Mai mai miracle มห ศจรรย ม ตรภาพข ามกาลเวลา

ทบ., ป.ทันตแพทย์ประจ าบ้าน สาขาทันตกรรมทั ่วไป, วุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ทันตกรรมทั ่วไป)

คลินิคพิเศษ คณะทันตแพทยศำสตร์มหำวิทยำลัยเชียงใหม่

ทพญ. ศรัณภัสร์แมนสุมิตรช์ยั

ทบ., ป.บัณฑิต สาขาทันตกรรมทั ่วไป, วุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ทันตกรรมทั ่วไป)

แผนกทันตกรรม โรงพยำบำลยะลำ

ผศ.ดร. สุรพงษ์อยู่มา

D.Sc.

ภำควิชำฟิสิกส์คณะวิทยำศำสตร์มหำวิทยำลัยมหิดล

ผศ.ดร. สิริรกัศุภอมรกุล

Ph.D.

โรงเรียนทันตแพทยศำสตร์นำนำชำติคณะทันตแพทยศำสตร์มหำวิทยำลัยมหิดล

คณาจารย์ภาควิชาทนัตกรรมทวั่ ไปขนั้สูง คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลยัมหิดล

ผศ.ทพญ. ธารีจ าปี รัตน์

ทบ., วิทยำศำสตรมหำบัณฑิต (ทันตกรรมประดิษฐ์), วุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ทันตกรรมประดิษฐ์)

ผศ.ทพญ.ดร. ชนิตา ตนัติพจน์

ทบ., วิทยำศำสตรมหำบัณฑิต (ทันตกรรมประดิษฐ์),. วท.ด. (สาขาการวิจัยและการจัดการด้านสุขภาพแขนงระบาดวิทยา)

รศ.ทพ. สมชัย มโนพัฒนกุล

ทบ.(เกียรตินิยม อันดับ 2), ป.บัณฑิต(ปริทันตวิทยา),

M.D.Sc. (Orthodontics), Thai Board of Orthodontics, Fellowship of the Royal College of Dental Surgeons of Thailand (FRCDST).

ทพญ. นัยนา บูรณชาติ

ทบ.,ป.ทันตแพทย์ประจ าบ้าน สาขาทันตกรรมทั ่วไป, วุฒิบัตรแสดงความรู้ความช านาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม (ทันตกรรมทั ่วไป),

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตตปัญญาศึกษา

บรรณาธิการ

รศ.ทพ. สมชัย มโนพัฒนกุล

vii

ค ำน ำ

การบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูลเป็นการบริบาลทดีู่แลผปู้่วยทางทนัตกรรมทงั้ดา้นร่างกายและจิตใจ โดยใชห้วัใจของความเป็น

มนษุย์เป็นการบริบาลทโี่อบอมุ้รบัรู้เคารพ ความรูส้กึความตอ้งการใหช้่วยบา บดัอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยทางทันตกรรม จนถึงความ

เจ็บปวดทุกข์ทรมานทงั้จากโรคฟันและทางดา้นจิตใจ คืออาการปวดฟันนมีความเจ็บ ี้ปวดแบบรุนแรงพิเศษมาก ก่อให้เกิดความ

หวาดกลวัทอี่าจเป็นอย่างมากจนเป็นโรคกลัว (phobia) โดยผูป้่วยรูไ้ม่ทนัทมี่าของความหวาดกลวันนั้ความกลวัเป็นไดแ้มก้ระท่งั

เพียงเร่ิมนึกถึง ขณะนัดมารับการรักษา ก่อนการรักษา ระหว่างการรักษาและหลังการรักษา จนดูราวกบัว่าทนัตแพทย์มีความจา เป็นที่

จะตอ้งมีทกัษะในการดูแลความเจ็บป่วยร่วมกบัความหวาดกลวันไี้ปพรอ้มกนั ในทางตรงกนัขา้ม ทนัตแพทย์ก็อาจมีความกลวัในใจทรีู่ไ้ม่

เท่าทันเช่นกัน เช่นกลวัว่าจะทา ไดไ้ม่ดทีสี่ดุกลวัว่าจะทา ไม่ทันใจ ทา ใหด้คูลา้ยว่าเป็นการร่วมเดนิทางของสองฝ่ายโดยทที่งั้สองฝ่าย

หลบัตาจูงกนัไป จึงเป็นการดทีสี่ดุหากทนัตแพทย์จะรูเ้ท่าทนัความรูส้กึต่าง ๆ ในตนเอง คอืรูเ้ท่าทนัความหวาดกลวัความพอใจ ความ

ไม่พอใจ ความอยาก ความโกรธและในทสี่ดุก็รูเ้ท่าทนัความรูไ้ม่เท่าทนัความรูส้กึต่าง ๆ ของตนเองได้มากและเกือบตลอดเวลา ทักษะ

ในการรูเ้ท่าทนันี้เป็นประโยชนต์ ่อการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูลเป็นอย่างย่ิง ทา ใหเ้ขา้ใจการเดนิทางของใจ ผ่านความรูส้กึต่าง ๆ ของ

ทงั้ตนเองและผูป้่วย และสามารถร่วมกนัคลีค่ลายทมี่าของความรูส้ กต่าง ๆ ให้เกิดความกระจ่าง ึ มีแสงสว่างตลอดการเดินทาง ไม่ต้อง

หลับตาเดินทางร่วมกันอีกต่อไป

หากการรูเ้ท่าทนัมีความสา คญัมากดงัอธิบายแลว้การฝึกฝนใหม้ีความสามารถในการรูเ้ท่าทนัความรูส้กึของตนเอง และการ

ส่งผ่านทกัษะการฝึกการรูเ้ท่าทนัจากครูทนัตแพทย์ไปสทู่นัตแพทย์รุ่นนอ้งก็มีความสา คญัต่อการสอนการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูล

ทกัษะการฝึกการรูเ้ท่าทนัทคี่รูทนัตแพทย์ควรส่งผา่นสู่รุ่นนอ้งนเี้ป็นทกัษะมนษุย์ทมี่ีอยู่ในตวัของทกคน ุการฝึกเป็นการเข้าถึงศักยภาพ

สูงสดุ ของมนุษย์ซึ่งไม่มีปัญญาประดิษฐ์ใดสามารถลอกเลียนได้ การสอนวิชาบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูลจึงเป็นส่งิสา คญัสูงสดุในการ

ส่งเสริมทันตแพทยศาสตรศึกษา หากการสอนหรือการส่งผ่านทักษะการรูเ้ทา่ทนัใหเ้ขา้ใจและทา ไดจ้ริงก็มีเทคนคิพเิศษทนี่่าสนใจเป็น

อย่างย่ิง ทงั้นบี้รรณาธิการเป็นผูท้ไี่ดร้บัการศกึษาอบรม ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต และศึกษาต่อในสาขาทันตกรรมจัดฟัน ปริทันตวิทยา

และมีประสบการณ์ในการทา งานในภาควิชาศัลยศาสตร์ช่องปากและแมกซิลโลเฟเชียล หลังจากจบการศึกษาก็ได้มีโอกาสอันดีคือได้

ทา งานร่วมกบัทนัตแพทย์เฉพาะทางหลายสาขาเป็นระยะเวลายาวนานนบัสบิ ปีแม้พบว่าการทา งานหลายสาขาจะมีประโยชนต์ ่อการ

เรียนรูเ้รือ่งการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูล แต่กลบัไม่ใช่ทางออกทงั้หมด บรรณาธิการเองก็อยู่ในทางของการฝึกฝนตนเองใหรู้เ้ท่าทนั

ความรูส้กึของตนเอง จึงจะพอทา ใหสามารถเข้าใจ ้กระบวนการของการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูลไดบ้า้ง การบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูล

นจี้ึงนับได้ว่าเป็นวิทยาการอนักา้วหนา้ทสี่ดุในการรักษาผูป้่วยทมีี่ปัจจยัสา คญัของการเรียนรูค้อืการฝึกฝนตนเอง

การฝึกฝนตนเองนี้หากเป็นการฝึกพร้อมพร้อมกันหลายคน จะก่อให้เกิดการฝึกฝนร่วมกันเป็น “ชุมชนของการฝึกฝน” ก็จะย่ิง

ก่อใหเ้กิดการรูเ้ท่าทนอย่างมีประสิทธิภาพ ัมีกา ลงัใจในการฝึก ก่อใหเ้กิดการฝึกอย่างย่งัยืน นา ไปสู่การทา งานร่วมกนัของทนัตแพทย์

หลายสาขาทตี่งั้ใจร่วมกนัทจี่ะดูแลโดยใหมี้ผูป้่วยเป็นหวัใจ ดงัทมี่กัเรียกว่า “มีผูป้่วยเป็นศูนย์กลางของการรกัษา” ในทา นองเดยีวกนั

การฝึกฝนรว่มกนัเป็นชมุชนของการฝึกฝนก็จะก่อใหเ้กิดการรูเ้ท่าทนัอย่างมีประสทิธิภาพ ก่อใหเ้กิดการทา งานร่วมกนัของครูทนัตแพทย์

หลายสาขาทตี่งั้ใจร่วมกนัทจี่ะดูแลโดยใหผู้เ้รียนเป็นหวัใจ ดงัทมี่กัเรียกว่า “ผูเ้รียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน” เช่นกัน

แม้ว่าวิทยาการทางทันตกรรมและทันตแพทยศาสตรศึกษา มีการวางรากฐานของการบริบาลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์

มายาวนาน หากแต่กาลเวลาก็ปรบัเปลีย่นบริบทของสงัคมไปตลอด ผูค้นมีความคาดหวงัความตอ้งการ การบริโภคทเี่ปลีย่นไปตาม

ความเจริญก้าวหน้าของการพัฒนาประเทศทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงอาจมีความจา เป็นทวี่ิทยาการทางทนัตกรรมและทนัต

viii

แพทยศาสตรศึกษาต้องพัฒนาตัวเองเพื่อให้เท่าทันกับความพิเศษและการเปลีย่นแปลงตามยคุสมยัเพอื่ใหเ้ท่าทนัความรูส้กึและนา ไป

ส่งเสริมการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูล ทงั้นกี้็เพยีงเพือ่ทจี่ะใหไ้ดร้อยยิม้จากความสุขจากใจและสขุภาพทแี่ข็งแรงของผูป้่วยและผูเ้รียน

เป็นสา คญั จึงหวงัเป็นอย่างย่ิงว่าท่านผูอ้่านจะไดร้บั ประโยชนส์ูงสดุจากตา ราฉบบันี้

ทา้ยนี้คณะผูเ้ขียนขอกราบพระขอบคุณ ครูบาอาจารย์ทกุทา่น โดยเฉพาะอย่างย่ิง รศ.ดร.โสรีช์โพธิแกว้ผูใ้หแสงสว่างทาง ้

การศึกษา ให้การฝึกอบรมบ่มนิสัย อาจารย์และอดีตคณาจารย์ภาควิชาทนัตกรรมท่วัไปขนั้สูงทกุท่านซ่ึงเป็นเหมือนด่งัคุณครูพ่อ แม่

เพอื่น พี่นอ้ง พรอ้มทงั้เป็นกา ลงัใจในการจัดทา ตา ราฉบบันี้ขอกราบพระขอบคุณ ผปู้่วยทกุรายทอี่นญุาตใหใ้ชรู้ปถ่ายและขอ้มูลเพอื่การ

เผยแพร่ และคณะผูเ้ขียนขอกราบพระขอบคณุผูช้่วยศาสตราจารย์ทันตแพทย์หญิง ภาณุเพ็ญ สิทธิสมวงศ์ ทช่วย ี่กรุณาใหค้า แนะนา ใน

การจัดทา รูปเล่ม และทสี่า คญัคอืเจา้หนา้ทภี่าควิชาและคลินิคทันตกรรมท่วัไปขนั้สูงทเป็น ี่ส่วนสา คญั ในการร่วมเดินทางในมิติของโลก

ด้านในการดแูลผูป้่วย รวมถึงนกัศกึษาทนัตแพทย์ทงั้ก่อนและหลงัปริญญา ทมี่ีส่วนร่วมสา คญั ในการเป็นทมี่าของการจดัทา ตา รานอย่าง ี้

ไม่รูจ้กัเหนด็เหนอื่ย

คณะผูน้พินธ์

ix

สำรบัญ

หน้า

คา นา vii

บทน ำ

บทที่1 การบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูลในยคุดิจิทลั 2

บทที่2 แก่นแทข้องทนัตกรรมพรอ้มมูล 18

บทที่3 เคล็ดลบัการสอนการบริบาลทางทนัตกรรมพรอ้มมูล 32

บทที่4 การฟังอย่างลึกซึง้ในการบริบาลทนัตกรรมพรอ้มมูล 47

ดรรชนี 61

Page

2

บทที่๑

การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลในยุคดิจิทัล

กัลย์ธิรา ว่องนาวี • ศรัณภัสร์แมนสุมิตร์ชัย • สมชัย มโนพัฒนกุล • สุรพงษ์ อยู่มา • ชนิตา ตันติพจน์ • นัยนา บูรณชาติ

“การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล” เป็ นทักษะการบริบาลทีม่ีความส าคัญมากขึน้ในปัจจุบัน อัน

เนื่องมาจากลักษณะของการบริบาลทางทันตกรรมซึ่งต้องอาศัยทัง้ศาสตร์และศิลป์เมื่อ

ความก้าวหน้าทางศาสตร์เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทัง้นีร้วมไปถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของ

ปัญญาประดิษฐ์ทีม่ีแนวโน้มว่าอาจได้รับการพัฒนาจนแม่นย าเหนือมนุษย์การหยุดชะงักอัน

เนื่องมาจากดิจิทัล (Digital disruption) จึงเปิ ดโอกาสให้ทันตแพทย์ได้พัฒนาทางด้านศิลป์ ให้

ไปเท่าทันกันโดยการท าความรู้จัก ตระหนักรู้ และเข้าใจความหมายทางด้านศิลป์เป็ นการท า

ความเข้าใจผ่านค าว่า “สมานัตตา” โดยเป็ นการท าความเข้าใจค าค านี้รวมไปจนถึงการพัฒนา

และฝึ กฝนจนทา ให้สมานัตตา ซึ่งมีอยู่แล้วในตัวทุกคนมาตลอด ได้เผยออกมา

วัตถุประสงค์ของบทเรียนนีค้ือ เพื่อน าเสนอความจ าเป็นของการสอนการบริบาลทางทันตก

รรมพร้อมมูลโดยเน้นหนักไปทีก่ารพัฒนาทางด้านศิลป์การทา ความรู้จักกับสมานัตตาซึ่งเป็น

เหตุปัจจัยส่งเสริมให้การสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเกิดขึน้ ได้จริง เหตุนีจะสามารถ้

น าไปสู่การพัฒนาผู้สอนจากการเป็ นเพียงผู้ให้ข้อมูลเพื่อการจดจ าไปสู่การเป็ นผู้ส่งเสริมการ

เรียนรู้ กระบวนกรหรือผู้อ านวยให้เกิดทันตแพทยศาสตรศึกษาได้อย่างลึกซึง้ซึ่งก็จะส่งผลดี

ต่อผู้ป่ วยซึ่งก็คือเป้าหมายหลักของการบริบาล

การตระหนักถึงความส าคัญของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลผ่านการฝึ กฝนสมานัตตานี้จะ

ส่งผลให้ ผู้ป่ วยทางทันตกรรม ทันตแพทย์ อาจารย์ นักศึกษาทันตแพทย์ ผู้วางนโยบาย

การศึกษา รวมทุกฝ่ ายล้วนมีความสุขในการบริบาลและได้เห็นถึงความส าคัญการบริบาลทัน

ตกรรมพร้อมมูล และพร้อมใจร่วมกันส่งเสริมและสนับสนุนให้บังเกิดความก้าวหน้าของทันต

แพทยศาสตรศึกษาไทยแบบมีหัวใจของความเป็นมนุษย์แบบเป็นวงจรทีห่มุนวน

เจริญก้าวหน้าไปอย่างไม่สิ้นสุด

Page

3

การบริบาลทางทันตกรรมพร้ อมมูล (Comprehensive dental care) คือ ศาสตร์และศิลป์ ของวิชาชีพในการดูแลผู้ป่ วย โดยศิลปะการดูแลผู้ป่ วย

ด้วยหัวใจความเป็นมนุษยฝ์ึกได้จากการสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็ นมนุษย์

ในบทเรียนนี้ขอยกความหมายตามที่ อติศักดิ์ จึงพัฒนาวดี ได้ให้ไว้ว่า การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล มีความหมายดั่งศาสตร์และศิลป์ ของวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย โดย

ความเป็นศิลป์ ของวิชาชีพ หมายถึงความมีศิลปะที่จะเข้าใจมนุษย์และท างานที่เกี่ยวข้องกับคนอย่างเข้าใจถึงความมีชีวิตจิตใจและมองเห็นและเข้าใจความแตกต่างระหว่าง

คนแต่ละคน รวมไปถึงความแตกต่างระหว่างคนไข้กับเรา และสามารถให้การรักษาคนไข้บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ที่มนุษย์พึงมีต่อมนุษย์ [1] จึงสามารถน าไปพ้องกับค า

ว่าการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanized health care) การดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์นี้เป็นแนวทางการให้การบริบาลผู้ป่วยที่ส าคัญเป็นอย่างยิ่งใน

การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเองและในการสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล ซึ่งก็รวมไปถึงค าว่า การสื่อสารแบบมนุษยนิยม (Humanistic communication) ซึ่งใน

บทเรียนนี้จะขอใช้ค าที่สามารถอธิบายได้ชัดเจนมากกว่าคือ การสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (Humanized communication) ที่จะอ านวยให้เกิดการดูแลผู้ป่วยด้วย

หัวใจของความเป็นมนุษย์ด้วย

วัตถุประสงค์ของบทเรียนคือเพื่อให้เข้าใจ ท าได้จนช านาญและสามารถน าไปสอนได้

จุดมุ่งหมายของการอธิบายนี้ นอกไปเสียจากต้องการอธิบายการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลซึ่งเป็นนามธรรม โดยอธิบายด้วยภาษาและแผนภูมิอย่างเข้าใจง่ายที่สุดแล้ว ยัง

ต้องการให้ผู้อ่านเข้าถึง สัมผัสและเริ่มที่จะบริบาลผู้ป่วยแบบทันตกรรมพร้อมมูลจากหัวใจความเป็นมนุษย์ เป็นที่น่าสังเกตุว่าทักษะเหล่านี้ล้วนมีอยู่ในตนเองมาตลอดอยู่ก่อน

แล้ว การท าให้ผู้อ่านรับรู้ถึงการมีอยู่และน าออกมาใช้ได้ด้วยตนเอง คือวัตถุประสงค์ส าคัญของการเขียนบทเรียนนี้ อีกทั้งยังมีการอธิบายจนท าให้ผู้อ่านสามารถท าได้จน

ช านาญและสามารถน าไปสอนได้ ดังมีรายละเอียดในบทนี้และบทเรียนต่อไป ขอได้โปรดอ่านอย่างเข้าใจ ( comprehensive reading: การอ่านอย่างเข้าใจหรือการอ่านอย่าง

ลึกซึ้งนี้ ได้บรรยายไว้ในบทที่ ๒ ) จะรับรู้ได้ว่าบทเรียนเหล่านี้ได้ผ่านความพยายามในการจะน าพาความกระจ่างมาสู่ผู้อ่านอย่างตั้งใจ

รูปที่ 1 แสดงการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลมีความหมายดั่งศาสตร์และศิลป์ ของวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วย การสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (Humanized

communication) จะอ านวยให้เกิดการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (Humanized health care) และน าไปสู่แขนงศิลป์ แล้วน าไปผนวกกับแขนงศาสตร์ เพื่อ

น าไปใช้ในการบริบาลผู้ป่วยแบบพร้อมมูล

Page

4

เหตุน าสู่การฝึ กสมดุลของศาสตร์และศิลป์ ในการบริบาลทันตกรรมพร้ อมมูล คือ พัฒนาทางศาสตร์ที่รุดหน้ามาก ท าให้ใช้เวลาในการสอนทาง

ศาสตร์ลดลง

ในหลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิตในประเทศไทยนั้น ได้มีการด าริริเริ่มเล็งเห็นความส าคัญและการวางรากฐานการสอน การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล มานานแล้ว

แต่ในระยะหลัง ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางด้านศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางดิจิทัล ท าให้มีการพัฒนาทางทันตกรรมอย่างรุดหน้ามาก

ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักอันเนื่องมาจากดิจิทัล (Digital disruption) ท าให้ทุกฝ่ายต้องมีการปรับตัว ผลคือระยะเวลาและความจ าเป็นที่ใช้ในการสอนและฝึกฝนทักษะการ

บริบาลทางทันตกรรมในเชิงเทคนิคจึงลดลง

การน าเสนอภาพตัวอย่างของการหยุดชะงักอันเนื่องมาจากดิจิทัลที่ช่วยลดเวลาในการสอนและฝึกทักษะการบริบาลทางทันตกรรมในเชิงเทคนิคนั้น พบว่าแม้แต่การ

เปลี่ยนแปลงเพียงในระดับพื้นฐาน เช่น การใช้การกราดภาพดิจิทัล (digital scan) เพื่อบันทึกโครงสร้างทางกายวิภาคของอวัยวะต่าง ๆ ในช่องปากที่ได้เข้ามาทดแทนการ

พิมพ์ปาก ก็ส่งผลกระทบต่อวงการทันตกรรมอย่างมาก แม้ว่าการยกตัวอย่างการพัฒนาเทคโนโลยีกราดภาพดิจิทัลนี้เพียงตัวอย่างเดียว

ก็สามารถท าให้เห็นภาพการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในทางทันตกรรมที่เกิดขึ้นแบบฉับพลัน ทั้งนี้เป็นเพราะการสอนกราดภาพดิจิทัลท าได้

ง่ายกว่าการสอนและฝึกพิมพ์ปากมาก การสอนใช้เวลาสั้นลง ไม่ต้องฝึกทักษะการผสมวัสดุพิมพ์ปากจึงไม่มีการใช้วัสดุสิ้นเปลือง ไม่ต้อง

มีการใช้เครื่องมือพิมพ์ปาก จึงลดขั้นตอนที่ต้องน าเครื่องมือเหล่านี้ไปผ่านการท าให้ปราศจากเชื้อ ลดจ านวนบุคคลากร ที่ส าคัญคือลด

ทักษะงานฝีมือคือการฝึกฝนการพิมพ์ปากด้วยวัสดุลงกว่าก่อนมาก อีกทั้งไฟล์ข้อมูลก็ยังอ านวยความสะดวกและเอื้อ

ประโยชน์และประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บ จึงลดขั้นตอนการจัดเก็บ การสื่อสารท าได้ง่ายกว่า รวดเร็ว และสามารถท าได้

ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ส่งผลให้สะดวกต่อการท าความเข้าใจในการวางแผนการรักษาในระบบดิจิทัลด้วย อีกทั้งภาพเสมือน

จริงก็สามารถปรับเปลี่ยนภาพแสดงลักษณะการรักษาได้เสมือนจริงด้วย การใช้งานและประโยชน์อันหลากหลายของ

เทคโนโลยีดิจิทัลของวงการทันตกรรมนี้เร่งเร้าให้เกิดการปรับตัวให้ทันกับยุคสมัยของวงการทันตแพทยศาสตรศึกษาอย่าง

ยิ่งยวด และช่วยลดระยะเวลาในการสอนและการฝึกทักษะฝีมือลงมาก การสอนทันตแพทย์จึงมีเวลาในการฝึกทักษะทางศิลป์ เพิ่มขึ้น

ในทางกลับกัน พบว่าความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรุดหน้าเฉพาะแต่ทางด้านศาสตร์นี้ ท าให้นักศึกษาแพทย์ลดศิลปะในเชิงการสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็น

มนุษย์(Humanized communication) กลับไปเร่งเร้าให้ถนัดและคุ้นเคยกับการส่งเสริมการสื่อสารแบบเครื่องจักรหรือหุ่นยนต์มากขึ้น [2] ยิ่งไปกว่านั้น นักศึกษาแพทย์ฝึกหัด

ที่ต้องสอนนักศึกษาแพทย์ก็รู้สึกว่าตนต้องการการฝึกฝนทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสารในเรื่องที่สลับซับซ้อนและการแจ้งข่าวร้ายให้ผู้ป่วยทราบ

นักศึกษาแพทย์พบว่ามีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ให้การบริบาลพึงจะมีการฝึกอบรมการสื่อสารก่อน [3] และยังพบว่าการได้รับการฝึกฝนทางด้านการสื่อสารช่วยให้สอนได้อย่าง

มั่นใจ [4] อาจเป็นด้วยเหตุนี้เองที่ท าให้หลักสูตรทันตแพทยศาสตร์ในต่างประเทศเล็งเห็นถึงความส าคัญของวิชาและเทคนิคการสอนที่ผนวกทักษะการสื่อสารเพื่อน าไปสู่การ

บริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลมากขึ้น โดยบรรจุไว้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาในหลักสูตร [5–7] ทั้งนี้อาจเพื่อให้เกิดความสมดุลของการบริบาลที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์

นั่นเอง

โรคทางทันตกรรมเป็นโรคเรื้อรัง รวมถึงมีความเจ็บปวดที่รุนแรง ซึ่งผู้ป่วยต้องการการดูแลทางศิลป์ชัดเจนมาก

นอกจากนี้ เนื่องจากโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพที่ส าคัญในปัจจุบันเป็นกลุ่มโรคเรื้อรัง โรคมะเร็ง โรคชราซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การบริบาลแม้จะ

กอร์ปไปด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย แต่ต้องใช้การดูแล การเยียวยาให้ครบถ้วนในทุกมิติของการเจ็บป่วย ในบางกรณีต้องให้การดูแลกันอย่างต่อเนื่องยาวนาน

ตลอดจนวาระสุดท้ายของชีวิตผู้ป่วย [8] Jean Watson [9] สร้างทฤษฎีการดูแลผู้ป่วยโดยมีหลักว่า การดูแลผู้ป่วยจะต้องมีความเข้าใจในมิติความเป็นคนของผู้ป่วยนั่นคือ การ

ดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ โดยเน้นการดูแลโดยเข้าถึงจิตใจของผู้ป่วยซึ่งมีเป้าหมายในการดูแล คือ การช่วยให้ค้นพบภาวะดุลยภาพของร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ นั่น

คือการบริบาลและการดูแลไม่ใช่เป็นการสอนแค่ปรัชญาหรือการอธิบายสิ่งที่เป็นนามธรรม แต่คือการท าให้เข้าถึงสิ่งที่สัมผัสและปฏิบัติได้

อีกทั้งตัวโรคในช่องปากเองก็เป็นปัญหาสุขภาพส าคัญซึ่งน าไปสู่การรับประทานอาหารที่ไม่สมดุลและส่งผลต่อสุขภาพร่างกายโดยรวม โรคในช่องปากที่ส าคัญและพบบ่อย

ที่สุดมีสองโรค คือโรคของอวัยวะปริทันต์และโรคของฟันรวมถึงเนื่อเยื่อในฟัน โรคของอวัยวะปริทันต์เป็นโรคเรื้อรัง ไม่มีอาการรุนแรงจนเมื่อเป็นมากแล้วก็ไม่สามารถรักษาได้

ต้องถอนฟันซี่นั้นนั้นออกไป ในทางกลับกันโรคของอวัยวะปริทันต์หากมีอาการรุนแรงไม่มาก ก็สามารถรักษาให้หายขาดได้ทว่าต้องดูแลคล้ายโรคทางระบบที่เรื้อรัง ส่วนโรค

ของฟันและเนื้อเยื่อในฟัน กลับมีอาการปวดแบบเฉพาะตัวต่างจากการปวดของอวัยวะอื่นและเป็นอาการปวดที่รุนแรงมาก ไม่สามารถทนได้สร้างความหวาดกลัวได้รุนแรง ผู้

ที่เคยสัมผัสการปวดฟันที่ผุทะลุโพรงประสาทฟันมาก่อนจะตระหนักได้ถึงความทรมานจากการปวดฟันนี้

การรักษาโรคฟันนี้นอกจากทันตแพทย์ต้องมีความเชี่ยวชาญในทักษะและความรู้ทางวิชาการในการรักษาแล้ว ยังต้องช่วยเหลือผู้ป่วยให้เผชิญหน้ากับความเจ็บปวดและ

ความกลัวต่าง ๆ นานาที่รุนแรงซึ่งเกิดขึ้นทั้งก่อน ขณะ และหลังท าฟัน อาจฝังเป็นประสบการณ์ร้ายของการท าฟันได้อย่างยาวนาน ทันตแพทย์จึงมีความจ าเป็นอย่างมากที่

ต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ ของวิชาชีพในการให้การดูแลรักษา เมื่อพิจารณาตามค าอธิบายนี้ และน าไปสัมพันธ์กับความกลัวการปวดฟัน และความกลัวการท าฟัน ก็จะท าให้

ทันตแพทย์ไม่สามารถเพิกเฉย เย็นชาต่อการท างานกับความกลัวอย่างรุนแรงของผู้ป่วยทางทันตกรรมได้ และทันตแพทย์ไม่ควรเพิกเฉยต่อการที่ต้องท างานกับความกลัวนี้

Page

5

ทุกวัน ทั้งวัน ซ ้าซ ้า ความกลัวนี้มีความแตกต่างของมูลเหตุของความกลัวในผู้ป่วยแต่ละราย อันได้แก่การที่ผู้ป่วยมีความไม่รู้ เช่น การไม่รู้ว่าการรักษาเป็นอย่างไร การรักษา

ต้องมีขั้นตอนอย่างไร ไม่รู้ว่าการรักษาจะส่งผลต่อตนอย่างไร มีค่าใช้จ่ายสูงมากที่ตนอาจไม่สามารถจ่ายได้หรือไม่ ซึ่งความไม่รู้เหล่านี้อาจน าไปสู่ความกลัวและการพยายาม

ปฎิเสธ หรือหลีกหนีให้พ้นจากความกลัว ซึ่งหลักการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลช่วยให้ทันตแพทย์เข้าใจถึงความแตกต่างของความกลัว ที่อาจเป็นผลมาจากความแตกต่างใน

ตัวผู้ป่วยแต่ละคน หรือเป็นผลมาจากความแตกต่างของระดับความเข้าใจการรักษาที่ต่างกันระหว่างผู้ป่วยและทันตแพทย์ หลักการบริบาลแบบทันตกรรมพร้อมมูลก็คือการ

ผสานทั้งสองส่วนคือศาสตร์และศิลป์ ในตัวทันตแพทย์ ให้ได้ใช้ศาสตร์แขนงต่าง ๆ ในการรักษาโรคอย่างถูกต้องแม่นย า และยังรวมไปถึงศิลป์ แขนงต่าง ๆ เช่น การสื่อสาร การ

พูดที่นุ่มนวล อ่อนโยน ไม่ใช้ถ้อยค าที่เย็นชาต่อความรู้สึกเจ็บปวดและความหวาดกลัวมากมายของผู้ป่วย เพื่อท าให้ผู้ป่วยที่มารับการรักษาทางทันตกรรมหายจากความ

เจ็บปวดและบรรเทาความหวาดกลัว กล้าที่จะเผชิญหน้ากับการท าฟัน เพียงเท่านี้ คาดว่าผู้อ่านหลายท่านก็สามารถสัมผัสได้ถึงการทวีความส าคัญของหลักการบริบาลทันตก

รรมพร้อมมูลนี้ ซึ่งก็จะเกิดความหมายในใจของทุกคนอย่างไม่ต้องใช้การอธิบายใดใดมากมายนัก

ควรส่งเสริมให้มีการสอนและสื่อการสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเพ่ิมมากขึ้น

ปัจจุบัน ส าหรับในประเทศไทยนั้น เริ่มมีผู้เล็งเห็นถึงความส าคัญและเริ่มบรรจุเทคนิคการสอนเน้นด้านการสื่อสารเพื่อการบริบาลมากขึ้น [10–13] ทั้งนี้อาจเป็นเพราะทักษะ

การสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ที่น าไปสู่การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลมีความจ าเป็นและส าคัญต่อการบริบาลทางทันตกรรมในอนาคต กล่าวคือ ลดความไม่

มั่นใจและความเครียดของผู้ให้การบริบาล และยังช่วยลดความขัดแย้งระหว่างผู้ให้และผู้รับการบริบาล และระหว่างบุคลากรในองค์กร [14] ดังนั้น จึงสมควรมีการส่งเสริมให้มี

การอธิบายความหมายของการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลและการสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ และควรมีการสอนในแบบที่มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ เพื่อให้

เท่าทันกับการปรับตัวให้ทันกับยุคสมัยของวงการทันตแพทยศาสตรศึกษาอันเป็นเหตุเนื่องมาจากการหยุดชะงักอันเนื่องมาจากดิจิทัล

ทันตแพทยศาสตรศึกษาจึงต้ องว่ิงตามให้ทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

การบริบาลผู้ป่วยทันตกรรมด้วยหลักทันตกรรมพร้อมมูล ยังจัดว่าเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มีอยู่อย่างค่อนข้างจ ากัด โดยเฉพาะเมื่อน ามาเปรียบเทียบกับรายวิชา

ทางด้านศาสตร์ โดยปัจจุบันมีสถาบันหลักที่เปิดหลักสูตรเพื่อผลิตทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปซึ่งใช้หลักทันตกรรมพร้อมมูลเป็นแก่นของการเรียนการสอน

เพียง3 สถาบัน ท าให้ความเข้าใจถึงความหมายของการบริบาลด้วยหลักทันตกรรมพร้อมมูลยังมีความคลาดเคลื่อนและไม่ชัดเจน และไม่เป็นที่แพร่หลาย อุปสรรคอีกประการ

หนึ่งของการส่งเสริมการศึกษาเรื่องการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลคือ ข้อจ ากัดทางด้านทรัพยากรต ารา หนังสือ งานวิจัย รวมไปถึงยังมีบทความในภาษาไทยที่ไม่

แพร่หลายมากนัก [1,15–18] วงการทันตแพทยศาสตรศึกษาจึงอาจยังคงต้องการ การริเริ่ม ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการแต่งต ารา เผยแพร่และปรับให้ทันสมัยให้เข้ากับบริบท

สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ นอกจากนี้ ความเข้าใจในการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลในปัจจุบัน ยังต้องการแนวทางการอธิบายรวมไปถึงการสื่อสารที่ชัดเจนของ

ผู้สอนเพื่อน าไปสู่ความเข้าใจ และการปฏิบัติได้จริงของผู้เรียนและท าให้อาจารย์ทันตแพทย์มีส่วนร่วม (Engage) มากขึ้น [19] จึงควรมีการส่งเสริมให้มีสถาบันหลักที่เปิด

หลักสูตรเพื่อผลิตทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปซึ่งใช้หลักทันตกรรมพร้อมมูลเป็นแก่นของการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น รวมทั้งควรมีการส่งเสริมให้มีการนิพนธ์

เอกสารหรือผลิตสื่อการสอนในภาษาไทยที่มีความน่าสนใจเพิ่มขึ้น รวมไปถึงมีความต้องการค านิยามหรือค าอธิบาย ความหมายของการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลที่

เข้าใจง่าย ซึ่งในบทเรียนนี้และบทต่อ ๆ ไปได้รวบรวมและน าเสนอการนิยาม และค าอธิบายความหมายในหลายรูปแบบ รวมไปถึงการสอนทักษะการสื่อสาร

ค าว่า สมานัตตา ที่ใช้ในการอธิบายหลักการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนั้น เป็นค าที่อธิบายความรู้สึกที่เกิดขึ้นในใจเรา ในชั้นเริ่มต้นอาจเป็นค าที่ต้องการการอธิบาย

ความหมายในการท าความรู้จัก แต่หากเมื่อผู้สอนได้ฝึกการสอนอย่างต่อเนื่อง ก็จะพบว่าเป็นค าที่มีความหมายที่ทุกคนสามารถเข้าใจตรงกันได้ จึงขอแนะน าว่า นอกจาก

การศึกษาเอกสาร ต าราต่าง ๆ แล้ว การสอนเช่นนี้ผู้สอนอาจต้องเน้นการฝึกอย่างต่อเนื่อง จึงจะเชื่อมโยงส่งผลให้เกิดความเข้าใจและเข้าถึงนิยามของการบริบาลทางทันตก

รรมพร้อมมูลได้แม่นย ามากขึ้น ปฏิบัติให้เกิดได้ง่ายขึ้น รวมทั้งช่วยส่งเสริมการสอน การถ่ายทอดและการสื่อสารในเรื่องการศึกษาเรื่องการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลให้

เป็นที่เข้าใจและเป็นที่แพร่หลายได้มากขึ้น [20,21]

Page

6

“สมานัตตา” และค าอธิบายความหมายในเชิงการสอน

สมานัตตา (samanattatta) คือการสมานตนของผู้สอนเข้ากับผู้เรียนได้อย่างสนิท เป็นหนึ่งในสังคหวัตถุ ๔ คือการสามารถรู้รายละเอียดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างลึกซึ้ง

ชัดเจน [22] โดยการเชื่อมสมานอย่างแนบสนิทนี้อาศัยความเข้าใจกันอย่างมนุษย์ที่มีหัวใจ (ของความเป็นครู) อันเป็นฐานในการท าความเข้าใจ ผู้สอนมีท่าทีและถ้อยค าที่

น าเสนอมาจากความเข้าใจและเห็นใจอย่างสนิทนี้ ในฝั่งผู้เรียนก็มีใจของความเป็นนักเรียน คือเชื่อใจในความสามารถของครูที่จะน าพานักเรียนไปสู่การเรียนรู้ใหม่ ตั้งใจขยัน

หมั่นฟัง อ่าน เขียน จดจ า น าไปฝึกด้วยความสนุกสนาน เป็นประจ าต่อเนื่อง จนสามารถท าให้เกิดทักษะที่ครูสอนขึ้นได้ด้วยตนเอง ฟังดูคล้ายกับมีความหมายพ้องใกล้เคียง

กับค าว่า การร่วมรู้สึก (empathy)

การกระท าเช่นนี้เกิดจากการหมั่นฝึกฝนตนเองในระดับหนึ่งของผู้สอนอย่างต่อเนื่องในชีวิตประจ าวันในการ

เข้าใจภาวะทุกข์ของตนเองและอยู่ร่วมกับธรรมชาติและผู้อื่นรอบตัวได้อย่างเชื่อมสมานที่สุดดังที่ โสรีช์ โพธิแก้ว

[22-24] กล่าวถึงการฝึกฝนตนเองของนักจิตวิทยาการปรึกษาแนวพุทธกับการเชื่อมสมานกับผู้รับบริการปรึกษา

ไว้ว่า “นักจิตวิทยาการปรึกษาละทิ้งตนเองคือการปฏิบัติธรรมขั้นสูง ด้วยการมีสมาธิเต็มที่ร่วมกับการรับรู้ที่

ชัดเจนหรือปัญญา รับรู้ได้ว่าใจของผู้รับการปรึกษาเป็นอย่างไร เป็นการฟังอย่างลึกที่สุด ใจนักจิตวิทยาการ

ปรึกษาจะเป็นหนึ่งเดียวกับผู้รับการปรึกษา เมื่อนั้นภาวะไตรสิกขาก็เกิดขึ้นอย่างพร้อมเพรียง ไปสู่มรรค สู่นิโรธ

เป็นภาวะจิตใจที่สงบ อ่อนโยน เคลื่อนไปพร้อมกับผู้รับการปรึกษา ผู้รับการปรึกษาจะรู้สึกว่าเข้าใจเขามาก

เพราะรับรู้ได้หมด เมื่อรับรู้หมด ก็สามารถสื่อให้เขารับรู้ได้ว่า เขาเป็นอย่างไร”

สมานัตตา เป็นหนึ่งในสังคหวัตถุ ๔ คือ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตา การอธิบายขั้นตอนอันครบถ้วนเพื่อ

น าไปสู่การท างานร่วมกันขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพด้วยใจสมัครสมาน และซึ่งได้อธิบายในภาษาเรียบง่าย

อีกครั้งในตอนท้ายของบทนี้

สมานัตตากับการสอน

ข้อความดังกล่าวนี้อาจน ามาแสดงให้เห็นถึงความส าคัญของการเชื่อมสมาน (สมานัตตา) ระหว่างครูและนักเรียนว่าเป็นสิ่งที่ส าคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมการศึกษา เพื่อเป็น

จุดเริ่มต้นในการช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ต่อไป เปรียบได้กับการเดินร่วมทางกันไปในระหว่างการเรียนรู้ของผู้สอนและผู้เรียน สร้างเป็นสัมพันธภาพที่ดีที่สุดที่เต็ม

ไปด้วยความปรารถนาดี ดังเช่นว่าในการที่ผู้สอนรับรู้และเข้าใจสภาวะการเรียนรู้ของผู้เรียน เข้าใจสิ่งที่ผู้เรียนก าลังเผชิญอยู่ ผู้เรียนรับรู้ได้ว่าตนสามารถวางใจได้ ไว้เนื้อเชื่อ

ใจผู้สอนได้อย่างสนิทใจ ไม่สงสัย ไม่ระแวงหวาดกลัวเรื่องใดใด ไม่กังวลกับคะแนน หลุดพ้นจากความกังวลใจไปล่วงหน้าว่าตนจะท างานได้ไม่ดีไม่ครบ ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้เริ่ม

ท างาน ไม่มีความกังวลใจใดใด แม้ในแง่ความรู้สึกว่าจะเสียหน้า รู้สึกว่าตนท าได้ไม่ดีเท่าที่ครูคาดหวัง สูญเสียการเป็นที่รักของครู หรือการสูญเสียความเป็นศิษย์ที่ดีกังวลใจ

กับความรู้สึกของเพื่อนร่วมชั้นเรียน กังวลใจเมื่อเปรียบเทียบผลการเรียนกันเอง ไม่ว่าจะได้ผลดีกว่าหรือด้อยกว่า เมื่อผู้เรียนรู้เท่าทันความรู้สึกต่าง ๆ เหล่านี้ แบบไม่มีเยื่อใย

เหลืออยู่อีก ก็บังเกิดการแยกตัวกันของปัญหากับตัวเอง ความรู้สึกที่เคยคิดว่าเป็นปัญหากลายเป็นเพียงพลังงานที่ไร้ความหมายไป

สมานัตตากับการบริบาลทันตกรรมพร้ อมมูล

การมีสมานัตตากับการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล คือการเชื่อมสมานระหว่างผู้ให้การบริบาลและผู้ป่วย ซึ่งก็เกิดขึ้นกับผู้สอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลไปพร้อมกับการมี

สมานัตตาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เพียงแต่มีบริบทที่ต่างไป จึงเห็นได้ว่าการมีสมานัตตาของผู้สอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนั้น สามารถเชื่อมโยง เหนี่ยวน า ให้ผู้สอน

เกิดความอ่อนโยนและเข้าใจทั้งผู้ป่วยและผู้เรียนไปพร้อมกัน ดังเช่น ในสถานการณ์ที่ผู้สอนมีใจเป็นสุข ไม่มีความเร่งเร้าด้วยเหตุอื่น มีความเชื่อมโยงกับบุคคลตรงหน้าคือ

ผู้ป่วยและผู้เรียนอย่างเต็มที่ ก็สามารถอ านวยให้เกิดสมานัตตาไปได้ทั้งหมด หรือแม้แต่เพียงผู้สอนมีสมานัตตากับผู้ป่วย ผู้เรียนจะลอกเลียนการมีสมานัตตากับผู้ป่วยของ

ผู้สอนได้ชัดเจน โดยอาจไม่ต้องมีค าสอนใดใด

สมานัตตากับการสอนการบริบาลทันตกรรมพร้ อมมูล

การเรียนรู้ไปด้วยกันนี้มิใช่เกิดจากการสอนให้ดีที่สุดตามมาตรฐานเพียงถ่ายเดียว และการเรียนรู้ไปด้วยกันนี้ก็ไม่ได้เกิดจากการตั้งค าถามเพื่อถามในสิ่งที่ผู้สอนกระหายใคร่

รู้ภาวะต่าง ๆ หรือรายละเอียดของผู้เรียน หรือตั้งธงไว้ว่าผู้สอนมีความกระหายใคร่สอนไว้เท่าใด แค่ไหน แต่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมอยู่ด้วยกันในสถานการณ์การเรียนรู้อย่างใจ

เย็นและเข้าใจ การเดินทางร่วมกันนี้มีการรับฟังอย่างเข้าใจถึงหัวอกหัวใจ เข้าใจถึงความหวาดกลัว ความหวั่นไหวว่าจะได้งานไม่ครบตามก าหนด ท าไม่ถูกต้อง ตื่นตระหนก

กับความไม่รู้เนื่องจากไม่เคยท างานนี้มาก่อน กลัวไปก่อนว่าจะสร้างความผิดพลาด เกิดความหวั่นไหวจากความไม่เข้าใจบทเรียนหรือจ าบทเรียนไม่ได้ทั้งหมด ความเจ็บช ้าใจ

น้อยเนื้อต ่าใจที่ไม่เข้าใจบทเรียนเสียทีหรือท างานไม่ได้ดีตามมาตรฐานเสียที ความโมโหหงุดหงิดที่ยังไม่เข้าใจหรือท าไม่ได้เสียทีของตัวผู้เรียนเอง ผู้สอนสามารถสื่อความ

เข้าใจนี้ผ่านการพูดเลียบเคียงเพื่อให้เข้าใกล้ความรู้สึกที่สุมอยู่ในใจของผู้เรียนร่วมกับการตั้งค าถามปลายเปิด การพูดเลียบเคียงนี้เป็นไปเพียงเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้

เวลาอยู่กับความรู้สึกนั้นนั้นให้ชัดเจน เพื่อใคร่ครวญและสัมผัสให้แจ่มชัดว่าตนรู้สึกเช่นไรและพรั่งพรูส่วนความรู้สึกที่เป็นต้นเหตุที่ซ้อนอยู่ในชั้นลึกของใจออกมา เมื่อผู้เรียน

Page

7

ได้ฟังเสียงสะท้อนของตนเองนี้แล้ว เสียงนี้กลับเป็นส่วนส าคัญให้ผู้เรียนได้กลับมาสังเกตตนเอง กลับมาสังเกตอาการความทุกข์ที่ก าลังเป็นอยู่ดังตัวอย่างกรณีนักเรียนที่กล่าว

ว่า

“หนูเคยอยู่กับปัญหา มันทับถมใจของหนู จนมีเพื่อนมาบอกว่า ใจของแกใหญ่กว่าปัญหา ค าพูดนี้ท าให้หนูรู้สึกว่า ทุกปัญหาจะมีทางออกในที่สุด เมื่อเวลาและ

สถานการณ์จริงมาถึง มันท าให้หนูรู้สึกเบาสบาย และมีก าลัง หนูรู้สึกว่าการมาคณะมันไม่ได้เป็นปัญหาหนักหนาเหมือนเมื่อก่อนแล้ว”

หรือนักเรียนอาจกล่าวว่า

“การได้รับความไว้วางใจช่วยเยอะเลยนะคะ หนูอุดฟันได้สวยทุกครั้งที่ท างานกับอาจารย์ค่ะ”

การสอนโดยมี สมานัตตา ช่วยเอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียนอันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนซึ่งเป็นขั้นของการ

สังเกตจนสามารถตระหนักรู้ในตนเอง (Aware) ว่าผู้เรียนก าลังรู้สึกอย่างไร และเผชิญสิ่งใดอยู่ โดยทั่วไปแล้วผู้สอนและผู้เรียนมัก

ไม่ได้ตระหนักรู้ในตนเอง เมื่ออยู่ในกระบวนการที่ได้ค่อย ๆ สังเกตตนเอง ด้วยการฝึกฝน หรือด้วยการสนทนาหรือตอบค าถามเพื่อ

เชื่อมโยงให้ได้กลับมาทบทวนตนเองมากยิ่งขึ้น และการเกิดส ารวจ (Exploration) คือการได้เริ่มท าความเข้าใจตนเองอย่างลึกซึ้งมาก

ยิ่งขึ้น จากการที่ผู้สอนได้เอื้ออ านวยให้ได้มีโอกาสในการเปิดเผยตนเองของผู้เรียนหรือแม้แต่ตัวผู้สอนเอง ซึ่งโดยปรกติแล้วไม่ค่อย

ได้นึกถึงหรือพิจารณาใคร่ครวญเรื่องราวของตนเอง แต่เมื่อได้มีการพูดถึงและได้ใคร่ครวญถึงประเด็นในใจอีกครั้งหนึ่งในบรรยากาศ

ที่ปลอดภัย ภายในกระบวนการสอนที่มีความไว้วางใจเป็นหลักการพื้นฐานที่ผู้สอนตระหนักรู้ไว้อยู่เสมอว่าสิ่งที่มีค่ามากที่สุดก็คือ

การมี “ศึกษาส านึก” อยู่เสมอว่าตนเองมีหน้าที่หลักส าคัญคือส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ไม่ว่าผู้เรียนจะอยู่ในสภาวะใด พูดอย่างไร แสดงกิริยาอย่างไร ล้วนแล้วแต่เป็น

เพียง “ความไม่สามารถตระหนักรู้ได้” ว่าตนเองก าลังถูกครอบง าด้วยความรู้สึกที่ไม่เป็นการอ านวยให้เกิดการเรียนรู้เท่านั้น ผู้สอนพึงไม่ตามความรู้สึกของคนรอบข้างหรือ

ของตนเองไปอย่างไม่รู้ตัว การกลับมารู้เท่าทันที่หน้าที่ที่ส าคัญที่สุดของตนเองอีกครั้งว่าคือ “การส่งเสริมการเรียนรู้” ละวางการตัดสินในใจตน วางความชอบใจและไม่ชอบใจ

ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความรวดเร็วหรือเชื่องช้าของการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งนี้ยังอาจรวมไปถึง น ้าเสียง สีหน้า การแต่งกาย ซึ่งมักเป็นเหตุให้ผู้สอนตัดสินผู้เรียนไปโดยน าไป

เปรียบเทียบกับตนเองหรือประสบการณ์เดิมที่เคยประสบมาก่อนหน้า การละวางการตัดสิน และรวมถึงการท าให้ใจผู้สอนโล่งว่าง เบาสบาย จะเป็นเหตุให้สามารถอ านวยให้

ตนเองสามารถพลิกแพลงบทเรียน ส่งเสริมการสอนได้อย่างเท่าทันกับสภาวะการเรียนรู้ที่แปรเปลี่ยนของผู้เรียนโดยอัตโนมัติ ฉับพลัน รวมถึงในท้ายที่สุดก็ปล่อยวางแม้

ประสบการณ์การสอนที่ดีที่สุด หรือ เลวร้ายที่สุดไปด้วยในฉับพลัน เดินออกจากคลินิกหรือห้องเรียนอย่างเบาสบายไม่มีอะไรติดค้างให้มาเล่าให้เพื่อนครูฟังเป็นเวลานาน ซ ้า

ไปซ ้ามาในเรื่องเดิมเดิมเป็นเวลาหลายปี เพราะการส่งเสริมการสอนได้กระท าไปแล้วอย่างดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ณ ช่วงเวลานั้น สถาณการณ์นั้น ผู้สอนจึงไม่อาจมี

ความสามารถในการน าประสบการณ์มาเปรียบเทียบได้อีก จึงท าให้ใจของผู้สอนโล่งว่าง เบาสบาย อย่างสม ่าเสมอตลอด แม้ในชีวิตประจ าวันและขณะสอน การสอนการ

บริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลจึงส่งผลดีต่อ อาจารย์นักศึกษาทันตแพทย์และผู้ป่วย อันถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของทันตแพทยศาสตรศึกษา

รูปที่ 2 สมานัตตา (ความเชื่อมสมาน) เป็นหัวใจส าคัญในการช่วยสร้างเสริมความ

เข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาล และการสร้างเสริม

ความเข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาลนี้เองก็คือ

หัวใจของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล เมื่อทุกฝ่ายเข้าใจกันและพอใจใน

ผลการรักษา การมีสมานัตตา (ความเชื่อมสมาน) ก็ได้แสดงให้ประจักษ์ต่อตัวผู้

บริบาลและน าไปสู่ความเชื่อมั่นในการบริบาลให้เข้าใจความต้องการอย่างแท้จริง

ของผู้รับการบริบาลมากขึ้นเป็นล าดับ ส่งผลต่อการบริบาลไปเรื่อย ๆ อย่างเข้มแข็ง

การน าบทเรียนเรื่องการสื่อสารเพื่อให้เข้าถึงการบริบาลร่วมรู้สึกและยิ่งไปกว่านั้น สมานัตตา (ความเชื่อมสมาน) มาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาทันตแพทยศาสตรศึกษา จึง

เป็นหัวใจส าคัญในการช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษาทันตแพทย์เข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาล และการสร้างเสริมประสบการณ์ให้

นักศึกษาทันตแพทย์เข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาลนี้เองก็คือหัวใจของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล การมีสมานัตตา (ความเชื่อมสมาน) ก็

สมานัตตา

บริบาลโดยเข้าใจความ

ต้องการที่แท้จริง

การบริบาล

ทันตกรรมพร้อมมูล

Page

8

ได้แสดงให้ประจักษ์ต่อตัวผู้บริบาลให้มั่นใจและมีก าลังใจมากขึ้น น าไปสู่ความเชื่อมั่นในการบริบาลให้เข้าใจความต้องการอย่างแท้จริงของผู้รับการบริบาลมากขึ้นเป็นล าดับ

ส่งผลต่อการบริบาลไปเรื่อย ๆ อย่างเข้มแข็ง ท าให้เกิดมีความรักในงานที่ท าอย่างเหนียวแน่น ยินดีที่จะท างานนั้น อย่างพอใจ เต็มใจในทุกขณะที่ท างาน คือมีใจรักงานใน

ขณะที่ท างาน ฝักใฝ่ที่จะท างานให้บรรลุถึงจุดหมาย มีความมุ่งมั่นที่จะท างานอย่างไม่ลดละ พึงสังวร ระวัง ลดละ สาเหตุที่ท าให้คิดว่างานจะไม่ส าเร็จ ให้ก าลังใจตนเอง ท าให้

ใจมีก าลัง อีกทั้งยังไม่หลงเพลินไปกับความสุขของความส าเร็จของงาน การบรรลุเป้าหมายหรือคิดติดพันวนเวียนอยู่กับความทุกข์หากงานมี

ความยุ่งยาก หรือต้องพยายามสร้างความคิดใหม่มาคลายทุกข์นั้นโดยวนเวียนคิดอยู่กับทั้งความทุกข์นั้นและเหตุผลเพื่อคลายทุกข์ ทั้ง ๆ ที่หาก

หมั่นรักษาความสบายใจในการท างาน ท าให้มีการพัฒนางาน หาจุดบกพร่องของงาน หมั่นแก้ไขพัฒนางานให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ก็จะเห็นเหตุ

ของทุกข์นั้นได้เองโดยไม่ต้องพยายามส ารวม ระวัง หรือคิดหาเหตุผลมาส่งเสริมใจให้คลายทุกข์ [25] หลักในการท างานเหล่านี้ ได้รับการอธิบาย

ด้วยค าอันทันสมัยโดยนักคิดชาวตะวันตก คือสอดคล้องกับแนวคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ซึ่งเป็นหลักการของบริษัท ไอบีเอ็ม (IBM)

หลักการนี้เปิดให้ทุกคนสามารถเข้าศึกษาได้ทาง https://www.ibm.com/design/thinking/page/faq โดยไม่มีค่าใช้จ่าย [26] (ในขณะที่คณะผู้เขียนก าลังนิพนธ์บทเรียนนี้) ดัง

จะได้อธิบายเพื่ออ านวยความเข้าใจ สมานัตตา ในอีกบริบทหนึ่ง ค าอธิบายแนวคิดเชิงออกแบบนี้ ได้รับการรวบรวมและตัดทอนให้ง่ายต่อความเข้าใจ ดังแสดงในตอนต่อไป

Page

9

บันทึกช่วยเข้ าใจ ‘แนวคิดเชิงออกแบบ’

แนวคิดเชิงออกแบบ ช่วยท าให้เข้ าใจการอธิบายทันตกรรมพร้ อมมูล เช่นเดียวกับที่บทเรียนนี้พยายามอธิบายผ่านค าว่า การบริบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์

การบริบาลร่วมรู้สึก และ สมานัตตา

ที่มาของแนวคิดเชิงออกแบบ

แนวคิดเชิงออกแบบหรือ Design Thinking เป็นแนวคิดการท างานของบริษัทไอดีโอ (IDEO) ซึ่งเป็นบริษัทรับออกแบบชื่อดังที่อเมริกาซึ่งท างานร่วมกับ Steve Jobs และ

Stanford Design School (Institute of Design at Stanford) ซึ่งบริษัทไอดีโอ มีผลงานในวงวิชาการ มีการน าเสนอบทความและหนังสือที่นอกเหนือไปจากเรื่องของการ

ออกแบบแล้ว ยังเป็นหนังสือและบทความที่พูดถึง “การบริหารธุรกิจแบบมีมุมมองมาจากการออกแบบ” คือน าหลักของการคิดเชิงออกแบบมาใช้กับการคิดเชิงกลยุทธ์การ

บริหารธุรกิจ โดยแนวทางของ Stanford D. School น าเสนอเป็น 5 ขั้นตอนคือ Empathize Define Ideate Prototype และ ขั้นสุดท้ายคือ Test (รูปที่ 1)

ขั้นแรกคือ Empathize หรือเป็นการท าความเข้าใจกลุ่มบุคคลเป้าหมาย จุดนี้

ส าคัญมาก คือให้เริ่มงานโดยคิดว่าท าไปเพื่อบุคคลอื่น เช่น คนไข้ ลูกค้า หรือ

เพื่อนร่วมงานเสมอ

ขั้นที่สองคือ Define คือการนิยามปัญหาให้ชัดเจน

ขั้นที่สามคือ Ideate หรือการสร้างแนวความคิดแผนการต่าง ๆ เพื่อน าไปสู่การ

ออกแบบที่ดี

ขั้นที่สี่คือการสร้าง Prototype หรือแบบจ าลองขึ้นมา เนื่องจากความคิด (idea)

ที่ได้ยังอยู่ในสมองหรืออยู่ในแผ่นกระดาษซึ่งความคิด (idea) และประสบการณ์

(Experience) หรือการบริการก็สามารถจ าลองสถานการณ์ออกมาได้

เช่นเดียวกัน

ขั้นสุดท้ายคือ Test หรือการทดสอบ ที่เราน าแบบจ าลองนั้นมาทดสอบกับผู้ใช้

หรือกลุ่มบุคคลเป้าหมายจริง ๆ เพื่อรับข้อแนะน าหรือค าติชมมาใช้ในการ

พัฒนาปรับปรุงต่อไป

ที่ส าคัญคือหลักการ ของ Design Thinking นั้นเน้น Human-Center Approach หรือเน้นที่ตัวคนเป็นหลัก ให้ความส าคัญกับประสบการณ์ ความคิด ความคิดเห็นของคนที่เป็น

กลุ่มเป้าหมายจริง จะเห็นได้ว่ามีส่วนของทั้งศาสตร์และศิลป์ ดังเช่นเดียวกันกับการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล คือมีทั้งส่วนของความคิดเชิงวิชาการและส่วนของ

ความสัมพันธ์หรือการสื่อสารด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์

ขั้นตอนการท างานจริงของแนวคิดเชิงออกแบบ (design thinking)

Tim Brown ซึ่งเป็นผู้บริหารของบริษัทไอดีโอ เขียนไว้ในนิตยสาร Fast Company ได้เสนอแนะให้น าหลักการและวิธีคิดที่บรรดานักออกแบบได้ใช้ในการออกแบบ สินค้าและ

ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มาใช้ในการออกแบบกลยุทธ์ขององค์กร โดยเขาเรียกแนวคิดดังกล่าวว่า Five Points Model

Hit the Streets

Recruit T-Shaped People

Build to Think

The Prototype tells a Story

รูปที่ 3 แสดงห้าขั้นตอนของ DESIGN THINKING

Page10

ส าคัญที่สุดที่แนวทางสุดท้าย คือ Design is Never Done

สรุปการอธิบายแนวคิดทั้งห้าประการแบบสั้น ๆ ของ Tim Brown

ประกอบด้วย Hit the Streets หรือการลงภาคสนาม Recruit TShape People หรือการหาคนที่มีทั้งความรู้ลึกและรู้รอบ แนวทาง

ที่สามนั้นเรียกว่า Build to Think สี่เรียกว่า The Prototype Tells

a Story แนวทางสุดท้าย คือ Design is Never Done

แนวทางแรก (Hit the Streets) คือการท างานแบบลงภาคสนาม

เนื่องจากเชื่อว่ากลยุทธ์ใหม่ ๆ และการที่จะมีมุมมองใหม่ ๆ ได้นั้น

ไม่สามารถเกิดขึ้นได้จากการนั่งอยู่ในห้องประชุมหรือห้องสัมมนา

แต่จะเกิดขึ้นได้จากการเข้าไปสังเกตและศึกษาจากตัวลูกค้าเองโดยตรง การส ารวจ สังเกต เฝ้ามอง ค้นหา ฯลฯ พฤติกรรมที่แท้จริงของลูกค้า ประเด็นที่ส าคัญคือไม่ควรไป

สนใจแต่เฉพาะช่วงที่ลูกค้าซื้อสินค้าและบริการเพียงอย่างเดียว คือให้เฝ้าศึกษาและสังเกตต่อทั้งกระบวนการของปฏิสัมพันธ์ที่ท่านมีกับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นก่อน ระหว่าง หรือ

หลังการซื้อสินค้าและบริการของท่าน และเมื่อเฝ้าสังเกตให้ดีและคิดให้ถี่ถ้วน ก็อาจจะได้มาซึ่งกลยุทธ์หรือสินค้าและบริการใหม่ ๆ จากการเฝ้าสังเกตนี้ได้ คือพยายามท า

ความเข้าใจความรู้สึกของลูกค้า

แนวทางที่สองคือ Recruit T-Shaped People ตามลักษณะตัวอักษร T ตัวใหญ่ในภาษาอังกฤษ คนเหล่านี้จะมีความรู้ความเชี่ยวชาญที่ลึกในด้านใดด้านหนึ่ง ซึ่งก็

เปรียบเสมือนตัวขีดที่ดิ่งลงมาในอักษร T แต่ในขณะเดียวกันคนเหล่านี้ก็มีความรู้ในศาสตร์สาขาด้านอื่น ๆ ด้วย ซึ่งก็เปรียบเสมือนขีดในแนวขวางของตัวอักษร T นั่นเอง

เพื่อให้สามารถมองเห็นความเชื่อมโยง ความสอดคล้องระหว่างสิ่งต่าง ๆ เพื่อน ามาสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้หรือถ้าในภาษาอังกฤษคือการมองหาสังเกต รูปแบบ (Pattern) ที่

คล้าย ๆ กันหรือซ ้ากันในสิ่งที่แตกต่างกัน เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งใหม่หรือทางเลือกใหม่ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนในปัจจุบันคือการผสมผสาน

ระหว่างหลักการทางด้านการบริหารและหลักพระพุทธศาสนา ปัจจุบันมีผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่สามารถเชื่อมโยงหลักทางการบริหารสมัยใหม่ให้เข้ากับหลักค าสอนขององค์

พระพุทธเจ้า

แนวทางที่สามนั้นคือ Build to Think เนื่องจากเมื่อเราเกิดความคิดอะไรใหม่ ๆ เข้ามาแล้ว ขอให้อย่าคิดอยู่แต่ในใจ จะต้องท าออกมาให้เป็นรูปธรรม คือมีรูปร่าง จับต้อง สัมผัส

ได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นการสร้างแบบ จ าลอง หรือการวาดรูป หรือการเขียน หรือกระทั่งการบันทึกเป็นภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งแนวคิดออกแบบหรือไอเดียที่ออกมาเป็นรูป

เป็นร่างนั้นยังไม่ต้องสมบูรณ์หรือสวยงาม สรุปคือต้องได้แบบจ าลองหรือตุ๊กตาออกมานั่นเอง

แนวทางที่สี่คือ The Prototype Tells a Story คือแบบจ าลองนี้ต้องบอกเล่าเรื่องราวของกลยุทธ์หรือสิ่งที่บริษัทจะท าหรือมุ่งเน้น อีกทั้งท าให้ผู้บริหารได้มีแนวทางและเครื่องมือ

ในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์หรือสิ่งที่ได้คิดมาได้กลางคัน ตัวอย่างเช่น หากท่านคิดประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์ที่ทันสมัยขึ้นมาชิ้นหนึ่ง แต่ไม่รู้จะท าให้คนอื่นเขาได้รับรู้ถึงผลิตภัณฑ์ชิ้น

นั้นอย่างไร วิธีการที่ง่ายที่สุดในการบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ ก็คือการถ่ายท าคลิปวิดีโอสั้น ๆ เพื่อบอกเล่าถึงวิธีการในการใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าว

แนวทางสุดท้าย คือ Design is Never Done หรือเรื่องของการออกแบบไม่มีวันจบสิ้น เนื่องจากการออกแบบกลยุทธ์ ผลิตภัณฑ์หรือบริการใดก็ตาม เมื่อกลยุทธ์ดังกล่าวเริ่มมี

การน าไปใช้หรือมีสินค้าและบริการออกมา หน้าที่ในเรื่องของการออกแบบก็น่าจะจบ ในความเป็นจริงเนื่องจากทุก ๆ อย่างล้วนแล้วแต่ต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงอยู่เสมอ

และเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ ประสบการณ์จากการใช้งานจริงก็จะท าให้มีการคิดค้นพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์นั้นนั้นให้ท างานได้ดีขึ้น ท าให้การออกแบบในรุ่นหลัง ๆ ออกมาดีขึ้น

เรื่อย ๆ และที่ส าคัญคือ ตลาดและอุตสาหกรรมต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นกลยุทธ์จึงต้องมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงตามอยู่ตลอดเวลา เรื่องของการ

ออกแบบกลยุทธ์จึงเป็นสิ่งที่ต้องค านึงถึงและพิจารณาอย่างต่อเนื่อง

ค าที่เป็นหัวใจของแนวคิดเชิงออกแบบ (design thinking) ก็คือ wicked problems และ empathy

ในการออกแบบ นักนโยบายและนักออกแบบส่วนใหญ่มักเรียกข้อปัญหาหรือโจทย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนมาก ๆ ว่า “Wicked problem” (ปัญหาพยศ) ค าค านี้ถูก บัญญัติขึ้นครั้ง

แรกโดย Horst Rittel (และ Melvin M. Webber) โดยอธิบายถึงลักษณะของ Wicked problem ว่า

“มีความไม่แน่นอน มีลักษณะ เฉพาะตัว และไม่มีทางออกสุดท้ายที่แน่ชัด”

นอกจากนี้เขายังกล่าวด้วยว่า

“การแก้ปัญหาหนึ่ง ๆ ให้แล้วเสร็จก็คือการเปิดฉากให้กับปัญหาล าดับต่อ ๆ ไป ซึ่งในกระบวนการแก้ปัญหาทั้งหมดนี้ ไม่มีใครตัดสินได้แน่นอนว่าค าตอบใดถูกหรือค าตอบใด

ผิด”

รูปที่ 4 แสดงแนวคิด 5 ข้อของ TIM BROWN

Page11

ปัจจัยความไม่ชัดเจนและไม่แน่นอนในปัญหาต่าง ๆ ก็คือ ต้นตอที่น ามาสู่การพัฒนาแนวคิดด้านนวคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)และหากเป็นไปตามที่เขากล่าวก็จะโยง

ใยไปสู่แนวทางต่อไปก็คือการแก้ไขปัญหาที่ไม่รู้จบ หากจะมองในทางกลับกันก็คือ การออกแบบและการท างานทั้งหมดเป็นเพียงแค่การเรียนรู้เท่านั้น มิได้ต้องการท าให้ ผู้

แก้ปัญหารู้สึกรู้สมอะไรกับการแก้ปัญหาใหญ่ ๆ ได้ ไม่ต้องมีค่าตอบแทนราคาแพง หรือส่งเสริมการมีตัวตน (อัตตา) ของทีมผู้คิด ทั้งหมดเป็นเพียงการแก้ปัญหาเพื่อให้

ผู้บริโภคได้รับการบริการที่ดีที่สุด คือคิดค้นแนวทางที่ดีที่สุดเพื่อให้ได้โอกาสที่จะให้บริการหรือการรักษาที่ดีที่สุดแค่นั้น ไม่ได้ต้องการให้รู้สึกชื่นชม ยินดี เหน็ดเหนื่อย หรือ

ต้องการรางวัลแต่อย่างใด นี่ก็คือขั้นแรกที่ design thinking คือเริ่มวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของมนุษย์อย่างแท้จริงและลึกซึ้ง และเริ่มคล้ายคลึงกับแนวคิดทาง

พุทธ

Design thinking ตามค านิยามของ Robert McKim เมื่อน ามารวมกับของ Christoph Meinel และ Larry Leifer ที่ลงรายละเอียด

มากขึ้นและปรับอีกเล็กน้อยเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น โดยแบ่งการท างานเป็นหกขั้นตอน คือ

1. (Re) Define the problem – Design never ends

2. Need finding and benchmarking

– Understand the users, design space

3. “Empathy” – Ideate

4. Prototype – Choose

5. Implement

— Make task descriptions, Plan tasks, Determine resources,

Assign tasks, Execute, Deliver to client

6. Test – Learn

พบว่าขั้นตอนส าคัญของเหล่านักออกแบบ ที่มักจะออกแบบผลิตภัณฑ์จนสุดเท่แล้ว อาจท าให้งานที่ได้ออกมา “สวยแต่กินไม่ได้” หรือ ไม่ “เวิร์ค” วิธีการลดปัญหานี้ ก็คือ

ขั้นตอน implement คือลงไปทดลองใช้ผลิตภัณฑ์หรือทดลองน าบริการที่ได้ออกแบบไว้มาใช้งานจริง ว่าผลิตหรือท าให้การบริการส าเร็จได้จริงหรือไม่ ก็คือนิยาม วางแผน

แบ่งงานให้ชัดเจน ตามความเหมาะสมของผู้รับผิดชอบ จัดการท าให้เสร็จสิ้นและก็ส่งให้ลูกค้า (Make task descriptions, Plan tasks, Determine resources, Assign tasks,

Execute, Deliver to client) ดังที่กล่าวไว้แล้วว่า ขั้นสุดยอดของการท างานเป็นหกขั้นตอนก็คือ งานทุกอย่างจะถูกน ากลับมาทดสอบและน าไปสู่การเรียนรู้ (Test – Learn)

เท่านั้นและวนน ากลับไปสู่ข้อหนึ่งคือ (Re) Define the problem – Design never ends ซึ่งท าให้น าไปสู่วงจรการพัฒนาอย่างยั่งยืน

รูปที่ 5 แสดงแนวคิดของ ROBERT MCKIM รวมกับแนวคิดของ CHRISTOPH MEINEL และ LARRY LEIFER

Page12

ในโลกแห่งอุดมคติ ทุกอย่างน่าจะลงท้ายด้วยดี แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง มนุษย์งานส่วนใหญ่ท างานเพื่อเงินหรือสนองความต้องการทางใจของตน มนุษย์งานที่มีบุคลิก T

อาจถูกสร้างและหล่อหลอมให้มีค่าตัวแพงขึ้น การรวมมนุษย์บุคลิก T เอาไว้ด้วยกัน อาจเหมือนการน าอัตตาหลายส่วนมากระทบกระทั่งกัน หรือการจับปูใส่กระด้ง อาจไม่มี

ใครยอมลงให้ใคร จึงต้องเพิ่มอีกหนึ่งขั้นตอนเข้าไปก็คือ empathy ( ค านี้ส าคัญที่สุดใน design thinking ) ผู้แต่งต าราบางท่านก็เอาไปไว้แต่ตอนต้นเลย บางท่านก็เอามาไว้

ขณะที่จะก าลังด าเนินขั้นตอนต่อไป คือ ideation และ prototyping ซึ่งตามนิยามแล้ว empathy คือการร่วมรู้สึกหรือความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น (บทเรียนนี้

ได้อธิบายค าว่า สมานัตตา ซึ่งมีความหมายชัดเจน ลึกซึ้ง ไว้แล้วและจะอธิบายเทียบเคียงกับค าว่า empathy ในตอนต่อไป) คนบุคลิก T ส่วนใหญ่จะเป็นคนเจ้าความคิด การ

คิดเยอะบางครั้งอาจท าให้ฟุ้งมากและไม่เกิดงานเสียที เพราะฉะนั้นเคล็ดลับของการท าให้คน

บุคลิก T ยอมลงแรงท างานก็คือต้องดึงส่วนความรู้สึกของเขาออกมาโดยการฟังเขาอย่างลึกซึ้ง

(วิธีการฟังอย่างลึกซึ้งจะได้อธิบายในบทต่อต่อไป) ให้เขาได้พูดความรู้สึกที่แท้จริงของเขา

ออกมาและมีผู้คนรับฟัง ในขณะเดียวกันเขาก็ได้รับฟังความรู้สึกของผู้อื่นไปด้วย การฟังบ่อยและ

นานขึ้นหากท าได้อย่างลึกซึ้งก็น าไปสู่ความเข้าใจกัน จึงเป็นที่มาของบทบาทของ empathy ที่จะ

เพิ่มความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจความรู้สึกร่วมของทีมงาน ให้เข้าใจถึง

ความรู้สึกของลูกค้าหรือคนไข้มาก ๆ เช่น ต้องการออกแบบการจัดฟัน ที่มีฟันหน้าแตกใต้เหงือก

แต่ในระหว่างการจัดฟันนั้นไม่มีหมอใส่ฟันหรือรักษารากฟันมาท างานที่คลินิกในวันนั้น ไม่ว่า

คนไข้รายนี้จะได้รับจัดฟันแบบถอนฟันหรือไม่ถอนก็คงจะจัดฟันยากขึ้นแน่ ๆ หมออาจต้อง

เข้าใจความรู้สึกของตนเองในขณะนั้น เข้าใจความรู้สึกของคนไข้ เข้าใจความเจ็บปวดขณะนั้น

ของคนไข้มากขึ้น เมื่อฟังมากขึ้นจนเห็นความต้องการของคนไข้ หมออาจต้องการให้เขาหายเจ็บ (กรุณา) หรืออยากให้เขามีฟันซี่นี้อยู่ และพยายามท าความเข้าใจหมอรักษา

รากฟันว่า การใส่แผ่นยางกันน ้าลายนั้นส าหรับหมอรักษารากฟันแล้วเป็นการป้องกันการมีเชื้อโรคจากน ้าลายเข้าสู่โพรงประสาทฟันซึ่งส าคัญมากส าหรับความรู้สึกของหมอ

รักษารากฟัน แล้วแบรกเก็ตที่ติดไปควรท าอย่างไรดี แบรกเก็ตจะท าให้ใส่แผ่นยางกั้นน ้าลายยากขึ้นไหม อีกทั้งหมอใส่ฟันจะต้องการ biologic width สักเท่าไร กรณีแตกใต้

เหงือกมาก ๆ แล้วถ้าดึงฟันขึ้นมาได้แล้วจะมาใส่ฟันเมื่อไหร่และต้องท าศัลยปริทันต์หรือไม่ ฟันจึงจะไม่เคลื่อนย้อนกลับไปที่เดิม (relapse) หาก build empathy ไม่ขึ้น หมอ

อารมณ์เสียไปก่อนแทน ก็ไม่ได้ออกแบบการรักษาที่ท าให้คนไข้ได้งานที่ดีที่สุด แต่หากทีมงานสามารถสร้าง empathy ขึ้นมาได้ ก็จะน าไปสู่ ideation และ prototyping โดย

อัตโนมัติ

“Empathy” คือ ความสามารถ ในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น

“Empathy” ค านี้ส าคัญที่สุดใน design thinking

สรุปว่า design thinking คือขั้นตอนการท างานที่เป็นระบบ สร้างนักคิด นักแก้ปัญหา โดยไม่สร้างอัตตาแก่ผู้ร่วมงาน โดยเริ่มจากการสร้างความรู้สึกร่วมของการอยาก

ช่วยเหลือหรือความเข้าใจในความรู้สึกของผู้อื่น (empathy) มาก่อน เปิดกว้างทางด้านความคิด ยอมรับความคิดนอกกรอบ (thinking outside the box) จาก ผู้เชี่ยวชาญหลาย

สาขา ซึ่งก็อาจไปพ้องกับแนวคิดทางพุทธด้วย อาจยกตัวอย่างที่ใกล้ตัว เช่น คุณธนญชัย ศรศรีวิชัย ผู้ซึ่งเป็นนักท าภาพยนตร์โฆษณาที่เชื่อว่าคนไทยทุกคนจ าเสียงได้ และ

น่าจะเป็นนักโฆษณาไทยที่ประสบความส าเร็จมากท่านหนึ่งในโลก ท่านได้รับการเสนอชื่อให้ได้รับรางวัล Cannes Lions ซึ่งเป็นรางวัลส าหรับการท าโฆษณาดีเด่นในระดับ

สากลติดต่อกันหลายครั้ง แต่ไม่เคยขึ้นไปรับรางวัลเลย น่าจะพ้องกับแนวคิด design thinking ที่คุณธนญชัยอ่าน ค้นคว้า พยายามท าความเข้าใจความรู้สึกของคนไทย จน

สามารถเข้าใจความรู้สึก และผลิตสื่อที่จับใจคนไทยได้และยังสามารถผลิตสื่อที่เข้าถึงความเป็นมนุษย์ในระดับสากลจนได้รับรางวัลอีกด้วย ท่านค้นคว้ามาก อ่านมาก จนรู้สึก

ว่าการตั้งใจท างานให้ดี งานออกมาดี ก็ควรได้รางวัล แต่กลับไม่ได้รู้สึกว่ารางวัลท าให้เขาตัวใหญ่ขึ้นแต่อย่างใด หากพิจารณาเปรียบเทียบก็อาจพบว่า เหล่านี้ก็คือหลักการ

บริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนั่นเอง หลักการเหล่านี้มีอยู่จริง ท าให้เกิดขึ้นได้จริง เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลาย อยู่รอบตัวเราตลอดเวลาอยู่แล้ว หรือในที่สุด ก็คงต้องยอมรับว่า

หลักการเหล่านี้ล้วนมีพร้อมอยู่ในตัวเราตลอดเวลา เหลือเพียงรอเวลาให้มีการคลี่คลายสิ่งที่บดบังอยู่ออกไป ให้เราได้เข้าไปสัมผัสอย่างเบิกบาน [27-31]

รูปที่ 6 หัวใจของdesign thinking ก็คือ wicked problems และ empathy

Page13

บันทึกช่วยเข้ าใจ ‘การร่วมรู้ สึก (empathy) และสมานัตตา’

การร่วมรู้สึกและสมานัตตา

ค าสองค านี้มีความหมายต่อเนื่องกัน และสามารถน ามาใช้ประกอบการอธิบายการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลได้อย่างชัดเจนมากขึ้น

การร่วมรู้ สึก

การร่วมรู้สึก คือความสามารถในการเอาตัวเองเข้าไปอยู่ในความรู้สึกหรือสถานการณ์ที่คนอื่นเผชิญ ท าให้เข้าถึงความรู้สึกและเข้าใจเหตุผลจากมุมมองของผู้นั้นจริง ๆ เป็น

ความรู้สึกว่าทุกคนเท่าเทียมกัน โดยไม่มีความอยากได้ อยากเป็นของตัวเรา ไม่มีความหวังผลตอบแทนจากการกระท าปนเข้าไป หรืออยู่พ้นความรู้สึกยินดีหรือเสียใจจากการ

กระท าที่ดีนั้น ต่างจากค าว่า sympathy ตรงที่เป็นความรู้สึกสงสาร เห็นใจที่เกิดจากการเอาใจเขามาใส่ใจเรา คือมีความรู้สึกของเรา ตัวของเราปนเข้าไป

• การร่วมรู้สึกเชิงปริชาน (Cognitive empathy) คือ ความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกนึกคิด ในจิตใจของคนที่ก าลังเผชิญอะไรบางอย่าง รู้และเข้าใจว่าเขา

ก าลังอยู่ในสภาวะอารมณ์แบบไหน ไปจนถึงสภาพจิตใจในขณะนั้น

• การร่วมรู้สึกเชิงจิต การร่วมรู้สึกเชิงอารมณ์(Affective empathy, Emotional empathy) คือ ความสามารถในการเข้าใจอารมณ์ของผู้อื่น เสมือนว่าเอาความรู้สึก

ของเขามาอยู่ในใจของเราจริง ๆ ท าให้สามารถเข้าหาและพูดคุยกับคนคนนั้นได้อย่างถูกวิธี

• การร่วมรู้สึกเชิงเมตตา (Compassionate empathy) ความสามารถในการเข้าอกเข้าใจความรู้สึกผู้อื่น รับรู้ถึงอารมณ์และความรู้สึกเหล่านั้น ท าให้เรายื่นมือเข้า

ไปช่วยเหลือ หรือท าอะไรบางอย่างที่ท าให้เขารู้สึกดีขึ้น

วิธีแสดงความห่วงใย ในรูปแบบการร่วมรู้สึก

• รับฟังอย่างตั้งใจ จะท าให้เราเข้าใจความรู้สึกนึกคิด เหตุผลและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมากขึ้น รวมไปถึงสังเกตสีหน้า ท่าทางของผู้พูด จะท าให้เราเข้าใจและให้

ก าลังใจได้ถูกวิธี

• ไม่ตัดสินถูก-ผิด แม้ว่าเราจะเอาความรู้สึกของเขามาใส่ในใจเรา แต่อย่าเอาความรู้สึกและมุมมองส่วนตัวของเราไปตัดสินเรื่องราวที่เกิดขึ้น การร่วมรู้สึกควรจะ

มองสิ่งที่เกิดขึ้นในมุมมองของคนที่เผชิญเหตุการณ์จริงๆ

• ให้ก าลังใจและอยู่ข้าง ๆ ในยามที่เขาต้องการ นอกจากการรับฟังแล้ว การให้ก าลังใจ และท าให้เขารับรู้ได้ว่าเราอยู่ตรงนี้เสมอถ้าเขาต้องการ ก็จะช่วยให้อีกฝ่าย

ไม่รู้สึกว่าอยู่ตัวคนเดียว

• ให้ความช่วยเหลือเท่าที่ท าได้เมื่อเราทั้งเห็นใจและเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น อย่างน้อยเราจะรู้ว่าควรจะช่วยเหลืออย่างไร นอกจากให้ก าลังใจแล้ว ลองหยิบยื่น

ความช่วยเหลือที่สามารถท าได้ด้วยความเต็มใจ [32]

สมานัตตา

สมานัตตา ดังได้อธิบายแล้ว คือการสมานตนของผู้สอนเข้ากับผู้เรียนได้อย่างสนิท เป็นหนึ่งในสังคหวัตถุ 4 (ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตา) คือการสามารถ

รู้รายละเอียดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างลึกซึ้งชัดเจน (โสรีช์ โพธิแก้ว, ม.ป.ป) เริ่มต้นจากสังคหวัตถุซึ่งแปลว่า ธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กัน ธรรมอันเป็นเครื่อง

ยึดเหนี่ยวน ้าใจกัน หมายถึง หลักการครองใจคน หลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้ วิธีท าให้คนรอบข้าง เพื่อนร่วมงานไม่รู้สึกกังวล หลักสังคมสงเคราะห์ ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและ

เหนี่ยวรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้ และท าให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกัน เหมือนลิ่มสลักรถที่ตรึงตัวรถไว้มิให้ชิ้นส่วนกระจายไป ท าให้รถแล่นไปได้

ตามที่ต้องการ

สังคหวัตถุมีสี่ประการ คือ

1. ทาน การให้ การเสียสละ การแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่น ช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัว แบ่งปันกัน สิ่งที่น ามาให้ไม่ว่าเป็นสิ่งของตลอดจน

การให้ค าแนะน า ความรู้ ปัญญา และศิลปวิทยารวมไปถึงการให้อภัยแก่ผู้อื่น ควรเป็นสิ่งที่ได้มาโดยสุจริตและเป็นประโยชน์ คือผู้ให้ก็เป็นสุข อิ่มเอิบ

ใจ ผู้รับก็บรรเทาทุกข์ ผู้ให้ทานเป็นการฝึกให้เป็นคนไม่ละโมบ และไม่เห็นแก่ตัว การให้คือ ให้การช่วยเหลือกันในทุกระดับ ผู้ใหญ่ให้การช่วยเหลือ

ผู้น้อย ผู้น้อยก็ให้การช่วยเหลือผู้ใหญ่ได้เช่นกัน [33]

2. ปิยวาจา การพูดให้เป็นปิยวาจานั้น ยึดหลัก ละเว้นการพูดที่เป็นอกุศลดังต่อไปนี้คือ เว้นจากการพูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดค าหยาบ และเว้นจากการ

พูดเพ้อเจ้อ

3. อัตถจริยา การประพฤติตนให้เป็นประโยชน์แก่ทั้งตนเอง และผู้อื่น รู้จักการเสียสละไม่เห็นแก่ตัว ไม่เห็นแก่ความสุขสบายส่วนตัว ทุ่มเทแรงกาย

แรงใจในการบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ และช่วยเหลือผู้อื่น พร้อมรู้จักแก้ไขปัญหาด้วยปัญญา

Page14

4. สมานัตตตา เมื่อได้ฝึกการให้ทาน ฝึกการพูดให้เป็นปิยวาจา และมีการท าตนให้เป็นประโยชน์อยู่เสมอ (อัตถจริยา) ก็จะอ านวยให้สามารถสมานัตตา

ได้ง่ายขึ้น เป็นดั่งแนวทางในการฝึกเพื่อให้น าไปสู่การมีสมานัตตา [34]

สรุป

ในบทแรกของการน าเสนอการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนี้ ได้น าเสนอว่า การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล (Comprehensive dental care) คืออะไร มีวัตถุประสงค์ของ

บทเรียนคือเพื่อให้เข้าใจความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล และสามารถท าได้จริงจนช านาญและสามารถน าไปสอนได้ และอธิบายถึงสาเหตุที่ควรมีการส่งเสริมให้

มีการสอนและสื่อการสอน การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ทันตแพทยศาสตรศึกษาวิ่งตามให้ทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีโดยอธิบาย

ผ่านแนวคิดสมานัตตากับ การสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล และใช้ค าว่าการร่วมรู้สึกเป็นขั้นตอนแรกในการท าความเข้าใจและสัมผัสความหมาย

ของค าเหล่านี้ และยืนยันการมีอยู่ จริงด้วยทฤษฎีทางการบริหารธุรกิจ

ในบทต่อ ๆ ไป บทเรียนการส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนี้ จะได้รับการอธิบายผ่านการเรียนรู้สองแบบซึ่งต่าง มีเทคนิคการสอนเฉพาะตน คือ

แม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษา ใช้เทคนิคการสอนแบบมนุษยนิยมผนวกกับแบบศึกษาส านึก และการจัดการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษา สอนผ่านทางการสื่อสาร

ด้วยความเมตตา ซึ่งล้วนน าไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ที่คล้ายคลึงกันมากคือการบริบาลร่วมรู้สึกและสมานัตตา ดังจะได้อธิบายละเอียดในบทเรียนต่อต่อไป

หรืออาจกล่าวแบบเรียบง่ายไว้ว่าการให้ผู้สอนเข้าถึงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นนี้ มีเทคนิคคือการหมั่นฝึกการฟังอย่างลึกซึ้งในชีวิตประจ าวันของผู้สอนจนสามารถท าได้อย่าง

คล่องแคล่ว การฟังอย่างลึกซึ้งที่คล่องแคล่วสร้างความเข้าใจต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลในเนื้อในตัวของผู้สอน ผู้สอนที่ฝึกเทคนิคดังกล่าว สามารถสอนจนน าไปสู่

การลดความขัดแย้ง สนับสนุนความเจริญก้าวหน้าทางทันตแพทยศาสตรศึกษา ดังได้อธิบายในบทเรียนที่ ---การฟังอย่างลึกซึ้งนี้เป็นการน าเทคนิคการฝึกอย่างง่าย

ที่สุด และสามารถท าได้ในชีวิตประจ าวันเกือบตลอดเวลา ซึ่งเป็นเทคนิคหนึ่งที่ส าคัญยิ่งส าหรับการท าความเข้าใจการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล

Page15

เอกสารอ้างอิง

1. Chuengpattanawadee A. Humanized dentistry. J Dent Assoc Thai 2009; 59(1): 63-73.

2. Chan KD, Humphreys L, Mey A, Holland C, Wu C, Rogers GD. Beyond communication training: The MaRIS model for developing

medical students’ human capabilities and personal resilience. Med Teach 2020;42(2):187–95.

3. Kelly C, Noonan CLF, Monagle JP. Preparedness for internship: a survey of new interns in a large Victorian Health Service.Aust Heal Rev

2011;35:146–51.

4. Barth RJ, Rowland-Morin PA, Mott LA, Burchard KW. Communication effectiveness training improves surgical resident teaching ability. J Am Coll

Surg 1997;185(6):516–9.

5. ADEA House of Delegates. American dental education association competencies for the new general dentist. J Dent Edu 2011;75(7):932–5.

6. ADEA House of Delegates [homepage on the Internet]. Washington DC: The Association; c 2013-2020 [updated 2008; cited 2022 Jun 7]

Competencies for the new general dentist. Available from https://www.adea.org/about_adea/governance/Pages/Competencies-for-the-NewGeneral-Dentist.aspx.

7. Majeski RA, Stover M. Contemplative pedagogy in hybrid and asynchronous online undergraduate aging services/gerontology courses.

Gerontol Geriatr Educ 2018;39(1):75-85.

8. Supapon S. Learning humanized health care. Medical Education Center: Khon Kaen university; 2017.

9. Watson J. Nursing: The Philosophy and Science of Caring. 2nd rev. ed. Boulder, Colorado: University Press of Colorado; 2008.

10. Watanapa A,Tienmontri A, Thitasomakul S.[homepage on the Internet]. Songkhla: Prince of Songkhla University; c 2010 [updated

2017; cited 2022 Jun 7] Learning experience in hospital and community. Available from:http://ed.dent.psu.ac.th/var/www/service/Upload/files/3_

คู่มือรพ_สมทบ ฉบับ Online.pdf.

11. Ratanasuwan P. [homepage on the Internet]. Phayao: University of Phayao; c [updated 2020; cited 2021 Jan 7] Facilitate dental students quality

with contemplative pedagogy. Available from: https://up.ac.th/th/NewsRead.aspx?itemID=15929&title=ข่าวประชาสัมพันธ์.

12. Chatiketu P, Patanaporn V, Wattanachai T. Dental students’ achievement and satisfaction of two learning methods in an orthodontic case seminar,

Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. CM Dent J 2015;36(2):131–43.

13. Education section, Student development section, Alumni and community relation section. [homepage on the Internet]. Khon Kaen: Khon

Kaen University; c [updated 2016; cited 2021 Jan 7] Contemplative pedogogy by Faculty of Dentistry: New age dentists’ mind and physical

growth for social skill development. Available from: https://home.kku.ac.th/dentist/news.php?id=53.

14. Swendiman RA. Deep listening. Acad Med 2014;89(6):950.

15. Leowsrisook K. Comprehensive dental care. J Dent Assoc Thai 1995;45(4):214–21.

16. Leowsrisook K. Comprehensive Dental Care Behavior Science Health Education and Ethics Context. 1sted. Bangkok Thailand: Emotion

art; 2012.

17. Chanthorn R. Comprehensive dental care concept. KDJ 2008;11(1):23–33.

18. Tuongratanaphan S, Kanchanakamol U. Comprehensive dental care concept. CM Dent J 2000;21(2):7-24.

19. Sweet J, Wilson J, Pugsley L. Chairside teaching and the perceptions of dental teachers in the UK. Br Dent J 2008;205(10):565–9.

20. Dennick R. Twelve tips for incorporating educational theory into teaching practices. Med Teach 2012;34(8):618–24.

21. Quick KK.A humanistic environment for dental schools: What are dental students experiencing? J Dent Educ 2014;78(12):1629-35.

22. โสรีช์โพธิ์แก้ว. (2536). จิตรักษาตามแนวพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

23. โสรีช์โพธิ์แก้ว. (2553). การสังเคราะห์หลักอริยสัจ 4 สู่กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยา/จิตรักษาเพื่อ การพัฒนา รักษา และเยียวยาชีวิตจิตใจ แนวคิด แนวทาง

ประสบการณ์ และงานวิจัย. กรุงเทพฯ: หลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

24. โสรีช์โพธิ์แก้ว. (มปป).จิตวิทยาแห่งธรรมะและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา (Dhammic Psychology and Counseling) กรุงเทพฯ: หลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยาการ

ปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

25. http://www.u-thong.ac.th

26. https://www.ibm.com/design/thinking/page/faq

27. http://www.forbes.com

28. http://www.manager.co.th/mgrWeekly/ViewNews.aspx?NewsID=9510000105690

29. http://www.manager.co.th/iBizchannel/ViewNews.aspx?NewsID=9510000109215&TabID=1&

30. http://www.tcdc.or.th/

Page16

31. http://en.wikipedia.org/wiki/Design_thinkingMango-zero.com/empathy

32. https://www.castool.com

33. https://www.castool.com/2016/12/02/ /สังคหวัตถุ-4-และแนวทางกา/

34. https://th.wikipedia.org/wiki/

Page17

รู้สึกได้ถึงความสุข

ของการได้บริบาลผู้ป่วย….

ด้วยใจทีม่ีความปรารถนาทีจ่ะต้องการ

ให้การดูแลให้เหมาะสม พอเพียง ตรงกับใจหรือตอบค าถาม

หรือคลายความกังวลของคนไข้…..

Page18

บทที่๒

แก่นแท้ของทันตกรรมพร้อมมูล

กัลย์ธิรา ว่องนาวี• สมชัย มโนพัฒนกุล • สุรพงษ์ อยู่มา•ชนิตา ตันติพจน์• นัยนา บูรณชาติ

การถ่ายทอดความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลในบทนีเ้ป็นการถ่ายทอดแก่นแท้ของทันตกรรมพร้อมมูลโดย

สัมภาษณ์จากประสบการณ์ตรงทีเ่กิดขึน้ในการดูแลผู้ป่วยของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปเมื่อ

จบการฝึกอบรมและบริบาลผู้ป่วย ณที่ท างานของตนเอง น าข้อมูลทีไ่ด้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์โดยข้อมูล

ทัง้หมดจะถูกน ามาแยกเป็ นหัวข้อตามประเด็นค าถาม วิเคราะห์เนือ้หา (content analysis) รวมถึงวิเคราะห์

ใจความหลักหรือแก่นของเรื่อง (thematic analysis) โดยใช้ระเบียบวิธีการวิเคราะห์ในรูปแบบของการวิจัยเชิง

คุณภาพ

จากนั้นจึงน ามาอธิบายต่อโดยผ่านการอธิบายสองแบบหลักคือ การอธิบายแบบบอกความหมายของแก่นในเชิง

ภาษาและการอธิบายความหมายของแก่นในเชิงความรู้สึก โดยการอธิบายแก่นในเชิงภาษานั้น เป็ นการอธิบาย

แบบบอกกล่าว หัวข้อ นิยาม และความหมายตามใจความหลักหรือแก่นของเรื่อง โดยน าเรื่องเล่ามาจัดกลุ่มให้

เป็ นหัวข้อตามระเบียบวิธีวิจัยดังอธิบายข้างต้น ซึ่งพอจะสามารถสรุปได้เป็นหัวข้อในเชิงภาษา ได้เป็นสี่หัวข้อ

หลัก ดังจะมีรายละเอียดความหมายในเชิง “ศาสตร์” ตามทีไ่ด้เกร่ินน าไว้แล้ว ต่อด้วยการอธิบายความหมายของ

แก่นในเชิงความรู้สึกซึ่งคอความหมายในเชิง “ศิลป์ ” ื ซึ่งในส่วนนีได้อธิบายผ่านการเล่าประสบการณ์ของทันต ้

แพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไป ลักษณะเป็นการเล่าเป็นประโยคหรือเรื่องราวสัน้ๆ ถึงประสบการณ์ทีไ่ด้

สะท้อนเข้าไปในตัวของทันตแพทย์ขณะรักษาผู้ป่ วย จึงคล้ายกับว่ามีการอธิบายแก่นแท้ของทันตกรรมพร้อมมูล

ในสองมิติทีต่่างกันคือ มิติทางวิชาการ และ มิติทางจิตใจ ( “ศาสตร์” และ “ศิลป์ ” ) การอ่านท าความเข้าใจบทนี้มี

เทคนิคเฉพาะตัว ทัง้นีเ้พื่อไม่เป็นเพียงการท าให้ผู้อ่านจ านิยามได้แต่สัมผัสถึงแก่นของทันตกรรมพร้อมมูลได้

จริง และสามารถน าไปปฏิบัติได้จริง

Page19

บทน า นิยามของทันตกรรมพร้อมมูล

ทันตกรรมพร้อมมูล (comprehensive dental care) คือ การบริบาลผู้ป่วยอย่างมีเหตุผลและบริบาลตามความจ าเป็น ซึ่งต้องเหมาะสมกับบริบทของผู้ป่วยแต่ละราย ท าให้เกิด

ความพึงพอใจทั้งผู้ป่วยและทันตแพทย์ [1-3] การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลจะยึดตามกรอบแนวคิดการดูแลสุขภาพองค์รวม (Holistic health care concept) ซึ่งคือการตรวจ

วินิจฉัยอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ การจูงใจผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก เน้นการด ารงรักษาไว้ซึ่งการมีสภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ มีการ

วางแผนการรักษาที่ครอบคลุมในทุกด้าน ซึ่งต้องเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยเห็นชอบด้วย ยอมรับและเข้าใจในแผนการรักษา เป็นไปตามความประสงค์ของผู้ป่วย กระบวนการรักษาต้อง

สอดคล้องกับ ข้อจ ากัดทางการแพทย์ สภาวะจิตใจ สภาวะทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมถึงความสามารถในการด ารงรักษาสภาวะของสุขภาพที่ดีให้คงอยู่ตลอดไป [4]

ทั้งนี้ การุณ เลี่ยวศรีสุข [5] ได้เสนอ กระบวนการในการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลในรูปแบบ ของ S-O-A-P โมเดล โดย

S (Subjective) คือ การให้“ความเคารพ” ต่อความต้องการของผู้ป่วย คือผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของการรักษา โดยเริ่มจากการบริบาลอาการส าคัญที่มาพบทันตแพทย์

O (Objective) คือ การหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของอาการส าคัญ รวมถึงปัจจัยทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางกาย สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ประวัติทางการแพทย์ การตรวจทั้ง

ภายนอกและภายในช่องปาก

A(Assessment) คือ การวินิจฉัยโดยเอาข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ และ

P (Plan) คือ การเสนอแผนการรักษาโดยให้ผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกแผนการรักษาที่จะสามารถแก้ปัญหาของผู้ป่วยได้

การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเป็นการให้การรักษาโดยใช้แนวคิดการดูแลสุขภาพองค์รวม คือ การค านึงถึงมิติของความเป็นมนุษย์ จึงเป็นการบริบาลที่ใช้หลักการของการ

ดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์โดยให้การบริบาลที่ผสมผสานระหว่าง “การให้บริการทางการแพทย์” กับ “ชีวิตและความเป็นมนุษย์” ซึ่งคือการบริบาลที่มีการเอามิติด้าน

“ความสามารถ” และมิติด้าน “ความใส่ใจของทันตแพทย์” มาใช้ร่วมกัน [6] ทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปมีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วยแบบต่อเนื่องและ

เบ็ดเสร็จโดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วย ตามแนวคิดการบริบาลด้วยหลักทันตกรรมพร้อมมูล โดยทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปได้รับการฝึกอบรม

จากหลักสูตรที่มีวัตถุประสงค์ คือผลิตทันตแพทย์ที่สามารถให้การรักษาทางทันตกรรมแก่ผู้ป่วยตามหลักการบริบาลพร้อมมูลด้วยแนวคิดของการบริการแบบองค์รวมเพื่อ

ดูแลให้การรักษาทันตสุขภาพในระยะยาว รับผิดชอบในการประสานงานเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการบริการจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ อย่างรวดเร็วเหมาะสมและสอดคล้องกับ

ความจ าเป็น เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถคงไว้ซึ่งทันตสุขภาพที่ดีต่อไป [1]

เทคนิคในการอ่าน การอ่านอย่างเข้าใจ หรือการอ่านอย่างลึกซึง้

ในบทเรียนนี้จะเป็นการอธิบายความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลในรูปแบบที่ได้จากการสัมภาษณ์ มีการอธิบายที่อาจต้องใช้การอ่านแบบลึกซึ้งเพื่อให้เข้าถึงความหมาย

และน าไปปฎิบัติได้จริง ซึ่งการอ่านนี้มีวิธีดังต่อไปนี้

ค ำแนะน ำในกำรอ่ำนบทเรียนนี้คืออ่ำนอย่ำงเข้ำใจ อ่ำนอย่ำงลึกซึ้ง (comprehensive readingor deep reading)

กำรอธิบำยเนื้อหำของบทเรียนนี้ มีสองมิติที่ต่ำงกันคือ มิติทำงวิชำกำรและมิติทำงจิตใจ (มิติทำงศำสตร์และศิลป์ ) กำร

อ่ำนบทเรียนนี้ ในส่วนของหัวข้อ นิยำม และควำมหมำยเชิงภำษำนั้น (ศำสตร์) เป็นทักษะที่ผู้อ่ำนส่วนใหญ่สำมำรถเข้ำใจ

ได้และท ำได้ ไม่มีควำมสลับซับซ้อนใดใด ทว่ำกำรอ่ำนและท ำควำมเข้ำใจ และรับรู้ใน

ส่วนของกำรอธิบำยควำมหมำยในเชิงควำมรู้สึกนั้น (ศิลป์ ) กำรเข้ำถึงกำรเล่ำเรื่องรำว

อย่ำงถ่องแท้อำจต้องให้เวลำกับกำรอ่ำน เป็นกำรอ่ำนอย่ำงลึกซึ้ง ควรอ่ำนในช่วงเวลำ

ที่ผู้อ่ำนรู้สึกสบำย อยู่กับกำรอ่ำนอย่ำงแท้จริง โดยในชั้นเริ่มต้นอำจอ่ำนช้ำลงกว่ำกำร

อ่ำนแบบอ่ำนเพื่อสรุปเอำใจควำมเล็กน้อย พร้อมกับวำงใจเป็นกลำง หมำยถึงวำงกำร

ตัดสิน หรือเปรียบเทียบกับประสบกำรณ์เก่ำของตน หรือหำกเกิดควำมคิด วิพำกษ์

วิจำรณ์ใดใด ก็อำจเป็นไปได้ ขอเพียงผู้อ่ำนพึงละวำงควำมคิดเชิงวิพำกษ์ วิจำรณ์ หรือ

เปรียบเทียบนั้นนั้นไปก่อน และค่อยค่อย อ่ำนต่อไปทีละประโยคอย่ำงช้ำ ๆ และอ่ำน

อย่ำงต่อเนื่องต่อไป

Page20

โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งส ำหรับผู้อ่ำนที่ผ่ำนประสบกำรณ์กำรอ่ำนแบบสรุปเอำแต่เฉพำะใจควำม เพื่อน ำหัวข้อและ

รำยละเอียดบำงส่วนผ่ำนเข้ำสู่กำรจดจ ำเพื่อเขียนซ ้ำได้ (เช่น เพื่อท ำข้อสอบ หรือให้บังเกิดควำมสบำยใจว่ำจ ำได้แล้ว

หรือตีควำมไปว่ำกำรอ่ำนแบบจ ำได้แล้วคือเข้ำใจแล้ว) หรืออำจต้องกำรอ่ำนให้เสร็จและจบลงโดยเร็วเพื่อแบ่งเวลำไปท ำ

ภำรกิจอื่นต่อ ผู้อ่ำนที่ผ่ำนกำรฝึกจนมีทักษะดังกล่ำวอย่ำงคล่องแคล่ว อำจลองชะลอกำรอ่ำนลงเล็กน้อยและค่อย ๆ

สังเกตควำมคิดวิพำกษ์ วิจำรณ์ ที่อำจคิดไปในระหว่ำงกำรอ่ำน ดังเช่นที่ได้ยกตัวอย่ำงมำประกอบ คือ

‘สิ่งที่อ่ำนอยู่มีควำมน่ำเชื่อถือตำมหลักเหตุผลหรือไม่’ (ตำมที่ผู้อ่ำนได้เชื่อมั ่นในหลักเหตุผลนั้นมำตลอดหรือไม่)

‘เป็นไปได้จริงหรือไม่’ (ตำมควำมคิดของตน)

หรืออำจเกิดเป็นเพียงควำมคิดที่ไม่ใช่เป็นเนื้อหำสัมพันธ์กับสิ่งที่อ่ำน แต่เป็นกำรคิดวิจำรณ์ว่ำ

‘สนุกหรือไม่’

‘มีค ำสะกดผิดหรือไม่’

‘อธิบำยได้ดีหรือไม่’

หรืออ่ำนแล้วเกิดควำมต้องกำรอื่นขึ้น จะรู้สึกคล้ำยว่ำเป็น

‘ควำมซ ้ำซำก ไม่เร้ำใจ’

‘เคยอ่ำนเรื่องคล้ำยคล้ำยกันมำแล้ว’

‘เหตุใดเนื้อหำในตอนต้นของบทเรียนนี้จึงไม่แจ้งรำยละเอียดของสี่หัวข้อมำเลย ท ำไมจึงต้องให้ผู้อ่ำนมำอ่ำนตำมด้วย’

หรือ

‘น่ำเบื่อหน่ำย’

ต้องรีบเลิกอ่ำนหรือหำกิจกรรมอื่นมำท ำแทรก เช่น เกิดควำมอยำกกินขนม เดินไปหยิบขนมมำขบเคี้ยว และอ่ำนไปเคี้ยว

ไปอย่ำงไม่รู้เนื้อรู้ตัว รับประทำนไปเรื่อยอย่ำงต่อเนื่องจนขนมหมดโดยไม่รู้ตัว

หรือในผู้อ่ำนบำงท่ำนอำจเกิดควำมคิดเปรียบเทียบ และเริ่มมีกำรวิพำกษ์ วิจำรณ์ในเชิงเปรียบเทียบ ว่ำ

‘ตนก็มีประสบกำรณ์คล้ำยคลึงหรือแตกต่ำง’

จนอยำกเล่ำประสบกำรณ์ของตนผ่ำนทำงควำมคิด หรือหำกมีผิดหวังหรือควำมน้อยเนื้อต ่ำใจในขณะอ่ำนก็จะเริ่มสร้ำง

ควำมคิดแสดงหลักฐำนเพื่อสนับสนุนหรือเพื่อต่อสู้ล้มล้ำงควำมคิดที่ได้สร้ำงไว้แต่ต้น เป็นควำมคิดที่คิดเอำเองว่ำเป็น

เหตุให้ตนต้องรู้สึกน้อยเนื้อต ่ำใจ (ที่ล้วนแล้วแต่คิดขึ้นเอง แต่ก็มีควำมส ำคัญมั ่นหมำยว่ำได้ยินได้ฟังมำเช่นนั้นอย่ำง

เชื่อมั ่นและเชื่ออยู่เช่นนั้นมำตลอดเวลำและมักเปรียบเทียบกับประสบกำรณ์เดิมและหลักกำรที่ตนเชื่อมั ่นอยู่) และมักน ำ

กลับมำคิดซ ้ำ วนเวียนไปมำแบบไม่ได้ตั้งใจ หรือแบบไม่รู้ตัวจนควำมคิดเข้ำมำเป็นเนื้อเป็นตัวรำวกับเรื่องจริง จนใน

บำงครั้งเกิดควำมรู้สึกอยำกเล่ำ จึงเล่ำเรื่องนั้น บำงครั้งก็ต้องพูดเล่ำซ ้ำ ซ ้ำแล้วซ ้ำอีก ซ ้ำแล้วซ ้ำอีกในทุกครั้งที่มีเรื่อง

ท ำนองนี้มำกระทบ ก็จะน ำเรื่องรำวจำกประสบกำรณ์เดิมครั้งนั้นที่ได้รับกำรส ำคัญมั ่นหมำยจำกควำมคิดของตนอย่ำง

เป็นจริงเป็นจัง กลับมำคิดซ ้ำและพูดเล่ำซ ้ำได้อีกเรื่อย ๆ กระทบเรื่องนี้ก็จะคล้ำยมีกระบวนกำรอัตโนมัติควบคู่กันไปเป็น

ประจ ำท ำให้อยำกเล่ำเรื่องนี้ กระทบเรื่องนั้นก็จะมีเรื่องอยำกเล่ำเรื่องนั้นทุกครั้งซ ้ำ ๆ ไปมำ

หรือในบำงขณะก็เกิดไม่ได้ดังหวังจนเป็นควำมกลัวเกิดขึ้นในขณะอ่ำน เช่น กลัวว่ำงำนจะไม่ส ำเร็จแล้วพำลกลำยเป็น

ท ำนองคล้ำยคล้ำยสร้ำงเป็นเหตุผลให้กังวลว่ำกำรอ่ำนในครั้งนี้จะใช้เวลำอ่ำนมำกเกินไปจนเป็นเหตุให้เสียกำรงำนที่

ส ำคัญที่อำจท ำไม่ส ำเร็จนั้น ก็จะหวนกลับไปอ่ำนอย่ำงเร่งรีบอีก

หำกสำมำรถเฝ้ำสังเกตุจนรู้ทันปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้นในตนเอง แล้ววำงไปก่อน กลับ มำค่อย ๆ ตั้งใจอ่ำนอย่ำงลึกซึ้งอีก

อ่ำนต่อไปอีก ก็จะวำงใจเป็นกลำงได้ดีขึ้นเรื่อย ๆ คือเมื่อมีปรำกฏกำรณ์กำรคิดวิพำกย์ วิจำรณ์ในใจดังกล่ำว ก็วำงลงและ

Page21

กลับมำค่อยค่อยอ่ำน ท ำซ ้ำเรื่อย ๆ และในที่สุดก็จะสำมำรถสัมผัสได้ถึงกำรมีกำรถูกกระทบที่เกิดขึ้นที่ด้ำนในของผู้อ่ำน

จำกกำรที่ได้อ่ำนเรื่องเล่ำจำกกำรเล่ำประสบกำรณ์กำรท ำงำนของทันตแพทย์เฉพำะทำงสำขำทันตกรรมทั ่วไป

ทั้งนี้ก็เป็นเพรำะว่ำกำรศึกษำควำมหมำยของทันตกรรมพร้อมมูลในครั้งนี้ ได้มำจำกกำรสัมภำษณ์ถึงประสบกำรณ์ตรงที่

เกิดขึ้นจริง เป็นประสบกำรณ์ตรงของทันตแพทย์เฉพำะทำงสำขำทันตกรรมทั ่วไป ซึ่งเป็นทันตแพทย์ที่ได้เรียนรู้ทฤษฎี

ผ่ำนกำรฝึกฝนและมีประสบกำรณ์ในกำรรักษำผู้ป่วยแบบทันตกรรมพร้อมมูล ซึ่งผู้สัมภำษณ์ได้ท ำกำรศึกษำด้วยวิธีกำร

สัมภำษณ์โดยใช้ค ำถำมปลำยเปิดและสัมภำษณ์อย่ำงไม่เป็นทำงกำร เพื่อสร้ำงบรรยำกำศที่เป็นกันเอง ท ำให้ทุกฝ่ำยทั้ง

ผู้สัมภำษณ์และผู้ถูกสัมภำษณ์รู้สึกผ่อนคลำย “ว่ำง”โล่งจำกควำมคิดรุงรังอื่น ๆ ผู้ให้ข้อมูลจึงสำมำรถสะท้อนอำรมณ์

ควำมรู้สึก และควำมคิดเห็นได้อย่ำงเต็มที่ และสำมำรถถ่ำยทอดทุกสิ่งทั้งหมดที่เกิดขึ้นขณะรักษำผู้ป่วยแบบทันตกรรม

พร้อมมูล โดยล้วนมำจำกประสบกำรณ์ตรงของตนเองอย่ำงแท้จริง

กำรฝึกกำรอ่ำนแบบนี้อำจไม่ค่อยเป็นที่คุ้นชินนักกับชีวิตประจ ำวันที่เร่งรีบ หำกแต่เมื่อได้รับกำรฝึกฝนซ ้ำ ๆ อย่ำง

สม ่ำเสมอจนช ำนำญ ก็จะสำมำรถเข้ำใจสิ่งที่ทันตแพทย์เฉพำะทำงสำขำทันตกรรมทั ่วไปต้องกำรถ่ำยทอดออกมำในบท

นี้ได้อย่ำงลึกซึ้ง ซึ่งจะน ำไปสู่กำรเข้ำถึงควำมหมำยของทันตกรรมพร้อมมูล เป็นเหตุให้ผู้อ่ำนสำมำรถบริบำลผู้ป่วยได้

อย่ำงเข้ำถึงนิยำมและควำมหมำยของทันตกรรมพร้อมมูล สัมผัสได้ด้วยตนเอง เกิดควำมสุข และสำมำรถกลับมำอ่ำน

บทเรียนนี้ใหม่อีกครั้งในควำมรู้สึกเข้ำถึงมำกขึ้น มำกขึ้นตำมล ำดับ และพร้อมจะน ำไปบอกเล่ำแบบสื่อให้ผู้อื่นได้สัมผัส

ถึงประสบกำรณ์โดยตรงของตน น้อมน ำให้ผู้ฟังได้สัมผัสและคล้อยตำมควำมหมำยได้อย่ำงแท้จริง ไม่ใช่เป็นเพียงกำร

บอกเล่ำเรื่องรำวเพื่อตอบสนองต่อกลไกอัตโนมัติแบบที่เกิดขึ้นก่อนกำรฝึกอ่ำนบทเรียนนี้ กำรฝึกกำรอ่ำนแบบนี้ยัง

น ำมำซึ่งกำรเข้ำถึงกลไกอัตโนมัติในตนเอง และเกิดทำงเลือกใหม่ในกำรอ่ำน และ

ผลที่เกิดจำกกำรอ่ำนแบบใหม่นี้ยังอำจผูกโยง ลอกเลียน น ำไปใช้ในกำรด ำรงชีวิตประจ ำวัน

ที่ไม่ต้องใช้ชีวิตอยู่บนทำงเลือกแบบเดิมเดิม น ำไปสู่กำรด ำรงชีวิตกับปัจจุบันขณะ เกิดกำร

สนทนำแบบสดใหม่ ปรำศจำกกำรตัดสิน ปรำศจำกควำมกังวล เพิ่มประสิทธิภำพของ

ร่ำงกำยและจิตใจ น้อมน ำให้สำมำรถท ำประโยชน์ให้กับผู้อื่นได้ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกับผู้ป่ วย

ได้อย่ำงเต็มที่และมีควำมสุข ดังบทสัมภำษณ์ที่ได้บรรยำยไว้อย่ำงละเอียดในบทเรียนนี้ อีก

ทั้งยังสำมำรถรักษำผู้ป่วยแบบเดียวกับที่ทันตแพทย์เฉพำะทำงสำขำทันตกรรมทั ่วไปได้

ถ่ำยทอดออกมำในบทเรียนนี้ได้ โดยสำมำรถท ำตำมไปด้วยอย่ำงเข้ำอกเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้ง ดัง

ควำมหมำยที่ท่ำนรำชบัณฑิต ศำสตรำจำรย์ ดร. ก ำจร มนุญปิจุ ได้กรุณำให้นิยำมของกำร

บริบำลทันตกรรมพร้อมมูลไว้อีกควำมหมำยหนึ่งว่ำ “กำรบริบำลอย่ำงเข้ำใจ” ซึ่งก็คือกำร

ดูแล (care) ที่มำจำกควำมใจดี กำรมีใจ “ว่ำง” ของผู้บริบำล ปรำศจำกกำรตัดสินใดใด ใจที่

เข้ำใจถึงควำมรู้สึกของผู้ป่วยนั ่นเอง ซึ่งล้วนเป็นเพียงสิ่งง่ำย ๆ ที่มนุษย์ทุกคนสำมำรถ

ปฏิบัติและสัมผัสได้จริง

ที่มาของการอธิบายความหมายของการบริบาลโดยใช้หลักทันตกรรมพร้อมมูลในบทเรียนนี้คือการสัมภาษณ์เชิงลึกถึงประสบการณต์รงของผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม

และมีประสบการณ์การท างานแบบทันตกรรมพร้อมมูลจริง

การอธิบายความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลที่เกิดจากประสบการณ์การให้การรักษาและดูแลผู้ป่วยของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปในบทนี้ น ามาจากการ

สัมภาษณ์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ ใน

งานวิจัยนี้มีผู้ให้ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกทั้งหมด 20 คน โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยคือเริ่มจากผู้ให้ข้อมูลตอบรับยินยอมในแบบสอบถามออนไลน์เข้าร่วมงานวิจัย ต่อมา

ผู้วิจัยเดินทางไปสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลตามวัน เวลา สถานที่ที่ผู้ให้ข้อมูลสะดวก สบายใจที่จะเล่า โดยผู้วิจัยเตรียมประเด็นค าถามที่เป็นค าถามปลายเปิดไว้เบื้องต้น ดังแสดง

ต่อไป ในระหว่างสัมภาษณ์จะมีการบันทึกเสียงรวมถึงจดบันทึกประเด็นส าคัญ จากนั้นถอดเทปบันทึกเสียงและวิเคราะห์ข้อมูลหลังการสัมภาษณ์ การเก็บข้อมูลจะสิ้นสุดลง

เมื่อข้อมูลมีความอิ่มตัวและมีความเสถียร คือ ไม่มีข้อมูลใหม่เพิ่มเติมแม้จะมีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลเพิ่มขึ้น [7] แล้วน าข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากการ

สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลแต่ละคน จะถูกน ามาแยกเป็นหัวข้อตามประเด็นค าถามและวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) รวมถึงการวิเคราะห์ใจความหลักหรือแก่นของเรื่อง

(thematic analysis) โดยมีประเด็นศึกษาและกรอบค าถาม ดังนี้

Page22

ความหมายทันตกรรมพร้อมมูล

(1) ท่านให้ความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลอย่างไร

(2) เล่าประสบการณ์/เหตุการณ์ที่ได้รักษาผู้ป่วยที่รู้สึกว่าสอดคล้องกับแนวทางทันตกรรมพร้อมมูล

(3) ท่านได้เรียนรู้อะไรจากประสบการณ์นั้น

ข้อดี – ข้อจ ากัดในการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล

(1) ท่านคิดว่าการรักษาทางทันตกรรมพร้อมมูลมีปัญหา/ข้อจ ากัดอะไรบ้าง

(2) เล่าเหตุการณ์ที่เคยเจอขณะนั้น ท่านรู้สึกอย่างไร และต้องการให้เกิด การเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขอย่างไร

ความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลในบทเรียนนี้

จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูล สามารถแจกแจงได้เป็น 4 ความหมาย ซึ่งมีความ

เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน (ดังแสดงในรูปที่ 1)

รายละเอียดการสัมภาษณ์

การสัมภาษณ์ได้ท าขึ้นเพื่อค้นหาความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลจากประสบการณ์การท างานของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไปน าไปสู่ทิศทางในการดูแล

ผู้ป่วยทางทันตกรรม โดยมีบรรยากาศแบบสบายใจ น้อมน าให้ร าลึกถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นขณะบริบาล และสามารถถ่ายทอดความรู้สึกอ่อนโยนนั้นออกมาได้อย่างเต็มที่ การ

สัมภาษณ์นี้ เป็นการสัมภาษณ์ตามหลักการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยสัมภาษณ์ทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไป

วิเคราะห์ผลโดยหลักการวิเคราะห์ใจความหลักหรือแก่นของเรื่อง พบว่าความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ มีทั้งหมด 4 ความหมาย คือ

- การรักษาด้วยใจที่มีความเมตตา (kindness)

- การรักษาแบบองค์รวม

- การรักษาโดยยึดผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลาง และ

- การรกัษาด้วยความรู้และทักษะสหสาขาวิชา

เพื่อให้การรักษาโดยผ่านการวางแผนการรักษาที่มีความพอดีระหว่างความเหมาะสมกับผู้ป่วยและความรู้ทางวิชาการทันตแพทย์ ซึ่งผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการให้การรักษาคือ

ความสุขของทั้งทันตแพทย์และผู้ป่วย อีกทั้งยังเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกันและกัน ความหมายที่เกิดขึ้นสามารถแยกได้ 2 ส่วนคือ ความรู้ทางวิชาการทันตแพทย์และการ

เข้าใจมนุษย์ ดังนั้นทันตแพทย์ที่จะให้การบริบาลตามหลักทันตกรรมพร้อมมูลจึงต้องพัฒนาตัวเองทั้งด้านความรู้ ทางวิชาการ ทักษะการรักษาและทักษะในการท าความเข้าใจ

มนุษย์ [ทักษะการบริบาลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์ (humanized care)] ซึ่งก็คือตนเองและผู้คนรอบข้าง ส่งผลให้ทันตแพทย์มีความสุขในการให้การรักษา เมื่อทันต

แพทย์มีความสุขในการรักษาก็ยังผลให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีทั้งกับผู้ป่วยและผู้คนรอบข้างโดยอัตโนมัติ

Page23

ความหมายที่ 1 การรักษาด้วยใจที่มีความเมตตา (Kindness care)

การรักษาผู้ป่วยเหมือนเป็นคนในครอบครัว

ผู้ให้ข้อมูลได้ยกตัวอย่างผู้ป่วยที่มารับการรักษา โดยทันตแพทย์วางแผนว่าจะเก็บฟันบางส่วนเอาไว้เพราะคิดว่าผู้ป่วยมีอายุมาก แต่ลูกที่เป็นผู้ดูแลต้องการให้ถอนฟันออกให้

หมดทุกซี่ เนื่องจากลูกไม่สามารถท าความสะอาดฟันให้ผู้ป่วย (แม่) ได้ดี และลูกมีความกังวลว่า ถ้ามีฟันเหลืออยู่จะเกิดโรคได้ ผู้บริบาลจึงกลับมาสะท้อนตัวเอง หากว่าตัว

ทันตแพทย์เองคือลูกก็อาจต้องเลือกการถอนฟันออกทั้งหมดเช่นกัน

“เคสอายุประมาณ 90 กว่าปีต้องถอนฟันเขา เป็นคนไข้นอนติดเตียง ลูกเป็นคนขอให้ถอนฟันแม่ แต่เรารู้สึกว่าไม่ถอนดีกว่ามั้ย เพราะว่า มันจะ

ทรมานยาย แต่เหตุผลของลูกคือ ถ้าแม่ยังเหลือฟันอยู่จะดูแลให้แม่ไม่ได้ ลูกเขาก็ไปขอถอนมาหลายแห่งแล้ว แต่ก็ไม่มีคนถอนให้ เราก็ถอนให้

แต่ค่อย ๆ ท าไป บอกไปว่าให้ดูว่าคนไข้ไหวแค่ไหน เราก็เข้าใจในเหตุผลของลูกเขา แต่ลูกเขาก็ต้องเข้าใจในเหตุผลของเราด้วย สุดท้าย ก็ท าจน

เสร็จทั้งปาก ทุกครั้งที่เห็นคนแก่แบบนี้ เราก็จะเห็นอนาคตตัวเอง เราก็จะเห็นว่าเขาคือเรา ตรงนี้คือแม่เรา”

(ทันตแพทย์ ค, สัมภาษณ์เชิงลึก, 4 ต.ค.61)

ซึ่งการรักษาผู้ป่วยเหมือนเป็นคนในครอบครัว ก่อให้เกิดความสุข ความรู้สึกดีในการรักษา เนื่องจากทันตแพทย์ให้การรักษาด้วยความเอาใจใส่ อ่อนโยน ประณีต เคารพ ส่งผล

ให้เกิดความสุขทั้งต่อทันตแพทย์และผู้ป่วย

“เวลาเรารักษาแล้วเขาเจ็บปวดอะไรถ้าเรารักษาไปโดยไม่สนใจ อาจจะบอกว่าทนอีกนิด จะเสร็จแล้ว

แต่ถ้าเราใส่ใจเขาเยอะขึ้นว่าเขาเป็นอย่างไร

ต้องการยาชาเพิ่มไหม ไหวรึเปล่า”

(ทันตแพทย์ ด, สัมภาษณ์เชิงลึก, 7 ธ.ค. 61)

แสดงถึงการที่ทันตแพทย์ใส่ใจในอารมณ์ ความรู้สึกของผู้ป่วยในระหว่างการรักษา ไม่มุ่งเฉพาะทางรักษาให้เสร็จเพียงอย่างเดียว และมีผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลรักษาด้วยความ

ใส่ใจของทันตแพทย์ ผู้ป่วยเกิดความสุข พึงพอใจกับการรักษาและผลการรักษา ผู้ป่วยกลับมารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

“มีเคสมาถอนฟัน เราบอกเขาว่าเราก าลังจะท าอะไร เดี๋ยวจะฉีดยาชา จะมีความรู้สึกแบบนี้เกิดขึ้น

แล้วระหว่างที่เราถอนมันจะมีความรู้สึกแบบนี้นะ มันจะตึงหน่อยแต่มันจะไม่เจ็บ ถ้าเจ็บให้เราท าแบบนี้

คนไข้เขาประทับใจว่าไม่มีหมอคนไหนที่เคยบอกเขา คุยกับเขาละเอียดขนาดนี้มาก่อน

มันน่าจะเป็นจริตเรากับสิ่งที่เราท ามันตรงกับจริตคนไข้ด้วย

แต่พอตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา คนไข้ก็ยังคงอยู่ด้วยกัน ยังมารักษาต่อเนื่องกับเราอยู่”

(ทันตแพทย์ น, สัมภาษณ์เชิงลึก, 7 ธ.ค. 61)

Page24

รูปที่ 1 ความหมายในเชิงภาษา (ความหมายในเชิงศาสตร์) ของการ

บริบาลทันตกรรมพร้อมมูล สามารถแจกแจงได้เป็น 4 ความหมาย

เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน

ความหมายที่ 2 การรักษาแบบองค์รวม (Holistic care)

เป็นการรักษาทุกมิติ ที่ไม่ใช่แค่รักษาเฉพาะในช่องปากเท่านั้น โดยการมองภาพรวมเชื่อมโยงกัน ซึ่งการรักษาจะมีผลทั้งทางร่างกายและจิตใจ นั่นคือการรักษาภายใต้ความ

เข้าใจมนุษย์ โดยที่ผู้ให้การรักษาจะต้องมีความสุขก่อน ถึงจะไปให้การรักษาคนอื่นแบบองค์รวมได้

“เราต้องดูแลตัวเอง เราจะต้องไม่เหนื่อย เราจะต้องมีความสุขก่อน ถึงจะไปดูแลคนอื่นได้ ถ้าเราไม่มีความสุข มันก็จะไม่มีองค์รวม”

(ทันตแพทย์ พ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 6 ธ.ค. 61)

2.1) การรักษาที่ครอบคลุมทุกมิติเป็นการรักษา

การรักษาแบบดังกล่าวนี้มองว่าทันตแพทย์เป็นคนคนหนึ่งที่รักษาผู้ป่วยที่เป็นคนคนหนึ่ง ไม่ใช่มองแค่เรื่องฟันหรือแค่ในช่องปาก นั่นคือการมองรอบด้าน ทุกมิติของผู้ป่วย ทั้ง

ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม มีผู้ให้ข้อมูลขยายความหมายว่า

“เราก็ไม่ได้เรียนแค่ท าฟัน เราเรียนอย่างอื่น ท าฟันแค่เป็นส่วนประกอบ เราเรียนเพื่อที่จะเป็นหมอที่เป็นคนคนนึง”

(ทันตแพทย์ จ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 27 พ.ย. 61)

โดยหากทันตแพทย์ให้การรักษาเพียงเฉพาะจุด จะท าให้พลาดอะไรไปบางอย่าง ส่งผลท าให้ผู้ป่วยเสียประโยชน์ในการได้รับการรักษา เหมือนในตัวอย่าง จากผู้ให้ข้อมูลที่มี

การรักษาโดยดูเฉพาะซี่ฟัน ไม่ได้ตรวจดูภาพรวมของผู้ป่วย ท าให้เสียเวลาในการรักษา

“มีคุณป้าที่ถูกส่งมารับค าปรึกษาจากโรงพยาบาลชุมชน ผ่านห้องตรวจโอพีดีและส่งมาที่ห้องถอนฟันเพื่อถอนซี่ 36 แต่เมื่อได้คุยกับคุณป้าพบว่าหมอจะเริ่มให้กินยาบิสฟอส

โฟเนตอีก 15 วัน เลยต้องส่งคุณป้าไปถ่ายเอกซเรย์และท าการวางแผนใหม่ทั้งหมด ท าให้ป้าต้องเสียเวลาทั้งวัน ในการมารับการรักษา”

(ทันตแพทย์ ถ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 7 ธ.ค. 61)

ชี้ให้เห็นหากว่าทันตแพทย์คุยกับผู้ป่วยเพิ่มขึ้น และมองให้รอบด้าน ไม่มุ่งเฉพาะมองแค่ฟันเพียงซี่เดียว ทั้งผู้ป่วยและทันตแพทย์คงไม่ต้องเสียเวลาในการรักษา

การรักษาด้วยหัวใจที่มี

ความเมตตา

(compassionate

care)

•การรักษาด้วยสหสาขา

(Multidisciplinary)

การรักษาโดยมี

ผู้ป่ วยเป็น

ศูนย์กลาง

(Patientcentered

care)

การรักษาแบบองค์

รวม

(Holistic

care)

Page25

2.2) มองภาพรวมเชื่องโยงกัน

เมื่อทันตแพทย์มีการมองเชื่อมโยงครบทุกมิติ ก็ท าให้ทันตแพทย์เห็นภาพรวมที่จะน ามาวางแผนการรักษาที่ครอบคลุม โดยหากมีปัญหาเกิดขึ้น ทันตแพทย์สามารถเตรียม

วิธีการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

“ถ้าเราไม่ได้เรียนทันตกรรมพร้อมมูล

เราจะท าไปแบบเหมือนตาบอด

ท าไปเรื่อย ๆ ท าแล้วก็เดินไป พร้อมคนไข้

แต่พอเราได้มาเรียน

เราเดินแล้วรู้ว่าก้าวต่อไป เราจะพาคนไข้ไปทางไหน

ไม่เหมือนกับคิดไปเรื่อย ๆ รักษาตามแค่ความต้องการของคนไข้”

(ทันตแพทย์ ฉ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 5 ต.ค.61)

ความหมายที่ 3 การรักษาโดยมีผู้ป่ วยเป็ นศูนย์กลาง (Patient-centered care)

การเข้าใจปัจจัยความต้องการ บริบทแวดล้อมของผู้ป่วย และยอมรับการเลือกแผนการรักษาของผู้ป่วย ถึงแม้ว่าแผนนั้นจะไม่ใช่แผนการรักษาที่ดีที่สุดในทางวิชาการ แต่

เหมาะสมที่สุดส าหรับผู้ป่วย โดยให้การรักษาที่เคารพความต้องการของผู้ป่วย มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง มีความสัมพันธ์ระหว่างทันตแพทย์และผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องกัน เริ่มจาก

ทันตแพทย์ท าความเข้าใจผู้ป่วย จากนั้นร่วมกันวางแผนการรักษา ซึ่งผู้ป่วยเป็นผู้ที่เลือกแผนการรักษา จากนั้นทันตแพทย์ให้การรักษาที่เหมาะสมหรือพอดีกับผู้ป่วย ซึ่ง

ประกอบไปด้วย

3.1) ความเข้ าใจผู้ ป่ วย

ทันตแพทย์เข้าใจถึงความต้องการของผู้ป่วยอย่างแท้จริง ในทุกทุกด้านที่จ าเป็นต่อการให้การบริบาล จนสามารถมองในมุมมองของผู้ป่วยที่อยู่ในสถานการณ์นั้น ๆ

“เข้าไปสวมรองเท้าของเขา”

(ทันตแพทย์ ง, สัมภาษณ์เชิงลึก, 7 ธ.ค.61)

มีผู้ให้ข้อมูลขยายความโดยการยกตัวอย่างจากที่เคยรักษาผู้ป่วย

“ต้องดูจิตใจของคนไข้เป็นอย่างไร สภาวะคนไข้ไหวไหม

ถ้าเราวางแผนอย่างนี้ ญาติไหวไหม

คือมันดูอย่างอื่นมากขึ้น มีเรื่องที่ต้องปรับลดลงไปบ้าง

เช่น ถ้าคนไข้ได้รักษารากก็อาจจะดีที่สุด

แต่ถ้าเราดูแล้ว คนไข้ไม่ไหวเราก็ต้องยอม

ถามว่าเสียดายไหม ก็เสียดาย แต่ก็ต้องยอมถอน”

(ทันตแพทย์ ญ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 28 พ.ย.61)

แผนการรักษาจะต้องปรับไปตามสถานการณ์ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้ป่วยด้วย

“เคยท าฟันปลอมอยู่ดี ๆ คนไข้บอกว่าต้องกลับต่างจังหวัดแล้วในเวลาอันรวดเร็ว

แผนการรักษาเขาก็อาจต้องมีการปรับเปลี่ยนบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป”

(ทันตแพทย์ ฟ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 17 ต.ค. 61)

Page26

ทั้งนี้การรักษาไม่ใช่แค่ตามหลักวิชาการเท่านั้น แต่คือการดูแลสภาพจิตใจและดูบริบทรอบตัวของผู้ป่วยด้วย เช่น รายได้ ผู้ดูแล เป็นต้น ทั้งนี้สภาพจิตใจของทั้งหมอและผู้ป่วย

ก็มีผลต่อการรักษาเช่นกัน

“เคยมีคนไข้คนนึงเมื่อ 3-4 ปี ที่แล้ว เขามาก็จะคุยดีมากเลย แต่วันนั้นเขามา พี่เห็นเลยว่าคนไข้มีอะไร ฟันแตก เห็นแล้วแหละว่าท าได้ แต่คนไข้

พูดว่าเขามีปัญหาชีวิต เขาก็บ่นกับผู้ช่วยในห้อง ว่ามีปัญหาครอบครัว เขาก็ไม่อยากเก็บฟัน เราเลยนัดถอนวันหลัง มันก็เป็นตัวบอกว่า สภาพ

จิตใจมีผลต่อการรักษาทั้งของคนไข้และเรา”

(ทันตแพทย์ ค, สัมภาษณ์เชิงลึก, 4 ต.ค.61)

3.2) ทันตแพทย์และผู้ ป่ วยวางแผนการรักษาร่วมกัน

เป็นการหาแผนการรักษาที่พอดี อยู่ตรงกลางระหว่างสิ่งที่ควรจะเป็น ความต้องการ เศรษฐสถานะของผู้ป่วยและหลักวิชาการ โดยหาจุดที่สมดุล

“เป็นทางร่วมไม่ใช่การตามใจคนไข้”

(ทันตแพทย์ ข, สัมภาษณ์เชิงลึก, 23 ก.ย.61)

ผู้ให้ข้อมูลได้ยกตัวอย่างการรักษาที่ให้ผู้ป่วยเป็นคนเลือกแผนการรักษา โดยทันตแพทย์เป็นผู้บอกถึง ข้อดี ข้อจ ากัดของแผนการรักษานั้น ซึ่งท้ายที่สุดผู้ป่วยเป็นผู้ตัดสินใจใน

การเลือกแผนการรักษาโดยยอมรับอย่างเต็มใจในสิ่งที่ตนได้เลือกเอง ยอมรับและเลือกแล้วในสิ่งที่จะเกิดตามมา และหลังจากการรักษาผู้ป่วยมีความสุขที่ได้รับการรักษาตาม

แผนที่ได้เลือก

“คนไข้เป็นมะเร็งที่กล่องเสียง มาเตรียมช่องปากเพื่อไปฉายแสง ในปากมีฟันอยู่หลายต าแหน่งที่ก ้ากึ่งว่าถอนหรือไม่ถอนดี คนไข้ไม่อยากถอน เราก็อธิบายว่าถ้าไม่ถอน ก็

ต้องท าแบบนี้ บอกไปเป็นขั้นตอนและให้กลับไปคิดก่อน จนบัดนี้ก็ยังดีอยู่ เค้าไม่ต้องถอน คนไข้ยังมาอยู่ ทุก 3-4 เดือน สภาพในช่องปากดีมาก เราก็รู้สึกดีใจ จากที่มีคราบ

เยอะซึ่งจริง ๆ แล้วมันก็ต้องถอนทั้งหมด แต่เราก็อะลุ่มอล่วยคุยกัน หาทางออกให้ ซึ่งคนไข้สัญญาว่าจะดูแล เราบอกผลเสียว่าถ้ามีปัญหาทีหลัง จะมีปัญหาแผลไม่หายได้

หรือเนื้อตายได้ คนไข้ก็เข้าใจ และมาติดตามตลอด”

(ทันตแพทย์ ข, สัมภาษณ์เชิงลึก, 23 ก.ย. 61)

3.3) ผู้ป่วยเป็นผู้เลือกแผนการรักษาที่เหมาะสมและพอดีกับตนเอง

“จะฟังคนไข้ว่าเขาต้องการอะไร เราต้องมองด้วยว่าสิ่งส าคัญในชีวิตเขา คือต้องการอะไรกันแน่ ไม่ใช่ว่าฟันหลอต้องใส่ฟันทุกช่อง มันต้องดูว่าอันไหนที่เหมาะกับเขา

คือบางคนพอใจแค่นั้นก็ไม่ได้หมายความว่าเราไม่คอมพรีเฮนซีฟ แต่ ณ สถานการณ์นี้เขาอยู่แบบนี้ เขาพึงพอใจที่จะดูแลชีวิตเขาเท่านี้ ไม่ได้หมายถึงงานของเราล้มเหลว

หรือเราต้องบังคับเขาให้ได้ตามที่เราต้องการ”

(ทันตแพทย์ ณ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 28 พ.ย. 61)

จากการอธิบายจากผู้ให้ข้อมูล แสดงถึงการที่ทันตแพทย์เป็นเพียงผู้เสนอแผนการรักษา แต่สุดท้ายผู้ป่วยเป็นผู้ที่จะเลือกแผนการรักษาด้วยตัวเองและแผนการรักษานั้นไม่

จ าเป็นต้องเป็นแผนการรักษาที่ดีที่สุดตามหลักวิชาการแต่ให้เหมาะสมกับบริบทของผู้ป่วย

“ในการรักษาเราต้องอิงหลักวิชาการ แต่ไม่จ าเป็นต้องเป็น ideal treatment plan (แผนการรักษาทางวิชาการที่ดีที่สุด) แต่คือต้องเหมาะสมกับคนไข้ณ

เวลานั้น มันไม่ใช่ ideal ของหมอ แต่เป็นของคนไข้ณ ตอนนั้น”

(ทันตแพทย์ ณ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 28 พ.ย. 61)

Page27

ความหมายที่ 4 การรักษาด้วยสหสาขา (Multidisciplinary)

มีการเชื่อมโยงเป็นระบบและน าข้อมูลมาหาสาเหตุของปัญหา การรักษาด้วยสหสาขาวิชาที่มีการเชื่อมโยงเป็นระบบ คือ การที่ทันตแพทย์มีความรู้และทักษะหลายสาขา ซึ่ง

น ามาใช้ในการหาสาเหตุของปัญหา วางแผนและให้การรักษาได้อย่างเป็นล าดับ

“ผมจะวางแผนการรักษาโดยมองจากจุดปลายก่อนแล้วค่อยย้อนมาว่าจะรักษายังไงให้ไปถึงจุดนั้น โดยต้องรู้งานแต่ละอย่างก่อน เช่น งานพรอส งานเปอริโอ งานศัลย์ผมก็จะ

ท าเองทั้งหมด เบ็ดเสร็จในตัวเอง ซึ่งถ้างานมันยากเกินกว่าที่ท าได้ก็ต้องส่งต่อ คือเราจะเห็นจุดความสัมพันธ์ของแต่ละสาขาที่มาเชื่อมกันว่าในเคสนี้เราจะท ายังไง”

(ทันตแพทย์ ช, สัมภาษณ์เชิงลึก, 28 พ.ย. 61)

และหากทันตแพทย์สามารถแก้ปัญหาได้ตรงตามสาเหตุ ก็ท าให้ผู้ป่วยไม่เกิดโรคซ ้าอีก

“บางทีเห็นปัญหา แต่มันเป็นปัญหาของหมอ ซึ่งไม่ได้เป็นปัญหาของคนไข้จะต้องท าให้เห็นว่าเป็นปัญหาร่วมกัน เราก็ช่วยเขา ไม่ให้ไปวนอยู่กับปัญหาเดิมของเขา”

(ทันตแพทย์ ธ, สัมภาษณ์เชิงลึก, 4 ต.ค. 61)

รูปแบบและที่มาของนิยามเชิงศาสตร์และศิลป์ การได้ข้อมูลทงั้ในเชิงศาสตรแ์ละศิลป์ ได้มาจากการสมัภาษณ์โดยใช้คา ถามปลายเปิดและไม่เป็นทางการ

ผู้ให้ข้อมูลรู้สึกผ่อนคลายและสะท้อนความร้สูึกและความคิดเห็นออกมาได้อย่างเต็มที่

การศึกษาความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลจากประสบการณ์ของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไป ซึ่งเป็นทันตแพทย์ที่ได้เรียนรู้ทฤษฎีและมีประสบการณ์ใน

การรักษาผู้ป่วยแบบทันตกรรมพร้อมมูล ซึ่งผู้วิจัยได้ท าการศึกษาด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้ค าถามปลายเปิดและสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการ เพื่อสร้างบรรยากาศที่เป็น

กันเอง ท าให้ผู้ให้ข้อมูลรู้สึกผ่อนคลาย ผู้ให้ข้อมูลจึงสามารถสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึกและความคิดเห็นออกมาได้อย่างเต็มที่

กระบวนการเรียนรู้ข้อมูลเชิงศาสตร์และศิลป์ และเทคนิคในการเรียนรู้

ในบทเรียนนี้จะเป็นการอธิบายความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลในรูปแบบที่ได้จากการสัมภาษณ์จึงมีการอธิบายทั้งในส่วนศาสตร์และศิลป์ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้มีรูปแบบ

ดังต่อไปนี้

ขอ้มูลเชิงศาสตร์มีกระบวนการเรียนรูท้ีท่า คนสว่นใหญ่และนกัวิจยัทา บ่อยหรือทา เป็นประจา เป็นแม่แบบหลักของทฤษฎี

การศึกษา(Mainstreaming education) ทีใ่ชแ้ละเป็นทีย่อมรบักนัโดยท่วัไป ไดร้บับรรจุเป็นหลกัสูตรการศึกษา

ในทกุหลกัสูตร คนส่วนใหญ่ไดร้บัการฝึกฝนมาซ้า แลว้ซ้า เล่าตลอดชีวิตการศึกษา จึงมีประสบการณ์ทา ซ้า โดยอาจไม่รูต้วั

คือการสรุปเพอื่จา และนา มาเปรียบเทียบกบัความจา ทีม่ีอยู่และความจา จากความรูก้่อนหนา้ [ในการเขียนงานวิจัยเรียกว่า

บทวิจารณ์(discussion)] หากมีความกงัวลใจ สงสยั ไม่ม่นัใจในการนา ไปจา ซ่ึงเป็นผลจากการเปรียบเทียบแลว้ก็ควร

มีการนา เสนอการทา ซ้า หรือทา ใหม่เพอื่ใหค้ลายความสงสยันนั้จากนนั้สรุปเพอื่จา อีกครงั้เพอื่มกันา มารอเปรียบเทียบกับ

ความรูใ้หมในอนาคต ่ ก่อน เพื่อสรุปและนา ไปจา อีก [ในการเขียนงานวิจัยเรียกว่าบทสรุป (conclusion)] หากจา ขอ้มูล

ไดอ้าจทา เลียนแบบได้ปฏิบตัิได้การทา ตามแบบหรือปฏิบตัิจะดูเหมือนกนัเมือ่พจิารณาจากภายนอก แต่อาจทา เลียนแบบ

หรือปฎิบัติตามดว้ยใจเดิมหรือดว้ยความรูส้กึณ ขณะนนั้นนั้ขึน้อยู่กบัว่าในขณะนนั้รูส้กึอย่างไร อาจเหมือนหรือต่างจาก

ความรูส้กึทีส่มัผสัไดม้าขณะอ่านบทเรียนนซี้่ึงเป็นการถ่ายทอดจากประสบการณ์ตรงทีถ่่ายทอดความรูส้กึชดัชดัออกมา

ทงั้นี้ก็ขึน้กบัความรูส้กึของผูป้ฏิบตัิตามแต่ละคน แต่ละขณะ

ขอ้มูลเชิงศิลป์มีกระบวนการเรียนรูค้ือการอ่านแลว้สงัเกตความรูส้กึทีเ่กิดขึน้จนรูเ้ท่าทนัทงั้นเี้พอื่สมัผสัความรูส้กึดว้ยใจที่

ว่าง วางการตดัสนิลง จากนนั้ความรูส้กึทีส่มัผสัไดจ้ากการอ่านจะผ่านเขา้สู่ใจ รูส้กึตามได้เช่น เบา สบาย เย็น เมือ่ฝึกฝน

จนรา ลึกไดท้นัทีก็สามารถนา มาปฏิบตัิใหใ้จว่างได้เบา สบาย เย็นไดท้นัทีไม่มีความคิดกงัวลวนเวียนไปมาแบบไม่รูต้วั ไม่

มีการตดัสนิ ไม่มีการวางแผน การฝึกสามารถทา ไดผ้่านการอ่านอย่างเขา้ใจ หรือการอ่านอย่างลึกซึง้

Page28

ในตอนต่อไป ท่านผูอ้่านอาจลองสมัผสักบัการอ่านอย่างเขา้ใจเพอื่ฝึกสมัผสัการเรียนรูท้งั้แบบเชิงศาสตร์และศิลป์และ

ทดลองฝึกซ้า ๆ เพอื่ทา ความเขา้ใจการเรียนรูท้งั้สองแบบ อาจพบว่าในการอ่านแต่ละครงั้มีการสมัผสัความรูส้กึภายในที่

เปลีย่นไป ไม่เหมือนกนัในแต่ละครงั้การอ่านอาจไม่ใช่การอ่านเพอื่สนองความตอ้งการคือเพอื่ใหไ้ดข้อ้มูลใหม่เพยีงอย่าง

เดียวอีกต่อไป หรือไม่ใช่การอ่านเพอื่ดึงขอ้มูลเพอื่นา ไปเปรียบเทียบกบัความรูเ้ก่าเพอื่จดจา และนา ไปรอการเปรียบเทียบ

กบัความรูใ้หม่เพอื่จดจา อีกเป็นการวนเวียนทา ซ้า โดยอาจไม่รูต้วัหากการอ่านซ้า ๆ เป็นเพยีงการฝึกสงัเกตความรูส้กึของ

ตนเอง จนรูเ้ท่าทนัผลคือใจว่างและปราศจากการตดัสนิเองในทีส่ดุ

บทวิจารณ์

สรุปได้ว่าความหมายการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลที่ได้จากศึกษา คือ การรักษาด้วยใจที่มีความเมตตา ความเข้าใจในมนุษย์ ให้การ

รักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม โดยในการรักษาจะยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางซึ่งกระบวนการรักษาทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้กระบวนการและความรู้ทาง

วิชาการแบบสหสาขา ซึ่งตรงกับบทความปริทัศน์ ของดรุณีและคณะ [6] ที่พบว่าการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลจะใช้แนวคิดในการดูแล

สุขภาพองค์รวมที่ค านึงถึงมิติของความเป็นมนุษย์ที่ ‘ผนวก’ เอา

มิติด้านความสามารถ และ ความใส่ใจของทันตแพทย์

ไว้ด้วยกัน โดยการบริบาลด้วยความเอาใจใส่ มีความเมตตา และรับฟังความคิดเห็นของผู้ป่วยจะท าให้ทันตแพทย์สามารถเข้าถึงและเข้าใจผู้ป่วย ซึ่งในการดูแลนี้จะน าไปสู่

การคงสภาพของสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม ส าหรับการท าความเข้าใจความเป็นมนุษย์ของผู้ป่วยเพื่อให้สามารถรักษาได้เหมาะสมนั้น จะต้องมองภาพของผู้ป่วยในทุกมิติ มี

การวางแผนการรักษาร่วมกันระหว่างทันตแพทย์และผู้ป่วย โดยผู้ป่วยเป็นผู้เลือกแผนการรักษาด้วยตนเอง เมื่อการรักษานั้นเหมาะสมกับผู้ป่วย ผู้ป่วยจะสามารถ ดูแล

สุขภาพของตนเองได้อย่างมีความสุขสอดคล้อง กับงานวิจัยของ Shigli และ Awinashe ในปี 2010 [8] และสถาบันกุมารเวชศาสตร์แห่งอเมริกา [9] รวมถึง ทันตแพทย์ต้องมี

ทักษะการฟังที่ต้องเปิดใจรับฟัง ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ส าคัญพื้นฐานในการท าความเข้าใจผู้ป่วยท าให้เกิดการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ระหว่างทันตแพทย์และผู้ป่วยเพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพที่ดี [10, 11] นอกจากนี้ยังพบว่าผลจากการรักษาตามทันตกรรมพร้อมมูลภายใต้ความเข้าใจในความเป็นมนุษย์

ของผู้ป่วย ก่อให้เกิดความสุขก่อน ระหว่างและหลังการรักษา ทั้งในตัวผู้ป่วยเอง ญาติผู้ป่วยและทันตแพทย์ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของพักตรเลขาและคณะในปี 2016 [12]

และการศึกษาของบุญสืบและคณะในปี 2017 [12] ที่มีการศึกษาในกลุ่มนักศึกษาพยาบาลจากประสบการณ์ในการให้การบริการสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ ที่จะเกิดความสุข 2

ประการ คือ การมีความสุขที่ผู้รับบริการจดจ าตนเองได้ และมีความสุขที่ช่วยให้ผู้รับบริการคลายความวิตกกังวล

แผนภูมิที่ 2 แสดงองค์ประกอบของความหมายทันตก

รรมพร้อมมูลที่เกิดขึ้นจากการสัมภาษณ์ การบริบาลทัน

ตกรรมพร้อมมูลมีองค์ประกอบจากสองมิติ คือ มิติทาง

วิชาการ และมิติทางจิตใจ มิติทางวิชาการมีองค์ประกอบ

สามส่วนคือ การรักษาด้วยความรู้เชิงประจักษ์

(Evidence based care) ต้นแบบเอสโอเอพี (SOAP

model) และ การรักษาโดยใช้ทักษะสหสาขาวิชา

(Multidisciplinary) ส่วนมิติทางจิตใจคือการดูแลผู้ป่วย

ด้วยความเข้าใจมนุษย์หรือการดูแลด้วยหัวใจความเป็น

มนุษย์ (Humanized health care) ประกอบด้วย การ

รักษาแบบองค์รวม (Holistic care) การรักษาโดยยึด

ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient-centered care) และ การ

รักษาด้วยใจที่มีความเมตตา (compassionate care)

พบว่าความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลมีองค์ประกอบจากสองมิติ คือ มิติทางวิชาการ และมิติทางจิตใจ (ศาสตร์และศิลป์ ) มิติทางวิชาการมีองค์ประกอบสาม

ส่วนคือ การรักษาตามหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิชาการ (evidence-base care) [2, 3] รักษาตามกระบวนการ ตามต้นแบบเอสโอเอพี (SOAP model) [4] โดยให้การรักษา

ด้วยสหสาขา [5] ส่วนที่สองจะเป็นมิติทางด้านจิตใจ คือการดูแลผู้ป่วยด้วยความเข้าใจมนุษย์หรือการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ (Humanized health care) ประกอบด้วย

compassionate

care

• มิติทางวิชาการ

•Evidence based care

•SOAP Model

•Multidisciplinary

Patientcentered

care

Holistic care

• มิติทางจิตใจ

Page29

การรักษาแบบองค์รวม (Holistic care) การรักษาโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient-centered care) และ การรักษาด้วยใจที่มีความเมตตา (compassionate care) [6, 14-

17]( ดังแสดงในแผนผังที่ 2 )

อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบทเรียนนี้มีที่มาคืองานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บข้อมูล การตีความ การวิเคราะห์และสรุปผล จึงอาจมีข้อจ ากัดภายใต้ทักษะทาง

ภาษาและประสบการณ์ของผู้วิจัย ซึ่งผลของการวิจัยสามารถอธิบายปรากฎการณ์ภายในกรอบที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้น ไม่สามารถน าไปขยายผลเพื่ออธิบายประชากรทั่วไปได้

แต่อย่างไรก็ดีข้อสรุปที่ได้อาจน าไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มประชากรอื่นที่คล้ายคลึงกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่ท าการศึกษา ส าหรับการศึกษาต่อไปในอนาคตอาจมีการศึกษาเพิ่มเติมใน

ประเด็นเกี่ยวกับการให้ความหมายของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาอื่น ๆ เพื่อดูความสอดคล้องหรือความแตกต่างของความหมายซึ่ง

อาจจะส่งผลต่อการให้การรักษาผู้ป่วยที่แตกต่างกัน

บทสรุป

ในบทเรียนนี้ ได้อธิบายความหมายของทันตกรรมพร้อมมูลในเชิงภาษาว่า ประกอบด้วย 2 ส่วนที่ไม่สามารถแยกจากกันได้จะต้องมีควบคู่กันไป ส่วนแรก (ศาสตร์) คือความรู้

ทางวิชาการ กระบวนการรักษาด้านทันตกรรม และส่วนที่สอง (ศิลป์ ) ซึ่งเป็นการขยายความ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างลึกซึ้งขึ้นหรือสามารถสัมผัสกับความหมายของทันตก

รรมพร้อมมูลได้ คือ มิติทางด้านจิตใจในการท าความเข้าใจมนุษย์ ซึ่งความหมายทั้งสองส่วนนี้เกิดมาจากประสบการณ์ของทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาทันตกรรมทั่วไป ที่มี

การน าแนวคิดเกี่ยวกับทันตกรรมพร้อมมูลไปปรับใช้ในการท างานและชีวิตประจ าวัน ทันตแพทย์ผู้ให้ข้อมูลสามารถน าไปปรับใช้ในการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลแล้ว ผู้ให้

ข้อมูลมีการพัฒนาตัวเองทั้งด้านความรู้ทางวิชาการ ทักษะการรักษา การพัฒนาทักษะทางด้านจิตใจ ในการท าความเข้าใจมนุษย์รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์ กับคนรอบ

ข้าง

การศึกษาข้อมูลที่มีคุณค่านี้ นอกไปจากประโชน์จากการฝึกอ่านอย่างเข้าใจแล้ว จะยังประโยชน์อีกทอดหนึ่งต่อผู้อ่านคือ ผู้อ่านสามารถสามารถรับรู้ และสัมผัสได้ถึงความรู้สึก

ของตนเองจากการรักษาผู้ป่วยเหมือนเป็นคนในครอบครัว มีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของการรักษา โดยเป็นการรักษาแบบองค์รวมด้วยสหสาขา ผู้อ่านจะสามารถสัมผัสถึงแก่น

หรือความหมายอย่างแท้จริง เข้าใจความหมายของการบริบาลแบบทันตกรรมพร้อมมูลได้อย่างลึกซึ้ง น้อมน าให้เกิดความรู้สึกอ่อนโยน รู้สึกได้ถึงความสุขของการได้บริบาล

ผู้ป่วยด้วยใจที่มีความปรารถนาที่จะต้องการให้การดูแลให้เหมาะสม พอเพียง ตรงกับใจหรือตอบค าถามหรือคลายความกังวลของคนไข้ หรือเกิดเป็นความมั่นคงในใจในการ

บริบาลผู้ป่วยด้วยใจว่าง ความรู้สึกเหล่านี้ท าให้ทันตแพทย์ ไม่เพียงแต่ทราบถึงนิยาม จ าได้ หรือท าตามได้แต่เพียงภายนอก ทว่าก่อให้เกิดการมีความพร้อมใจที่จะน าไป

ปฏิบัติได้ โดยไม่มีข้อแม้ ไม่มีการฝืน อดทนท า หรือการบังคับแต่อย่างใด

Page30

เอกสารอ้างอิง

1. Royalthaident. org [homepage on the Internet]. The Royal College of Dental Surgeons of Thailand [cited 2020 Nov 3]. Available from:

https://www. royalthaident.org/course.

2. Chanthorn R. Comprehensive dental care concept. Khon Kaen Dent J 2008; 11(1):23-33.

3. Bawden J, Crandell C. Comprehensive care in dentistry. Definition. In: Crandell CE e, editor. Littleton: MA: PSG Publishing; 1979.

4. Leowsrisook K. Comprehensive dental care. J Dent Assoc Thai 1995;45(4):214-21.

5. Leowsrisook K. Comprehensive dental care: behavior science health education and ethics context. 1sted. Bangkok: Emotion

Art;2012.13-37. 298 M Dent J 2020 December; 40 (3): 289-298 Kuntira Wongnavee and Naiyana Buranachad

6. Owittayakul D, Saenghuttawattana P, Chuengpattanawadee A. Concepts of health and humanized health care in comprehensive

dental care. CM Dent J 2016:38(2):53-63.

7. Podhisita C. Science and art of qualitative research. 5nded. Bangkok: Amarin printing;2011.168-74.

8. Shigli K, Awinashe V. Patient- Dentist Communication: An Adjunct to Successful Complete Denture Treatment. J Prosthodont

2010;19(6):91-3.

9. Patient and Family Centered Care and the Pediatrician’s Role. American Academic of Pediatrics [Internet]. 2012 . [cited 2017 March

5]. Available from: www. pediatric.org/cgi/ doi/10.1542/ peds.2011-3084.

10. Timofe MP, Albu S. Quality management in dental care: patients’ perspectives on communication. a qualitative study. Clujul Med

2016;89(2):287-92.

11. Wongchaiya P, Ampansirirat, Pinjai P. Patientcentered care: health care services for the 21st century. The Southern College Network

Journal of Nursing and Public Health. 2017;4:361-71.

12. Saenghuttawattana P, Chuengpattanawadee A, Owittayakul D. Dental patients’ perspective in aspects of medical humanities. The

National and international Graduate Research Conference (NIGRC KKU-2016). 2016:13:805-14.

13. Sosome B, Wiwekwan Y, Suwannaka Y. The Humanized Health Care Model for Nursing Care Pregnancy Women: Knowledge from

Nursing Student Experiences. Journal of MCU Peace Studies. 2017;5(2):245-58.

14. Watson J. Caring science and human caring theory: Transforming personal and professional practices of nursing and health care. J

Health Hum Serv Admin 2009:466-82.

15. Oknation blog [homepage on the internet]. Supapon S. Learning humanized health care [update 2017 Sep21; cited 2018 Jul 1].

Available from: http://oknation. nationtv.tv/blog.

16. Silow-Carroll S, Alteras T, Stepnick L. Patient-centered Care for Underserved Populations: Ddefinition and Best Practices: Economic

and Social Research Institute Washington, DC; 2006.

17. Jayadevappa R, Chhatre S. Patient centered care-a conceptual model and review of the state of the art. The Open Health Services

and Policy Journal. 2011:4(1):15-25.

Page31

“นักเรียนเรียนจากส่ิงทีค่รูเป็

มากกว่าส่ิงทีค่รูสอน”

Page32

บทที่๓

เคล็ดลับการสอนการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล

สมชัย มโนพัฒนกุล • ธารี จ าปีรัตน์• สิริรัก ศุภอมรกุล • นัยนา บูรณชาติ

วัตถุประสงค์ของบทเรียนบทนี้ คือ เพื่อเป็นการน าเสนอการอธิบายการสอนสองแบบคือ การสอนตามแม่แบบ

หลกัของทฤษฎีการศึกษาและการจดัการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษา มีการให้นิยามและอธิบาย

เทคนิคในการส่งเสริมการเรียนร้กูารบริบาลทางทนัตกรรมพร้อมมูลของนักศึกษาทนัตแพทย์ โดยส่งเสริมให้

เกิดการเรียนร้ดู้วยการสอนแบบมนุษยนิยมและศึกษาสา นึก หรือแท้จริงแล้วกค็ือใช้“การสือ่สารด้วยความ

เมตตา” ต่อผู้เรียนนั่นเอง และสามารถโน้มน าหรือให้เข้าสู่ความว่างในใจของผู้สอนได้ คือใจว่างไม่มีการ

ตดัสิน โดยผ้สูอนเริม่ขนั้ตอนแรกทีเ่รียบง่ายด้วยการฝึก “การฟังอย่างลึกซ้ึง” ซึง่จะสามารถน าไปสู่การเป็นผู้

ส่งเสริมการเรียนรู้กระบวนกรหรือผ้อูา นวยให้เกิดทนัตแพทยศาสตรศึกษาได้ซึง่กจ็ะส่งผลดีต่อ อาจารย์

นักศึกษาทันตแพทย์ และผู้ป่ วย อันถือเป็นเป้าหมายสูงสุด เป็นที่คาดหวังว่า ผู้วางนโยบายการศึกษาจะ

เลง็เห็นถึงความสา คญัและเป็นกา ลงัอนัสา คญัยิง่ ในการรงัสรรค์ให้ก้าวเลก็ๆ ของการเริม่ต้นน้ีเป็นก้าว

กระโดดทีย่ิง่ ใหญ่ของวงการทนัตแพทยศาสตรศึกษาไทย

Page33

บทน า

ในการวางรากฐานหลักสูตรทันตแพทยศาสตร์บัณฑิตในประเทศไทยนั้นมีการน า การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล (Comprehensive dental care) บรรจุไว้ในหลักสูตรเสมอ

มา แม้ในระยะหลังมานี้ ได้มีการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ใหม่เกิดขึ้นหลายสถาบัน ก็มีการบรรจุให้มีการเรียนการสอนการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลอยู่เสมอ [1-7]

หากแต่การสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลนั้น อาจมิใช่เป็นเพียงการสอนให้จดจ าความหมายของค า หรือท าให้การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลเกิดขึ้นได้ในคลินิกอย่าง

เต็มที่ขณะเรียนแต่เมื่อนักเรียนก้าวพ้นรายวิชานั้นไปแล้วก็อาจไม่ได้ให้การบริบาลแบบพร้อมมูล การสอนการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลอย่างแท้จริงนั้นมีวัตถุประสงค์

ต้องการส่งเสริมให้นักเรียนตระหนักรู้ความหมายโดยเกิดขึ้นแบบเผยหัวใจส าคัญที่มีอยู่แล้วในตัวนักเรียนเองออกมา เพื่อให้ฉายโชน แผ่ซ่านความรู้สึกนั้น ให้ใจตนเองสัมผัส

ได้ถึงความชุ่มเย็น สงบ หากแต่ตื่นรู้ตามความเป็นจริง และพร้อมจะบริบาลผู้ป่วยแบบทันตกรรมพร้อมมูลด้วยหัวใจที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังอยู่ตลอดเวลา บทเรียนนี้อธิบาย

การเรียนการสอนเช่นนั้นให้ชัดเจนที่สุดเท่าที่จะท าได้

ในบทเรียนนี้ มีการอธิบายโดยเริ่มต้นด้วย การทบทวนแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษา (Mainstreaming education) และการจัดการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษา

(Contemplative pedagogy) ซึ่งตามแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษานั้น เน้นส่งเสริมการพัฒนาคุณลักษณะที่ส าคัญสามด้านคือ ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ (Learning

behavioral attribute) ด้านปริชาน (Cognitive attribute) และด้านภาพสร้าง (Constructivist attribute) โดยให้ผู้สอนหมั่นเฝ้าดูและประเมินรูปแบบและระยะของการพัฒนาการ

เรียนรู้ (Style and stage of learning development) ของผู้เรียนเพื่อออกแบบการให้ค าแนะน า (Instructional design) อย่างเหมาะสม [8]ส่วนในทางการจัดการเรียนการสอน

แบบจิตตปัญญาศึกษานั้น เป็นการปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้ตนเอง โดยใช้หลัก 7 ตัวอักษรซีในภาษาอังกฤษ โดยเริ่มจากกิจกรรมที่ง่าย ท าได้บ่อย สนุกและผู้เรียนสนใจ เช่น การ

ฟังอย่างลึกซึ้ง [9] ซึ่งในที่สุด ทั้งสองแนวทางการศึกษา มาบรรจบกันที่การบริบาลร่วมรู้สึก (Empathic care) และการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล (รูปที่ 1) จึงท าให้เกิด

ความหมายในใจผู้บริบาลตามนิยามหลักการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล หรืออาจท าให้เรียบง่ายกว่านั้น ด้วยการสอนด้วยใจว่างโดยผ่านสมานัตตาดังได้อธิบายแล้วใน

บทเรียนก่อนหน้า พร้อมกันนี้ ต ารานี้ยังน าเสนอเทคนิคในการส่งเสริมการเรียนรู้จากทฤษฎีทั้งสอง ต่อด้วยวิธีการเริ่มสอนโดยมีเคล็ดลับการสอนผนวกไว้ด้วย เป็นที่คาดหวัง

ว่าบทเรียนนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลมากขึ้น เพื่อน าไปสู่ความเจริญก้าวหน้าทางทันตแพทยศาสตรศึกษา และน้อมน าให้ผู้วางนโยบาย

ให้ความส าคัญต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลเพื่อส่งผลดีต่อ อาจารย์นักศึกษาทันตแพทย์และผู้ป่วย อันถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของทันตแพทยศาสตรศึกษา

รูปที่ 1 การสอนการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลตามแบบมนุษยนิยมและแบบศึกษาส านึก (Humanistic coaching and Heuristic approach) ร่วมกับการสื่อสารแบบมี

เมตตาตามแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษาเน้นการพัฒนาคุณลักษณะคือด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านปริชานและด้านภาพสร้าง ผู้สอนพึงวิเคราะห์รูปแบบและระยะของ

การพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อออกแบบการให้ค าแนะน า (Instructional design) อย่างเหมาะสม ทฤษฎีจิตตปัญญาศึกษาเน้นการปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้ตนเอง มีหลักการตาม 7

ตัวอักษรซีในภาษาอังกฤษ ในทางแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษาให้ออกแบบการสอนแบบมนุษยนิยมและศึกษาส านึก ในเชิงจิตตปัญญาศึกษาให้เริ่มจากการฟังอย่าง

ลึกซึ้งซึ่งในที่สุดทั้งสองแนวทางการศึกษามาบรรจบกันที่การบริบาลร่วมรู้สึก และการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล เพียงแนวทางจิตตปัญญาศึกษามีความลึกซึ้งและยั่งยืน

ด้วยการหมุนวนกลับมาทวีความก้าวหน้าในการร่วมกันเป็นชุมชนการสอน (community) ที่มีความมุ่งมั่น (commitment) มุ่งหมายเดียวกัน

Page34

แม่แบบทฤษฎีการศึกษาหลัก

แม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษากล่าวถึงการเรียนรู้ว่า ผู้เรียนมีหลักการเรียนรู้บนพื้นฐานการพัฒนาคุณลักษณะที่ส าคัญสามด้านคือ ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านปริชาน

และด้านภาพสร้าง (Learning behavioural, Cognitive, and Constructivist attributes) [9] โดย

1.) คุณลักษณะด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ หมายถึงการพัฒนาคุณลักษณะ การกระท า กิริยาอาการที่แสดงออกทางร่างกาย ความคิด หรือความรู้สึกเพื่อ

ตอบสนองต่อ “สิ่งเร้า” โดยผู้สอนสังเกตว่าควรจะจัดกิจกรรมแบบใดเพื่อให้ผู้เรียนแสดงคุณลักษณะ การกระท า กิริยาอาการที่แสดงออกทางร่างกาย ความคิด หรือความรู้สึก

ว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้นแล้ว และผู้สอนจะเฝ้าคอยหมั่นสังเกตและพัฒนากิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนมีการติดตามการเรียนรู้และพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง ซึ่งก็จะน าไปสู่

คุณลักษณะ การกระท า กิริยาอาการที่แสดงออกทางร่างกาย ความคิด หรือความรู้สึกว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้นแล้วไปได้เรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ผู้สอนจะยังคอยเฝ้า

สังเกตว่า การส่งเสริมการเรียนรู้ควรเริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อไหร่ อย่างไร จะเริ่มอีกครั้งเพื่อเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้เมื่อไร อย่างไร โดยผู้สอนจะคอยเฝ้าสังเกตและเน้นเลือก

หัวข้อที่ผู้เรียนก าลังสนใจในช่วงเวลานั้นนั้น และรีบสร้างบทเรียนและองค์ประกอบให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนให้สอดคล้องเหมาะสมกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อ

บทเรียนมีหัวข้อ ประเด็น รูปแบบ ล าดับที่เหมาะสม ตรงกับจังหวะที่เหมาะสมกับพฤติกรรมและความสนใจของผู้เรียน บทเรียนนั้นก็จะสามารถพัฒนาคุณลักษณะ การ

กระท า กิริยาอาการที่แสดงออกทางร่างกาย ความคิด หรือความรู้สึกเพื่อตอบสนองต่อสิ่งบทเรียนได้อย่างเหมาะสม ลงตัว ทั้งเนื้อหาและจังหวะ ท าให้ผู้เรียนมองภาพ

บทเรียนออกอย่างกระจ่าง ผู้เรียนและบทเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคนก าลังสนใจจึงถือเป็นหัวใจส าคัญของการเรียนรู้แนวนี้ คือการเฝ้าสังเกตการตอบสนองของพฤติกรรมการ

เรียนรู้ อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า ผู้สอนสามารถรู้รูปแบบและระยะของการพัฒนาการเรียนรู้ (Style and stage of learning development) ของผู้เรียนนั่นเอง ผู้สอนจึงสามารถ

เลือกหัวข้อหรือประเด็นการเรียนรู้ จัดรูปแบบ ล าดับของกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ และผู้สอนก็หมั่นรู้ความก้าวหน้าของการเรียนรู้และจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่ผู้เรียน

ให้ความสนใจเป็นล าดับต่อเนื่องกันไป เพื่อส่งเสริมการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน [10] ตัวอย่างการสอนเช่นนี้คือ โรงเรียนทางเลือกที่มีการสอนเหมือนหลักสูตรมัธยมศึกษา

ตอนต้นและตอนปลาย แต่จัดหลักสูตรโดยสอนให้ตรงกับที่วิชาที่นักเรียนต้องการเรียนรู้โดยมีจ านวนผู้ส่งเสริมการเรียนรู้หนึ่งคนต่อผู้เรียนจ านวนน้อยรายและผู้ส่งเสริมการ

เรียนรู้เฝ้าสังเกตคุณลักษณะ การกระท า กิริยาอาการของนักเรียนมัธยมเฉพาะราย และผู้ส่งเสริมการเรียนรู้ก็จะจัดรูปแบบการเรียนรู้เฉพาะเจาะจงส าหรับผู้เรียนแต่ละราย

ตามการสังเกตนั้น

2.) คุณลักษณะด้านปริชาน หมายถึงการพัฒนาการกระท าหรือกระบวนการทางสมอง ผ่านทางความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส ซึ่งน าไปสู่การเรียนรู้

ในทฤษฎีที่สลับซับซ้อนขึ้น เน้นไปที่การถ่ายทอดข้อมูลให้สามารถรับรู้ จัดล าดับ จัดระเบียบ จัดเก็บ และน ากลับมาใช้ การเรียกน ากลับม าใช้ได้จึงเป็นหลักส าคัญของ

การศึกษาแนวนี้ ผู้สอนควรจัดการสอนให้เรียบง่ายและเป็นมาตรฐาน (simplification and standardization) ตามทฤษฎีนี้ ผู้เรียนจะมีการดูแลตนเองในเรื่องการเรียนรู้มากขึ้น

กว่าแบบแรก เช่น สามารถวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้สภาวะการเรียนรู้ของตนเองมากขึ้น และสามารถรู้ได้ด้วยตนเองว่าควรหมั่นฝึกฝนเรื่องใด เมื่อใด โดยพัฒนาการ

กระท าหรือกระบวนการทางสมอง ผ่านทางความคิด ประสบการณ์ และประสาทสัมผัส ซึ่งจะส่งผลท าให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในทฤษฎีที่สลับซับซ้อนมากขึ้นได้[10] เช่น

บทเรียนที่มีการสร้างสัญญลักษณ์ช่วยจ า (nmemonics) การจัดผังความเข้าใจ (mindmapping) ต่าง ๆ เช่น ดัดแปลงบทเรียนเป็นเพลง มีท่าเต้นประกอบบทเรียนเพื่อช่วยจ า

มีสื่อการสอนที่มีการเรียงล าดับดีรวมไปถึงการสร้างบทเรียนโดยใช้การแสดงข้อมูลแบบกราฟิก [infographic หมายถึง การน าข้อมูลหรือความรู้มาสรุปให้เป็น “สารสนเทศใน

ลักษณะของข้อมูล” (สัญลักษณ์ กราฟ แผนภูมิ แผนที่) เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายและรวดเร็ว]

3.) คุณลักษณะด้านภาพสร้าง โดยเชื่อว่าการเรียนรู้จะขึ้นกับคุณลักษณะภายในของตัวผู้เรียนที่จะสร้างขึ้นมาเฉพาะในตัวผู้เรียนเอง โดยผู้เรียนจะน าข้อมูลจากบทเรียนที่

ได้รับจากผู้สอนมาทบทวน ผสมผสานและใคร่ครวญอีกครั้ง และสร้างเป็นบทเรียนภายในของตนเอง การที่ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนอย่างแท้จริง รู้สภาวะการเรียนรู้ของผู้เรียน และ

เอื้ออ านวยให้ผู้เรียนได้รู้สภาวะและอุปสรรคในการเรียนรู้ของตนเอง ท าให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ด้วยตนเองเป็นส่วนใหญ่ และสามารถรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้

รวดเร็วและเมื่อผู้เรียนเข้าใจปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคการเรียนรู้ของตนเอง ผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึงระยะการเรียนรู้ที่สูงขึ้นได้เอง [10] เช่น การจัดการเรียนการสอนโดยใช้

กิจกรรมแก้ปัญหา (problem solving activities) การสอนในหัวข้อที่ผู้เรียนมีฉันทะต่อวิชานั้นแล้ว คือยินดี พอใจ ชอบใจต่อวิชาที่ตนเรียน ดังอธิบายแล้วในบทก่อนหน้า ว่า

เป็นไปตามหลักอิทธิบาท ๔ คือ มีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา หรือ คล้ายการท างานโดยใช้แนวคิดเชิงออกแบบ หรือผู้เรียนก็เรียนไปโดยรู้เท่าทันความคิดความรู้สึกของตนเอง

อยู่กับความคิดที่ใช้เพื่อการเรียน แต่ไม่อยู่กับความคิดที่คิดโดยไม่รู้ตัว ไม่ได้ตั้งใจคิดแต่หลงเข้าไปอยู่ในความคิดนั้น

Page35

โดยคุณลักษณะทั้งสามนี้ ควรจะมีอยู่ในตัวผู้เรียนทุกคน และผู้เรียนแต่ละคนก็มีคุณลักษณะเฉพาะส าหรับการเรียนในแต่ละวิชาที่อาจแตกต่างกัน ขึ้นกับ

ประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละวิชา โดยผู้เรียนอายุน้อย เด็กเล็กหรือการเรียนรายวิชาใหม่ที่ไม่เคยเรียนมาก่อน การเรียนการสอนก็มักจะสอดคล้องกับการที่ผู้สอนเฝ้า

สังเกตคุณลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และพัฒนาสิ่งเร้าให้เหมาะสม เมื่อผู้เรียนมีความคุ้นเคยกับวิชามากขึ้น พัฒนาการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองมากขึ้น การสอนก็

จะถูกปรับเปลี่ยนให้มีล าดับเรียงกันมา คือ เน้นที่คุณลักษณะทางด้านปริชาน และภาพสร้าง จึงอาจดูคล้ายมีรูปแบบและระยะของการพัฒนาการเรียนรู้ (Style and stage of

learning development) ที่ผู้สอนอาจพึงเข้าใจให้ได้ว่า ผู้เรียนถนัดหรือมีคุณลักษณะใดโดดเด่น ผู้เรียนมีการเรียนรู้อยู่ในระยะใด และผู้สอนที่ดีจะรู้และสามารถออกแบบการ

ให้ค าแนะน าเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้(Instructional design) ต่อผู้เรียนให้เหมาะสมกับ คุณลักษณะ สภาวะและระยะของการพัฒนาการเรียนรู้ [10-12] (รูปที่ 1)

คา อธิบายคา เฉพาะของแม่แบบหลกัของทฤษฎีการศึกษา

รูปแบบและระยะของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้

Style and stage of learning development

คุณลักษณะของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ที่แตกต่ำงกันไปของผู้เรียนแต่ละคนทั้งในด้ำนรูปแบบที่ต่ำงกัน ตำมระยะกำร

พัฒนำกำรเรียนรู้ที่ต่ำงกัน ในผู้เรียนคนเดียวกันก็มีรูปแบบและระยะของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ที่แตกต่ำงกันในเวลำที่

ต่ำงกัน ผู้สอนที่มีกำรฝึกฝนดีสำมำรถรู้ได้ถึงรูปแบบและระยะของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียนนี้จำกกำรเฝ้ำสังเกต

ได้

กำรออกแบบกำรให้ค ำแนะน ำ

Instructional design

คือกำรออกแบบที่เกิดขึ้นได้เมื่อผู้สอนรู้ถึงรูปแบบและระยะของกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียนจำกกำรเฝ้ำสังเกต เกิด

จำกกำรใช้ควำมสำมำรถในกำรออกแบบกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ได้เหมำะสมกับผู้เรียนทั้งในแง่ของกำรออกแบบบทเรียน

กำรเลือกระยะเวลำเริ่มที่เหมำะสม รวมถึงเวลำที่เหมำะสมที่จะจัดบทเรียนบทต่อไปว่ำควรเป็นในรูปแบบใด และควรเข้ำ

มำกระตุ้นผู้เรียนอีกครั้งเมื่อใด

กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้

Learning facilitation

กำรศึกษำจะไม่ได้เน้นกำรสอน หรือเป็นเพียงกำรถ่ำยทอดข้อมูลให้จ ำได้ กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ก็คือกำรเปลี่ยนจำกกำร

สอนมำเป็นกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ ตรงตำมค ำศัพท์นั ่นเอง กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ คือผู้สอนมีกำรสร้ำงบรรยำกำศกำร

เรียนรู้ที่ท ำให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนจำกภำยในของผู้เรียนเอง จัดระเบียบข้อมูลให้จ ำง่ำย ท ำให้ผู้เรียนสร้ำงวิธีกำรจดจ ำ

วิธีกำรเรียกกลับมำใช้ เริ่มเรียนรู้ปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคกำรเรียนรู้ของผู้เรียนเอง หรือท ำให้ผู้เรียนฝึกฝนที่จะเข้ำใจ

สภำวะต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นขณะเรียน ทั้งโดยตัวผู้สอนและจำกกำรที่ผู้สอนสะท้อนภำพของผู้เรียน

ท ำให้ผู้เรียนเข้ำใจกระบวนต่ำง ๆ รวมไปจนถึง เข้ำใจปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคกำรเรียนรู้

ของผู้เรียนด้วยตนเอง จนในที่สุดสำมำรถเข้ำถึงสภำวะที่ส่งเสริมกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง

ทั้งหมด คือมีควำมปรำรถนำที่ต้องกำรจะเรียนรู้จำกใจตนเอง มีควำมหมั ่นเพียรเรียนรู้อย่ำง

เบิกบำน ไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย ผู้เรียนต้องกำรเรียนรู้เพิ่มเติมอย่ำงเต็มใจด้วยตนเอง เหล่ำนี้

ล้วนเกิดจำกกำรสัมผัสถึงใจของผู้สอนที่มีควำมปรำรถนำอันอ่อนโยนที่เป็นไปเพียงเพื่อ

ต้องกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยใจที่มีควำมปรำรถนำอันอ่อนโยนนี้ ผู้สอนจะละวำงสิ่งที่ตนเองกระหำยใคร่

สอนหรือละวำงมำตรฐำนหรือทฤษฎีกำรสอนในอุดมคติ ละวำงแม้บทเรียนที่ท ำซ ้ำจำกควำมจ ำหรือแม้แต่ควำมคำดหวัง

Page36

แต่ถ่ำยเดียวของตนเอง คือละวำงควำมต้องกำรของตนเอง (ผู้สอน) ไป เป็นใจที่ว่ำง ท ำหน้ำที่เพียงสะท้อนควำมรู้สึกให้

ผู้เรียนใคร่ครวญ รู้เท่ำทันควำมคิดที่ไม่ได้ตั้งใจ ผู้เรียนมีใจสบำย แจ่มใน สงบแต่ตื่นรู้ที่จะเรียนอย่ำงคล่องแคล่ว ว่องไว

แนวกำรสอนแบบมนุษยนิยม

Humanistic approach

คือหลักกำรสื่อสำรโดยถือว่ำมนุษย์เป็นศูนย์กลำง ในบทเรียนนี้มิได้ต้องกำรสื่อถึงควำมหมำยที่มีมำแต่เดิมแบบที่

ชำวตะวันตกนิยำมไว้ แต่เพียงต้องกำรใช้เพียงเพื่อให้สำมำรถสื่อสำรได้ชัดเจน โดยสื่อได้ตรงกับควำมหมำยที่บทเรียนนี้

มุ่งหวังต้องกำรสื่อ คือตรงกับค ำว่ำ approach by humanized communication ซึ่งก็คือแนวกำรสอนโดยสื่อสำรแบบใช้

หัวใจของควำมเป็นมนุษย์สื่อสำรต่อกัน มีควำมเห็นอกเห็นใจ เข้ำใจ เชื่อมโยงกันแบบเท่ำเทียมกัน (สมำนัตตำ)

แนวกำรสอนแบบศึกษำส ำนึก

Heuristic approach

คือแนวกำรสอนแบบที่ผู้สอนรู้ตัวและส ำนึกอยู่เสมอตลอดเวลำว่ำกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้คือ

หัวใจของกำรเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนมีใจใฝ่เรียนรู้ก็จะรีบหำจังหวะเข้ำสะท้อนสิ่งที่ผู้เรียนรู้สึกหรือน ำเสนอบทเรียนที่ผู้เรียน

สนใจให้เหมำะสมกับโอกำสและสภำวะของผู้เรียนในขณะนั้น อยำกให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยไม่หวังผลตอบแทนหรือไม่มี

ควำมต้องกำรส่วนตัว หรือผู้สอนรู้เท่ำทันควำมอยำก ควำมต้องกำรส่วนตัวของผู้สอน (ทำน) ผู้สอนจะใช้

ค ำพูดตำมจริงที่ผู้เรียนสะท้อนควำมรู้สึกออกมำ ปรำศจำกค ำพูดตัดสินอันอำจเกิดจำกควำมอยำกของ

ผู้สอน (ปิยวำจำ) ผู้เรียนจึงตอบรับด้วยควำมรู้สึกอยำกโอบรับ ฟังต่อ (สมำนัตตำ) ผู้สอนจึงไม่มีบทเรียน

หรือค ำสอนที่ไม่ส่งเสริมกำรเรียนรู้ และด ำเนินกำรส่งเสริมกำรเรียนรู้อันเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนโดยไม่มี

ควำมรู้สึกเหน็ดเหนื่อย (อัตถจริยำ) ดังที่ผู้สอนรู้ตัวและส ำนึกไว้เสมอว่ำกำรท ำให้ผู้เรียนก้ำวหน้ำในกำร

เรียนรู้นั้น ก็ท ำได้ง่ำย ๆ เพียงแค่ใช้ใจที่ว่ำง ไม่คำดหวังผล ไม่ตัดสิน ปรำศจำกควำมกังวลหรือควำม

ต้องกำรของตัวผู้สอนเอง ผู้สอนรู้ตัวและส ำนึกอยู่เสมอนั ่นเองว่ำ ตนเองก ำลังส่งเสริมกำรศึกษำหรือกำรเรียนรู้ของผู้เรียน

(นั ่นคือตรงตำมค ำศัพท์บัญญัติว่ำ ศึกษำส ำนึก นั ่นคือผู้สอนรู้ตัว ส ำนึกอยู่เสมอว่ำกำรศึกษำของผู้เรียนส ำคัญที่สุด)

ผู้สอนจะรับรู้ถึงสภำวะของตนเอง ผู้เรียนและผู้ป่วยโดยทั้งหมด ไม่มีควำมคิดใดดักรอไว้ก่อนและปรำศจำกกำรตัดสิน

การจดัการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษา

หากจะอธิบายในอีกมุมมองหนึ่งและเป็นไปตามสมัยนิยมนั่นคือ การออกแบบการให้ค าแนะน าเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้นี้ สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยการสอนให้มีการรู้ภาวะ หรือ

การส่งเสริมการรู้ภาวะ หรือ จิตตปัญญาศึกษา คือให้มีการเรียนรู้สภาวะภายในในปัจจุบันขณะของตนเองของผู้เรียนให้รู้เท่าทันความคิด ความรู้สึก อารมณ์ ของตน เพื่อ

น าไปสู่ความมั่นคง ผ่อนคลาย และเข้าใจวิธีการเรียนรู้ของตนเอง โดยฝึกฝนผ่านกิจกรรม 7 ตัวอักษรซีในภาษาอังกฤษ [9] (รูปที่1) อันได้แก่

- การรู้ภาวะ(Contemplation)คือการเข้าสู่สภาวะในใจที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ไม่ ละเลย ตื่นเต้นหรือเครียดจนเกินไป

- ความเมตตา (Compassion)คือการโอบอุ้มดูแลจากผู้สอนด้วยบริบทที่เกื้อกูลต่อการเรียนรู้แสดงความห่วงใยในแง่ความรู้สึกของผู้เรียน ด้วยใจที่ปรารถนาให้ผู้เรียนเข้าใจ

บทเรียนนี้ (เมตตา) กล่าวชื่นชมในการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อจบการสอนจากความรู้สึกที่เกิดขั้นจริง ทั้งนี้เนื่องจากผู้สอนได้วางความคาดหวังของตนไปแล้ว คือไม่มีความ

คาดหวังในตัวผู้เรียนจากการสอน หากใจผู้สอนยังไม่อยู่ในภาวะเมตตาเต็มเปี่ยมหรือใจว่าง ผู้สอนที่ฝึกฝนได้ดีก็จะรู้ตัวและกลับมาสู่ภาวะว่าง เบา สบาย สงบแต่ตื่นรู้ส าหรับ

ในชั้นต้นผู้สอนอาจพึงเตือนตนว่าการจบการสอนด้วยการกล่าวชื่นชมจากใจจริง ก็เป็นการสอนที่น่าสนใจแบบหนึ่ง

Page37

- การเชื่อมโยง (Connection)คือ การช่วยให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้ให้น าไปใช้ในการท างานได้หรืออาจหมายถึงผู้สอนมีความเชื่อมโยงกับ

ผู้เรียน ที่น าไปสู่การมีความเท่าเทียม มีการสมานตนของผู้สอนเข้ากับผู้เรียนได้อย่างสนิท (สมานัตตา) สามารถรู้รายละเอียดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่าง

ลึกซึ้งชัดเจน โดยผู้สอนมีท่าทีและถ้อยค าที่น าเสนอมาจากความเข้าใจและเห็นใจอย่างสนิทนี้อย่างธรรมชาติ ดังกล่าวแล้วในบทที่ 1

- ความมุ่งมั่น (Commitment) คือการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความตั้งใจมุ่งมั่นเพื่อเอื้อให้ผู้เรียนน าการเรียนรู้ไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง

- การเผชิญหน้า (Confrontation) คือการเปิดให้ผู้เรียน เผชิญหน้ากับการเรียนรู้ใหม่ หรือสภาวะต่าง ๆ ที่เป็นทั้งปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคต่อการศึกษาอย่างถ่องแท้ เพื่อ

เข้าถึงศักยภาพของตนเองต่อการเรียนรู้

- ความต่อเนื่อง (Continuity) คือการเสริมศักยภาพของของผู้เรียนไปสู่การเรียนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

- ประชาคม (Community) คือความรู้สึกร่วมกันของผู้เรียน มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ รวมถึงการสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ซึ่งการฝึกนี้มักเริ่มต้นจากกิจกรรมหลากหลายที่ผู้เรียนมีความปรารถนาต้องการท าอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย และสามารถท าได้บ่อย หรือสามารถท าได้แม้กระทั่งใน

ชีวิตประจ าวัน [13] ซึ่งตัวอย่างกิจกรรมเหล่านี้ คือ การฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep listening) และ สุนทรียสนทนา (Dialogue) เป็นต้น ดังนั้น นอกจากผู้สอนที่พึงเข้าใจใน

ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างถ่องแท้และเลือกที่จะออกแบบการให้ค าแนะน าเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละบุคคล ในแต่ละโอ กาส และหัวข้อการสอนให้

เหมาะสมแล้ว ผู้เรียนเองก็สามารถพัฒนาทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเองไปพร้อมกันได้[10,14,15]

นิยามของการบริบาลทางทนัตกรรมพร้อมมูลและเคลด็ลบัการสอน

ในบทนี้ เลือกใช้ทั้งสองแนวทางคือ ทั้งในแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษา และการจัดการเรียนการสอนแบบทางจิตตปัญญาศึกษามาอธิบายเทียบเคียงกัน ซึ่งในท้ายที่สุด

พบว่าทั้งสองแนวทางก็มาบรรจบที่แนวทางการศึกษาแบบเดียวกัน

ในทางแม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษา การออกแบบนี้ใช้แนวการส่งเสริมการเรียนรู้เพียงสองแนวเท่านั้นคือ แนวการสอนแบบมนุษยนิยมและแบบศึก ษาส านึก

(Humanistic and Heuristic approach) [16] คือ การส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้แบบใช้ความเป็นมนุษย์สื่อสารต่อกัน (แบบมนุษยนิยมหรือแบบใช้หัวใจของความเป็นมนุษย์)

[8] โดยฝึกการเรียนรู้จากการใช้กระบวนการของประสบการณ์สดใหม่ ในปัจจุบันขณะ (แบบศึกษาส านึก) [6,17,18] (รูปที่ 1) ผู้สอนจะรับรู้ถึงสภาวะของ ตนเอง ผู้เรียนและ

ผู้ป่วยซึ่งก็คือผู้เสียสละมาเป็นบทเรียน ผู้สอนจะเข้าใจทุกฝ่ายทั้งหมด ไม่มีความคิดใดดักรอไว้ก่อนและปราศจากการตัดสิน

การรู้ภาวะนี้เป็นเหตุให้ผู้สอนพร้อมสอนและสามารถรับรู้สภาวะของผู้เรียน ผู้สอนจึงสามารถเลือกออกแบบการให้ค าแนะน าเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ

คุณลักษณะ สภาวะ และระยะของการเจริญเติบโตของการเรียนรู้ของผู้เรียนว่าที่ ณ จุดเวลานั้น สภาวะนั้น ผู้สอนจะรู้ได้ว่าผู้สอนพึงพัฒนาคุณลักษณะที่ส าคัญด้านใดจากทั้ง

สามด้านคือ ด้านพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านปริชาน และด้านภาพสร้าง ซึ่งก็ล้วนแล้วแต่มีจุดเด่นที่เหมาะสมในแต่ละสภาวะของผู้เรียนแต่ละคน

แท้จริงแล้วก็อาจสามารถเขียนให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นโดยใช้ทฤษฎีทางจิตตปัญญาศึกษาว่าควรมีกระบวนการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้ “การสื่อสารแบบมีเมตตา”

นั่นเอง [17] การส่งเสริมการเรียนรู้นี้ เกิดจากความมั่นคงในใจของผู้สอนในทุกขณะที่จะรับรู้ถึงสภาวะของ ตนเอง ผู้เรียนและผู้ป่วยโดยทั้งหมด ผู้สอนจะเกิดความปรารถนา

ดีขึ้นเอง เป็นความปรารถนาที่จะช่วยให้ผู้ป่วยพ้นจากความเจ็บป่วย ปรารถนาให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนอย่างแท้จริงว่าผู้เรียนจะท าให้ผู้ป่วยผ่านพ้นจากความเจ็บป่วยได้

อย่างไร ปรารถนาให้ผู้เรียนพ้นจากความทุกข์ ความกลัว ความไม่รู้ หรือคิดว่ารู้ไม่พอ ผู้เรียนสามารถเข้าใจและรู้เท่าทันถึงความคาดหวังในตัวผู้เรียนเองว่า มีความคาดหวัง

ที่ต้องได้ปริมาณงานครบตามที่หลักสูตรก าหนดและได้คุณภาพของงานชนิดที่สมบูรณ์แบบที่สุด ทั้งที่ผู้เรียนยังขาดประสบการณ์ส าหรับการประเมินความสมบูรณ์แบบที่อยู่

Page38

บนพื้นฐานของความเป็นจริง รวมทั้งผู้เรียนยังต้องเผชิญกับสภาวะความกดดันรอบด้านและข้อก าหนดต่าง ๆ เช่น ปริมาณงานขั้นต ่าในระยะเวลาที่จ ากัด และที่ส าคัญที่สุดคือ

ความกังวลใจว่าเพื่อน อาจารย์ และผู้ป่วยจะคิดกับตนว่าอย่างไร เช่น เมื่อท างานผิดพลาด [19] ด้วยการที่อาจารย์สามารถรับรู้ความรู้สึก และ สามารถรู้สึกร่วม (Empathize)

กับนักศึกษา หรืออาจกล่าวว่าสามารถ สมานัตตากับนักศึกษาได้ ความมั่นคงในใจนี้จะน าไปสู่ความเมตตาของอาจารย์ พร้อมกันนั้นอาจารย์ก็ให้การดูแล และก าลังสื่อสารกับ

“รุ่นน้องที่ก าลังฝึกรักษาโรค” ดังประโยคสนทนาดั่งคนในครอบครัวเดียวกัน [20] เช่น

“น้องเริ่มกรอไปก่อน ถ้ามีอะไรที่รู้สึกไม่สบายใจหรือไม่พร้อม ขอให้บอกพี่ได้ทันที พี่พร้อมที่จะช่วยนะครับ (คะ)”

“ถ้ารู้สึกว่าไม่ถนัด หรือท าไม่ได้ ให้พี่ท าให้ดูก่อนได้นะ”

ในขณะเดียวกันก็ออกแบบการส่งเสริมการเรียนรู้ เผื่อโอกาสให้กับนักศึกษาที่ปรับตัวได้เร็วได้เรียนรู้ไปด้วยตนเอง ดังประโยคว่า

“อยากท าเองหรือให้พี่ท าให้ดูก่อนก็ได้นะครับ (คะ)”

ส าหรับนักศึกษาที่มีการปรับตัวได้เร็วมาก ผู้สอนก็สามารถปรับการให้ค าแนะน าให้เปลี่ยนไปได้อีก เช่น เมื่อผู้สอนมีความมั่นคงในใจและสัมผัสได้ถึงความเมตตาในใจตนเอง

แล้ว อาจารย์ยังสามารถถ่ายทอดความรู้สึกนี้ให้กับผู้เรียนได้ ความเมตตาที่มีต่อผู้ป่วยซึ่งก็เป็นความมั่นคงที่มีอยู่ในใจของอาจารย์เสมอมาก็สามารถถ่ายทอดให้กับผู้เรียนได้

เช่นกัน ดังประโยคสนทนาที่ตั้งเป็นประโยคค าถามอย่างอ่อนโยน

“น้องจะท าให้คนไข้รู้สึกสบายตอนนอนท าฟันได้ยังไงนะครับ (คะ)”

ผู้สอนเพียงใช้ศักยภาพในตนเองที่มีอยู่แล้วมาตลอด ขยายการสอนจากการตรวจงานให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน ถูกต้อง ดีที่สุด เป็นการดูแลตนเอง ผู้เรียนและผู้ป่วยให้รู้สึก

สบายกาย สบายใจ เมื่อผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่ดีที่สุด การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยคุณลักษณะเหล่านี้เมื่อได้รับการเอาใจใส่จากอาจารย์ผู้สอนก็จะน าไปสู่ความสามารถที่

ไม่เป็นเพียงการรู้ข้อมูล แต่เข้าใจ รับรู้และรู้สึกได้อย่างแท้จริงถึงความรู้สึกเจ็บป่วย ไม่สบายกาย ไม่สบายใจของผู้ป่วย (I feel how you feel, not I know how you feel.)

[21] ท าให้นักศึกษาทันตแพทย์สามารถดูแลที่ “ความเจ็บป่วย” หรือ อวัยวะที่มีปัญหา และยังขยายการรับรู้หรือจุดโฟกัสไปที่ “ความเจ็บป่วยของผู้ป่วย” ในขณะเดียวกันก็

สามารถมองเห็นตัวผู้ป่วยได้ทั้งหมด ตลอดไปจนรับรู้และเข้าใจได้ถึงความคิด ความเชื่อที่เป็นที่มาของการเกิดอาการเจ็บป่วย ความรู้สึกเจ็บป่วยนี้ ผู้ป่วยอาจเข้าใจว่าเป็นผล

มาจากโรคทางกาย หรืออาจเป็นผลมาจากสภาวะทางจิตใจ อารมณ์ สังคม นักศึกษาจะขยายความเข้าใจไปถึงบริบทชีวิตที่มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกแผนการรักษา

รวมทั้งผลกระทบจากการรักษาที่มีต่อวิถีชีวิต นอกจากจะสามารถรับรู้ และรู้สึกได้จริงถึงความรู้สึกของผู้ป่วยแล้วยังสามารถแสดงออกให้ผู้ป่วยรับรู้ได้ว่า การรับรู้นี้ได้เกิดขึ้น

แล้วในตัวผู้บริบาล ซึ่งก็มักจะเป็นการแสดงออกด้วยภาษาพูดและภาษากาย ทักษะเหล่านี้รวมเรียกว่าการบริบาลร่วมรู้สึก (Empathic care) [20,22,23] โยงใยไปสู่การเชื่อม

สมาน (สมานัตตา) ระหว่างผู้ป่วยและผู้บริบาล การบริบาลเช่นนี้เองช่วยให้ผู้ป่ วยได้รับกำรดูแลอย่ำงครอบคลุมทั้งกำรดูแลสุขภำพ กำรป้องกันโรค กำรรักษำและกำรฟื้นฟู

สุขภำพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของแต่ละบุคคล ผู้ป่วยก็จะสัมผัสได้ถึงการดูแลและสามารถให้ความร่วมมือในการรักษา การดูแลป้องกันได้ดีขึ้น ส่งผลให้ผลลัพธ์การรักษา

เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น [20] หากอธิบายมาถึงจุดนี้แล้วก็จะเห็นได้ว่า มีการเขียนนิยามของการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล จากการสัมผัสได้และรู้สึกได้ มีความหมายใน

ใจที่ตรงกันในทุกคน ทุกครั้งที่ได้สัมผัสความรู้สึกนี้ จึงตรงกับที่มีผู้ได้ให้นิยามเป็นหลักฐานไว้นานแล้ว [24-28] แบบไม่ผิดเพี้ยน เขียนขึ้นมาได้โดยเสร็จสรรพ มิต้องมี

กรรมวิธี ขั้นตอนที่ยุ่งยากแต่ประการใด

การสื่อสารด้วยความเมตตา

การสื่อสารตามนิยามของพจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2554 สรุปได้ว่าคือ วิธีการน าถ้อยค า ข้อความ หรือหนังสือ จาก

บุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง ส่วนความเมตตาได้มีค าบัญญัติไว้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานว่าคือ

ความรักและเอ็นดูความปรารถนาจะให้ผู้อื่นได้สุข เป็นหนึ่งในพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา [29]

Page39

แปลโดยตรงแล้ว การสื่อสารด้วยความเมตตา ในที่นี้ก็คือ วิธีการน าข้อมูลจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยมีความรัก ความเอ็นดู ความปรารถนาจะให้

ผู้อื่นได้สุขเป็นสื่อน าไป ซึ่งในขั้นต้นนี้จะขออธิบายในอีกนัยหนึ่งว่าการสื่อสารด้วยความเมตตานั้น ควรเริ่มด้วยการอธิบายเรื่องการสื่อสารก่อน ซึ่งรูปแบบหนึ่งของการสื่อสาร

ที่มีความส าคัญมาก ก็คือการฟัง การฟังเป็นหนี่งในปัจจัยส าคัญของการสื่อสารของมนุษย์การสื่อสารในชีวิตประจ าวันของมนุษย์นั้น ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ การ

ฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน การสื่อสารด้วยความเมตตามักเริ่มต้นได้โดยมีการฟังอย่างลึกซึ้งเป็นการฝึกน าไป

การฟังอย่างลึกซึ้งของผู้สอน จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกปลอดภัยจากการถูกตัดสินของผู้สอน กล้าที่จะบอกสิ่งที่ไม่รู้หรือไม่มั่นใจในการดูแลผู้ป่วยอย่าง

ตรงไปตรงมา การที่ผู้เรียนกล้าบอกความจริงนั้น เกิดผลดีคือ ผู้สอนได้สอนในสิ่งที่ผู้เรียนยังไม่รู้ให้ได้รู้ จากประสบการณ์ตรงหน้าทันที และผู้ป่วยได้รับการดูแลที่เหมาะสม

ปลอดภัยจากหมอ และการฟังอย่างลึกซึ้งยังช่วยให้ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนแต่ละคนตามความเป็นจริงถึงประสบการณ์การเรียนทั้งบรรยายและปฏิบัติที่ผู้เรียนเคยผ่านมา

ไม่เช่นนั้นผู้สอนอาจใช้ประสบการณ์ในอดีตของตนเองมาตัดสินผู้เรียน เช่น หากผู้สอนในวัยนี้เคยสามารถท าทักษะบางอย่างได้ดี แต่เมื่อเจอเด็กที่ท าทักษะเดียวกันไม่ได้ มี

แนวโน้มที่ผู้สอนจะเผลอตัดสินผู้เรียนว่าขาดความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย แต่ถ้าผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เล่าให้ฟัง ผู้สอนอาจได้รับค าตอบว่า

“หนู/ผมไม่เคยท าสิ่งนี้มาก่อนเลย เคยเห็นแต่ในแล็บ”

การฟังอย่างลึกซึ้งของผู้สอนจึงเป็นการสอนด้วยการ “ลงมือท า” และผู้เรียนซึ่งเป็นผู้ได้รับข้อมูลจากผู้สอน จะเกิดความเข้าใจได้ถึงผลที่เกิดขึ้นจากการรับฟัง

อย่างลึกซึ้งที่แตกต่างไปจากการฟังที่ผ่านมา เป็นแรงสนับสนุนให้นักศึกษาอยากพัฒนาทักษะการฟังของตนเองเพื่อรับฟังผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ

ดังค ากล่าวที่ว่า

“นักเรียนเรียนจากสิ่งที่ครูเป็น มากกว่าสิ่งที่ครูสอน” [30]

การฟังอย่างลึกซึ้งนี้ ท าให้ผู้เรียนสัมผัส และลอกเลียนแบบความรู้สึกเมตตาของผู้สอน และได้ยินสิ่งที่ผู้สอนพยายามพูด ผู้เรียนเกิด

การเรียนรู้ พัฒนาตนเองดั่งใจผู้สอนตั้งใจไว้แต่แรก ดังนั้น ใจที่มั่นคงและความปรารถนาที่ต้องการถ่ายทอดความรู้ ความสามารถในการบริบาลผู้ป่วยแบบทันตกรรมพร้อม

มูลของผู้สอน ด้วยความอ่อนโยน ละมุนละม่อม จึงมีความส าคัญมาก เพราะผู้เรียนก าลังเรียนจากสิ่งที่ครูเป็น คือลอกแบบสิ่งที่ครูเป็นมากกว่าสิ่งที่ครูสอน

สรุป

การสอนการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลนั้น แม้ได้มีการริเริ่มในประเทศไทยมานาน มีบทความภาษาไทยที่ดี ทว่ามีปริมาณและการเผยแพร่ค่อนข้างน้อย จึง

ยังต้องการนิยามที่ชัดเจน ปรับให้เข้ากับบริบทสังคมที่เปลี่ยนไป และง่ายต่อการศึกษา ท าความเข้าใจ ซึ่งก็จะสามารถท าให้ทุกคนเข้าถึงศักยภาพของตนเองได้เพียงแค่ใช้

การสื่อสารแบบมีเมตตา โดยเริ่มได้จากเทคนิคที่ง่ายที่สุดคือ การฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้เป็นเพราะการศึกษาการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลด้วยการสื่อสารแบบมี

เมตตานั้นจะช่วยลดความขัดแย้ง จึงอาจช่วยลดจ านวนนักศึกษาทันตแพทย์ที่มีความเครียดสูง รวมไปถึงว่าอาจลดอัตราการฟ้องร้องของผู้ป่วยต่อทันตแพทย์ได้ และเป็นการ

ยกระดับการผลิตทันตแพทย์ให้ทัดเทียมมาตรฐานสากลด้วย โดยสังเกตได้จากการที่แม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษาได้

พัฒนามาบรรจบที่เทคนิคเดียวกันในท้ายที่สุด [9,10,16] คือการเข้าถึงนิยาม ความหมายของการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลที่กล่าวว่า ผู้ป่ วยจะได้รับกำรดูแลอย่ำง

ครอบคลุมทั้งกำรดูแลสุขภำพ กำรป้องกันโรค กำรรักษำและกำรฟื้นฟูสุขภำพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของแต่ละบุคคล การบริบาลด้วยวิธีนี้ล้วนใช้สิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ

ในตัวของมนุษย์ทุกคน ตามแบบทฤษฎีมนุษยนิยม (ในเชิงการสื่อสารโดยใช้หัวใจของความเป็นมนุษย์) พบได้ทั้งในตัวอาจารย์ นักศึกษา และผู้ป่วย เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็

สามารถเข้าใจถึงความหมาย หรือนิยามได้เอง ปราศจากข้อซักถาม ข้อสงสัย จึงอาจกล่าวได้ว่า ได้มีการสอนให้มีการรู้ภาวะ หรือ การส่งเสริมการรู้ภาวะ ตามแบบจิตต

ปัญญาศึกษา เพื่อน าไปสู่การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลขึ้นแล้ว ดังที่ Baron-Cohen ได้กล่าวไว้ว่า “การร่วมรู้สึกเป็นดั่งตัวท าละลายสากล (universal solvent) ปัญหา

อะไรก็ตามเมื่อน ามาจุ่มแช่ในตัวท าละลายนี้ ก็จะพลันมลายไป” [31]

Page40

ด้วยเทคนิคที่เรียบง่ายนี้ ก็อาจสามารถเข้าใจถึงนิยามของการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลได้ง่ายขึ้นโดยใช้ทฤษฎีทางจิตตปัญญาศึกษาว่าควรมีกระบวนการ

ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ให้เท่าทันสภาวะของตนเองของผู้สอน โน้มน าไปสู่การสื่อสารแบบมีเมตตาต่อผู้เรียน เป็นการศึกษาที่ใช้การสื่อสารเหมือนเป็นคนในครอบครัวเดียวกัน

แบบพี่ดูแลน้อง [20] โดยผู้สอนอาจอยู่ในภาวะความรู้สึกตระหนักถึงวันที่ผู้สอนเองยังเป็นผู้เรียนและท างานนี้เป็นครั้งแรก เทคนิคนี้จะช่วยขยายขอบเขตของการส่งเสริมการ

เรียนรู้อย่างอัตโนมัติ ลดทอนความคิดของผู้สอนที่เปรียบเทียบนักศึกษากับตนเองซึ่งเก่งกว่าหรือช านาญกว่า หรือเปรียบเทียบกับนักศึกษาในอดีต หรือเพื่อนนักศึกษาใน

ปัจจุบัน ลดทอนการตัดสิน ผู้สอนจะสื่อสารให้ค าแนะน าเฉพาะที่ช่วยอ านวยให้เกิดการเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนได้วางแผนไว้แต่ต้นคือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาส

พัฒนาทักษะในการช่วยเหลือผู้ป่วยให้พ้นจากความเจ็บป่วย และผู้สอนอาจพบว่า ข้อก าหนด และเหตุผลต่าง ๆ มากมายในความคิดของผู้สอนที่ไม่ส่งเสริมการเรียนรู้ของ

นักศึกษาจะดูมีน ้าหนักเบาลง การส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในรูปแบบนี้ยังจะช่วยท าให้นักศึกษาทันตแพทย์ สัมผัสได้ถึงความปรารถนาดีของผู้สอน นักศึกษาสามารถละ

วางความกังวลต่าง ๆ รู้สึกผ่อนคลาย [19] เริ่มมีความมั่นคงในใจ และเริ่มรับรู้สภาวะความรู้สึกของตัวนักศึกษาเองคือเริ่มมีสมานัตตากับนักศึกษา และในที่สุดนักศึกษาจะได้

น าเอาศักยภาพที่มีอยู่แล้วของตนเองกลับคืนมา พร้อมมีก าลังขยายออกไปรับรู้ข้อมูลการรักษา และเผื่อแผ่การรับรู้นี้ขยายออกไปถึงการได้รับข้อมูลของผู้ป่วยอย่างรอบด้าน

พร้อมด้วยกันนั้น นักศึกษาก็เข้าถึงการเรียนรู้จากผู้สอนอย่างถ่องแท้ สัมผัสได้ถึงความเมตตาที่อาจารย์ทันตแพทย์มีต่อผู้ป่วย ความเมตตาที่อาจารย์มีความปรารถนาที่จะ

รักษาผู้ป่วยให้พ้นจากความเจ็บป่วย ความเมตตาที่อาจารย์มีความปรารถนาจะช่วยเหลือให้นักศึกษาได้เรียนรู้ เป็นการออกแบบการส่งเสริมก ารเรียนรู้ด้านการบริบาลร่วม

รู้สึก (Instructional design for empathic care) ซึ่งเหล่านี้ก็เป็นเทคนิคการสอนที่สร้างบทเรียนอันเรียบง่ายที่มีค่ามากที่สุดต่อผู้เรียน [10,15]

การสื่อสารแบบมีเมตตาที่เกิดจากการรู้เท่าทันสภาวะภายในใจตนนี้จึงสามารถน าไปฝึกฝนใช้ได้ตลอดเวลา และเมื่อฝึกฝนเทคนิคนี้อย่างต่อเนื่อง จะปรากฏว่า

ทุกคนล้วนท าหน้าที่สลับปรับเปลี่ยนกันไปมา ไม่มีอาจารย์ นักศึกษา หรือผู้ป่วยอย่างแท้จริงตลอด ในบางโอกาส นักศึกษา และผู้ป่วยเองก็ส่งเสริมภาวะการเรียนรู้ของ

อาจารย์ อาจารย์บางครั้งก็กลับกลายเป็นผู้ป่วยให้นักศึกษา หรือผู้ป่วยท าการรักษา ต่างฝ่ายต่างก าลังเรียนรู้และส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยกันในสภาวะที่มีความเมตตา

การฟังอย่างลึกซึ้งเป็นเพียงด่านแรกของการสื่อสาร ทั้งนี้สุนทรียสนทนายังต้องมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่การฟังอย่างลึกซึ้งจะค่อย ๆ น้อมน าให้เกิดขึ้นตามมา อัน

ได้แก่ การให้เกียรติและเคารพตนเองและผู้อื่น การพักการตัดสิน และการเปิดเผยเสียงภายในใจ[32] องค์ประกอบเหล่านี้จะท าให้เรามองทะลุเหตุผลที่แตกกระจายเป็นชิ้น

เล็กชิ้นน้อยมาต่อกันเป็นองค์รวมและเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ร่วมกันได้ วิธีการนี้สามารถฝึกต่อเนื่องในชีวิตประจ าวันได้อย่างเป็นธรรมชาติ ก่อให้เกิดความเข้าใจโลกตาม

ความจริง เป็นกระบวนการกระตุ้นตนเองตามธรรมชาติ น้อมน าให้เกิดวิถีในการปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้ตนเองของผู้ฟังและคนรอบข้างซึ่งก็จะเป็นไปตาม 7 ตัวอักษรซีใน

ภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นค าอธิบายหลักการของจิตตปัญญาศึกษา [33] (รูปที่ 1) เมื่อเริ่มต้นด้วยการฟังอย่างลึกซึ้งเป็นประจ าขณะบริบาลผู้ป่วยก็จะโยงใยน าไปสู่การบริบาลทาง

ทันตกรรมพร้อมมูลได้ในที่สุด

บทเรียนนี้ช่วยน้อมน ากระบวนการที่ท าให้เกิดความเข้าใจการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลในแง่การศึกษาผ่านสองทฤษฎีการศึกษา ซึ่งแท้จริงแล้วเทคนิคที่

ช่วยให้สามารถท าความเข้าใจและเข้าถึงความหมายตามนิยามของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล และก่อให้เกิดการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลขึ้น ได้นั้น ท าได้ด้วย

เทคนิคการสอนแบบมนุษยนิยมผนวกกับแบบศึกษาส านึก และก็สามารถท าได้เช่นกันผ่านทางการสื่อสารด้วยความเมตตา และมีเทคนิคในการเริ่มต้นง่ายที่สุดนั่นก็คือการฝึก

ผ่านกิจกรรมที่ต้องท าบ่อย เช่น การฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง ซึ่งทั้งสองแนวทางหากฝึกอย่างสม ่าเสมอ ก็จะสามารถน าหลักการไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน

หรือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา บุคลากร หรือองค์กร ให้ดียิ่งขึ้น รายละเอียดในการฝึกการฟังอย่างลึกซึ้งนี้จะน าเสนอในตอนต่อไปซึ่งจะอธิบายถึง ความแตกต่างของการ

ฟังโดยทั่วไปกับการฟังอย่างลึกซึ้ง หลักการฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง ปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อฝึกปฏิบัติ

คาดหวังว่าบทความนี้จะช่วยสร้างความเข้าใจต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลมากขึ้น และน าไปสู่การลดความขัดแย้ง สนับสนุนความเจริญก้าวหน้าทาง

ทันตแพทยศาสตรศึกษา และน้อมน าให้ผู้วางนโยบายให้ความส าคัญต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลเพื่อส่งผลดีต่อ อาจารย์ นักศึกษาทันตแพทย์และผู้ป่วย อันถือเป็น

เป้าหมายสูงสุดของทันตแพทยศาสตรศึกษา

ในบทเรียนถัดไปจึงเป็นการน าเทคนิคการฝึกอย่างง่ายที่สุด และสามารถท าได้ในชีวิตประจ าวันเกือบตลอดเวลา นั่นคือการฟังอย่างลึกซึ้ง ซึ่งเป็นเทคนิคที่ส าคัญ

ทั้งต่อการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลและการใช้ชีวิตประจ าวัน

Page41

บันทึกช่วยจ า

ทันตแพทยศาสตรศึกษาจะวิ่งตามให้ทันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

บทเรียนนี้เป็นการน าเสนอเบบเรียนเรื่องการสื่อสารเพื่อให้เข้าถึงการบริบาลร่วมรู้สึกและยิ่งไปกว่านั้น สมานัตตา (ความเชื่อมสมาน) น าสมานัตตามาเป็นส่วนหนึ่งของการ

พัฒนาทันตแพทยศาสตรศึกษา ช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษาทันตแพทย์เข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาล

การสร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษาทันตแพทย์เข้าใจความรู้สึกและความต้องการที่แท้จริงของผู้รับการบริบาลคือหัวใจของการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล

การส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลท าได้ผ่านการเรียนรู้สองแบบซึ่งต่างมีเทคนิคการสอนเฉพาะตน คือ แม่แบบหลักของทฤษฎีการศึกษาใช้เทคนิค

การสอนแบบมนุษยนิยมผนวกกับแบบศึกษาส านึก และการจัดการเรียนการสอนแบบจิตตปัญญาศึกษา สอนผ่านทางการสื่อสารด้วยความเมตตาซึ่งเป็นเหตุจากการรู้เท่าทัน

ความคิดของตนเอง ซึ่งล้วนน าไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ที่คล้ายคลึงกันมากคือการบริบาลร่วมรู้สึกและสมานัตตา

แผนภูมิที่ ๑ การให้ผู้สอนเข้าถึงการส่งเสริมการเรียนรู้มีเทคนิคคือการหมั่นฝึกการฟังอย่างลึกซึ้งในชีวิตประจ าวันของผู้สอนจนสามารถท าได้อย่างคล่องแคล่ว การหมั่นฝึก

ฟังอย่างลึกซึ้งจนคล่องแคล่วนี้สร้างความเข้าใจต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลให้เกิดขึ้นในเนื้อในตัวของผู้สอน ผู้สอนที่ฝึกเทคนิคดังกล่าวนี้ สอนได้ตรงประเด็น ลด

การพูดในสิ่งที่ไม่จ าเป็น จึงสามารถสอนจนน าไปสู่การลดความขัดแย้ง สนับสนุนความเจริญก้าวหน้าทางทันตแพทยศาสตรศึกษา

การให้ผู้สอนเข้าถึงการส่งเสริมการเรียนรู้ขั้นนี้ มีเทคนิคคือการหมั่นฝึกการฟังอย่างลึกซึ้งในชีวิตประจ าวันของผู้สอนจนสามารถท าได้อย่างคล่องแคล่ว

การฟังอย่างลึกซึ้งที่คล่องแคล่วสร้างความเข้าใจต่อการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลในเนื้อในตัวของผู้สอน

ผู้สอนที่ฝึกเทคนิคดังกล่าว สามารถสอนจนน าไปสู่การลดความขัดแย้ง สนับสนุนความเจริญก้าวหน้าทางทันตแพทยศาสตรศึกษา

การบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลจึงส่งผลดีต่อ อาจารย์ นักศึกษาทันตแพทย์และผู้ป่วย อันถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของทันตแพทยศาสตรศึกษา

ฝึ กฟังจน

คล่องแคล่ว

มีทันตกรรม

พร้อมมูลในใจ

บริบาลอย่าง

เข้าใจผู้ป่วย

ลดความ

ขัดแย้ง

ความเจริญของ

ทันตแพทยศาสตร

ศึกษา

Page43

เอกสารอ้างอิง

1. ADEA House of Delegates. American dental education association competencies for the new general dentist. J Dent Edu

2011;75(7):932–5.

2. ADEA House of Delegates [homepage on the Internet]. Washington DC: The Association; c 2013-2020 [updated 2008; cited

2021 Jan 7] Competencies for the new general dentist. Available from https://www.adea.

org/about_adea/governance/Pages/Competencies-forthe-New-General-Dentist.aspx.

3. Majeski RA, Stover M. Contemplative pedagogy in hybrid and asynchronous online undergraduate aging

services/gerontology courses. Gerontol Geriatr Educ 2018;39(1):75-85.

4. Watanapa A, Tienmontri A, Thitasomakul S. [homepage on the Internet]. Songkhla: Prince of Songkhla University; c 2010

[updated 2017; cited 2021 Jan 7] Learning experience in hospital and community. Available

from:http://ed.dent.psu.ac.th/var/www/service/Upload/ files/3_ คู่มือรพ_สมทบ ฉบับ Online.pdf.

5. Ratanasuwan P. [homepage on the Internet]. Phayao: University of Phayao; c [updated 2020; cited 2021 Jan 7] Facilitate

dental students quality with contemplative pedagogy. Available from:

https://up.ac.th/th/NewsRead.aspx?itemID=15929&title=ข่าว ประชาสัมพันธ์.

6. Chatiketu P, Patanaporn V, Wattanachai T. Dental students’ achievement and satisfaction of two learning methods in an

orthodontic case seminar, Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. CM Dent J 2015;36(2):131–43.

7. Education section, Student development section, Alumni and community relation section. [homepage on the Internet]. Khon

Kaen: Khon Kaen University; c [updated 2016; cited 2021 Jan 7] Contemplative pedogogy by Faculty of Dentistry: New age

dentists’ mind and physical growth for social skill development. Available from:

https://home.kku.ac.th/dentist/news.php?id=53.

8. Quick KK. A humanistic environment for dental schools: What are dental students experiencing? J Dent Educ

2014;78(12):1629-35.

9. Chiddee K, Uthaithum N. Contemplative Education Activities : Personality development strategies for student nurses.

Princess Naradhiwas Univ J 2013;5(2):106–17.

10. Ertmer PA, Newby TJ. Behaviorism, cognitivism, constructivism: Comparing critical features from an instructional design

perspective. Perform Improv Q 2013;26(2):43–71.

Page44

11. Chambers D. Toward a competency-based curriculum. J Dent Educ 1993;57(11):790-3.

12. Cook DA, Durning SJ, Sherbino J, Gruppen LD. Management reasoning. Acad Med 2019;94(9):1310-6.

13. Srisuwan S. Contemplative education for humanized media journalist. In: Bunkarn C, editor. Active Learning: Key to Thailand

4.0. Academic meeting: 2018 Mar 26-27; Nakonsrithammarat, Thailand: Walailuck University website; 2018:197-203.

14. Swendiman RA. Deep listening. Acad Med 2014;89(6):950.

15. Karagiorgi Y, Symeou L. International forum of educational technology & society translating Constructivism into Instructional

design: Potential and limitations. Source J Educ Technol Soc 2005;8(1):17-27. doi:10.2307/ jeductechsoci.8.1.17

16. Dennick R. Twelve tips for incorporating educational theory into teaching practices. Med Teach 2012;34(8): 618–24. 107

17. Kisfalvi V, Oliver D. Creating and maintaining a safe space in experiential learning. J Manag Educ 2015; 39(6):713–40.

18. Poljun T, Buranachad N, Wongtanet J. [account on the Internet]. Nakonpathom: Mahidol University; c 2021 [updated 2021;

cited 2021 Jan 7] Well aware101: Class for change. Available from: https://www.facebook.com/

2482835288425469/posts/2505000706208927/.

19. Moore R. Psychosocial student functioning in comprehensive dental clinic education: A qualitative study. Eur J Dent Educ

2018;22(3):e479–87.

20. Wongnavee, K, Buranachad, N. Essence of comprehensive dentistry scrutinized from dental care experience of advanced

general dentists. M Dent J 2020;40(3):289-98.

21. Hein G, Singer T. I feel how you feel but not always: The empathic brain and its modulation. Opin Neurobiol 2008;18(2):153–

8.

22. Hojat M, Gonnella JS, Nasca TJ, Mangione S, Vergare M, Magee M. Physician empathy: Definition, components,

measurement, and relationship to gender and specialty. Am J Psychiatry 2002;159(9):1563-9.

23. Hojat M, Gonnella JS, Mangione S, Nasca TJ, Magee M. Physician empathy in medical education and practice: Experience

with the Jefferson scale of physician empathy. Semin Integr Med 2003;1(1):25–41.

24. Leowsrisook K. Comprehensive dental care. J Dent Assoc Thai 1995;45(4):214–21.

25. Leowsrisook K. Comprehensive Dental Care Behavior Science Health Education and Ethics Context. 1st ed. Bangkok

Thailand: Emotion art; 2012.

26. Chanthorn R. Comprehensive dental care concept. KDJ 2008;11(1):23–33.

27. Tuongratanaphan S, Kanchanakamol U. Comprehensive dental care concept. CM Dent J 2000;21(2):7-24.

28. Chuengpattanawadee A. Humanized dentistry. JDAT 2009;59(1):63-73.

Page45

29. The Royal Institute[homepage on the Internet]. Bangkok: Office of the Royal Society;. c 2020 [updated 2020; cited 2021

Jan 7] Thai Dictionary of the Royal Institute 2011. Available from: http:// https://dictionary.orst.go.th/.

30. Palmer PJ. The Courage to Teach: Exploring the inner landscape of a teacher’s life, 10th Anniversary ed: San Francisco,

CA: Jossey-Bass;2007.

31. Baron-Cohen S. Zero Degrees of Empathy: A new theory of human cruelty. Allen Lane Publishing; 2011.

32. Bohm DJ. On dialogue. 2nd Ed. Nichol L, editor. New York, US.: Taylor and Francis e-Library; 2003.

33. Onsri P. Contemplative education: Education for human development in 21st century. J R Thai Army Nurses 2014;15(1):7–

11.

Page46

เมื่อใดก็ตามเวลาทีม่ีใครพูดในส่ิงทีเ่ราไม่ชอบใจ

ไม่อยากได้ยินหรือรู้สึกโกรธ

เราอาจสังเกตร่างกายไม่ทัน

ขณะนั้นสังเกตว่าจะไม่ได้ยินเสียงพูดแล้ว

จะมีแต่เสียงโวยวายในความคิดของเราเองและ

รู้สึกอยากโต้ตอบหรือขัดแย้งขึน้มาทันที

Page47

บทที่๔

การฟังอย่างลึกซึ้งในการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล

ศรัณภัสร์แมนสุมิตร์ชัย • สมชัย มโนพัฒนกุล • สิริรัก ศุภอมรกุล• นัยนา บูรณชาติ

บทน า

“การฟังอย่างลึกซึง้” เป็นทักษะทีม่ีความส าคัญมากขึน้ในปัจจุบัน อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี

ของปัญญาประดิษฐ์ที่มีแนวโน้มว่าอาจได้รับการพัฒนาจนแม่นย าเหนือมนุษย์การหยุดชะงักอันเนื่องมาจาก

ดิจิตอล (digital disruption) จึงเปิดโอกาสให้ทันตแพทย์ได้พัฒนาและฝึกทักษะมนุษย์ทีส่ าคัญซึ่งมีอยู่

แล้วในตัวทุกคน นั่นคือ “การฟังอย่างลึกซึง้” เพื่อน ามาส่งเสริมการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูล บทเรียนนี้

รวบรวม ความหมายของการฟัง และอธิบายการฟังในระดับที่แตกต่างกัน น าไปสู่การอธิบายการฟังอย่างลึกซึง้

หลักการในการฝึกการฟังอย่างลึกซึง้ปัญหาและอุปสรรค ที่อาจเกิดขึน้ ได้เมื่อลองฝึกปฏิบัติและการน าไปใช้

โดยหวังว่าบทความนีจ้ะช่วยให้เกิดความเข้าใจและสามารถน าหลักการไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิต

ประจ าวันจนรู้เท่าทันและสามารถน ามาเป็นส่วนส าคัญในการบริบาลทันตกรรมพร้อมมูล การฟังอย่างลึกซึง้นี้

เมื่อฝึกฝนจนคล่องแคล่ว จะน าไปสู่การส่งเสริมวิธีการสื่อสารส าหรับการบริบาลทางทันตกรรมพร้อมมูลในยุค

ดิจิตอลนี้ให้มีประสิทธิภาพ และเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน จึงช่วยส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรหรือ

องค์กรทางด้านทันตกรรม ในท้ายทีสุ่ดอาจน าไปสู่การลดความขัดแย้งและการฟ้องร้องคดีต่อ ทันตแพทย์ด้วย

Page48

บทน า

“การฟังอย่างลึกซึ้ง” เป็นทักษะที่มีความส าคัญ (1) ในอนาคตอันใกล้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการวินิจฉัย การวางแผนการรักษาโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์มีความแม่นย า

ทวีความส าคัญและคงเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์นี้ช่วยแบ่งเบาภาระการท างานของมนุษย์ (2–5) จึงเปิดโอกาสให้บุคลากรทางการแพทย์และทันต

แพทย์ได้พัฒนาและฝึกฝนทักษะมนุษย์ที่เหนือกว่าปัญญาประดิษฐ์ หนึ่งในนั้นคือ “การฟังอย่างลึกซึ้ง” การฟังอย่างลึกซึ้งเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนวิธีการสื่อสารส าหรับ

การบริบาลทางทันตกรรมในยุคดิจิตอลนี้ให้มีประสิทธิภาพและเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน (6) โดยบทเรียนนี้อธิบายถึง ความหมายและระดับการฟัง การฟังอย่าง

ลึกซึ้งและความแตกต่างจากการฟังโดยทั่วไป หลักการในการฝึกการฟังอย่างลึกซึ้ง ปัญหาและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อลองฝึกปฏิบัติ การน าไปใช้และประโยชน์ต่อวงการ

สาธารณสุข โดยบทเรียนนี้จะช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการฟังอย่างลึกซึ้งมากขึ้นและสามารถน าหลักการไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน หรือใช้เป็น

แนวทางในการพัฒนาบุคลากรหรือองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรทางด้านทันตกรรมและสาธารณสุข

ความหมายของการฟัง

“การฟัง” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (7) กล่าวถึงหนึ่งในความหมายของค าว่า ฟัง คือ

“ ตั้งใจสดับ คอยรับเสียงด้วยหู ”

ศาสตราจารย์ปรีชา ช้างขวัญยืน เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน (8) ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า หมายถึง

พฤติกรรมการรับสารผ่านโสตประสาทอย่างตั้งใจเชื่อมโยงกับกระบวนการคิดในสมอง โดยสมองแปล

ความหมายของเสียงจนเกิดความเข้าใจและมีปฏิกิริยาตอบสนอง การฟังจึงเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัว

บุคคล การแปลความและตีความนี้เป็นประสบการณ์เฉพาะบุคคลเกิดขึ้นรวดเร็วมากเกือบเป็นอัตโนมัติ เป็น

เหตุให้เสียงแบบเดียวกัน เมื่อใช้ทักษะในการฟังที่ต่างกัน อาจส่งผลให้ผู้ฟังมีความเข้าใจที่แตกต่างกัน

ความส าคัญของการฟั ง (1)

การฟังมีความส าคัญมากต่อการสื่อสารของมนุษย์อาจเนื่องมาจากว่า ในชั้นต้นมนุษย์ใช้เวลาเพ่งไปกับการฟังมากที่สุด หากเปรียบเทียบกับเพ่งไปที่การพูด การอ่านและการ

เขียน มนุษย์ใช้เวลาในการฟังเฉลี่ยต่อหนึ่งวันมากถึง 48% ตามมาด้วยการพูด 23% การอ่าน 16% และ การเขียน 13% (รูปที่ 1) เห็นได้ว่ามนุษย์ใช้เวลากับการฟังมากที่สุด

ดังนั้นการฟังที่ดีน่าจะส่งผลมากต่อความส าเร็จของการสื่อสาร

การฟัง 48% การพูด 23%

การอ่าน 16% การเขียน 13%

รูปที่ 1 ร้อยละของเวลาที่ใช้ในการเพ่งไปที่กิจกรรมในการสื่อสารในชืวิตประจ าวัน ในกระบวนการสื่อสารของมนุษย์เรานั้น เราใช้เวลาในการฟังเฉลี่ยต่อหนึ่งวันมากที่สุดเมื่อ

เทียบกับการพูดการอ่านและการเขียน ดังนั้นการฝึกฟังน่าจะส่งผลดีต่อความส าเร็จของการสื่อสารและเป็นกิจกรรมการฝึกที่มนุษย์สามารถท าได้มากที่สุดในแต่ละวัน

การฟั ง 4 ระดับตามแนวคิดของ Claus Otto Scharmer (9,10)

Page49

Claus Otto Scharmer ด ารงต าแหน่งอาจารย์อาวุโส ณ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเมสซาชูเซตส์(Massachusetts Institute of Technology, MIT) เขาได้รับการออกเสียง

ลงคะแนนในเวปไซต์ globalgurus.org ให้เป็นอันดับที่ 12 จาก 50 คุรุ (guru) ด้านการศึกษาของโลก (11) และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งหลักสูตรออนไลน์เปิดเพื่อประชาชนทั่วไป

(Massive Open Online Courses, MOOC) ที่ MIT

Claus Otto Scharmer เป็นผู้น าเสนอทฤษฎีการฟังตามแบบตัวอักษรยู ภาษาอังกฤษ (theory U) โดยได้แบ่งการฟังออกเป็น 4 ระดับตามเส้นความโค้งของตัวอักษรยู (รูปที่

  1. ดังนี้

1. ฉันในตัวฉัน (ฟังแบบดาวน์โหลด) [I in me (downloading)] ฟังแบบดาวน์โหลดแล้วติดกับเสียง ตัวเอง เป็นการฟังแบบยืนยันในสิ่งที่ตนเคยรู้มาก่อนและเชื่อไว้แล้ว ฟังผ่าน

ความคิด ประสบการณ์เดิมหรืออาจเรียกว่าฟังอย่างมีอคติ มีการตัดสินผู้พูดตามความคิดและประสบการณ์เก่าของตนเองอย่างอัตโนมัติเร็วมาก ก่อนที่จะรับรู้ข้อมูลทั้งหมด

2. ฉันในมัน (ฟังตามเหตุผลจริง) [I in it (factual)] เป็นการฟังที่เลือกฟังเรื่องราวในสิ่งที่แตกต่างจากที่รู้ มีการจับประเด็นเนื้อหาสาระที่ได้ฟัง มีความใส่ใจอยู่ที่เนื้อหาสาระเพื่อ

หาข้อเท็จจริง มีการตัดสินโดยใช้เหตุผล กฏ ระเบียบเป็นหลัก

3. ฉันในตัวเธอ (ฟังร่วมรู้สึก) [I in you (empathic)] เป็นการฟังอย่างเข้าอกเข้าใจ (standing in the other’s shoes) ฟังอย่างเปิดใจ มีมนุษยธรรม ข้ามเสียงแห่งอคติ ท าให้

เคารพผู้อื่น และเข้าไปรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นได้ หรือที่เรียกว่าเป็นการฟังที่ร่วมรู้สึก เห็นอกเห็นใจ (empathy) เราเข้าใจผู้ฟัง แต่ขณะเดียวกันก็ยังคงเหลือความหวาดระแวง

ความเป็นตัวเราอยู่ ถ้าสิ่งที่เขาพูดกระทบตัวตนของตนของเราก็พร้อมที่จะปกป้องตัวเองทันที

4. ฉันในปัจจุบันขณะ (ฟังก่อก าเนิด) [I in now (generative)] เป็นการฟังที่ลึกซึ้งมาก เป็นการฟังที่รู้เท่าทันปัจจุบันขณะ การฟังในระดับนี้ต้องอาศัยความกล้าหาญที่จะปล่อย

ผ่านตัวตน คลายจากความยึดมั่นในความคิดเดิม ๆ ของตนเอง ผ่านความกลัวการสูญเสียตัวตน เมื่อปล่อยผ่านความคิดนี้ไปได้จะเกิดพื้นที่ว่างเพื่อต้อนรับความคิดที่เกิดขึ้น

ใหม่ เกิดองค์ความรู้ใหม่ร่วมกัน เกิดการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวของผู้ฟังและผู้พูด

สรุปว่า ระดับการฟังทั้ง 4 ระดับนั้น เป็นกระบวนการท างานภายในตัวผู้ฟัง คือการท างานกับอคติที่เกิดขึ้นภายในระหว่างการฟังซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเป็น

กระบวนการเกือบอัตโนมัติ และการฟังในระดับที่ต่างกันย่อมให้ผลต่อตัวผู้ฟังและสิ่งที่เข้าใจจากการฟังแตกต่างกัน ซึ่งก็จะน าไปเทียบเคียงกับการฟังในทฤษฎีอื่น ๆ ดังจะ

กล่าวต่อไป

รูปที่ 2 ระดับการฟังตามทฤษฎีการฟังแบบตัวอักษรยู ภาษาอังกฤษ (theory U) (10)

สุนทรียสนทนา (dialogue) (12) กับการฟังอย่างลึกซึ้ง (deep listening)

Page50

David Joseph Bohm นักฟิสิกส์ผู้แต่งต ารามากมายรวมถึงทฤษฏีควอนตัม Bohm ได้น าเสนอการสนทนาที่เรียกว่า สุนทรียสนทนา (dialogue) โดย Dialogue มาจากภาษา

กรีกว่า Dialogos ซึ่ง Dia หมายถึง ทะลุปรุโปร่ง และ Logos หมายถึงค า สุนทรียสนทนา คือเครื่องมือที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการสนทนาแบบเปิดกว้างที่เน้นการ

ฟังอย่างลึกซึ้ง ท าให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันผ่านทางค าพูดและน าไปสู่การเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันขององค์กรได้อย่างมีความสุข

สุนทรียสนทนา มีหลักส าคัญ 4 ประการ คือ (12)

1. การฟังอย่างลึกซึ้ง (deep listening)

2. การให้เกียรติเคารพซึ่งกันและกัน (respecting)

3. พักการตัดสิน (suspending)

4. การเปิดเผยเสียงภายในใจ (voicing)

สิ่งส าคัญในสุนทรียสนทนาคือการฟังอย่างลึกซึ้ง จึงอาจกล่าวได้ว่าการฟังอย่างลึกซึ้งเป็นประตูด่านแรกของการสนทนาแบบเปิดกว้าง โดยการใช้ทั้งตัว หัวใจ ในการอยู่กับคน

ที่นั่งอยู่ตรงหน้าพูดคุยอย่างเปิดใจเพื่อรับฟังอย่างลึกซึ้ง ฟังเพื่อส ารวจความคิด ความเชื่อ สมมติฐานของตนเองแล้ววางลง เพื่อยกระดับสมาธิและความตั้งใจในการฟังอย่าง

เต็มที่ ท าความเข้าถึงใจของกันและกันและคิดต่อยอดร่วมกันโดยไม่ตัดสินถูกผิด การฟังอย่างลึกซึ้งมีความหมายเดียวกับการฟังอย่างมีสติ (mindfulness listening) ทั้ง

ความหมาย ลักษณะการปฏิบัติและเป้าหมายของการฟัง การฟังอย่างลึกซึ้งจึงน าไปสู่การเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันขององค์กรอย่างมีความสุขตามแนวคิดสุนทรียสนทนา

จิตตปั ญญาศึกษา (Contemplative education) (13) กับการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep listening)

จิตตปัญญา หมายถึงการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นประสบการณ์ การตระหนักรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งและความเมตตาต่อทั้งตัวเองและผู้อื่น น าไปสู่หนทางแห่งจิตภายใน มีการฝึกฝน

เพื่อการมีสติ การตระหนักรู้เท่าทันความรู้สึกนึกคิด การรู้ทันสภาวะต่าง ๆ จนถึง การปล่อยวางหนทางแห่งจิตภายในจะน าไปสู่วิธีปฏิบัติการฝึกฝน การตระหนักรู้สภาวะของ

ตน (contemplative practices) ส่งผลเกิดการเรียนรู้ที่จะน าไปสู่การเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง ซึ่งการฝึกนี้สามารถแบ่งออกเป็น 7 ประเภท หนึ่งในนั้นคือการฝึกผ่าน

กระบวนการสานสัมพันธ์(relational practices) เช่น การฟังอย่างลึกซึ้งและสุนทรียสนทนา ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษานั้น “การฟังอย่างลึกซึ้ง” เป็นเครื่องมือหนึ่งที่น ามาใช้

ในการเรียนรู้ภายในตนเองอย่างมีสติ ตระหนักรู้และเท่าทันสภาวะต่าง ๆ ภายในตัวผู้ฟังและปล่อยวางอคติขณะฟัง เพื่อให้จิตใจเกิดปัญญาตระหนักรู้ เชื่อมโยงความจริงใน

หลากหลายมิติและใช้การฟังอย่างลึกซึ้งในวิถีชีวิตอย่างเป็นธรรมชาติเพื่อให้เกิดความเข้าใจโลกตามความเป็นจริงและมุ่งเน้นไปที่วิถีปฏิบัติเพื่อการเรียนรู้ตัวเองของผู้ฟัง

ความหมายของการฟังอย่างลึกซึ้ง

การฟังอย่างลึกซึ้ง ได้มีผู้ให้นิยามไว้ในความหมายต่าง ๆ ดังนี้

การฟังอย่างลึกซึ้งเป็นการรับรู้ผ่านการฟังทั้งเสียงในตัวเองและเสียงคู่สนทนา รวมถึงการฟังเสียงรอบข้างที่เกิดขึ้นในปัจจุบันขณะ

เช่น เสียงนาฬิกาเดิน เสียงคนเดิน ในชั้นต้นอาจเป็นการเบี่ยงเบนการเพ่งหรือซูม (zoom) จากเสียงคู่สนทนาและความคิดหรืออารมณ์ที่ผูกพันกันอยู่ไปสู่เสียงรอบข้าง เมื่อฝึก

ไปสักระยะก็จะสามารถรู้ได้ว่าเรามักซูมที่เสียงใดเสียงหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งตลอดเวลาเกือบเป็นอัตโนมัติ มีความคิดผูกพันเชื่อมโยงกับเสียงหรือสิ่งนั้นทีละเรื่องและคิด

ต่อเนื่องจนเป็นเรื่องราว ซึ่งแท้จริงแล้วในปัจจุบันขณะมีปรากฏการณ์ต่าง ๆ รวมถึงเสียงต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายที่เราไม่ได้ซูมไว้ การฝึกฝนยังท าให้เข้าใจกลไกการแพน (pan)

ออก ซึ่งการเข้าใจกลไกการซูมและแพนจะสามารถช่วยให้เรารู้เท่าทันความคิด รู้ว่าเราก าลังผูกพันกับเสียงใดเสียงหนึ่ง รู้ได้อย่างเท่าทันมากขึ้น ใจว่างสบายมากขึ้น อยู่กับ

ภาวะการมีเสียงในหัวน้อยลง จึงพักการตัดสินตนเอง พักการตัดสินผู้อื่นตามความคิดความเชื่อเดิม เมื่ออยู่กับภาวะการมีเสียงในหัวน้อยลงหรือไม่มีเสียงแล้ว ก็จะช่วยให้การ

ฟังเป็นการฟังเพื่อสัมผัสถึงความรู้สึกของคู่สนทนาและตนเองผ่านการรับรู้ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ รับรู้น ้าเสียงสูงต ่า (tone) อารมณ์ ความรู้สึกของคู่สนทนาได้ชัดเจน แม้เป็น

เพียงเสี้ยววินาทีของการสื่อสาร เป็นการฟังในขณะที่เราอยู่กับปัจจุบันและอยู่กับสิ่งที่ก าลังเกิดขึ้นขณะนั้น ๆ โดยปราศจากการควบคุม การตัดสินถูกผิด ปราศจากการ

ตอบสนองแบบทันทีทันใด เนื่องจากเรารู้เท่าทันความคิดแล้ว จึงไม่มีการพูดแทรกที่พูดไปตามความคิดที่ยังไม่รู้เท่าทันความคิดตนเอง โดยความคิดที่เรารู้ไม่เท่าทันนี้ผลักดัน

ให้เราพูดออกไป จึงเกิดการฟังอย่างแท้จริง การฟังเพื่อน าไปสู่ความเข้าใจถึงปัจจัยต่าง ๆ ทางสังคมและจิตใจ

การฟังที่ลึกซึ้งนี้จะช่วยให้เราสามารถฟังได้อย่างเข้าอกเข้าใจ แม้ไม่คุ้นเคยในเรื่องราวที่รับฟัง แต่รับรู้ ถึงความรู้ สึกของผู้ พูดได้(14,15)

Page51

ติช นัท ฮันห์ได้อธิบายการฟังอย่างลึกซึ้งว่าเป็นการฟังที่ช่วยปลดเปลื้องความทุกข์จากใจของผู้อื่นหรือจะเรียกว่าการฟังด้วยความเมตตากรุณา (compassion) ฟังเพื่อ

วัตถุประสงค์เดียวก็คือช่วยให้พวกเขาเหล่านั้นได้ปลดปล่อยทุกสิ่งจากหัวใจ ถึงแม้ผู้พูดจะพูดหรือคิดในมุมมองที่เต็มไปด้วยความเห็นต่าง เธอก็

ยังสามารถรับฟังต่อไปด้วยจิตแห่งเมตตาได้และหากต้องการที่จะช่วยแก้ไขมุมมองความคิดของพวกเขาให้เธอรอในโอกาสต่อไป เพราะความกลัว

ความโกรธ ความสิ้นหวังบังเกิดจากพื้นฐานมุมมอง เราทุกคนต่างมีมุมมองที่ต่างกันไป การค านึงถึงแต่ตนเองโดยไม่สนใจความรู้สึกของคู่สนทนา

อาจสะสมเป็นรากฐานของความขัดแย้งโต้เถียง สงคราม ความรุนแรง (16) และการฟังอย่างลึกซึ้งตามการอธิบายนี้ ท าให้เข้าใจว่า

การฟังอย่างลึกซึ้งส่งผลให้ผู้พูดได้ปลดปล่อยความทุกข์ในขณะที่ผู้ฟังเกิดความเมตตากรุณาภายใน

จะเห็นได้ว่าตามการให้ความหมายจากหลากหลายแหล่ง (12-16) การฟังอย่างลึกซึ้งจึงเป็นการฟังในระดับ ฉันในปัจจุบันขณะ (ฟังก่อก าเนิด) ตามแนวคิดของ Otto

Scharmer, 2016 (9)

องค์ประกอบของการฟังอย่างลึกซึ้ง

Robbins, 2020 (17) กล่าวว่าการจะเกิดการฟังอย่างลึกซึ้งนั้นต้องมีองค์ประกอบ 4 ประการ คือ

1. การสบตา (eye contact) การมองตากันระหว่างผู้พูดและผู้ฟัง แสดงให้เห็นว่าผู้ฟังให้ความสนใจและเข้าถึงในสิ่งที่ผู้พูดก าลังพูด

2. การอยู่กับปัจจุบันขณะ (presence) โดยเฉลี่ยคนเราจะพูดด้วยความเร็วเฉลี่ย 135-160 ค าต่อนาทีแต่สมองของเราท างานด้วยความเร็วเฉลี่ย 400-600 ค า

ต่อนาที แสดงว่าสมองท างานเร็วกว่าสิ่งที่คู่สนทนาก าลังพูด และมักคิดเลยไปไกลถึงเรื่องอื่นนอกขอบเขตของเรื่องที่ได้รับฟัง ดังนั้นจ าเป็นที่เราต้องคอย

สังเกตเท่าทันความคิดของตนเองและกลับมาสนใจอยู่กับเรื่องที่อยู่ตรงหน้า

3. ภาษากายย้อนกลับ (non-verbal feedback) มีการแสดงออกที่ไม่ใช่ค าพูดต่อสิ่งที่ฟัง เช่น การพยัก หน้า ยิ้ม หรือการแสดงออกด้วยท่าทางอื่น ๆ นั้นแสดง ให้เห็นถึงความ

สนใจ และเข้าใจต่อสิ่งที่ผู้พูดก าลังพูด ออกมา และมีส่วนร่วมในเรื่องนั้น ๆ

4. การเชื่อมต่อ (connection) ในขณะที่ก าลังสนทนา ท่วงท่าของร่างกายจะแสดงให้เห็นถึงการที่ผู้ฟังเปิดรับการฟัง เปิดให้มีพื้นที่ว่างเพื่อให้ผู้พูดได้รู้สึก

ได้รับการต้อนรับและปลอดภัยในขณะที่ก าลังพูด โดยการโน้มตัวเข้าหาผู้พูดเล็กน้อย เปิดอก หลังตรง วางมือบนตักหรือบนโต๊ะด้านหน้า

หลักการในการฝึกปฏิบัติการฟังอย่างลึกซึ้ง

การฟังเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝน หากเรามีทักษะการฟังที่ดีก็จะท าให้เข้าใจผู้พูดได้ดีและเราจะรู้ว่าควรพูดกับเขาอย่างไร การสื่อสารที่ดีจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีคนพูดและมีคนรับ

ฟัง หากเราสนใจฝึกฝนแต่ทักษะการพูด ละเลยการฝึกทักษะการฟัง ก็ท าให้การสื่อสารขาดความสมดุล

เราสามารถฝึกฝนทักษะนี้ได้โดยมีเทคนิค 4 ขั้นตอน (18,19) ดังนี้

1. สังเกตปฏิกิริยาทางกาย ขณะที่ฟังให้ผู้ฟังสังเกตความรู้สึกและสังเกตปฏิกิริยาของร่างกายไปด้วยว่าตอนนี้เรารู้สึกอย่างไรอยู่ ร่างกายของเรามีปฏิกิริยาตอบสนองกับค าพูด

นั้น ๆ อย่างไร เช่น เมื่อได้ยินค าพูดไม่ถูกหู ก็หายใจติดขัด รู้สึกร้อนผ่าว ๆ ที่หน้า เพียงรับรู้ว่าอาการนั้นเกิดขึ้นที่ส่วนใดของร่างกายและเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ไม่ต้อง

พยายามไปกดข่ม รับรู้แล้วกลับมาฟังต่อ

ค าแนะน า: ฟังด้วยความผ่อนคลาย โดย ไม่ขัด ไม่ถาม ไม่แทรก จนกว่าผู้พูดจะพูดจบ เพื่อให้เราได้รับรู้ข้อความนั้นทั้งหมดอย่างแท้จริง

2. สังเกตอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง เมื่อใดก็ตามเวลาที่มีใครพูดในสิ่งที่เราไม่ชอบใจ ไม่อยากได้ยินหรือรู้สึกโกรธ เราอาจสังเกตร่างกายไม่ทัน ขณะนั้นสังเกตว่าจะไม่ได้ยิน

เสียงพูดแล้ว จะมีแต่เสียงโวยวายในความคิดของเราเองและรู้สึกอยากโต้ตอบหรือขัดแย้งขึ้นมาทันที

ค าแนะน า: ติดตามความอึดอัดขัดเคืองใจที่เกิดขึ้นนั้นไป รู้ถึงความรู้สึกนั้น แล้วกลับมาฟังคนตรงหน้าต่อ

Page52

3. ห้อยแขวนค าตัดสิน เมื่อได้ยินเสียงจะเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบเกือบอัตโนมัติภายในผู้ฟัง ซึ่งโดยมากมาจากความทรงจ าเก่าซึ่งบรรจุแบบแผนการตอบสนองเดิม ๆ ไว้ เช่น พอ

ได้ฟังเรื่องที่กระทบกระเทือนจิตใจ ก็จะรู้สึกไม่พอใจ น้อยใจหรือเสียใจในทันที ผู้ฟังจึงไม่มีโอกาสที่จะมีการตอบสนองต่อการฟังในรูปแบบใหม่ ๆ เลย สังเกตว่ามีการตัดสิน

ผู้คนและสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอย่างเป็นอัตโนมัติอยู่เสมอ เมื่อเกิดความไม่พอใจ หากสามารถสังเกตปฏิกิริยาทางกายหรือสัมผัสอารมณ์ที่ขึ้นมาได้ ท าให้เรารู้ว่าเราได้ตัดสินไป

แล้ว เราไม่อาจห้ามการตัดสินได้แต่เราสามารถห้อยแขวนมันไว้ชั่วคราวแล้วฟังคนพูด พูดให้จบก่อนแล้วจึงค่อยพิจารณาว่าจะสื่อสารกลับไปอย่างไร การคิดและตอบโต้แบบ

อัตโนมัติอาจกลายเป็นความวู่วามที่ท าให้เราเสียใจภายหลังได้

ค าแนะน า: ฝึกห้อยแขวนค าตัดสิน ฝึกเพื่อที่จะรู้ทันความรู้สึกหรือเพียงช้าลงในการโต้ตอบ ท าให้เราหยุดยั้งสถานการณ์แย่ ๆ ที่อาจเกิดขึ้นเพราะความวู่วาม ปรับเปลี่ยนการ

โต้ตอบ อย่างอัตโนมัติให้เป็นการตอบสนองที่มีคุณภาพ

4. ให้ความเคารพและเท่าเทียม ตราบใดที่เรามองว่าอีกฝ่ายเป็นคนผิดแล้ว เราเป็นคนถูก ด้วยทัศนคตินี้เราไม่อาจเข้าใจเขาหรือท าให้เขาเข้าใจเราได้เลย หากเราต้องการให้

บทสนทนานี้ด าเนินไปด้วยดีจึงควรวางเรื่องถูกผิดไปก่อน แล้วรับฟังด้วยความเท่าเทียม และเคารพในมุมมองที่แตกต่าง เมื่อฟังจบมักเกิดความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ เข้าใจผู้พูด

ในมุมมองของเขาหรือเห็นที่มาของความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน กระทั่งเห็นสมมติฐานเบื้องลึก ความเชื่อของตัวเราเองและความเชื่อของผู้พูดที่แตกต่างกัน ด้วย

ความเข้าใจถึงรากแบบนี้เท่านั้น จึงจะเกิดพื้นที่ในการพูดคุย ท าความเข้าใจต่อกันได้ง่ายกว่า เมื่อเกิดการตัดสินให้ฟังเสียงในหัวที่เราวิพากษ์วิจารณ์เขาหรือ

สิ่งที่เขาพูดแล้วถามตัวเองอย่างใคร่ครวญว่า สิ่งที่เกิดขึ้นจริง ๆ คืออะไร สิ่งที่เราตีความไปเองคืออะไร ระลึกไว้ว่าสิ่งที่เป็นความจริงกับสิ่งที่เราตีความมันแยก

ออกจากกันได้เสมอ

ค าแนะน า: ให้ใช้การใคร่ครวญและตั้งค าถามกับตัวเองเพื่อเป็นเครื่องมือในการท าให้เรารู้จักตนเองมากขึ้น มากกว่าจะไปสนใจว่าเราต้องตอบโต้อย่างไรเพื่อรักษาจุดยืนของ

เราหรือแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่เราเชื่อว่าถูก

แปดกฎทองการฟั งอย่างมีสติ (8-Golden law of mindful listening) (20)

ดังได้กล่าวแล้ว การฟังอย่างลึกซึ้งมีความหมายเดียวกับการฟังอย่างมีสติทั้งความหมาย ลักษณะการ ปฏิบัติและเป้าหมายของการฟัง โดยกฎทองที่ช่วยในการฝึกการฟังคือ

1. ระหว่างการฟัง ควรมีปฏิสัมพันธ์กันอย่าง ‘มนุษย์’ ไม่ใช่วัตถุสิ่งของ

2. ความเท่าเทียม ฟังโดยหลีกเลี่ยงการครอบง า (imperialism) ทั้งสองฝ่ายคือผู้ฟังและผู้พูดต่างให้และรับความเห็นต่าง ไม่มีใครเหนือกว่าหรือด้อยกว่า

3. ฟังโดยมีจุดยืนยันชัดเจน บอกจุดยืน ต าแหน่งของตนเองให้ชัดเจน ว่าเป็นการฟังเพื่อเรียนรู้และท าความเข้าใจจุดยืนของผู้อื่น

4. ใจกว้าง กล้าวิจารณ์ความคิด ความเชื่อของตนเองหรือกลุ่มตนเอง (self-critical)

5. ซื่อสัตย์และจริงใจ หลีกเลี่ยงการยอมรับแบบขอไปที (lazy tolerance)

6. ฟังแบบไว้วางใจผู้อื่น ผู้อื่นก็มีเหตุผลที่ดีและสามารถหาทางออกที่ดีได้เช่นกัน

7. ไม่ปะปนหลักการกับการปฏิบัติ เมื่อผู้อื่นพูดเรื่องหลักการ ก็ตอบเรื่องหลักการ เมื่อผู้อื่นพูดเรื่องการปฏิบัติ ก็ตอบเรื่องการปฏิบัติ

8. ฟังโดยไม่มีวาระซ่อน มีเจตนาแอบแฝงเพื่อจับผิดคู่สนทนาของเรา

ปัญหาและอุปสรรคของการฟังอย่างลึกซึ้ง (18,19)

เมื่อทราบถึงความหมาย หลักการฝึกและประโยชน์ของการฟังอย่างลึกซึ้งแล้ว เมื่อเริ่มฝึกจริง การจัดการอุปสรรคหรือหลุมพรางของการฟังจะช่วยส่งเสริมการฝึกฝนการฟัง

อย่างลึกซึ้งให้เกิดขึ้นภายในตัวผู้ฟัง อุปสรรคเหล่านี้เป็นปฏิกิริยาอัตโนมัติเกิดขึ้นขณะฟัง สามารถระบุได้ ดังนี้

Page53

1. คิดดักหน้าขณะฟัง คิดไปดักหน้าหมายถึงคิดวิเคราะห์ไปล่วงหน้าแล้วว่าคนพูดจะพูดอะไรต่อไป ถ้าเป็นเราในสถานการณ์นี้จะท าอย่างไรดี เตรียมค าแนะน าไว้แล้ว ขณะที่

เราคิดนั้นเราได้พลาดการฟังและสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อสารอย่างแท้จริงไปหลายครั้ง นอดจากคิดดักหน้าแล้วยังอาจตั้งค าถามไว้ด้วย ตั้งข้อสังเกตหรือพูดแสดงความคิดเห็น

ส่วนตัว จนกระทั่งผู้พูดไม่ได้พูดสิ่งที่ต้องการ แต่เปลี่ยนมาเป็นการตอบค าถามแทน

2. จมกับอารมณ์ผู้ฟังจมไปกับเรื่องราวอารมณ์ของผู้พูด โดยเฉพาะเมื่อฟังความทุกข์และหากผู้ฟังมีประสบการณ์ใกล้เคียงกัน ท าให้ผู้ฟังมัวนึกย้อนถึงอดีตของตัวเองและยิ่ง

จมดิ่งไปกับเรื่องของตัวเองจนไม่ได้ฟังอย่างแท้จริงอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในผู้ฟังจะบดบังการฟังและครอบครองพื้นที่ในใจจนท าให้เราละเลยผู้พูดไป อยู่แต่กับอารมณ์

ตัวเอง

3. ใจลอยหรือใจไม่ได้อยู่กับผู้พูด หากแม้จากการดูจากภายนอกคล้ายผู้ฟังตั้งใจฟังอยู่ กริยาอาการคล้ายตั้งใจฟัง แต่ตาลอยและไม่ได้ยินสิ่งที่ผู้พูดก าลังเล่า ท า

ให้ไม่สามารถจับใจความ เนื้อหา ความรู้สึก อารมณ์ของผู้พูดได้ ขณะนั้นผู้ฟัง อาจมีเรื่องราวที่ก าลังคิดอยู่หรือไม่พร้อมจะรับฟังหรืออาจมีความทุกข์ที่ไม่

สามารถรับฟังผู้อื่นได้

4. ฟัง แบบมีธงในใจ การฟังแบบมีธงในใจ จะเกิดขึ้นเมื่อเราคิดว่า ตัวเองรู้ดีกว่าผู้พูด หรือรู้อยู่แล้วว่าผู้พูดจะพูดอะไรต่อ ท าให้เพียงเริ่มบทสนทนา

ได้ไม่นาน ก็จะปิดการฟังไป เพราะได้ตัดสินและมีค าตอบในใจอยู่แล้ว ไม่ว่าอีกฝ่าย จะพูดต่อไปอย่างไร ก็จะไม่ได้เข้าไปในใจเลย รอเพียง แต่ว่า

เมื่อไหร่จะพูดจบ ตัวเองจะได้โอกาสพูดบ้าง หลาย ๆ คนอาจรู้สึกว่าเสียเวลาไม่อยากรอให้อีกฝ่ายพูดจบ เพราะคิดว่าไม่จ าเป็น ในเมื่อเรามีค าตอบที่

ชัดเจนในใจ อยู่แล้ว จึงมักขัดหรือ พูดโดยที่ค านึงถึงความรู้สึกของอีก ฝ่ายหนึ่งไม่มากพอ การรีบด่วนตัดสินนั้นมาจากข้อมูลเก่าที่เรารับรู้ในอดีต

เท่านั้น เราจึงอาจพลาดข้อมูลส าคัญ บางอย่างไปในขณะนี้ ท าให้ตัดสินใจผิดพลาด

แนวทางแนะน าเพื่อเลี่ยงอุปสรรคของการฟังอย่างลึกซึ้ง

โดยทั่วไป อุปสรรคของการฟังอย่างลึกซึ้ง คือการฟังไปตามความเคยชิน หรือการติดกับหลงเชื่อต่อหลุมพรางของการฟังที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ การสังเกตปฏิกิริยาของตัวเอง

ขณะฟังผู้อื่นอย่างสม ่าเสมอ รวมทั้งการมีสติระลึกรู้ตัวอยู่ตลอดขณะฟังเป็นทักษะส าคัญและต้องใช้การฝึกฝนและการน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันเป็นประจ าอย่างสม ่าเสมอ การ

ฝึกการฟังอย่างเป็นประจ าสม ่าเสมอจะท าให้เกิดผลทวีคูณย้อนกลับมาให้การฟังอย่างลึกซึ้งท าได้ง่ายขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีการฝึกเป็นประจ า ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้งจะท าได้ง่าย

ขึ้นมาก ก็จะท าให้เรื่องที่ยากกลับกลายเป็นสิ่งที่ง่ายขึ้นได้และเมื่อเกิดผลลัพธ์จากการฟังอย่างลึกซึ้งที่ช่วยให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี เกิดความเข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้น จะ

ช่วยให้ทักษะการฟังอย่างลึกซึ้งเข้ามาปรากฏอยู่ในวิถีชีวิตมากขึ้น บ่อยขึ้นอีกเรื่อย ๆ จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาตัวเองของผู้ฟัง

รูปแบบอื่น ๆ ของการฟัง

การฟัง เป็นกระบวนการท างานภายในตัวผู้ฟัง คือ การท างานกับความคิดคล้อยตาม หรือ อคติที่เกิดขึ้นภายใน ระหว่างการฟังซึ่งเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเป็น

กระบวนการเกือบอัตโนมัติ การฟังมีหลายรูปแบบส่งผลต่อ ระดับการฟังที่ต่างไป [21] การฟังที่ต่างกันย่อมส่งผลต่อตัวผู้ฟัง คล้ายคลึงกับที่ได้อธิบายแล้ว ในเรื่องของการ

อ่านแบบทั่วไป และการฝึกให้เกิดการอ่านอย่างเข้าใจและการอ่านอย่างลึกซึ้ง การฟังมีมากมายหลายระดับ ได้มีผู้นิยาม อธิบายและเทียบเคียงการฟังหลายรูปแบบ คือ

จัดเป็นการฟังในระดับต่าง ๆ ดังนี้

การฟังแบบคล่อง (Active listening) คือ การฟังอย่างตั้งใจ พยายามเข้าใจในเนื้อหาใจความของสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อ การฟังแบบนี้ตรงกับระดับการฟังแบบฉัน

ในมัน ตามนิยามของ Otto Scharmer [22,23]

การฟังร่วมรู้สึก (Empathic listening) ไม่เป็นเพียงแค่การรับฟังเฉพาะแต่ในสิ่งที่ผู้พูดพูดออกมา แต่เปิดใจ ยอมรับ เข้าอกเข้าใจในอารมณ์และความรู้สึกของผู้

พูด ซาบซึ้งใจในความเป็นมนุษย์อย่างเสมอภาคกัน มองเห็นโลกในแบบที่เป็นจริง การฟังแบบนี้ตรงกับระดับการฟังแบบฉันในตัวเธอ [24]

การฟังอย่างมีสติ (Mindfulness listening) เป็นการฟังในขณะที่มีสติ รู้สึกตัวอยู่ในปัจจุบันขณะ เป็นการฟังที่มีความเห็นอกเห็นใจ เมตตา สนับสนุนให้ก าลังใจ

และมีความเชื่อใจ ความเชื่อใจที่ไม่ได้หมายถึงการเห็นด้วยแต่เชื่อในสิ่งที่ผู้พูดพูดออกมา ไม่ว่าจะดีหรือไม่ดี แต่ผู้พูดได้พูดออกมาตามจริงจากสิ่งที่ได้ประสบมา การฟังแบบ

นี้ตรงกับระดับการฟังแบบฉันในปัจจุบันขณะ [1,12]

Page54

ประโยชน์ต่อทันตบุคลากรและบุคลากรทางด้ าน สาธารณสุขและผู้ ป่ วย

การใช้การฟังอย่างลึกซึ้งเข้ามาใช้ในขณะรักษาผู้ป่วย จะช่วยให้ทันตบุคลากร และบุคลากรทางการแพทย์ เกิดความเข้าใจในมุมมองของผู้ป่วยมากขึ้น ผู้ป่วยเมื่อเกิด

ความรู้สึกเชื่อมต่อกับบุคลากรทางการแพทย์ ก็จะกล้าแสดงความกังวลใจหรือความไม่สบายใจที่มีออกมาอย่างตรงไปตรงมาไม่ปิดบังหรือบิดเบือน ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยมีสภาวะ

ทางใจที่ดีขึ้น คลายความกังวลและช่วยให้ทันตแพทย์ช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วยที่มีให้ลดน้อยลงได้อีกทาง นอกจากผลทางด้านความรู้สึกแล้ว การได้ข้อมูลที่ครบถ้วนจาก

การตั้งใจฟังส่งผลให้เกิดการรักษาได้ตรงจุด ช่วยลดการกลับมานัดหมายซ ้าของผู้ป่วย ลดการจ่ายยาเกินความจ าเป็น ท าให้ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาให้กับผู้ป่วย เกิดการ

รักษาที่มีประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาการท างานของบุคลากร [23,25,26] การสื่อสารที่ประสบความส าเร็จยังส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจในการรักษา ช่วยลดปัญหาการ

เกิดการร้องเรียนในการปฏิบัติงานที่ผิดพลาดของบุคลากรทางการแพทย์ (27,28) และทันตแพทย์การฝึกฝนทักษะในการรับฟังอย่างลึกซึ้ง หากบุคคลากรทางการแพทย์และ

ทันตแพทย์ท าเป็นประจ า จะช่วยลดปัญหาการสื่อสารและส่งเสริมการบริบาลโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ทั้งนี้เนื่องจากการฟังอย่างลึกซึ้งเป็นการเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะ

ทางด้านปริชานและพฤติกรรม (cognitive and behavioural attributes) ซึ่งก็คือการพัฒนาการกระท าหรือกระบวนการทางสมองผ่านทาง ความคิด ประสบการณ์ และประสาท

สัมผัส (คุณลักษณะทางด้านปริชาน) และพัฒนาคุณลักษณะ การกระท า หรือกิริยาอาการที่แสดงออกทางร่างกาย ความคิดหรือความรู้สึกเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า (คุณลักษณะ

ทางด้านพฤติกรรม) คุณลักษณะเหล่านี้น าไปสู่ความสามารถที่ไม่เป็นเพียงการรู้ข้อมูล แต่เข้าใจ รับรู้และรู้สึกได้จริงถึงความรู้สึกเจ็บป่วย ไม่สบายของผู้ป่วย (I feel how you

feel, not I know how you feel.) ความรู้สึกของผู้ป่วยนี้อาจเป็นผลมาจากโรคทางกาย สภาวะทางจิตใจ อารมณ์ สังคม นอกจากจะสามารถรับรู้ และรู้สึกได้จริง ถึงความรู้สึก

ของผู้ป่วยแล้วยังสามารถแสดงออกให้ ผู้ป่วยรับรู้ได้ว่าการรับรู้นี้ได้เกิดขึ้นแล้วในตัวผู้บริบาลซึ่งก็มักจะเป็นการแสดงออกด้วยภาษาพูดและ

ภาษากาย (verbal and non-verbal communications) ทักษะเหล่านี้รวมเรียกว่าการบริบาลร่วมรู้สึก (empathic care) การบริบาลร่วมรู้สึกเมื่อ

น ามาอธิบายในเชิงทันตกรรมพร้อมมูลจึงกล่าวได้ว่าเป็นการบริบาลที่เกิดจากใจที่ปรารถนาช่วยให้ผู้ป่วยพ้นจากความทุกข์ทางกายและทางใจ

ที่เผชิญอยู่ เป็นการขยายขอบเขตของการดูแลที่ “ตัวโรค” หรืออวัยวะที่มีปัญหา ไปสู่การดูแล “คนที่มีโรค” การฟังอย่างลึกซึ้งช่วยให้แพทย์และ

ทันตแพทย์ขยายการรับรู้หรือจุดโฟกัสที่ “โรค” มาเห็นคน ตลอดจน ความคิด ความเชื่อที่เป็นที่มาของการเกิดโรค บริบทชีวิต ที่มีผลต่อการ

ตัดสินใจในการรักษา รวมทั้งผลกระทบจากการรักษาที่มีต่อวิถีชีวิตด้วย การได้รับข้อมูลของคนไข้อย่างรอบด้าน ช่วยให้การดูแลผู้ป่วย

ครอบคลุม ทั้งการดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสุขภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของแต่ละบุคคล คนไข้จึงสามารถให้ความร่วมมือในการรักษา การดูแล

ป้องกันได้ดีขึ้น ส่งผลให้ผลลัพธ์การรักษาเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น (29-31) สมาคมทันตแพทยศาสตรศึกษาแห่งอเมริกา (American Dental Education Association) ถึงกับ

ก าหนดว่าต้องมีการฝึกการบริบาลร่วมรู้สึกในการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตรเพื่อฝึกนักศึกษาทันตแพทย์ ทั้งนี้เพื่อให้เป็นพื้นฐานต่อทักษะความสามารถทางคลินิก

(clinical competency) และสามารถดูแลโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (patient-center care) โดยมีทักษะการรับฟังที่พร้อมน าไปเสริมสร้างการดูแลผู้ป่วย [32,33] ในการสอบ

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมของประเทศสหรัฐอเมริกา (United State Medical Licensing Examination, USMLE) ได้จัดให้มีการสอบ

ทักษะการสื่อสารทางภาษาพูดและภาษากาย ที่เกี่ยวข้องกับการฟังและการร่วมรู้สึกเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการประเมินพฤติกรรมของผู้ป่วย

(34) ในการประเมินการบริบาลร่วมรู้สึก (empathic care) พบว่ามีงานวิจัยทางการแพทย์รายงานการวัดระดับการร่วมรู้สึก (empathy level) นี้

โดยใช้มาตรวัดการร่วมรู้สึกทางการแพทย์ของเจฟเฟอร์สัน (Jefferson scale of physician empathy) ในทางทันตแพทยศาสตร์มีการศึกษาโดย

ใช้มาตรวัดดังกล่าว พบว่าระดับการร่วมรู้สึกของนักศึกษาทันตแพทย์ลดลงสัมพันธ์กับระยะเวลาและจ านวนผู้ป่วยที่เพิ่มขึ้น เมื่อพบผู้ป่วยมาก

ขึ้น การร่วมรู้สึก ความเห็นอกเห็นใจของนักศึกษาทันตแพทย์จะลดลงตามล าดับ (35) ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากหลาย

สาเหตุ เช่น ความเครียดของนักศึกษาจากการต้องการผ่านปริมาณงานขั้นต ่า (requirement) โดยมีความสามารถในการยอมรับความผิดพลาด

และความล้มเหลวน้อย ซึ่งอาจเป็นเหตุให้นักศึกษาต้องเพ่งไปสนใจในกระบวนการมากกว่าความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วยหรือมากกว่า

ความต้องการในการฝึกทักษะหรือฝีมือการท างาน ส่งผลให้อาจใส่ใจในตัวผู้ป่วยและใช้เวลากับ การสื่อสารกับผู้ป่วยลดน้อยลง Hellström ได้

บรรยายถึงสุนทรียสนทนาทางการแพทย์ (medical dialogue) มาเป็นระยะเวลานานมาแล้ว (36) ส่วนในทางการแพทย์ของประเทศไทย พบมี

การน าสุนทรียสนทนามาใช้การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่ออบรมแพทย์ประจ าบ้าน ณ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (37) ในทางทันตก

รรม สุนทรียสนทนา ได้รับการบันทึกว่ามีการน ามาใช้พัฒนารูปแบบงานทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา อ าเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 (38) นอกจากนี้

ยังพบ การศึกษาถึงการน าสุนทรียสนทนาไปใช้ในกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาทันตแพทย์ในการสัมมนาทันตกรรมจัดฟัน ภาควิชาทันตกรรมจัดฟัน คณะทันต

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวัดผลที่ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ 10 องค์ประกอบ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบที่ประยุกต์ใช้

กระบวนการสุนทรียสนทนา มีระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจมากกว่ากลุ่มที่ใช้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบทีมในทุกองค์ประกอบ โดยพบความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญ

ทางสถิติกับวิธีการสอนแบบทีม (p < 0.05) (39) ยิ่งไปกว่านั้น ในขณะที่เขียนต ารานี้ได้พบหลักฐานการเริ่มบรรจุสุนทรียสนทนาเป็นหัวข้อในการเรียนการสอนทั้งในระดับ

ปริญญาตรีและปริญญาโทในคณะทันตแพทยศาสตร์ของประเทศไทยถึงสองแห่งแล้ว (40,41)

Page55

การส่งเสริมสุขภาพกายและใจ การพัฒนาสังคม

ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) (42) จัดกิจกรรมเพื่อนอาสาสนทนา (volunteer dialogue) เพื่อส่งเสริมทักษะการฟังอย่างลึกซึ้งเพื่อหวังให้เกิดการ

“ฟังสร้างสุข” คือการน ากระบวนการฟังไปใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาสุขภาวะทางปัญญาเพื่อการค้นพบความสุขที่แท้จริงในตัวเอง ส านักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม

แห่งชาติ (สกส.) (43) ชัยฤทธิ์ อิ่มเจริญ จัดตั้งโครงการฟาร์มสุขไอศกรีมร่วมกับธนาคารจิตอาสา ซึ่งเริ่มจากโครงการผลิตไอศกรีมเพื่อบริจาคให้แก่เด็กด้อยโอกาสและพัฒนา

เป็น “การสร้างโอกาส” ให้เด็กที่ถูกล่วงละเมิดทางเพศตามสถานสงเคราะห์ได้กลายเป็นผู้ผลิตไอศกรีมและมีรายได้เลี้ยงตนเองโดยใช้การฟังอย่างลึกซึ้งในการช่วยเหลือเด็กที่

ถูกล่วงละเมิดทางเพศและด้อยโอกาสเหล่านี้ และน าไปสู่การริเริ่มโครงการต่อมาซึ่งกลุ่มเป้าหมายของโครงการขยายไปถึง บิดา มารดา รวมถึงผู้สูงวัย โดยใช้การฟังให้เป็น

เสมือนเครื่องมือชนิดหนึ่ง เพื่อแก้ปัญหาโดยมีหลักคิดว่าการแก้ปัญหาสังคมที่ส าคัญประการหนึ่งคือการพัฒนาผู้ใหญ่บางส่วนให้กลับมาเป็นที่พึ่งของสังคมได้ ถ้าหากผู้ใหญ่

ส่วนใหญ่ฟัง ได้ยิน รับรู้และตระหนักถึงปัญหาที่เด็กพูดให้ฟังก็จะเป็นการเปิดการรับรู้และน าไปสู่แนวทางการลดปัญหาของเด็กในสังคม

ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน

การฟังอย่างลึกซึ้งของผู้สอน จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกปลอดภัยจากการถูกตัดสินของผู้สอน กล้าที่จะบอกสิ่งที่ไม่รู้หรือไม่มั่นใจในการดูแลผู้ป่วยอย่างตรงไปตรงมา

การที่ผู้เรียนกล้าบอกความจริงนั้น เกิดผลดีคือผู้สอนได้สอนในสิ่งที่ผู้เรียนยังไม่รู้ให้ได้รู้จากประสบการณ์ตรงหน้าทันที ผู้ป่วยก็จะได้รับการดูแลที่เหมาะสม ปลอดภัยจากหมอ

(ผู้เรียน) ที่ได้อธิบายถ่ายทอดความกังวลใจและความไม่มั่นใจในการรักษาออกมาก่อนจนสบายใจก่อน รวมถึงผู้เรียนรับฟังได้เต็มที่และได้ยินค าแนะน า น าเข้าไปในใจและ

พร้อมที่จะไปดูแลผู้ป่วยอย่างมั่นใจ นอกจากนี้การฟังอย่างลึกซึ้งยังช่วยให้ผู้สอนเข้าใจผู้เรียนแต่ละคนตามความเป็นจริงถึงประสบการณ์การเรียนทั้งบรรยายและปฏิบัติที่

ผู้เรียนเคยผ่านมา ไม่เช่นนั้นผู้สอนอาจใช้ประสบการณ์ในอดีตของตนเองมาตัดสินผู้เรียน เช่น หากผู้สอนในวัยนี้เคยสามารถท าทักษะบางอย่างได้ดี แต่เมื่อเจอเด็กที่ท าทักษะ

เดียวกันไม่ได้ มีแนวโน้มที่ผู้สอนจะเผลอตัดสินผู้เรียนว่าขาดความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย รวมไปถึงการมีความไม่พร้อมในใจของผู้เรียน ทั้งจากตัวผู้เรียนเอง และ

จากปัจจัยทาง เศรษฐกิจ ครอบครัวหรือสังคมที่รุมเร้า แต่ถ้าผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เล่าให้ฟัง ผู้สอนอาจได้รับค าตอบว่า

“หนู/ผมไม่เคยท าสิ่งนี้มาก่อนเลย เคยเห็นแต่ในแล็บ”

“หนู/ผมท างานนี้เป็นครั้งแรก รู้สึกไม่มั่นใจเลย และไม่อยากให้คนไข้ต้องได้รับงานที่ไม่ดี ได้อ่านหนังสือเตรียมตัวมาอย่างพอประมาณ แต่ก็ยังไม่มั่นใจในขั้นตอน

การท างานจริงในคลินิก ว่าจะเหมือนหรือต่างจากบทเรียนไหม”

“หนู/ผมท างานนี้เป็นครั้งแรก รู้สึกไม่มั่นใจเลย และเมื่อคืนไม่ได้นอนเลยค่ะ (ครับ) เพราะมีสอบหลายวิชาติดกัน”

การฟังอย่างลึกซึ้งของผู้สอนโน้มน าให้ผู้สอนเน้นการสอนด้วยการ “ลงมือท า” และผู้เรียนซึ่งเป็นผู้ได้รับข้อมูลจากการลอกเลียนการท างานของผู้สอน ในขณะเดียวกันก็สัมผัส

ได้ถึงความรู้เท่าทันอารมณ์ของผู้สอน เมื่อผู้สอนรู้เท่าทันอารมณ์และตระหนักได้ว่าหน้าที่ส าคัญที่สุดขณะสอนก็คืออ านวยความสะดวกทั้งหมดเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

อย่างใจเย็น ในบรรยากาศที่ผ่อนคลาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย ลดความป่วยไข้ ผู้ป่วยเกิดความสบายกาย สบายใจ ไม่เพียงแต่สามารถ

ได้ยินค าสอนอย่างเต็มที่ ผู้เรียนก็พร้อมที่จะลอกเลียนสิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดในขณะนั้นที่เกิดขึ้นในตัวผู้สอน ผู้เรียนสามารถดูแลผู้ป่วยได้ตรงตามความต้องการสูงสุดของผู้สอน

คือต้องการฝึกหมอรุ่นน้องให้ดูแลผู้ป่วยให้หายป่วย ผู้สอนจะเกิดความเข้าใจได้ถึงผลที่เกิดขึ้นจากการรับฟังอย่างลึกซึ้งที่แตกต่างไปจากการฟังที่ผ่านมา เป็นแรงสนับสนุน

ให้ผู้สอนอยากพัฒนาทักษะการฟังของตนเองเพื่อรับฟังผู้เรียนด้วยความเข้าใจ ผู้เรียนเมื่อเรียนอย่างเข้าใจถึงความพยายามถ่ายทอดความเป็นหมอให้กับตน ก็จะเป็นแรง

สนับสนุนให้ผู้เรียนเองลดความหวั่นไหว หวาดกลัว อยากพัฒนาทักษะการฟังของตนเองเพื่อรับฟังผู้สอนด้วยความเข้าใจ อยากมาเรียนก็คืออยากมาฟังค าสอนเพิ่มเติมอีก

เรื่อย ๆ ดังค ากล่าวแล้วที่ว่า

“นักเรียนเรียนจากสิ่งที่ครูเป็น มากกว่าสิ่งที่ครูสอน”

Page56

บทสรุป (Conclusion)

จากการแบ่งระดับของการฟัง การฟังอย่างลึกซึ้ง เป็นระดับการฟังที่เกิดขึ้นเมื่อปล่อยวางอคติภายในของ ผู้ฟัง ซึ่งการหมั่นฝึกฝนจะสามารถพัฒนาการฟังให้อยู่ ในระดับการ

ฟัง แบบฉันในตัวเธอและฉันในปัจจุบันขณะ ทั้งนี้ขึ้นกับความช าานาญ ในการฝึกฝนการตระหนักรู้ใน ตนเองของผู้ฟัง (9) การฟังอย่างลึกซึ้งเป็นหนทางหนึ่ง ในหลากหลาย

วิธีของการฝึกการตระหนักรู้ภายในตนเองเพื่อเข้าใจ ตนเองอย่างลึกซึ้ง และเข้าใจผู้อื่น ดังนั้นจึงเป็นความ สนใจและจุดมุ่งหมายเฉพาะคนที่จะเลือกวิธีการนี้ไป ใช้เพื่อพัฒนา

เป้าหมาย ในการพัฒนาตนเองโดยต้อง ใช้ความต่อเนื่อง ในการฝึกฝนปฏิบัติ ร่วมกับได้รับค าแนะน าจากผู้มีประสบการณ์เพราะเป็นการฝึกฝนที่ต้อง เกิดขึ้นผ่านการตระหนัก

รู้ภายในของผู้ฟังเพื่อเท่าทัน อคติภายใน สามารถปล่อยวางเพื่อกลับมารับรู้ผู้พูด การน าไปใช้จึงต้องตระหนักในข้อจ ากัดนี้การฟังอย่างลึกซึ้ง เป็นด่านแรกของการสื่อสาร ซึ่ง

เป็นปัจจัยส าคัญพื้นฐานของการบริบาลทันตกรรม พร้อมมูล ทั้งนี้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ หรือสุนทรีย สนทนา ยังต้องมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ต้องฝึกฝนเพิ่ม เติมอันได้แก่

การให้เกียรติและเคารพตนเองและผู้อื่น การไม่ตัดสิน และการเปิดเผยเสียงภายในใจ องค์ประกอบ เหล่านี้จะท าให้เรามองเห็นเหตุผลที่แตกกระจายเป็น เสี่ยง ๆ เหล่านั้นมา

ต่อกันเป็นภาพใหญ่และเกิดเป็น องค์ความรู้ใหม่ร่วมกันได้ (12)

ในตอนท้ายนี้ จะเห็นได้ว่า มนุษย์พัฒนาการสื่อสารโดยเริ่มจากการฟังก่อน จึงน าไปสู่ทักษะอื่นตามมา นอกจากนี้ ยังจะเห็นได้ว่ามนุษย์ใช้เวลาในแต่ละวันไปกับการฟังมาก

ที่สุด คือประมาณร้อยละห้าสิบ [1] การฝึกการฟังจึงเป็นประโยชน์มาก เพราะมีเวลาในการฝึกมากที่สุด ดังนั้นการฝึกการฟังจึงมีความส าคัญในการก าหนดความความส าเร็จ

ของการสื่อสารอย่างมาก การฟังอย่างลึกซึ้งมีความแตกต่างไปจากการ ได้ยินและการฟังโดยทั่วไป เป็นการฟังที่ผู้ฟังอยู่กับปัจจุบันขณะ ปราศจากความคิด อคติ เป็นการฟัง

ที่เข้าใจ ได้ถึงเนื้อหา อารมณ์ความรู้สึกและเจตนาของผู้พูดได้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งเป็นสิ่งส าคัญในการด ารงชีวิตของมนุษย์ทุกชาติ ศาสนา ก่อให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน

และน าไปใช้ในหลายองค์กรอย่างกว้างขวาง [12] รวมถึง การบริบาลทันตกรรมพร้อมมูลและงานทางด้าน สาธารณสุข แต่สิ่งส าคัญที่จะท าให้การฟังอย่างลึกซึ้ง ประสบ

ความส าเร็จในเชิงการบริบาลทันตกรรมพร้อม มูลนั้น นอกจากจะขึ้นอยู่ที่การให้การสนับสนุนจากผู้วาง นโยบายทันตแพทยศาสตร์ศึกษาแล้ว ผู้เรียนพึงมีความเข้าใจในแนว

ทางการปฏิบัติหลักการในการฝึกการฟัง อย่างลึกซึ้ง ให้สามารถรับมือกับปัญหาและอุปสรรค ที่อาจเกิดขึ้นได้เมื่อลองฝึกปฏิบัติ ซึ่งก็ต้องอาศัยการฝึกฝนและน าไปใช้ใน

ชีวิตประจ าวันอย่างสม ่าเสมอ เพื่อให้การฟังอย่างลึกซึ้งผสานกลมกลืนเป็นส่วนหนึ่ง ในวิถีชีวิตของผู้ฟัง และเกิดผลจากการฟังอย่างลึกซึ้ง ต่อตนเอง และสังคมรอบตัวในที่สุด

Page57

เอกสารอ้ างอิง

1. Mackey WF. Language teaching analysis. Bloomington: Indiana University Press; 1967.

2. Patel BN, Rosenberg L, Willcox G, Baltaxe D, Lyons M, Irvin J, et al. Human–machine partnership with artificial intelligence

for chest radiograph diagnosis. NPJ Digit Med. 2019 Nov 18;2:111. doi: 10.1038/s41746-019-0189-7.

3. Heinrichs B, Eickhoff SB. Your evidence? Machine learning algorithms for medical diagnosis and prediction. Hum Brain

Mapp. 2020;41(6):1435– 44.

4. Casalegno F, Newton T, Daher R, Abdelaziz M, Lodi-Rizzini A, Schürmann F, et al. Caries Detection with Near-Infrared

Transillumination Using Deep Learning. J Dent Res. 2019;98(11):1227-33.

5. Krois J, Ekert T, Meinhold L, Golla T, Kharbot B, Wittemeier A, et al. Deep Learning for the Radiographic Detection of

Periodontal Bone Loss. Scientific Reports. 2019;9(1):8495. doi:10.1038/s41598-019-44839-3.

6. Jagosh J, Donald Boudreau J, Steinert Y, MacDonald ME, Ingram L. The importance of physician listening from the

patients’ perspective: Enhancing diagnosis, healing, and the doctor-patient relationship. Patient Educ Couns. 2011; 85(3):369-74.

7. Photchananukrom Chabap Ratchabandittayasathan [Internet]. 2011 [cited 2020 Jul 28]. Available from: http://www.

royin.go.th/ dictionary/.

8. Changkwanyuen P. The art of listening, reading. 2nd ed. Bangkok: Vichakarn Publishers; 1982, 174 p.

9. Scharmer CO. Theory U: Leading from the future as it emerges. 2nd ed. San Francisco, United States: BerrettKoehlerPublishers;2016. 544 p.

10. Sathirakoses-Nagapradipa Foundation. Solve life wicked problems for inner freedom [Internet]. 2019 [cited 2020 Jul 29].

Available from: https://www.healthymediahub.com/media/detail/ Healing the knot of life - for inner freedom. (in thai) 102 ว.ทันต.มศว ปี

ที่ 14 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2564

Page58

11. Global gurus. The Best Education Speakers, Trainers and Thought Leaders - Global Gurus [Internet]. 2020. [cited 2020

Jul 28]. Available from:https://globalgurus.org/education-gurus-top-30/

12.Bohm D. On dialogue. London: Routledge; 2014.

13. Srisuwan S. Contemplative education for media reporter. In: 6th National Conference of Active Learning “How does Active Learning Solve

Thailand 4.0 problem?; 2018 Mar 26-27; Walailak University, Nakorn-Srithammarat, Thailand. [cited 2020 Jul 28]. Available from: https://alc.

wu.ac.th/backEnd/attach/attArticle/Proceeding 2561-198-204.pdf

14. Bakken Center for Spirituality and Healing. Deep listening [Internet]. University of Minnesota Earl E. Bakken Center for Spirituality & Healing;

2020. [cited 2020 Jul 28]. Available from: https://www.csh.umn.edu/education/focus-areas/whole-systems-healing/leadership/deep-listening.

15. Rogers C. A theory of therapy, personality, and interpersonal relationships: as developed in the client-centered framework. In: Koch S, editor.

Psychology: A study of a science study I, conceptual and systematic volume 3: Formulations of the person and the social context. New York, US.: McGraw-Hill;

1959. p. 184–256.

16. Hanh TN. The miracle of mindfulness : The classic guide to meditation by the world’s most revered master. London, UK.: Ebury Publishing;

2008. 160 p.

17. Robbins A. The power of deep listening [Internet]. FounderKaur; 2020. [cited 2020 Jul 28]. Available from:https://www.tonyrobbins.com/mindmeaning/the-power-of-deep-listening.

18. Paradigm, P. Leaning back and listen: The art of deep listening. Bangkok: Suan Ngern Mee Ma Publishers; 2014.

19. Bhramnuruk J. 4 traps indicating we are not capable of listening [Internet]. Learning Hub Thailand; 2019 [cited 2020 Jul 28]. Available from:

https://learninghubthailand.com/4-trap-oflistening/.

20. Phramahahansa-nitiboonyakorn. 8 golden rules for mindfullness listening [Internet]. GotoKnow; 2010 [cited 2020 Jul 22]. Available from: https://

www.gotoknow.org/posts/325078.

21. Kisfalvi V, Oliver D. Creating and maintaining a safe space in experiential learning. J Manag Educ 2015; 39(6):713–40.

22.Chan KD, Humphreys L, Mey A, Holland C, Wu C, Rogers GD. Beyond communication training: The MaRIS model for developing medical

students’ human capabilities and personal resilience. Med Teach 2020;42(2):187–95.

23. Fassaert T, Van Dulmen S, Schellevis F, Bensing J. Active listening in medical consultations: Development of the active listening observation

scale (ALOS-global). Patient Educ Couns 2007;68(3):258-64.

24. Preece, JJ. Empathic communities:Reaching out across the web: Interaction[serial on the Internet]. 1998 MarApr [cited 2021 Jan 7];5(2):32-43.

Available from http://people.dsv.su.se/~torgny/pdf/Preece.pdf.

Page59

25. Zinn W. The empathic physician. Arch Intern Med. 1993;153(3):306-12.

26. Bensing J, Schreurs K, De Rijk A. The role of the general practitioner’s affective behaviour in medical encounters. Psychology & Health. 1996;

11(6):828-38.

27. Levinson W. Physician-patient communication: A key to malpractice prevention. JAMA. 1994 Nov 23-30;272(20):1619-20.

28. Hickson GB, Clayton EW, Entman SS, Miller CS, Githens PB, Whetten Goldstein K, et al. Obstetricians’ prior malpractice experience and patients’

satisfaction with care. JAMA. 1994; 272(20):1583-7.

29. Hojat M, Gonnella JS, Nasca TJ, Mangione S, Vergare M, Magee M. Physician empathy: Definition, components, measurement, and relationship

to gender and specialty. Am J Psychiatry. 2002;159(9):1563-9. 103 SWU Dent J. Vol.14 No.2 2021

30. Hojat M, Gonnella JS, Mangione S, Nasca TJ, Magee M. Physician empathy in medical education and practice: Experience with the Jefferson

scale of physician empathy. Semin Integr Med. 2003;1(1):25-41.

31. Wongnavee K, Tantipol C, Yuma S, Buranachad N. Essence of comprehensive dentistry scrutinized from dental care experience of advanced

general dentists. M Dent J. 2020; 40(3):289-98.

32. ADEA Competencies for the New General Dentist: (As approved by the 2008 ADEA House of Delegates). J Dent Edu. 2011;75(7):932– 5.

33. ADEA House of Delegates. Competencies for the New General Dentist [Internet]. As approved by the ADEA House of Delegates; 2008 [cited

2020 Jul 28]. Available from: https://www.adea. org/about_adea/governance/Pages/Competenciesfor-the-New-General-Dentist.aspx.

34. The Medical School Objectives Writing Group. Learning objectives for medical student education-guidelines for medical schools: Report I of the

medical school objectives project. Acad Med. 1999;74(1):13–8.

35. Sherman JJ, Cramer A. Measurement of changes in empathy during dental school. J Dent Educ. 2005;69(3):338-45.

36. Hellström O. Dialogue medicine: A health-liberating attitude in general practice. Patient Educ Couns. 1998;35(3):221-31.

37. Iramaneerat C, Imjaijitt W, Pongpakatien J, Kitthaweesin T, Mahagita C. Dialogue workshop helps improve residents’ understanding of others.

Royal Thai Army Med J. 2019;72(3):201-208.

38. Laekawipat S. Model development of dental health promoting school in Denchai district, Phrae province. Th Dent PH J. 2012;17(2):71-81.

39. Chatiketu P, Patanaporn V, Wattanachai T. Dental students’ achievement and satisfaction of two learning methods in an orthodontic case

seminar, Faculty of Dentistry, Chiang Mai University. CM Dent J. 2015;36(2):131–43.

40. Online dental students Field Experiences. Learning Experience in Hospital and Community [Internet]. Faculty of Dentistry Prince of Songkhla

University; 2017. [cited 2020 Dec 27]. Available from: http://ed.dent.psu.ac.th/var/www/service/ Upload/files.

Page60

41. Academic service Faculty of Dentistry Thammasat University. Curriculum of the Master of Science Program in Dentistry [Internet]. Faculty of

Dentistry Thammasat University; 2018 [cited 2020 Dec 27]. Available from: http://www.dentistry. tu.ac.th/Dentistry/15_05_19/15_05_19_001.pdf.

42. Sopontammarak A. Implement the skill of “Deep listening” to develop the wisdom wellness [Internet]. Thai Health Promotion Foundation; 2018

[cited 2020 Jul 28]. Available from: https://www.thaihealth.or.th/Content/43683- Implement the skill of “Deep listening” to develop the wisdom wellness .html.

43. Santiwuttimeti W. Chairit Imcharoen the delivery person of “Farm Sook” through icecream [Internet]. Happinessisthailand; 2017 [cited 2020 Jul