Hub ประเภท active hub ม ค ณสมบ ต อย างไร

รับตัวเลือกทั้งโหมดการควบคุมแฟบริคแบบเต็มรูปแบบ แบบจัดการผ่านคลาวด์ หรือแบบดั้งเดิม ตลอดจนคุณสมบัติต่างๆ ขนาด ความเร็วของพอร์ต และประเภทของอินเทอร์เฟซมากมายตั้งแต่ 1G จนถึง 100G

ปลอดภัยและชาญฉลาด

สวิตช์ของเราขับเคลื่อนตามความต้องการและได้รับแจ้งข้อมูลจากบริบท พร้อมด้วยการรักษาความปลอดภัยที่ฝังตัวอย่างทั่วถึง ซึ่งช่วยให้เครือข่ายของคุณเรียนรู้และพัฒนาเพื่อตอบสนองความต้องการทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

แบบเปิดและสามารถโปรแกรมได้

ผสานรวมกับความสามารถในการตั้งโปรแกรมได้ในทุกระดับอย่างราบรื่นตั้งแต่ ASIC ไปจนถึง OS ช่วยให้คุณเพิ่มคุณสมบัติในอนาคตได้โดยไม่ต้องอัปเกรดฮาร์ดแวร์

  • อ่านเอกสารของนักวิเคราะห์

ปรับใช้ระบบสวิตชิ่งที่ปลอดภัยและชาญฉลาดด้วยซอฟต์แวร์ Cisco DNA

ชุดซอฟต์แวร์แบบเช่าใช้งานที่เรียบง่ายและยืดหยุ่นช่วยให้คุณเข้าถึงนวัตกรรม Cisco DNA ล่าสุดในระบบอัตโนมัติตามนโยบาย การเชื่อมต่อที่ปลอดภัย ตลอดจนการวิเคราะห์และการรับประกันที่สำคัญทั่วระบบเครือข่ายของคุณ

  • Cisco DNA สำหรับระบบสวิตชิ่ง

โซลูชันสวิตช์ที่เกี่ยวข้อง

Cisco Meraki

สัมผัสประสิทธิภาพการทำงานที่ปรับขยายได้ ปลอดภัยสูง และจัดการได้ง่ายๆ ด้วยสวิตช์แบบ Aggregation-layer และการเข้าใช้งานแบบจัดการผ่านระบบคลาวด์ของ Meraki MS

  • ดูโซลูชันสวิตช์ทั้งหมด

มอบประสิทธิภาพการสวิตชิ่งที่ยอดเยี่ยม

สร้างโครงสร้างพื้นฐานการสวิตชิ่งที่ยืดหยุ่นและมีความปลอดภัยสูง ส่งเสริมความพร้อมใช้งานสูงและลดความเสี่ยงด้วยบริการสำหรับโซลูชันการสวิตชิ่ง

  • ศึกษารายละเอียด
  • สำรวจบริการทั้งหมด

แหล่งข้อมูลที่แนะนำ

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพรวม

บล็อก

กรณีศึกษา

ภาพรวม

โปรโมชัน

อีบุ๊กเชิงเทคนิค

วิดีโอ

เอกสารข้อมูลทางเทคนิค

คุณยังอาจชอบ...

การสนับสนุน

ติดตามระบบเครือข่ายของ Cisco

สำหรับบริษัทคู่ค้า

คุณเป็นบริษัทคู่ค้าของ Cisco หรือไม่ เข้าสู่ระบบเพื่อดูแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

กำลังมองหาโซลูชันจากบริษัทคู่ค้าของ Cisco หรือไม่ เชื่อมต่อกับระบบนิเวศคู่ค้าของเรา

  • เปรียบเทียบตัวแทนจำหน่าย
  • ฮับวิดีโอ

โซลูชันด้านเครือข่ายสำหรับธุรกิจขนาดเล็ก

ใช้งานเครือข่ายของคุณด้วยโซลูชันที่เรียบง่าย ยืดหยุ่น และมีความปลอดภัยสูงที่ออกแบบมาสำหรับธุรกิจขนาดเล็กโดยเฉพาะ

คนไทยส่วนใหญ่คิดว่าประเทศไทยกำลังเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพและการแพทย์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ประเทศไทยโดดเด่นเรื่องศูนย์กลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) ในอดีตประเทศไทยให้การส่งเสริม อุตสาหกรรมทางการแพทย์น้อย ส่งผลให้ประเทศไทยต้องนำเข้าผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องมือแพทย์ปีละหลายแสนล้านบาท

จากการเปิดเผยของ ศาสตราจารย์ ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์ ประธานอนุกรรมการแผนงานกลุ่มสุขภาพและการแพทย์ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ในงาน “จิบน้ำชาพบปะสื่อมวลชน” ในวันที่ 5 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา ระบุว่า อุตสาหกรรมการแพทย์ในประเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมที่ไม่ค่อยมีการเจริญเติบโตหรือการพัฒนาเท่าที่ควร เนื่องจากไทยพึ่งพาการนำเข้ายา เครื่องมือแพทย์เป็นหลัก ยาที่เราผลิตได้เองส่วนใหญ่เป็นยาที่หมดสิทธิบัตรแล้ว ส่วนสารออกฤทธิ์ทางเภสัชกรรม (Active Pharmaceutical Ingredients หรือ API) ที่เราสามารถผลิตได้เองมีจำนวนน้อยมาก

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ทุกคนตระหนักว่า การติดขัดของ Global Value Chain ทั้งการขนส่งสินค้า การผลิตที่ลดลง ส่งผลกระทบทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ดังนั้น ประเทศต่างในโลกจำเป็นต้องใส่ใจและหันมาพึ่งพาตัวเองมากขึ้น โดยเฉพาะการส่งเสริมเรื่องนวัตกรรมทางการแพทย์ เพื่อให้ประเทศสามารถอยู่ได้ ไม่ว่าจะเกิดโรคระบาดใหญ่ที่ตัดการสื่อสารหรือการขนส่งสินค้าก็ตาม บพข. ในฐานะองค์กรที่มีหน้าที่พัฒนาความสามารถทางการแข่งของประเทศไทย จึงเข้ามาบทบาทสำคัญในการหนุนเสริมและยกระดับอุตสาหกรรมด้านสุขภาพและการแพทย์ของไทยให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกได้

วิธีการสนับสนุนทุนของ บพข. จะมุ่งเน้นในรูปแบบ “Matching Fund” ที่เป็นความร่วมมือหรือการร่วมลงทุนกับผู้ใช้ประโยชน์ ทำให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ TRLระดับ 4-5-6 คือ ระยะที่เป็น “การวิจัยต่อยอด (Translation Research)” และเป็นช่วง “Scaling up” หรือ การเพิ่มปริมาณการผลิตสู่เชิงพาณิชย์ ซึ่งการทำให้ภาคเอกชนที่เป็นผู้ลงทุนเทคโนโลยีเข้ามาตั้งแต่เริ่มต้นนั้นเป็นสิ่งสำคัญ การสนับสนุนทุนวิจัยแบบนี้ทำให้อาจารย์หรือนักวิจัยที่อยู่ในภาครัฐต้องมีปฏิสัมพันธ์กับภาคเอกชนมากขึ้น และใส่ใจกับความต้องการของภาคธุรกิจเพื่อให้ได้ข้อมูลด้านการลงทุน ความต้องการด้านการตลาด จึงจะสามารถสร้างนวัตกรรมสู่กระบวนการในเชิงพาณิชย์ได้

อย่างไรก็ตาม ในส่วนงานด้านสุขภาพการแพทย์ บพข. ไม่ได้เน้นไปที่การสนับสนุนทุนวิจัยเพียงอย่างเดียว แต่ยัง ให้ความสำคัญกับการสร้างขีดความสามารถของบุคลากรวิจัยในส่วน Translation Research ด้วย เนื่องจากบุคลากรกลุ่มนี้ต้องมีความเชี่ยวชาญทั้งด้านชีววิศวกรรมศาสตร์ ที่มีลักษณะของ Multi-Tasking เพื่อตอบสนองระดับความพร้อมทางเทคโนโลยี ที่ TRL 4-5-6

ทั้งนี้ บพข. ยังจัดกิจกรรมการอบรมนักวิจัยเพื่อเตรียมความพร้อมในแง่ของการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ตามเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ เช่น มาตรฐานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) หรือ มาตรฐาน ISO การสร้างแพลทฟอร์มเทคโนโลยีใหม่ และให้เงินสนับสนุนหน่วยงานที่มีศักยภาพสูงทางการแพทย์รวมถึงการสร้างเครือข่ายการวิจัยทางการแพทย์ ก็เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญที่ บพข. ไม่ได้ละเลย

นอกจากนี้ บพข. ให้การสนับสนุนการสร้างห้องปฏิบัติการ โรงงานต้นแบบที่ได้มาตรฐาน เช่น ห้องปฏิบัติการผลิต Advanced Therapeutic Medical Product (ATMP) ที่ได้มาตรฐาน Good Manufacture Practice (GMP) ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้นักวิจัยสามารถต่อยอดงานวิจัยพัฒนาไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางการแพทย์ด้านการรักษาได้

ในช่วงที่คนไทยกำลังเผชิญกับวิกฤติ COVID-19 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 บพข.พยายามหาแนวทางแก้ไขวิกฤติดังกล่าว ด้วยการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาชุดตรวจวินิจฉัยเชื้อโรคโควิด-19 ด้วยเทคนิค RT-PCR ซึ่งเป็นความร่วมมือของนักวิจัยจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ จำกัด โดยมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่บริษัทอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และได้คุณภาพมาตรฐาน อย. จนสามารถผลิตชุดตรวจโควิด SAR-CoV-2 ด้วยวิธี Real-Time RT-PCR ทำให้ประเทศไทยมีชุดตรวจโควิดที่ได้มาตรฐานและมีราคาถูกใช้ในประเทศได้อย่างพอเพียง และสามารถแจกจ่ายไปยังกลุ่มประเทศอาเซียนได้ตามนโยบายของรัฐบาล

นอกจากนี้ บพข. ได้ให้การสนับสนุนทุนกับบริษัทสตาร์ทอัพ ในการพัฒนา “ชุดตรวจโควิด-19 ด้วยเทคนิคแลมป์” ที่ได้มาตรฐานผ่านการประเมินจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งวิธีนี้เหมาะกับมาตรฐานสำหรับการตรวจเบื้องต้นแบบ Screening เพื่อตอบโจทย์ในกรณีที่มีการระบาดใหญ่ เพราะทราบผลได้รวดเร็วและราคาถูกกว่าเทคนิคแบบ RT-PCR แม้ความไวและความแม่นยำจะน้อยกว่า

ประเทศไทยติดกับดักรายได้ปานกลาง” คือประโยคที่เราได้ยินกันมาตั้งแต่เด็ก นั่นเพราะเราลงทุนกับเทคโนโลยีที่สร้างมูลค่าไม่สูงมาก แต่สินค้าด้านสุขภาพการแพทย์เป็นสิ่งที่สร้างมูลค่าสูงมาก หากถ้าเราสามารถผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศได้ ลดการนำเข้าและส่งออกต่างประเทศได้ ก็จะทำให้เราสามารถสร้างรายได้มหาศาลให้กับประเทศ