักประเภท รอม (Read Only Memory, ROM) 1.1 หน่วยความจาประเภทแรม เปน็ หน่วยความจาหลักประเภทที่ สามารถเข้าถึงคาสั่งและข้อมลู โดยตรงได้ แรมเป็นหน่วยความจาท่ีสามารถทจ่ี ะอ่านหรือ เขียนข้อมูลและคาส่ังลงไปได้หลายครั้ง แรมแบ่งออกเป็นสองประเภทคือไดนามิกแรม (dynamic RAM)และสแตติกแรม (static RAM) 1) ไดนามิกแรม คือหน่วยความจาหลักที่ต้องการกระแสไฟฟ้าไหลผ่านในขณะ เกบ็ ขอ้ มลู 2)สแตตกิ แรม เป็นหนว่ ยความจาหลกั ทต่ี ้องการแบตเตอร่เี ลี้ยงอยูต่ ลอดเวลา 1.2 หนว่ ยความจาหลักชนิดรอม หนว่ ยความจาชนิดรอมเปน็ หน่วยความจาประเภทแบบลบเลือนไม่ได้ สามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดไปแม้จะปิดเคร่ือง คอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยความจาชนิดรอมเป็นหน่วยความจาที่อ่านข้อมูลออกมาใช้ได้ อย่างเดียว แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลที่เก็บอยู่ในรอมได้หน่วยความจารอม จะถูกสร้างโดยบริษัทผู้ผลิตเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เก็บโปรแกรมท่ีจา เป็นต่อการใช้ งานคอมพิวเตอรเ์ อาไวอ้ ย่างถาวร และไม่ตอ้ งการเปลี่ยนแปลง เช่น โปรแกรมทใ่ี ช้ในการ ทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์เม่ือเราทาการเปิดเคร่ือง หรือโปรแกรมท่ีใช้ควบคุมการ ทางานของอุปกรณ์ที่อยู่ในรถยนต์หรือโปรแกรมเล่นเกมต่าง ๆ เป็นต้น รอมยังถูกแบ่ง ออกเป็นหลายชนิดได้แก่พรอม(Programmable ROM, PROM) อีพรอม (Erasable PROM,EPROM) และออี ีพรอม (Electrically Erasable PROM, EEPROM) 2. ชนิดของหน่วยความจาสารอง หน่วยความจาสารองเป็นหน่วยความจ าท่ีสามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากได้ทา การปิดเคร่อื งคอมพิวเตอร์แล้ว หน่วยความจาสารองมีประโยชน์ต่อระบบฐานข้อมูลเป็น อย่างมาก ถ้าปราศจากหน่วยความจาสารองแล้วเราจะไม่สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ ใช้ได้ในอนาคต หน่วยความจาสารองใช้เกบ็ รกั ษาขอ้ มูลและโปรแกรมเอาไว้อย่างถาวรจึง ทาให้หน่วยความจาสารองถูกใช้เป็นส่ือในการนาข้อมูลและโปรแกรมจากเคร่ือง คอมพิวเตอร์หน่ึงไปใช้ยังคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหน่ึงได้ และนอกจากนี้หน่วยความจา สารองยงั ใชเ้ ปน็ หน่วยเสริมหน่วยความจาหลกั โดยทาหน้าท่ี 1.2 หน่วยความจาหลักชนิดรอม หน่วยความจาชนิดรอมเป็นหน่วยความจา ประเภทแบบลบเลือนไม่ได้สามารถเก็บข้อมูลได้ตลอดไปแม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้ว หน่วยความจาชนิดรอมเป็นหน่วยความจาทอ่ี ่านข้อมูลออกมาใช้ได้อย่างเดียว ก่อน และเมื่อต้องการจึงจะดึงคาส่ังจากหน่วยความจาเสมือนเข้าหน่วยความจาหลักเพื่อทา การประมวลผล ดังนั้น จึงสามารถประมวลผลโปรแกรมแรมท่ีมีขนาดใหญ่กว่า หน่วยความจาหลักได้หน่วยความจาสารองสามารถแบ่งตามลักษณะท่ีคอมพิวเตอร์ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได2้ ชนดิ คือ 2.1 หน่วยความจาสารองประเภททีส่ ามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู โดยตรง 2.2 หน่วยความจาสารองประเภทที่สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลโดยเรียงลาดบั เท่าน้ัน รูปแบบของฐานข้อมลู รปู แบบของฐานข้อมูลโดยทวั่ ไปท่ีร้จู ักกนั ในปจั จุบนั มี 4 แบบ คือ 1.ฐานขอ้ มูลแบบเครอื ข่าย (Network Database) ฐานขอ้ มูลแบบเครือขา่ ยจะเป็นการรวมระเบยี นต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่าง ระเบียนแต่จะต่างกับฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ คอื ในฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์จะแฝง ความสมั พันธ์เอาไว้ โดยระเบียนท่มี คี วามสมั พันธ์กนั จะตอ้ งมคี ่าของข้อมลู ในแอททริ บิวต์ใดแอททริบิวตห์ นึ่งเหมอื นกนั แตฐ่ านข้อมลู แบบเครอื ข่ายจะแสดงความสมั พนั ธ์ อยา่ งชัดเจน ลักษณะโครงสรา้ งระบบฐานข้อมูลแบบเครือข่ายจะมโี ครงสร้างของข้อมูลแตล่ ะ แฟ้มขอ้ มลู มคี วามสัมพนั ธค์ ลา้ ยรา่ งแห ข้อดี • ช่วยลดความซา้ ซ้อนของข้อมลู ไดท้ ้งั หมด • สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไป-กลบั ได้ • สะดวกในการค้นหามากกวา่ ลักษณะฐานข้อมูลแบบลาดบั ช้นั เพราะไมต่ อ้ งไปเริม่ ค้นหาตง้ั แต่ขอ้ มูลตน้ กาเนดิ โดยทางเดยี ว และการค้นหาขอ้ มูลมเี งื่อนไขไดม้ ากและ กว้างกว่าโครงสรา้ งแบบลาดับช้ัน 2. ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ช้ัน (Hierarchical Database) ฐานขอ้ มลู แบบลาดบั ชั้น เป็นโครงสรา้ งทจ่ี ัดเกบ็ ข้อมลู ในลักษณะความสัมพนั ธ์แบบพอ่ - ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเปน็ โครงสรา้ งรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมลู ที่จดั เกบ็ ในที่นี้ คือ ระเบยี น (Record) ซง่ึ ประกอบดว้ ยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทติ ้ีหนง่ึ ๆ คุณสมบัติของฐานขอ้ มูลแบบลาดับข้นั 1. Record ทอี่ ยดู่ ้านบนของโครงสร้างหรอื พอ่ (Parent Record) นัน้ สามารถมลี ูกได้ มากกวา่ หนึ่งคน แตล่ ูก (Child Record) จะไม่สามารถมีพ่อได้มากกว่า 1 คนได้ 2. ทุก Record สามารถมีคุณสมบัติเป็น Parent Record (พ่อ) ได้ 3. ถา้ Record หน่งึ มลี ูกมากกว่าหน่งึ Record แล้ว การลาดบั ความสมั พันธข์ อง Child Record จะลาดบั จากซ้ายไปขวา ลักษณะเดน่ • เปน็ ระบบฐานขอ้ มลู ทีม่ รี ะบบโครงสร้างซับซ้อนน้อยท่สี ุด • มคี า่ ใชจ้ ่ายในการจดั สร้างฐานขอ้ มูลนอ้ ย • ลักษณะโครงสรา้ งเขา้ ใจง่าย • เหมาะสาหรบั งานทตี่ ้องการค้นหาขอ้ มูลแบบมเี งอื่ นไขเปน็ ระดบั และออกงานแบบ เรียงลาดับต่อเนอื่ ง • ปอ้ งกันระบบความลบั ของข้อมูลไดด้ ี เนื่องจากต้องอา่ นแฟ้มขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ต้นกาเนดิ ก่อน ข้อเสีย • Record ลกู ไมส่ ามารถมี record พ่อหลายคนได้ เชน่ นกั ศกึ ษาสามารถ ลงทะเบยี นได้มากกวา่ 1 วชิ า • มคี วามยืดหย่นุ น้อย เพราะการปรับโครงสรา้ งของ Tree ค่อนขา้ งยุ่งยาก • มโี อกาสเกิดความซา้ ซ้อนมากทส่ี ุดเม่อื เทยี บกบั ระบบฐานข้อมูลแบบโครงสร้างอ่นื • หากขอ้ มลู มีจานวนมาก การเข้าถึงข้อมูลจะใชเ้ วลานานในการคน้ หา เน่ืองจาก จะตอ้ งเขา้ ถงึ ที่ตน้ กาเนิดของข้อมูล ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้นน้ีคลา้ ยคลงึ กับฐานขอ้ มลู แบบเครือขา่ ย แตต่ า่ งกนั ที่ฐานขอ้ มูล แบบลาดบั ชนั้ มีกฎเพม่ิ ข้ึนมาอกี หนึ่งประการ คอื ในแต่ละกรอบจะมลี ูกศรวง่ิ เขา้ หาได้ ไมเ่ กิน 1 หัวลูกศร 3. ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ (Relational Database) เปน็ การเก็บขอ้ มูลในรปู แบบทีเ่ ป็นตาราง (Table) หรอื เรียกว่า รเี ลชนั่ (Relation) มี ลกั ษณะเป็น 2 มติ ิ คอื เป็นแถว (row) และเป็นคอลัมน์ (column) การเช่อื มโยงข้อมลู ระหว่างตาราง จะเช่ือมโยงโดยใชแ้ อททรบิ วิ ต์ (attribute) หรอื คอลัมนท์ ่เี หมอื นกนั ท้ัง สองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงข้อมูล ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพันธน์ จี้ ะเป็นรปู แบบของฐานขอ้ มูลท่ี นิยมใช้ในปัจจบุ ัน ดังตวั อย่างที่ 1 12501535 12000 VO 12534568 12500 VN 12503452 13500 VO 12356892 11500 VD 15689730 12000 VA ตารางท่ี 1 แสดงตารางพนกั งาน ขอ้ ดี • เหมาะกบั งานทเี่ ลอื กดูข้อมลู แบบมีเงอื่ นไขหลายคยี ์ฟลิ ด์ขอ้ มูล • ปอ้ งกนั ข้อมูลถูกทาลายหรอื แก้ไขไดด้ ี เนื่องจากโครงสร้างแบบสมั พนั ธ์น้ผี ้ใู ช้จะไม่ ทราบว่าการเกบ็ ข้อมลู ในฐานข้อมูลอยา่ งแทจ้ รงิ เป็นอยา่ งไร จงึ สามารถปอ้ งกนั ข้อมลู ถูกทาลายหรอื ถกู แกไ้ ขไดด้ ี • การเลอื กดขู ้อมลู ทาได้งา่ ย มีความซบั ซอ้ นของขอ้ มูลระหว่างแฟ้มตา่ ง ๆ น้อยมาก อาจมีการฝึกฝนเพยี งเล็กน้อยก็สามารถใชท้ างานได้ ข้อเสยี • มีการแกไ้ ขปรับปรงุ แฟม้ ขอ้ มูลได้ยากเพราะผู้ใช้จะไม่ทราบการเกบ็ ข้อมลู ใน ฐานข้อมูลอย่างแทจ้ รงิ เปน็ อยา่ งไร • มีคา่ ใชจ้ ่ายของระบบสูงมากเพราะเม่อื มกี ารประมวลผลคอื การอา่ น เพิม่ เติม ปรับปรุงหรือยกเลิกระบบจะต้องทาการสร้างตารางขึน้ มาใหม่ ทัง้ ที่ในแฟ้มขอ้ มลู ท่ี แทจ้ ริงอาจจะมกี ารเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ฐานขอ้ มลู แบบสัมพนั ธ์จะนาเสนอขอ้ มลู และความสมั พันธ์ระหวา่ งข้อมูลในรปู รีเลชัน (Relation) หรือเรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ ว่าตาราง (Table) ตวั อยา่ งของ Relation แสดงใน ตารางท่ี 2 FirstName LastName Address City เสรี ชโิ นดม 745 สามมขุ ธานี เมือง ชลบุรี ธวัชชยั เอี่ยมไพโรจน์ 134 ลงหาดบางแสน เมือง ชลบุรี นวลศรี เดน่ วฒั นา 339 พหลโยธิน 1 กทม. ตารางที่ 2 : Persons โครงสร้างของ Relation ประกอบด้วย • แถว (Row) ของขอ้ มูล โดยที่ ขอ้ มูล 1 แถว หมายถงึ ขอ้ มูล 1 รายการ ซ่ึงแต่ละ แถวของ Relation เรยี กว่า “Tuple” โดยแต่ละแถวของขอ้ มูลจะประกอบไปดว้ ย หลาย Attributes หรือคอลมั น์ของขอ้ มูล • แต่ละคอลัมน์ (Column) ของ Relation ไดแ้ กค่ ุณลักษณะของข้อมูลในแตล่ ะแถว ซ่ึงเราเรยี กวา่ “Attribute” เชน่ ตาราง Persons ในตารางท่ี 1 มี 5 tuples แต่ ละ tuple ประกอบดว้ ย 4 attributes คือ นามสกลุ (LastName) ชือ่ (Name) ท่ี อยู่ (Address) และเมือง (City) คียห์ ลัก (Primary key) เปน็ attribute หรือกลุ่มของ attributes ที่บ่งบอกว่าขอ้ มลู จะต้องไม่ซา้ กนั ในแต่ละแถวขอ้ มลู ของตาราง ดังนัน้ คา่ ของคีย์หลกั จะตอ้ งไมซ่ ้ากันในแต่ ละ tuple เชน่ จาก ตาราง Persons สามารถใช้ LastName เปน็ คยี ห์ ลัก สง่ิ ท่ีผเู้ รียนควรทราบเกยี่ วกับขอ้ มูลในตาราง ของฐานข้อมลู แบบสมั พนั ธ์ • ทุกตารางต้องมีคียห์ ลัก • Tuple หรือข้อมูลในแตล่ ะแถวของตาราง มขี อ้ มลู ไมซ่ า้ กนั เช่นเราคงไมเ่ กบ็ ขอ้ มูล ลกู ค้าคนเดียวกันใน 2 tuples • Tupleไม่มีลาดบั จากบนลงล่าง • Attribute ไม่มลี าดับจากซ้ายไปขวาทกุ attributes ในแต่ละตาแหน่งของ tuple ในตาราง จะมคี า่ เพียงคา่ เดยี ว จะไม่มรี ายการของข้อมลู (เรยี กว่า repeating group หรอื list of value) ในตาราง relation 4. ฐานข้อมลู เชงิ วัตถุ (Object Oriented Model) • ใชใ้ นการประมวลผลขอ้ มูลทางด้านมลั ติมเี ดีย คอื มีขอ้ มลู ภาพ และเสยี ง หรอื ขอ้ มูลแบบมกี ารเช่ือมโยงแบบเว็บเพจ ซึ่งไม่เหมาะสาหรับ Relation Model • มองสิ่งตา่ ง ๆ เป็น วัตถุ (Object) วตั ถุประสงค์ของแบบจาลองข้อมลู • เพอื่ นาแนวคดิ ต่าง ๆ มาเสนอให้เกดิ เป็นแบบจาลอง • เพอ่ื นาเสนอข้อมลู และความสมั พันธ์ระหวา่ งข้อมลู ในรูปแบบทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย เช่นเดียวกนั การดูแปลนบ้านท่ีจะทาใหเ้ ราเข้าใจโครงสร้างบา้ นไดเ้ รว็ • เพื่อใชใ้ นการส่อื สารระหว่างผู้ออกแบบฐานขอ้ มูลกบั ผ้ใู ช้ให้ตรงกันประเภทของ แบบจาลองข้อมลู • ประเภทของแบบจาลองข้อมูล แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Conceptual Models คอื แบบจาลองแนวคดิ ท่ีใช้พรรณนาลักษณะโดยรวมของ ข้อมูลทง้ั หมดในระบบ โดยนาเสนอในลกั ษณะของแผนภาพ ซง่ึ ประกอบดว้ ยเอนที ตีตา่ ง ๆ และความสมั พันธ์ โดยแบบจาลองเชงิ แนวคดิ นี้ต้องการนาเสนอให้เกดิ ความเข้าใจระหว่างผู้ออกแบบและผใู้ ชง้ าน คอื เมือ่ เหน็ ภาพแบบจาลองดังกล่าวก็ จะทาใหเ้ ขา้ ถึงข้อมลู ชนิดตา่ ง ๆ 2. Implementation Models เปน็ แบบจาลองท่อี ธบิ ายถงึ โครงสรา้ งของฐานขอ้ มูล คุณสมบัตขิ องแบบจาลองข้อมูลท่ดี ี • ง่ายตอ่ ความเข้าใจ • มสี าระสาคัญและไม่ซา้ ซ้อน หมายถงึ แอตทรบิ ิวตใ์ นแตล่ ะเอนทีตไ้ี ม่ควรมีข้อมลู ซ้าซอ้ น • มคี วามยืดหยนุ่ และงา่ ยตอ่ การปรับปรุงในอนาคต กล่าวคอื แบบจาลองขอ้ มูลทด่ี ีไม่ ควรขึ้นอยกู่ บั แอปพลิเคชนั โปรแกรม และสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง ซ่งึ จะไม่ส่งผลกระทบต่อโปรแกรมทใ่ี ชง้ านอยู่ น่นั คอื ความเปน็ อิสระในข้อมลู ฐานข้อมลู ทีน่ ิยมใช้กันแพรห่ ลายมากที่สุดในปจั จบุ นั คอื ฐานขอ้ มลู แบบสัมพันธ์ ฐานข้อมูลแบบลาดับช้นั เปน็ ฐานขอ้ มูลแรกท่ีนามาใช้ในวงการธุรกิจ ถดั มาคอื ฐานข้อมูล แบบเครือขา่ ย และปัจจบุ ันน้ีมฐี านขอ้ มลู สมยั ใหมเ่ กดิ ขนึ้ คือฐานขอ้ มลู แบบจาลองเชงิ วตั ถุ นัน่ คอื ฐานข้อมูลน้ันมกี ารนาเสนอขอ้ มูลและความสมั พนั ธร์ ะหว่างข้อมูลท่แี ตกตา่ ง กันไป ความสัมพนั ธ์ (Relationships) ของระบบฐานขอ้ มูล ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้นักศกึ ษา และเอนทติ ้ีคณะวิชา เป็นลักษณะวา่ นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหน่ึง เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทติ ี้ จงึ อาจแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื ความสัมพันธ์แบบหน่ึงต่อหนงึ่ (One-to-one Relationships) ความสมั พันธ์แบบหนึ่งตอ่ หน่ึง (One-to-one Relationships) เปน็ การแสดง ความสมั พันธข์ องขอ้ มูลในเอนทติ หี้ นึ่งทีม่ ีความสัมพนั ธ์กับขอ้ มูลในอกี เอนทิต้ีหน่งึ ใน ลกั ษณะหน่งึ ต่อหน่ึง ตัวอย่างเชน่ ผ้เู ช่า 1 คน สามารถเช่าหนงั สอื ได้เพียง 1 เล่ม หรือ1 ชดุ เทา่ นั้น ในขณะเดยี วกนั หนงั สือ 1 เลม่ หรือ 1 ชดุ กจ็ ะมีผเู้ ชา่ เพยี งคนเดียว เพราะมี เพยี งเล่มเดียวหรอื ชุดเดียวเทา่ น้นั ความสมั พันธ์แบบหนง่ึ ต่อหน่งึ (One-to-one Relationships)ความสัมพนั ธ์แบบหนง่ึ ต่อ หนง่ึ (One-to-one Relationships) นกั ศกึ ษาหนง่ึ คนจะมีสูตบิ ัตรเพยี งใบเดียวเทา่ น้ัน สูตบิ ตั รหนงึ่ ใบกเ็ ปน็ ของนกั ศึกษาได้เพียงคนเดยี วเท่านั้นเช่นกัน ความสมั พนั ธ์แบบหน่ึงตอ่ กลมุ่ (one-to-many Relationships) ความสัมพันธ์แบบหน่งึ ต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships) เปน็ การแสดง ความสมั พันธข์ องข้อมลู ในเอนทิตี้หนง่ึ ท่ีมีความสมั พนั ธ์ข้อมลู หลาย ๆ ข้อมลู ในอกี เอนทติ หี้ นึง่ ตัวอย่าง เชน่ ผู้เช่า 1 คนสามารถเชา่ หนังสอื ไดเ้ พียง 1 เลม่ หรอื 1 ชดุ แต่ หนงั สอื รหัสเดียวกนั สามารถมผี ู้เช่ามากกวา่ 1 คน เพราะมีหนังสอื ใหเ้ ช่ามากกว่า 1 เลม่ หรอื มากกวา่ 1 ชดุ ความสัมพันธ์แบบหนึง่ ตอ่ กลมุ่ (one-to-many Relationships)ความสมั พันธ์แบบหนง่ึ ตอ่ กล่มุ (one-to-many Relationships) ลกู ค้าหนง่ึ คนมใี บเสร็จได้หลายใบ เนือ่ งจากลกู คา้ หนงึ่ คนอาจมาซือ้ สินค้าหลายคร้ัง ใบเสรจ็ หนึง่ ใบต้องเป็นของลกู ค้าเพยี งคนเดียวเท่าน้ัน ความสมั พนั ธแ์ บบกลุ่มต่อกล่มุ (Many-to-many Relationships) ความสัมพันธ์แบบกลมุ่ ตอ่ กลมุ่ (Many-to-many Relationships) เปน็ การแสดง ความสมั พันธ์ ของขอ้ มลู สองเอนทิตีใ้ นลกั ษณะกลมุ่ ต่อกล่มุ ตวั อยา่ งเช่น หนังสือ 1 เรอ่ื ง จะมผี ู้ยมื หนงั สือไดม้ ากกวา่ 1 คน ในขณะเดยี วกัน ผยู้ มื หนังสือ 1 คน กส็ ามารถยืม หนังสือไดม้ ากกว่า 1 เรอ่ื ง ความสัมพันธแ์ บบกล่มุ ต่อกล่มุ (Many-to-many Relationships)ความสัมพันธแ์ บบ กลมุ่ ตอ่ กลมุ่ (Many-to-many Relationships) นิสิตสามารถลงทะเบียนเรยี นได้หลาย ๆ วชิ าพร้อมกนั ในแต่ละครงั้ และในทางตรงกัน ข้าม ในแตล่ ะวิชา 1 วิชา จะประกอบดว้ ยนิสิตหลายคนมาลงทะเบียนในวชิ าน้ัน แนวคิดเกี่ยวกบั ER-DIAGRAM ER-DIAGRAM ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบพื้นฐานดงั น้ี • เอนทิต้ี (Entity) เป็นวตั ถุ หรอื สงิ่ ของทีเ่ ราสนใจในระบบงานน้ัน ๆ • แอททริบวิ (Attribute) เปน็ คณุ สมบตั ขิ องวตั ถุทีเ่ ราสนใจ • ความสมั พันธ์ (Relationship) คือ ความสมั พนั ธ์ระหว่างเอนทติ ้ี เอนทติ ้ี (Entity) เอนทติ ี้ หมายถงึ สงิ่ ของหรือวตั ถุทเ่ี ราสนใจ ซงึ่ อาจจบั ตอ้ งได้และเป็นไดท้ งั้ นามธรรม โดยทั่วไป เอนทติ ีจ้ ะมลี ักษณะทแ่ี ยกออกจากกันไป เชน่ เอนทิตีพ้ นกั งาน จะแยก ออกเป็นของพนักงานเลย เอนทติ ี้เงินเดือนของพนกั งานคนหนึง่ กอ็ าจเปน็ เอนทติ ห้ี นึ่งใน ระบบของโรงงาน โดยทัว่ ไปแลว้ เอนทติ ี้จะมกี ลุ่มทบี่ อกคุณสมบัตทิ ่บี อกลักษณะของเอนทิตี้ เช่น พนกั งาน มรี หสั ชือ่ นามสกลุ และแผนก โดยจะมีค่าของคุณสมบตั บิ างกลุ่มที่ทาให้สามารถแยก เอนทิตอ้ี อกจากเอนทติ ้ีอ่นื ได้ เชน่ รหัสพนักงานที่จะไม่มพี นักงานคนไหนใช้ซ้ากันเลย เราเรยี กคา่ วของคุณสมบตั กิ ลมุ่ นว้ี ่าเปน็ คีย์ของเอนทิตี้ รปู สญั ลกั ษณข์ องเอนทิตี้ คือ รปู ส่ีเหลย่ี มผืนผ้า ตัวอยา่ งเช่น แอททรบิ วิ ท์ (Attribute) Attribute คือ คุณสมบัติของวัตถุหรือส่งิ ของที่เราสนใจ โดยอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ลักษณะของเอนทติ ้ี โดยคุณสมบัตินี้มีอย่ใู นทุกเอนทติ ี้ เช่น ชือ่ นามสกลุ ที่อยู่ แผนก เป็น Attribute ของเอนทิตี้พนกั งาน โดยท่ัวไปแล้วโมเดลข้อมูล เรามักจะพบว่า Attribute มีลักษณะข้อมลู พน้ื ฐานอยโู่ ดยท่ี ไมต่ อ้ งมีคาอธิบายมากมาย และ Attribute กไ็ มส่ ามารถอยแู่ บบโดด ๆ ได้โดยท่ไี ม่มี เอนทติ ้ีหรอื ความสัมพันธ์ รปู สญั ลกั ษณ์ของ Attribute คอื รปู วงรีโดยที่จะมีเสน้ เช่ือมต่อกับเอนทติ ้ี ตัวอย่างเช่น ชนดิ ของ Attribute สามารถแบ่งออกไดห้ ลายลักษณะดังนี้ Simple และ Composite • Simple Attribute คือ Attribute ทไ่ี มส่ ามารถแยกออกเป็นสว่ นยอ่ ยไดเ้ ชน่ รหัส • Composite Attribute คือ Attribute ที่สามารถแยกออกเป็นส่วนย่อยไดเ้ ชน่ ชอ่ื อาจจะประกอบดว้ ยชอ่ื ตน้ และชือ่ สกุล เป็นต้น โดยยกตวั อยา่ งเช่น Single – valued และ Multi – valued attribute • Single – valued คือ คา่ ของเอนทติ ้ีทีส่ ามารถมีไดแ้ ค่คา่ เดยี ว เช่น วนั เกิด สาหรบั พนกั งานแลว้ สามารถมีได้เพยี งคา่ เดียว จงึ ใหส้ ญั ลักษณ์ของ Attribute ปกติ • Multi – valued คือ ค่าท่ีเป็นไปได้มากกว่า 1 ค่า เชน่ ทาเลที่ต้ังของโรงงาน สามารถมีไดม้ ากกวา่ 1 แห่ง • รูปสญั ลักษณ์ทใี่ ช้จะเปน็ รปู วงรซี อ้ นกัน 2 รูป โดยจะยกตัวอย่างเช่น Stored และ Derived attribute • Stored Attribute จะเป็น Attribute ท่เี ก็บอยู่ในฐานขอ้ มลู เชน่ วนั เกิด ใช้ สัญลักษณป์ กติ • Derived Attribute เปน็ Attribute ทีเ่ กดิ จากการคานวณ เชน่ อายุ เกิดจากการ คานวณวนั เกดิ กับช่วงเวลาปจั จบุ นั • รปู สญั ลักษณ์ คือ รปู วงรีมีเส้นประรอบ ๆ โดยจะยกตวั อย่าง เช่น ความสมั พนั ธ์ (Relationship) เอนทติ แ้ี ต่จะตอ้ งมคี วามสมั พันธร์ ่วมกนั โดยจะมีชอื่ แสดงความสัมพนั ธ์ร่วมกันซง่ึ จะใช้ รูปภาพสัญลกั ษณส์ ี่เหล่ยี มรูปวา่ วแสดงความสมั พันธ์ระหว่างเอนทิต้ีและระบุชื่อ ความสมั พันธ์ลงในสีเ่ หลย่ี ม ดงั ตัวอย่างเชน่ รูปนแ้ี สดงให้เหน็ ถึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง เอนทติ ี้อาจารย์กับกลุ่มเรียน ระดับชั้นของความสมั พนั ธ์ (Relationships Degree) จะบอกถึงความสมั พันธ์ ระหว่างเอนทิต้ี มดี ังนี้ • ความสัมพันธเ์ อนทิต้ีเดียว (Unary Relationships) หมายถึง เอนทติ ห้ี นึง่ ๆ จะมี ความสัมพันธ์กบั ตวั มนั เอง • ความสัมพันธส์ องเอนทิต้ี (Binary Relationships) หมายถึง เอนทิต้ีสองเอนทิต้จี ะ มคี วามสมั พนั ธ์กนั • ความสมั พันธส์ ามเอนทติ (ี้ Ternary Relationships) หมายถึง เอนทิต้ีสามเอนทิตม้ี ี ความสมั พันธ์กัน ประเภทของระบบฐานขอ้ มูล การแบง่ ประเภทของระบบฐานขอ้ มลู มกี ารแบง่ ออกหลายประเภท ขนึ้ อยู่กบั ชนดิ และ ประเภทท่ีนามาจาแนกในบทเรียนนี้จะแบง่ ประเภทของระบบฐานขอ้ มูล ออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ตามชนิดต่าง ๆ ดงั น้ี 1. แบ่งตามจานวนของผูใ้ ช้ การแบง่ โดยใช้จานวนผใู้ ชเ้ ป็นหลกั สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทไดแ้ ก่ 1.1 ผู้ใชค้ นเดยี วเปน็ ระบบฐานข้อมลู ท่ใี ชภ้ ายในองคก์ รขนาดเล็ก เชน่ ระบบ Point of sale ของร้านสะดวกซ้อื หรอื ระบบบัญชขี องรา้ นเลก็ ๆ ท่วั ไป เปน็ ต้น มีเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ พยี งเคร่อื งเดียวและผูใ้ ชเ้ พยี งคนเดียว ไมม่ ีการแบ่งฐานขอ้ มลู ร่วมกนั ใช้กบั ผู้อ่ืน ถ้าผูใ้ ชค้ นอ่ืนต้องการใช้ระบบน้จี ะตอ้ งรอใหผ้ ูใ้ ช้คนแรกเลกิ ใช้กอ่ นจึง จะใช้ได้ 1.2 ผูใ้ ช้หลายคน แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทย่อย ๆ ได้แก่ ผ้ใู ช้เปน็ กลุ่ม หรอื Workgroup database และประเภทฐานขอ้ มลู ขององคก์ รขนาดใหญ่ หรอื Enterprise database ผู้ใช้เป็นกลุม่ เปน็ ฐานข้อมลู ทีม่ ผี ูใ้ ชห้ ลายกล่มุ หรือหลายแผนก และแตล่ ะกลมุ่ อาจมผี ูใ้ ช้หลายคน มีการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ซึง่ กนั หรอื อาจจะใช้ฐานข้อมลู เดยี วกนั ก็ได้ แตจ่ ะอยู่ในองค์กรเดยี วกันเทา่ นั้นองค์การขนาดใหญ่ เปน็ ระบบฐานขอ้ มูลท่ใี ช้กับองค์กร ขนาดใหญ่ที่มสี าขาหลายสาขา ท้ังในประเทศหรือมสี าขาในต่างประเทศ จะใช้ฐานขอ้ มูล ขนาดใหญ่ มรี ะบบสารอง การรกั ษาความปลอดภยั เป็นอย่างดี 2. แบ่งโดยใช้ขอบเขตของงาน การแบง่ โดยใชข้ อบเขตของงาน แบ่งออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ ประเภทผ้ใู ชค้ น เดยี ว ประเภทผใู้ ช้เปน็ กลมุ่ และประเภทองค์การขนาดใหญ่ ดงั ได้กล่าวรายละเอยี ดใน ตอนตน้ แลว้ 3. แบง่ ตามสถานทต่ี งั้ การแบง่ ตามสถานทตี่ งั้ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ ประเภท ศูนยก์ ลาง และ ประเภทกระจาย ท้งั สองประเภทมีรายละเอียดดังน้ี 3.1 ประเภทศูนย์กลาง เปน็ ระบบฐานข้อมูลท่นี าเอามาเก็บไวใ้ นตาแหนง่ ศูนยก์ ลาง ผ้ใู ช้ทุกแผนก ทกุ คนจะตอ้ งมาใช้ข้อมูลร่วมกัน ตามสิทธิข์ องผู้ใช้แต่ละกลุ่ม หรอื แตล่ ะคน 3.2 ประเภทกระจาย เป็นระบบฐานข้อมลู ท่เี กบ็ ฐานข้อมูลไว้ ณ ตาแหน่งใด ๆ ของแผนก และแต่ละแผนกใช้ฐานข้อมลู ร่วมกันโดยผู้มีสิทธิ์ใชต้ ามสิทธิท์ ่ีไดก้ าหนดจากผู้ มีอานาจ การเขา้ ถงึ ข้อมูล เช่น ฐานขอ้ มูลของฝา่ ยบคุ คลเก็บไวท้ ่แี ผนกทรัพยากรบุคคล ยอมใหฝ้ ่ายบญั ชีนารายช่ือของพนกั งานไปใช้รว่ มกับฐานข้อมูลการจ่ายโบนสั และใน ขณะเดยี วกนั ฝา่ ยบญั ชีมฐี านข้อมลู เก็บเงินเดอื น สวสั ดกิ ารและรายจ่ายตา่ ง ๆ ของ พนกั งานเพื่อให้แผนกอื่น ๆ เขา้ มาใช้ได้เชน่ กนั 4. แบ่งตามการใชง้ าน การแบ่งตามการใช้งานแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ ฐานข้อมลู สาหรบั งาน ประจาวัน ฐานขอ้ มูลเพื่อใชใ้ นการตดั สนิ ใจ และเพ่ือเปน็ คลังข้อมลู 4.1 ฐานขอ้ มลู สาหรับงานประจาวัน เปน็ ระบบฐานข้อมลู ทใี่ ช้ในงานประจาวนั ของพนกั งานระดับปฏบิ ัติการป้อนขอ้ มลู เขา้ สรู่ ะบบ เชน่ งานสนิ ค้าคงคลัง งานระบบซื้อ มาขายไป สาหรับรา้ นสะดวกซ้อื หรือระบบงานขายของร้านค้าทว่ั ไป เปน็ ต้น ฐานข้อมลู ประเภทน้ีมกี ารนาขอ้ มูลเขา้ เปลยี่ นแปลงและลบออกตลอดทั้งวนั จึงทาให้ข้อมูล เปลย่ี นแปลงตลอดเวลา 4.2 ฐานข้อมูลเพื่อการตดั สินใจ ระบบฐานขอ้ มลู ประเภทน้มี ไี วเ้ พ่อื ใชใ้ นการ สนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใชร้ ะดบั ผู้บรหิ ารระดับกลางขึน้ ไป ขอ้ มลู ทน่ี าเขา้ มาในระบบ ไดจ้ ากการป้อนขอ้ มูลงานประจาวันของฐานข้อมลู สาหรับงานประจาวัน ส่วนใหญ่ ฐานขอ้ มลู ประเภทน้ีนาไปใช้ในงานวางแผนกลยทุ ธใ์ นองคก์ ร 4.3 ฐานขอ้ มลู เพ่ือเปน็ คลงั ขอ้ มูล ฐานข้อมลู ประเภทน้ีเกิดจากการนาข้อมลู เขา้ มาในระบบทกุ ๆ วนั จงึ ทาให้เกดิ มีขอ้ มลู ขนาดใหญ่ จงึ นาเอาขอ้ มลู ที่มีประโยชนม์ าสรา้ ง ฟงั ก์ชันหรือสมการตา่ งเพือ่ ประมวลผลหาผลลัพธต์ า่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์กับองค์กร หน้าทขี่ องระบบการจัดการฐานข้อมลู ซอฟตแ์ วร์ระบบฐานการจดั การฐานข้อมูลทดี่ ีจะตอ้ งทาหน้าท่ีแก้ปัญหาความไม่สมบรู ณ์ ไมค่ งเส้นคงวาของข้อมูลและทาใหข้ ้อมลู มคี วามถูกตอ้ งไมข่ ัดแย้งกนั ได้ จึงต้องมหี นา้ ที่ให้ ครอบคลมุ หลาย ๆ ด้าน ดังน้ี 1.หนา้ ที่จดั การพจนานุกรมข้อมูล ในการออกแบบฐานขอ้ มลู โดยปกติ ผูอ้ อกแบบไดเ้ ขยี นพจนานุกรมข้อมลู ในรูปของ เอกสารใหก้ ับโปรแกรมเมอร์ โปรแกรมเมอรจ์ ะใช้ซอฟต์แวรร์ ะบบการจัดการฐานข้อมลู สรา้ งพจนานุกรมขอ้ มลู ตอ่ ไป และสามารถกาหนดความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตาราง เมือ่ มี การเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งข้อมลู จาเป็นต้องเปล่ยี นที่พจนานกุ รมข้อมลู ด้วย โปรแกรมเมอร์สามารถเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งข้อมูลไดท้ นั ที ตอ่ จากนนั้ จึงให้พจนานกุ รม ข้อมูลพมิ พ์รายงาน พจนานกุ รมข้อมลู ทเี่ ปล่ยี นแปลงไปแล้วเป็นเอกสารไดเ้ ลยทันท่ี โดย ไม่ตอ้ งแก้ไขทเี่ อกสาร 2.หนา้ ที่จดั การแหล่งจัดเกบ็ ขอ้ มูล ระบบการจดั การฐานข้อมูลทีท่ นั สมัยจะไม่ทาหน้าทเ่ี พียงจดั การแหลง่ จดั เกบ็ ข้อมูล เท่านน้ั แต่ยงั เพ่มิ หนา้ ท่ีท่เี ก่ยี วกับการสร้างฟอรม์ ปอ้ นข้อมลู เขา้ หรือกาหนดแบบจอภาพ แบบรายงาน หรอื แมแ้ ตก่ ารตรวจสอบข้อมลู นาเขา้ วา่ ถูกต้องหรือไม่ และจดั การเรอื่ งอื่น ๆ อกี หลายอยา่ ง 3.การเปลี่ยนรูปแบบและการแสดงผลขอ้ มลู การเปลยี่ นรปู แบบและการแสดงผลข้อมูล เปน็ หน้าทสี่ าหรับเปลยี่ นข้อมูลทถ่ี ูกป้อนเข้า ไปเป็นโครงสรา้ งขอ้ มูลจะจดั เกบ็ ซ่งึ อยูใ่ นมุมมองทางกายภาพ หรอื อาจจะกลา่ วไดว้ ่า ระบบจดั การฐานขอ้ มูลทาขอ้ มูลใหเ้ ปน็ อสิ ระจากโปรแกรมประยุกต์ได้ 4.จัดการดา้ นความปลอดภัยของข้อมลู ระบบจัดการฐานข้อมลู ทาหน้าที่รกั ษาความมัน่ คง ความปลอดภัยของข้อมูล การไม่ ยนิ ยอมเขา้ ถึงขอ้ มูลจากผใู้ ช้ท่ีไมม่ ีสิทธิ์เขา้ ไปใช้ฐานข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ฐานข้อมูล ประเภทผ้ใู ช้หลายคน นอกจากนีย้ งั สามารถกาหนดสิทธิใ์ ห้ผ้ใู ช้แตล่ ะคนใช้คาสง่ั เพิ่ม หรือลบ ปรบั ปรงุ ข้อมลู ได้เปน็ รายคนหรือรายกลมุ่ 5.ควบคมุ การเข้าถงึ ขอ้ มลู ของผ้ใู ช้ การควบคุมการเขา้ ถึงข้อมลู เป็นการทาหนา้ ท่ใี ห้ผ้ใู ชเ้ ขา้ ใช้ไดห้ ลาย ๆ คนในเวลา เดียวกันโดยไมท่ าให้เกิดขัดขอ้ งของข้อมลู ซงึ่ จะเน้นกฎความสมบูรณ์ของข้อมูลและการ ใช้ข้อมูลพร้อมกัน 6.สารองข้อมูลและการกคู้ ืนข้อมลู การสารองข้อมูลและการกูค้ นื ขอ้ มูล เป็นหนา้ ทท่ี ี่จาเปน็ อย่างยิ่งเพอ่ื ใหผ้ ู้ใชร้ ะบบ ฐานขอ้ มูลม่ันใจวา่ ขอ้ มลู ท่ีจดั เก็บอยใู่ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ไมไ่ ดเ้ สยี หาย ยงั มคี วาม สมบรู ณอ์ ยูต่ ลอดเวลา ผใู้ ช้ท่เี ปน็ ผบู้ รหิ ารฐานข้อมูลสามารถใช้คาสงั่ สารองขอ้ มูลและ คาส่งั กคู้ นื ข้อมูลได้ 7.จัดการดา้ นบรู ณภาพของข้อมลู เปน็ ขอ้ กาหนดใหม้ กี ฎความสมบูรณ์เป็นบรู ณภาพ โดยจะให้มขี ้อมูลท่ซี ้าซอ้ นกันให้น้อย ท่สี ุด แตใ่ ห้มคี วามถูกต้องตรงกนั ให้มากทีส่ ุด เพราะในระบบฐานขอ้ มลู เชงิ สัมพนั ธ์จะมี หลาย ๆ ตารางท่ีสมั พนั ธ์กนั ตารางทีเ่ ก่ียวข้องกันจะขดั แยง้ กันไมไ่ ด้ 8.เป็นภาษาสาหรับจดั การข้อมูลและจดั สรา้ งส่วนประสานกบั ผู้ใช้ ระบบจดั การฐานข้อมลู จดั ใหม้ ภี าษาสาหรบั สอบถาม เป็นภาษาทเ่ี ขียนเขา้ ใจง่ายไม่ เหมอื นภาษาชั้นสงู ประเภท Procedural ทั่วไป ทาให้ผเู้ ขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง เขียนคาสงั่ เข้าไปสอบถามข้อมลู หรอื ประมวลผลสารสนเทศได้ตามต้องการ 9.เป็นส่วนประสานกบั ผู้ใช้ในด้านการสอ่ื สารฐานขอ้ มลู ระบบการจัดการฐานข้อมูลสมัยใหมจ่ ะสนับสนุนการทางานแบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ เพอื่ ใหผ้ ู้ใช้สามารถเขียนคาสั่งดว้ ยโปรแกรมทท่ี างาน บน www เชน่ browser ของ Internet Explorer หรือ Netscape เปน็ ต้น การบรหิ ารฐานขอ้ มูล ในระบบฐานข้อมูลนอกจากจะมีระบบการจัดการฐานขอ้ มูล ซง่ึ เป็นซอฟตแ์ วร์ทีส่ รา้ งขนึ้ เพอ่ื จัดการกับข้อมลู ใหเ้ ปน็ ระบบ จะได้นาไปเก็บรกั ษา เรยี กใช้ หรือนามาปรบั ปรุงให้ ทันสมัยไดง้ ่ายแลว้ ในระบบฐานข้อมูลยังต้องประกอบด้วยบคุ คลทมี่ หี น้าที่ควบคุมดแู ล ระบบฐานขอ้ มูล คอื ผบู้ รหิ ารฐานข้อมลู เหตุผลสาหรับประการหนึง่ ของการจัดทาระบบจัดการฐานขอ้ มลู คือ การมศี นู ย์กลาง ควบคุมท้ังข้อมลู และโปรแกรมทีเ่ ข้าถึงข้อมูลเหล่านั้น บุคคลทม่ี ีอานาจหนา้ ทีด่ แู ลการ ควบคมุ น้ี เรยี กว่า ผบู้ ริหารฐานข้อมูล หรือ DBA (data base administor) คือ ผู้มี หนา้ ท่ีควบคุมการบรหิ ารงานของฐานขอ้ มลู ทั้งหมด 1. หนา้ ทขี่ องผู้บริหารฐานข้อมลู 1.1 กาหนดโครงสร้างหรือรูปแบบของฐานข้อมูล โดยทาการวเิ คราะห์และตัดสนิ ใจ วา่ จะรวมข้อมลู ใดเขา้ ไวใ้ นระบบใดบา้ ง ควรจะจัดเกบ็ ข้อมลู ดว้ ยวธิ ใี ด และใชเ้ ทคนิคใด ในการเรียกใชข้ ้อมลู อยา่ งไร 1.2 กาหนดโครงสรา้ งของอปุ กรณเ์ ก็บขอ้ มูลและวิธีการเข้าถงึ ข้อมลู โดยกาหนด โครงสร้างของอปุ กรณเ์ ก็บข้อมูลและวธิ กี ารเขา้ ถึงขอ้ มลู พรอ้ มทัง้ กาหนดแผนการในการ สร้างระบบขอ้ มูลสารองและการฟื้นสภาพ โดยการจัดเกบ็ ข้อมูลสารองไวท้ ุกระยะ และ จะต้องเตรยี มการไว้วา่ ถา้ เกดิ ความผิดพลาดขนึ้ แลว้ จะทาการฟื้นสภาพไดอ้ ย่างไร 1.3 มอบหมายขอบเขตอานาจหน้าท่ขี องการเข้าถึงขอ้ มูลของผใู้ ช้ โดยการ ประสานงานกบั ผู้ใช้ ให้คาปรึกษา ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ใู้ ช้ และตรวจตราความต้องการ ของผู้ใช้5.ระบบการจัดการฐานข้อมลู (data base management system, DBMS) 2. หนา้ ท่ีของระบบการจดั การฐานขอ้ มูล 2.1 ระบบจดั การฐานข้อมูลเปน็ ซอฟต์แวร์ทที่ าหน้าที่ดังต่อไปนี้ ดแู ลการใชง้ าน ให้กับผใู้ ช้ ในการติดต่อกับตวั จัดการระบบแฟม้ ขอ้ มูลได้ ในระบบฐานขอ้ มลู นีข้ อ้ มูลจะมี ขนาดใหญ่ ซง่ึ จะถกู จัดเก็บไว้ในหน่วยความจาสารองเมือ่ ผใู้ ชต้ ้องการจะใช้ฐานข้อมลู ระบบการจดั การฐานข้อมูลจะทาหนา้ ท่ตี ดิ ตอ่ กับระบบแฟ้มขอ้ มลู ซ่ึงเสมอื นเปน็ ผจู้ ดั การ แฟ้มข้อมลู (file manager) นาข้อมลู จากหน่วยความจาสารองเขา้ ส่หู นว่ ยความจาหลัก เฉพาะสว่ นทีต่ อ้ งการใชง้ าน และทาหนา้ ทีป่ ระสานกับตวั จัดการระบบแฟม้ ขอ้ มลู ในการ จดั เก็บ เรียกใช้ และแกไ้ ขขอ้ มลู 2.2 ควบคมุ ระบบความปลอดภัยของข้อมลู โดยปอ้ งกันไม่ให้ผู้ทีไ่ มไ่ ด้รบั อนุญาตเข้า มาเรยี กใช้หรอื แกไ้ ขข้อมลู ในส่วนปอ้ งกนั เอาไว้ พรอ้ มทง้ั สร้างฟงั กช์ นั ในการจัดทาข้อมูล สารอง โดยเมอ่ื เกิดมีความขดั ข้องของระบบแฟ้มขอ้ มูลหรือของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เกิด การเสยี หายนั้น ฟงั ก์ชันนี้จะสามารถทาการฟน้ื สภาพของระบบขอ้ มูลกลบั เข้าสสู่ ภาพที่ ถกู ต้องสมบรู ณไ์ ด้ 2.3 ควบคมุ การใชข้ อ้ มูลในสภาพท่มี ผี ูใ้ ช้พรอ้ ม ๆ กันหลายคน โดยจัดการเม่ือมี ขอ้ ผดิ พลาดของขอ้ มลู เกดิ ขึน้ ภาษาทใ่ี ชใ้ นระบบฐานข้อมลู ภาษาท่ใี ช้ในระบบฐานข้อมูลทมี่ ีใชก้ นั ในปจั จบุ ันจาแนกได้เปน็ 3 ประเภท • ภาษานิยามข้อมูล (Data Definition Language: DDL) เปน็ ภาษาทใ่ี ชใ้ นการ กาหนดโครงสรา้ งการจัดเก็บข้อมลู และรายละเอียดฐานขอ้ มูลท่ีสรา้ งขนึ้ • ภาษาควบคมุ (data control language: DCL) เปน็ ภาษาที่ใช้ในการควบคมุ ความถกู ตอ้ งของข้อมูล และควบคมุ ความปลอดภัยของข้อมลู ภาษาในสว่ นนจ้ี ะทา การปอ้ งกันการเกดิ เหตกุ ารณท์ ผ่ี ้ใู ช้หลายคนเรียกใชข้ ้อมลู พร้อมกัน โดยจะทา หน้าทีค่ วบคุมความถูกตอ้ งของการใช้ข้อมูลและทาการลาดับการใช้ข้อมลู ของผใู้ ช้ แต่ละคนและตรวจสอบสิทธใ์ิ นการใชข้ อ้ มลู น้ัน ๆ • ภาษาจัดการข้อมูล (Data Manipulation Language: DML) เป็นภาษาใชส้ าหรบั จดั การขอ้ มลู ภายในฐานข้อมลู ไดแ้ ก่การเรียกคน้ เพ่มิ ลบ และปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มลู การเรียกดขู ้อมูลจากฐานข้อมูลจะต้องผา่ นคาสัง่ หรือขอ้ ความของภาษาจัดการ ขอ้ มลู หาข้อความ ซึง่ กลุม่ ของข้อความเหล่านั้นมลี ักษณะเป็นการถามระบบขอ้ มลู เพ่ือใหร้ ะบบจดั การฐานขอ้ มูลหาคาตอบจากข้อมูลท่ีเก็บไวแ้ ละตอบกลบั มา กล่มุ ของข้อความเหล่านั้นเรียกว่า ภาษาคาถาม (query language) แตโ่ ดยทัว่ ไปแลว้ คาว่า DML และ ภาษาคาถาม จะใช้แทนกนั เสมอ เช่น SELECT employee-name FROM employee-file WHERE sex = “female” AND salary GREATER THAN 5000 เป็นการไปเรยี กดูขอ้ มลู ชือ่ ของลกู จา้ งที่เป็นผูห้ ญงิ และมเี งินเดอื นมากกวา่ 5,000 จาก ฐานข้อมูลช่ือ employee-file นยิ ามและคาศพั ท์พน้ื ฐานเกยี่ วกับระบบฐานข้อมลู 1. บิท (Bit) หมายถึง หนว่ ยเก็บข้อมลู ทีเ่ ล็กทสี่ ดุ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เปน็ สญั ญาณดจิ ิตลั ซ่ึง ประกอบดว้ ยสัญญาณไฟฟ้า 2 สถานะ ได้แก่ 0 กับ 1 หรอื เปดิ กับปดิ หรือ จริงกบั เทจ็ การแทนคา่ บติ ท่ีมสี ัญญาณไฟฟา้ ใหม้ คี ่าเปน็ 1 และสัญญาณท่ีไม่มีไฟฟ้า มคี ่า เป็น 0 จานวนคา่ เพยี ง 1 คา่ น้ี เรียกวา่ 1 บิต 2. ไบท์ (Byte) หมายถงึ หน่วยของข้อมลู ทีเ่ กิดจากการนาบทิ มารวมกันเป็นตัวอักขระ (Character) การนาค่าบิตจานวน 8 บติ มาเรยี งตอ่ กนั ตามมาตรฐานรหสั ASCII จะแทนค่าตวั อกั ขระได้ 1 ตวั อักษร เช่น 01000001แทนตัวอกั ษร “A” เปน็ ตน้ แตต่ าม มาตรฐาน Unicode จะใช้จานวน 16 บติ 3. เขตขอ้ มูล (Field) หมายถึง หน่วยของข้อมลู ทปี่ ระกอบข้ึนจากตัวอักขระตง้ั แตห่ นึง่ ตวั ข้นึ ไปมารวมกนั แล้วได้ความหมายของสิง่ ใดสงิ่ หน่งึ เช่น ชอ่ื ทอ่ี ยู่ เป็นต้น จากตารางท่ี 3 ข้อมูลในแถวที่ 1 มคี ่า A – ประกอบด้วยตวั อกั ขระ 2 ตวั คือ A และ – มีความหมายวา่ หมู่โลหติ A ชนิด Rh Negative เปน็ ตน้ เขตข้อมูล บางคร้งั เรียกอกี อย่างหนึง่ ว่า แอตทรบิ ิวต์ ตารางที่ 3 แสดงแฟม้ ขอ้ มูลรายช่ือผบู้ รจิ าคโลหิต **เป็นขอ้ มลู สมมตุ *ิ * เขตข้อมลู (Field) สามารถแยกประเภทของฟิลด์ไดเ้ ปน็ 3 ประเภทคอื – ฟลิ ด์ตวั เลข (numeric field) ประกอบด้วย อกั ขระท่เี ป็นตัวเลข ซง่ึ อาจเป็นเลข จานวนเตม็ หรอื ทศนิยมและอาจมเี คร่อื งหมายลบหรอื บวก เช่น ยอดคงเหลอื ในบัญชเี ปน็ กลุม่ ของตัวเลข – ฟิลดต์ ัวอักษร (alphabetic field) ประกอบด้วย อกั ขระทเ่ี ป็นตัวอกั ษรหรอื ช่องว่าง (blank) เช่น ช่ือลกู ค้าเป็นกลมุ่ ของตัวอักษร – ฟลิ ด์อกั ขระ (character field หรอื alphanumeric field) ประกอบด้วย อักขระซ่งึ อาจจะเป็นตวั เลขหรอื ตวั อกั ษรก็ได้ เช่น ท่ีอยูข่ องลกู คา้ 4.ระเบยี น (Record) หมายถงึ หนว่ ยของขอ้ มลู ท่ีเกิดจากการนาเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เพื่อเกดิ เปน็ ขอ้ มลู เรอ่ื งใดเรอ่ื งหนึ่ง เชน่ ขอ้ มลู ของนกั ศกึ ษา 1 ระเบียน (1 คน) จะ ประกอบด้วย รหัสประจาตวั นักศึกษา 1 เขตขอ้ มูล ชื่อนักศกึ ษา 1 เขตข้อมลู ทีอ่ ยู่ 1 เขตข้อมลู ระเบียนแต่ละระเบียนจะมีฟลิ ดท์ ่ใี ชอ้ า้ งองิ ถึงขอ้ มูลในระเบยี นน้ัน ๆ อย่างน้อย 1 ฟลิ ด์ เสมอ ฟิลดท์ ีใ่ ช้อ้างอิงนี้เรียกว่าคีย์ฟลิ ด์ (key field) ในทุกระเบียนจะมฟี ลิ ด์หนึ่งท่ีถูกใช้ เป็นคีย์ฟิลด์ ฟลิ ด์ท่ีถูกใชเ้ ป็นคยี จ์ ะเปน็ ฟิลด์ที่มีค่าไม่ซา้ กันในแต่ละระเบยี น (unique) เพื่อสะดวกในการจดั เรียงระเบยี นในแฟ้มขอ้ มลู และการจดั โครงสร้างของแฟ้มขอ้ มูล เชน่ ระเบียนของเชค็ ธนาคาร จะใช้เลขทบี่ ัญชีเปน็ คียฟ์ ิลด์ ระเบียนแฟม้ ข้อมลู พนักงาน ใชเ้ ลขประจาตัวพนักงานเปน็ คียฟ์ ิลด์ 5.แฟม้ ข้อมูล (File) หมายถงึ หนว่ ยของขอ้ มลู ทเี่ กดิ จากการนาขอ้ มลู หลาย ๆ ระเบยี นทเี่ ปน็ เร่ืองเดยี วกนั มา รวมกนั เชน่ แฟม้ ข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลลกู คา้ แฟ้มขอ้ มูลพนักงาน การจัดการแฟ้มขอ้ มูลอยา่ งถกู ตอ้ งมีความสาคัญอย่างยงิ่ ตอ่ ความม่นั คงปลอดภัย (security) ของขอ้ มลู ท่ีอยใู่ นแฟม้ ขอ้ มลู และในแฟ้มข้อมลู เอง แนวคดิ ในการจัดการ แฟม้ ข้อมลู เรม่ิ จากการออกแบบแฟ้มขอ้ มูลให้เหมาะสมกับการเรียกคน้ เรคอรด์ ขอ้ มูลมา ใช้ ไปจนถงึ การสารองแฟ้มข้อมลู และการกแู้ ฟม้ ข้อมลู แฟ้มขอ้ มูลอาจจะมีได้สองลกั ษณะ คือ 1. ระเบียนขนาดคงที่ (fixed length record) โดยปกติแล้วภายในแฟม้ ขอ้ มูลจะจัดเกบ็ ระเบยี นอยใู่ นรูปแบบใดแบบหน่ึงโดยเฉพาะ ทุกระเบียนจะประกอบด้วยหน่วยขอ้ มูลย่อยที่เหมอื น ๆ กัน นั่นคอื โครงสร้างของทุก ระเบียนในแฟม้ ขอ้ มลู จะเป็นแบบเดยี วกนั หมด ถ้าขนาดของระเบียนมี จานวนตัวอักขระ เท่ากันหมดในทุก ๆ ระเบยี นของแฟ้มข้อมูล ระเบียนนั้นจะถกู เรยี กว่าระเบยี นขนาดคงท่ี (fixed length record) 2. ระเบยี นทมี่ ีความยาวแปรได้ (variable length record) คอื ทกุ เรคอร์ดอาจจะมีจานวนฟลิ ด์ต่างกนั และแต่ละฟลิ ด์กอ็ าจจะมคี วามยาวต่างกันได้ แฟม้ ขอ้ มูลประเภทน้มี ีลักษณะโครงสรา้ งแบบพิเศษทช่ี ่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถบอกได้ วา่ แตล่ ะเรคอรด์ มีความยาวเทา่ ใด และแต่ละฟิลด์เริ่มต้นตรงไหนและจบตรงไหน ตวั อย่างของแฟม้ ประเภทนีไ้ ดแ้ ก่ แฟ้มบนั ทกึ รายการใบสงั่ ซ้ือสนิ คา้ แต่ละเรคอร์ดจะ แทนใบส่ังสนิ คา้ หนง่ึ ใบ และใบส่ังสินค้าแต่ละใบอาจจะมรี ายการสนิ ค้าทส่ี ัง่ ซ้ือไม่เท่ากนั ประเภทของแฟ้มข้อมูล ประเภทของแฟ้มข้อมลู จาแนกตามลักษณะของการใชง้ านได้ดงั นี้ 1. แฟ้มขอ้ มลู หลกั (master file) แฟม้ ขอ้ มลู หลักเปน็ แฟม้ ข้อมลู ที่บรรจุขอ้ มลู พนื้ ฐานท่จี าเป็นสาหรับระบบงาน และเปน็ ข้อมลู หลักท่เี กบ็ ไว้ใช้ประโยชน์ข้อมูลเฉพาะเร่ืองไมม่ รี ายการเปล่ยี นแปลงในช่วงปจั จุบัน มสี ภาพค่อนขา้ งคงทีไ่ มเ่ ปล่ียนแปลงหรอื เคลอื่ นไหวบอ่ ยแต่จะถกู เปลีย่ นแปลงเมื่อมกี าร สิ้นสุดของข้อมลู เปน็ ข้อมลู ที่สาคัญที่เกบ็ ไวใ้ ชป้ ระโยชน์ ตวั อยา่ ง เช่น แฟ้มขอ้ มลู หลัก ของนกั ศึกษาจะแสดงรายละเอียดของนักศกึ ษา ซึ่งมี ชอ่ื นามสกลุ ที่อยู่ ผลการศึกษา แฟ้มขอ้ มลู หลักของลูกคา้ ในแตล่ ะระเบียนของแฟ้มข้อมลู น้ีจะแสดงรายละเอียดของ ลกู คา้ เชน่ ช่ือสกุล ท่อี ยู่ หรือ ประเภทของลกู ค้า 2. แฟม้ ข้อมูลรายการเปล่ียนแปลง (transaction file) แฟม้ ข้อมูลรายการเปลีย่ นแปลงเปน็ แฟม้ ขอ้ มลู ทปี่ ระกอบดว้ ยระเบยี นข้อมลู ท่ีมกี าร เคลอ่ื นไหว ซึ่งจะถูกรวบรวมเป็นแฟม้ ข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ ในแตล่ ะงวดใน ส่วนที่เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มูลนน้ั แฟม้ ข้อมลู รายการเปลี่ยนแปลงนจ้ี ะนาไปปรบั รายการใน แฟ้มข้อมูลหลัก ใหไ้ ด้ยอดปัจจบุ นั ตัวอยา่ งเชน่ แฟ้มข้อมูลลงทะเบียนเรยี นของนกั ศึกษา 3. แฟม้ ขอ้ มลู ตาราง (table file) แฟ้มข้อมูลตารางเปน็ แฟม้ ขอ้ มลู ทมี่ ีคา่ คงที่ ซ่ึงประกอบดว้ ยตารางทีเ่ ป็นขอ้ มูลหรือชุด ของข้อมูลที่มคี วามเก่ียวขอ้ งกนั และถูกจัดใหอ้ ยู่รวมกันอยา่ งมรี ะเบยี บ โดยแฟ้มขอ้ มลู ตารางนี้จะถูกใช้ในการประมวลผลกับแฟ้มข้อมลู อื่นเปน็ ประจาอยู่เสมอ เช่น ตาราง อตั ราภาษี ตารางราคาสนิ คา้ ตวั อย่างเช่น ตารางราคาสินค้าของบริษทั ขายอะไหลเ่ ครื่องคอมพิวเตอรด์ งั นี้ รหัสสินคา้ รายช่ือสินค้า ราคา 51 จอภาพ 4,500 52 แป้นพิมพ์ 1,200 53 แรม 4 M 4,500 54 แรม 8 M 7,000 55 กระดาษตอ่ เน่ือง 500 56 แฟม้ คอมพวิ เตอร์ 200 ในแฟม้ ข้อมลู นจี้ ะประกอบดว้ ยระเบยี นแฟ้มขอ้ มลู ตารางของสินคา้ ที่มีฟิลด์ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ รหัสสินค้า รายชอ่ื สินค้า และราคาสินค้าต่อหนว่ ย แฟม้ ขอ้ มลู ตารางรายการสนิ ค้า จะ ใชร้ ่วมกบั แฟม้ ข้อมูลหลายแฟม้ ข้อมูลในระบบสนิ คา้ ไดแ้ ก่ แฟ้มข้อมลู คลังสนิ ค้า (inventory master file) แฟม้ ข้อมูลใบสั่งซื้อของลูกคา้ (customer order master file) และแฟม้ ขอ้ มูลรายการสินคา้ ของฝ่ายผลติ (production master file) มีขอ้ ควร สงั เกตว่าแฟม้ ขอ้ มลู ตาราง แฟม้ ข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง และแฟม้ ขอ้ มลู หลัก ท้ัง 3 แฟ้ม จะมีฟิลด์ทีเ่ ก่ยี วกับตัวสนิ ค้ารว่ มกนั คอื ฟิลดร์ หสั สินคา้ (product code) ฟิลด์ รว่ มกันนีจ้ ะเปน็ ตวั เชื่องโยงระหว่างแฟ้มขอ้ มูลตารางกับแฟม้ ข้อมลู อ่ืน ๆ ทง้ั หมดท่ี ตอ้ งการจะใชค้ า่ ของฟิลด์รายช่อื สนิ คา้ (product description) และราคาสินค้า (product price) จากแฟม้ ข้อมูลตาราง การจัดแฟม้ ข้อมูลแบบนีจ้ ะทาใหป้ ระหยดั เน้อื ท่ี ในอปุ กรณเ์ ก็บข้อมูลของแฟ้มข้อมูลหลัก กลา่ วคอื ในแฟม้ ขอ้ มลู หลกั ไม่ต้องมี 2 ฟลิ ด์ คือ ฟิลดร์ ายการสนิ ค้าและฟิลด์ราคาสินค้า มีแตเ่ พียงฟลิ ด์รหัสสินค้ากเ็ พยี งพอแลว้ เม่อื ใดท่ี ต้องการใช้ฟลิ ดร์ ายการสนิ ค้าในการแสดงผลก็อา่ นค่าออกมาจากแฟม้ ขอ้ มลู ตารางได้ นอกจากนั้นยงั เปน็ การลดความซ้าซ้อนของข้อมลู และเม่อื ผูใ้ ช้ระบบตอ้ งการ เปลยี่ นแปลงรายการสินคา้ หรอื ราคาสินค้ากจ็ ะเปลีย่ นในแฟม้ ข้อมลู ตารางทเี ดียว โดยไม่ ต้องไปเปลี่ยนแปลงในแฟม้ ข้อมูลอ่ืน 4. แฟ้มขอ้ มูลเรียงลาดับ (sort file) แฟ้มข้อมลู เรยี งลาดบั เป็นการจัดเรยี งระเบยี นทีจ่ ะบรรจใุ นแฟม้ ขอ้ มลู นั้นใหม่ โดยเรยี ง ตามลาดับคา่ ของฟลิ ดข์ ้อมูลหรือค่าของขอ้ มูลคา่ ใดค่าหน่งึ ในระเบียนน้ันก็ได้ เช่น จัด เรยี งลาดบั ตาม วันเดือนปี ตามลาดบั ตวั อักขระเรยี งลาดับจากมากไปหาน้อยหรือจาก นอ้ ยไปหามาก เป็นตน้ 5. แฟม้ ขอ้ มลู รายงาน (report file) เป็นแฟ้มข้อมลู ทีถ่ กู จัดเรยี งระเบยี บตามรปู แบบของรายงานที่ตอ้ งการแล้วจดั เก็บไวใ้ น รูปของแฟม้ ข้อมูล ตวั อยา่ ง เช่น แฟ้มข้อมูลรายงานควบคมุ การปรับเปล่ียนข้อมลู ที่ เกิดขึ้นในขณะปฏิบตั ิงานแต่ละวนั การจัดโครงสร้างแฟม้ ข้อมูล (file organization) เปน็ การกาหนดวธิ ีการทร่ี ะเบียนถกู จดั เก็บอยูใ่ นแฟ้มขอ้ มูลบนอุปกรณ์ทใี่ ช้เก็บขอ้ มูล ซ่งึ ลกั ษณะโครงสร้างของระเบยี นจะถกู จัดเก็บไว้เป็นระบบ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ให้การ จดั เกบ็ ขอ้ มูลและการเข้าถึงข้อมลู มคี วามสะดวกรวดเร็ว การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมลู อาจแบ่งได้เปน็ 3 ลกั ษณะคือ 1. โครงสรา้ งของแฟม้ ขอ้ มลู แบบลาดบั (sequential file) เป็นการจดั แฟ้มข้อมลู ซ่ึงระเบยี นภายในแฟม้ ขอ้ มลู จะถกู บนั ทึกโดยเรยี งตามลาดบั คยี ์ ฟิลด์ หรืออาจจะไม่เรียงลาดับตามคียฟ์ ลิ ด์กไ็ ด้ ข้อมลู จะถูกบนั ทกึ ลงในสอ่ื บนั ทึกข้อมลู โดยจะถูกบันทึกไว้ในตาแหนง่ ทอี่ ยู่ติด ๆ กนั การนาข้อมูลมาใช้ของโครงสร้างแฟ้มข้อมูล แบบลาดับจะต้องอ่านข้อมลู ไปตามลาดบั จะเข้าถงึ ขอ้ มลู โดยตรงไมไ่ ด้ ส่วนการจดั โครงสร้างแฟม้ ขอ้ มลู แบบลาดับตามดัชนี เป็นการจดั ขอ้ มูลแบง่ ตามหมวดหมู่ สรปุ เป็น ตารางซ่ึงมีลักษณะคลา้ ยสารบาญของหนังสือ การจดั ข้อมลู แบบนี้ทาให้สามารถเขา้ ถึง ข้อมลู ไดง้ า่ ย โดยตรงไปที่ตารางซงึ่ เป็นดัชนี จะทาให้ทราบตาแหน่งของข้อมูลนน้ั โดยไม่ ต้องอานข้อมลู ทลี ะระเบยี น การจดั โครงสร้างของแฟ้มข้อมลู แบบสมั พทั ธ์ แฟ้มขอ้ มูล แบบสัมพทั ธ์นข้ี อ้ มลู จะถกู บันทกึ โดยอาศยั กลไกการกาหนดตาแหน่งของข้อมลู ซงึ่ จะ ชว่ ยให้สามารถตรงไปถึงหรือบันทึกข้อมูลท่ีต้องการได้โดยไม่ต้องอ่านหรือผ่านขอ้ มูลท่อี ยู่ ในลาดบั ก่อนหนา้ ระเบยี นทตี่ อ้ งการ การดึงหรือการบนั ทกึ ข้อมูลจะสามารถทาได้อย่าง รวดเรว็ ในโครงสร้างแฟม้ ขอ้ มูลแบบลาดับประกอบดว้ ยระเบยี นทจี่ ดั เรียงไปตามลาดบั อย่างตอ่ เนอ่ื งเมื่อจดั สรา้ งแฟ้มขอ้ มูลโดยจะบันทกึ ระเบยี นเรียงตามลาดบั การบันทกึ ระเบยี นจะถูกเขียนต่อเนือ่ งไปตามลาดับจากระเบยี นที่ 1 ถึงระเบยี น n และการอ่าน ระเบยี นภายในแฟม้ ข้อมลู ก็ต้องใช้วธิ กี ารอ่านแบบต่อเนอื่ งตามลาดบั คือ อา่ นต้งั แตต่ ้น แฟ้มขอ้ มลู ไปยังทา้ ยแฟม้ ขอ้ มลู โดยอา่ นระเบยี นท่ี 1,2,3 และ 4 มาก่อน ตัวอย่างเชน่ ถา้ ตอ้ งการอา่ นระเบียนที่ 8 กต็ ้องอ่านระเบยี นลาดบั ที่ 1,2,3,4,5,6,7 กอ่ น 2. โครงสร้างของแฟ้มข้อมูลแบบลาดบั ตามดชั นี (index sequential file) เปน็ วิธกี ารเกบ็ ขอ้ มลู โดยแต่ละระเบยี นในแฟ้มขอ้ มูลจะมคี า่ ของคยี ฟ์ ิลดท์ ใี่ ชเ้ ป็นตวั ระบุ ระเบยี นนน้ั คา่ คยี ์ฟลิ ด์ของแตล่ ะระเบยี นจะตอ้ งไม่ซา้ กับคา่ คยี ์ฟิลดใ์ นระบบอน่ื ๆ ใน แฟ้มขอ้ มลู เดยี วกัน เพราะการจัดโครงสร้างแฟ้มขอ้ มูลแบบน้ีจะใชค้ ยี ์ฟิลดเ์ ปน็ ตัวเข้าถึง ขอ้ มลู การเขา้ ถึงขอ้ มูลหรอื การอ่านระเบยี นใด ๆ จะเขา้ ถึงได้อย่างสุ่ม การจดั โครงสรา้ ง แฟ้มข้อมูลตอ้ งบันทกึ ลงสอ่ื ขอ้ มลู ท่ีเข้าถึงขอ้ มลู ไดโ้ ดยตรง เชน่ จานแม่เหล็ก การสรา้ ง แฟม้ ขอ้ มูลประเภทนไ้ี มว่ า่ จะสร้างครั้งแรกหรือสร้างใหม่ ขอ้ มูลแต่ละระเบียนต้องมฟี ลิ ด์ หนงึ่ ใช้เปน็ คยี ์ฟลิ ดข์ องขอ้ มลู ระบบปฏิบตั ิการจะนาคยี ฟ์ ิลดข์ องข้อมูลไปสรา้ งเป็น ตารางดัชนีทาใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ระเบียนได้เรว็ นอกจากจะเขา้ ถึงระเบียนใด ๆ ไดเ้ รว็ ข้นึ แลว้ ยงั มีประโยชนส์ ามารถเพิม่ ระเบยี นเข้าในสว่ นใด ๆ ของแฟม้ ขอ้ มลู ได้ ในแตล่ ะ แฟม้ ข้อมลู ท่ถี ูกบันทกึ ลงสื่อขอ้ มลู จะมีตารางดชั นที าใหเ้ ขา้ ถึงระเบยี นใด ๆ ไดร้ วดเรว็ ข้ึน โครงสร้างแฟ้มข้อมลู แบบลาดับตามดัชนปี ระกอบด้วย 1 ) ดัชนี (index) ของแฟ้มขอ้ มลู จะเกบ็ คา่ คียฟ์ ลิ ดข์ องขอ้ มูล และท่ีอย่ใู นหนว่ ยความจา (address) ทร่ี ะเบยี นนั้นถูกนาไปบนั ทกึ ไว้ ซ่งึ ดชั นนี ี้จะตอ้ งเรียงลาดับจากนอ้ ยไปมาก หรอื จากมากไปน้อยโดยทีส่ ว่ นของดัชนีจะมีตัวบ่งช้ไี ปยังท่อี ยใู่ นหน่วยความจา เพื่อจะได้ นาไปถงึ ระเบียนขอ้ มลู ในขอ้ มูลหลัก 2) ข้อมลู หลัก (data area) จะเก็บระเบยี นข้อมลู ซง่ึ ระเบียนนั้นอาจจะเรียงตามลาดบั จากนอ้ ยไปมากหรือจากมากไปน้อย ในการจัดลาดบั ของข้อมลู หลกั อาจจะจัดขอ้ มูล ออกไปกลมุ่ ๆ โดยจะเว้นท่ไี วเ้ พือ่ ให้มกี ารปรับปรงุ แฟม้ ข้อมลู ได้ 3. โครงสรา้ งของแฟม้ ข้อมูลแบบสัมพทั ธ์ (relative file) เปน็ โครงสรา้ งทส่ี ามารถ เขา้ ถึงขอ้ มลู หรอื อา่ นระเบยี นใด ๆ ไดโ้ ดยตรง วิธนี เี้ ป็นการจดั เรยี งขอ้ มูลเขา้ ไปใน แฟ้มข้อมูลโดยอาศัยฟลิ ดข์ ้อมลู เปน็ ตวั กาหนดตาแหนง่ ของระเบียนนนั้ ๆ โดยค่าของคยี ์ ฟลิ ดข์ อ้ มูลในแต่ละระเบียนของแฟม้ ขอ้ มลู จะมีความสัมพัทธก์ บั ตาแหนง่ ทร่ี ะเบยี นนน้ั ถูกจดั เกบ็ ไว้ในหนว่ ยความจา ค่าความสมั พทั ธ์นี้ เปน็ การกาหนดตาแหน่ง (mapping function) ซง่ึ เป็นฟงั ก์ชัน่ ทใ่ี ชใ้ นการเปล่ียนแปลงคียฟ์ ลิ ดข์ องระเบียนใหเ้ ป็นตาแหนง่ ใน หน่วยความจา โดยที่การจัดเรียงลาดบั ที่ของระเบยี นไม่จาเป็นต้องมคี วามสมั พนั ธ์กับการ จดั ลาดบั ทข่ี องระเบยี นทีถ่ กู จดั เก็บไว้ในหนว่ ยความจา การจัดเกบ็ ขอ้ มูลลงแฟ้มขอ้ มลู แบบสัมพัทธ์ (relative file) จะถูกจดั เกบ็ อยบู่ นสือ่ ท่ี สามารถเข้าถงึ ได้โดยตรง เชน่ แผ่นจานแมเ่ หล็ก ลกั ษณะโครงสรา้ งแฟม้ ข้อมูลแบบ สมั พทั ธ์จะประกอบด้วยตาแหนง่ ในหนว่ ยความจา ซง่ึ เกิดจากนาคียฟ์ ิลดข์ องระเบยี นมา ทาการกาหนดตาแหนง่ ซง่ึ การกาหนดตาแหนง่ นี้จะทาการปรับเปล่ียนค่าคีย์ฟิลด์ของ ระเบียนให้เปน็ ตาแหน่งในหน่วยความจาท่คี านวณได้ แฟ้มข้อมลู หลัก แฟม้ ข้อมลู น้ี ประกอบดว้ ยระเบยี นทีจ่ ดั เรียงตามตาแหนง่ ในหน่วยความจาโดยจะเรยี งจากระเบยี นที่ 1 จนถึง N แต่จะไมเ่ รยี งลาดบั ตามค่าของคยี ฟ์ ลิ ด์ รปู ท่ี 1 แสดงโครงสรา้ งของขอ้ มลู