Google classroom ม ความ สำค ญ 3 ประการ

Google Classroom helps educators create engaging learning experiences they can personalize, manage, and measure. Classroom is part of Google Workspace for Education, which empowers your institution with simple, safer, collaborative tools.

  • Compare editions
  • Sign in to Classroom

Google classroom ม ความ สำค ญ 3 ประการ

Designed in collaboration with educators

Google Classroom is designed with feedback from the educational community, always building new features and functionality that lets educators focus on teaching and students focus on learning.

Enrich and personalize learning

Drive student agency with tools that meet students where they are – and build skills for their future.

all editions

Make learning more personal and foster student agency

  • Support differentiated instruction

    Customize classwork for every student and support them with real-time feedback and easy communication tools.
  • Foster academic integrity

    Help students integrate citations and avoid unintentional plagiarism with originality reports.
  • Make learning accessible and inclusive

    Help students customize their learning environment to reduce barriers to learning.
  • Prepare students for the future

    Encourage organization and time management skills with interactive to-do lists, automatic due dates, and industry-leading productivity tools.

Operate with solutions designed to gain visibility, insights, and control

Create learning environments that are easier to manage and support educators and students with connected, safer tools.

all editions

A secure, reliable, and extensible platform for school communities of all sizes

  • Leverage industry-leading privacy and security infrastructure

    Classroom uses the same infrastructure as other Google Workspace products, meeting rigorous privacy standards with regular third-party audits. Access a centralized Admin console with controlled entry and insights into performance and security.
  • Stay flexible and reliable

    Scale your school community with a global network with full-stack security and 99% uptime.

Extend and scale Classroom

Integrate with your student information system (SIS) and customize Classroom to work for your unique needs with APIs

คุณจะใช้ Classroom ในโรงเรียนเพื่อปรับปรุงการมอบหมายงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพิ่มการทํางานร่วมกัน และส่งเสริมการสื่อสารได้ Classroom พร้อมให้บริการบนเว็บหรือแอปบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ คุณจะใช้ Classroom ได้กับเครื่องมือมากมายที่ใช้งานอยู่แล้ว เช่น Gmail, Google เอกสาร และ Google ปฏิทิน

กติ ติกรรมประกาศ

การวิจยั คร้งั นี้สำเร็จลุลว่ งได้ดว้ ยดี เนื่องจากไดร้ ับคำแนะนำ การช่วยเหลอื ความเมตตา กรุณา และกำลงั ใจอนั ดียงิ่ ผู้วิจยั ขอกราบขอบพระคณุ คณะผูบ้ รหิ าร ครู โรงเรียนสุรธรรมพทิ ักษ์ ทีใ่ ห้การ สนับสนุน และใหก้ ำลังใจแกค่ ณะผวู้ จิ ยั อยา่ งดอี ยา่ งดีตลอดมาจนทำให้การวจิ ัยฉบับนสี้ ำเร็จลุล่วงดว้ ยดี

ขอขอบพระคุณครเู ดน่ เดือน ประวติ รวงศ์ หัวหนา้ งานคอมพวิ เตอร์ โรงเรียนสรุ ธรรมพิทักษ์ ทใ่ี ห้ ความอนุเคราะห์ ชแ้ี นะใหค้ ำปรึกษา ตลอดจนให้ความช่วยเหลอื เปิดโอกาสให้คณะผู้วจิ ยั ไดก้ ารดำเนนิ การ การศกึ ษาวจิ ัยในชน้ั เรยี น ในวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1

ขอบคณุ นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรยี นสุรธรรมพทิ กั ษ์ ทุกท่านทใี่ ห้ความร่วมมอื ในการ ดำเนินงานวจิ ยั ตามลำดับขัน้ ตอนการวจิ ยั ซ่ึงเปน็ ข้อมูลท่ใี ช้ในการศึกษาวิจัยเปน็ อย่างดี

ขอบคณุ ทุกคนในครอบครัวอันเป็นที่รกั และพ่ี น้อง ทกุ คนที่คอยสนบั สนุน ใหก้ ำลงั ใจด้วยความ รัก ความห่วงใย และคอยดูแลสขุ ภาพให้ผ้วู ิจัยมาโดยตลอด

สุดทา้ ยนี้ ผู้วิจยั ขอมอบคุณประโยชน์จากการวิจยั คร้ังนี้ เปน็ เคร่ืองบชู าบพุ การี ผู้มพี ระคุณ และครบู าอาจารยท์ กุ ท่านทป่ี ระสทิ ธปิ ระสาทวิชาใหแ้ กค่ ณะผู้วิจัยจนมีวันนี้

เกษสุมาภรณ์ ทองผากุลธวิ งษ์

บันทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นสุรธรรมพทิ กั ษ์ อำเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา ท่ี วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 เร่อื ง รายงานผลการวิจยั ในชัน้ เรยี น

เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรุ ธรรมพิทักษ์

ด้วยขา้ พเจา้ นางสาวเกษสุมาภรณ์ ทองผากุลธวิ งษ์ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ กลุ่ม สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ได้ดำเนนิ การทำวิจัยในชน้ั เรยี น เรือ่ ง การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยี ดว้ ยรปู แบบการจัดการเรียนรู้ แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรยี น ออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1บดั น้ี ข้าพเจ้าสรปุ ผลรายงาน การวจิ ยั ดงั กลา่ วเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ จึงขอรายงานผลการวจิ ยั ดงั เอกสารท่แี นบมาพร้อมนี้

จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบและพิจารณา (นางสาวเกษสุมาภรณ์ ทองผากุลธวิ งษ)์ ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ

ความคิดเห็นหัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ (นางสาวอญั ชลี จนั ทะฟอง)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ความคดิ เห็นของรองผู้อำนวยการกลุ่มงานวิชาการ ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ลงช่อื (นายธเนศ จำปามูล)

รองผู้อำนวยการกลุม่ งานวชิ าการ ความคดิ เห็นของผอู้ ำนวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื (นายธเนศ จำปามูล)

รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รักษาราชการแทน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรุ ธรรมพิทักษ์

ชอ่ื เร่อื งวิจยั การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอื่ งระบบทางเทคโนโลยี ดว้ ยรปู แบบ การจัดการเรยี นรู้ แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรยี นออนไลน์ ผู้วจิ ยั โดยใช้ Google Classroom สำหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีท่ีทำการวิจยั เกษสุมาภรณ์ ทองผากุลธิวงษ์ สถานทท่ี ำการวจิ ยั พ.ศ. 2564 โรงเรยี นสุรธรรมพิทกั ษ์

บทคดั ยอ่

การศกึ ษาครงั้ นมี้ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ 1) เพือ่ พัฒนาห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom โดยใช้ รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบ PEEKE สำหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ใหม้ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่อื พฒั นาทักษะกระบวนการคิดของนักเรียน และมีเจตคติทด่ี ตี ่อการเรียนรายวิชาการ ออกแบบและเทคโนโลยี 3) เพ่ือพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ใหส้ งู ขึน้ และ 4) เพ่ือส่งเสริมคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสูตร และค่าเปา้ หมายของโรงเรียน โดยใชว้ ิธกี ารวิจยั เชงิ ทดลอง แบบทดสอบก่อน เรียนและหลงั เรยี น โดยกลมุ่ ตัวอยา่ งได้มาด้วยการสมุ่ แบบง่าย จากนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ท่ีกำลัง ศึกษาในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นสรุ ธรรมพทิ กั ษ์ ไดก้ ลุ่มตวั อย่าง จำนวน 1 ห้อง จำนวน นักเรียน 36 คน เครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั คร้งั นี้ ประกอบดว้ ย ห้องเรียนออนไลน์โดยใช้รูปแบบการจดั การ เรียนรู้ แบบ PEEKE แผนการจดั การเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น และแบบประเมิน ความพึงพอใจ วิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ย ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิติที โดยกำหนดนยั สำคัญทาง สถิตทิ ร่ี ะดบั .05

ผลการศกึ ษาพบว่า 1. ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ใช้รปู แบบการจดั การเรียนร้แู บบ PEEKE สำหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ที่พฒั นาข้ึน มีประสิทธิภาพ 85.28/84.44 เปน็ ไปตามเกณฑ์ ท่ี กำหนดไว้ 80/80 2. นกั เรยี นมที ักษะกระบวนการคดิ และมีเจตคติทดี่ ีต่อการเรียนรายวชิ าการออกแบบและ เทคโนโลยี อยู่ในระดับมาก 3. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น หลงั เรียน ทเ่ี รียนโดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้ แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ( X = 8.78 SD. = 0.87) สงู กวา่ กอ่ นเรียน ( X = 4.34 SD. = 0.94) อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 4. นกั เรยี นมคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และอ่านคดิ วิเคราะห์ รายวชิ าการออกแบบ และ เทคโนโลยี ระดับคุณภาพ 3 มีคา่ สูงสุด คอื รอ้ ยละ 84.58

คำนำ

เนอื่ งจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าหรือโควดิ -19 สง่ ผลให้นกั เรียนสว่ นใหญ่ ต้องหยดุ เรยี น สง่ ผลให้การเรียนรู้ของนกั เรยี นขาดความต่อเนือ่ ง อีกท้ังการเรียนในรูปแบบเดิม ๆ ยงั ยดึ ถือรูปแบบการเรียนแบบท่องจำ และไมเ่ ปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นร่วมกบั ชน้ั เรียน นักเรียนขาดโอกาส ฝกึ ฝนปฎิบตั ิ หรือลงมอื ค้นหาคำตอบได้ด้วยตนเอง ไม่เพียงแต่จะทำใหน้ ักเรยี นเกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยเทา่ นั้น หากแต่ยังไมส่ ่งเสรมิ ประสิทธภิ าพการเรียนรู้ คิดวิเคราะหข์ องนักเรยี นอกี ด้วย

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ โดยใช้บริการ Google Classroom ผสู้ อนสามารถ จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในห้องเรียน โดยเร่ิมตน้ จากการทำ กิจกรรมง่ายๆ ท่ไี มซ่ ับซอ้ นจนเกนิ ไป เพอ่ื กระตุ้นให้ผ้เู รียนเกดิ ความสนใจอยากรู้ เชน่ ตอบคำถามหรอื แบบฝกึ หดั แล้วจึงพฒั นาเปน็ ลำดับต่อๆ ไป โดยประยุกต์ใชร้ ่วมกับการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียน ผสู้ อน สามารถติดตามและวิเคราะห์พฤติกรรมของผเู้ รียนจากการสงั เกต การเขา้ ร่วมเรียนและการส่งงานของ ผเู้ รียนผา่ น Google Classroom ได้ ทำใหผ้ ู้เรยี นมีวนิ ยั ในการส่งงาน มีความสนใจเรยี นมากขนึ้ ปริมาณ การส่งงานเพิม่ ข้นึ ผูเ้ รียนพอใจทจ่ี ะเรยี นรผู้ า่ นอุปกรณ์ของตนเองนอกเวลาเรียน เพราะเรยี นได้ทกุ ทท่ี กุ เวลาและกล้าท่จี ะแสดงความคิดเห็นมากข้ึน ผวู้ ิจัยจงึ ไดท้ ำการศกึ ษาวิจยั และหาวิธีการแก้ไขปญั หา ดงั กล่าว เพือ่ ให้เกดิ ผลดีแกน่ กั เรยี น และเพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นให้สูงข้ึน

เกษสมุ าภรณ์ ทองผากุลธิวงษ์ ผู้วจิ ัย

สารบัญ หนา้ ก เร่ือง ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค บทคัดยอ่ ง คำนำ 1 สารบญั 1 บทท่ี 1 บทนำ 2 3 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา 3 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย 3 เป้าหมาย 3 ตัวแปรท่ศี กึ ษา 4 ระยะเวลาในการดำเนินงาน 4 กรอบแนวคิดการวิจยั 5 ขอบเขตการวิจัย 6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 6 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง 9 แนวคิดและทฤษฎีเกยี่ วกับเจตคติ 11 รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ PEEKE 14 Google Classroom 17 แนวคดิ ทฤษฏีที่เกี่ยวกบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 20 แนวคดิ และทฤษฎีเกีย่ วกบั ความพึงพอใจ 20 งานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง 23 บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ การงานวจิ ยั 24 ขัน้ ตอนการดำเนินการ เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย การวิเคราะหข์ อ้ มลู

สารบญั (ต่อ) หนา้ 25 เรอื่ ง 25 บทท่ี 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 28 28 ผลที่เกดิ ข้นึ ตามวัตถุประสงค์ 28 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 29 30 สรปุ ผลการวจิ ัย 31 อภิปรายผล 27 ข้อเสนอแนะ 35 แนวทางการพัฒนาเพ่มิ เติม 40 บรรณานุกรม 42 ภาคผนวก 45 แบบสอบถามความพึงพอใจ 48 แบบบันทกึ คะแนน กอ่ นเรียน-หลงั เรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น ภาพการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ประวัติผ้ทู ำการวจิ ยั

1

บทท่ี 1 บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ ภายใตส้ ถานการณ์ระบาดไวรสั Covid-19 (Social Distancing) ซึ่งในประเทศไทยก็ได้รบั

ผลกระทบ เชน่ เดยี วกับระบบการศึกษาต้องปรับเปลย่ี น กระบวนการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น (OECD, 2020) ส่งผลใหก้ ารเรียนรู้ของนกั เรยี นขาดความต่อเนื่อง รวมถงึ การเรียนในรูปแบบเดิม ยังยดึ ถอื รูปแบบการ เรียนแบบทอ่ งจำ และไมเ่ ปดิ โอกาสให้นกั เรยี น มสี ว่ นรว่ มกบั ชน้ั เรียน นักเรียนขาดโอกาสฝึกปฏิบัติจริง หรอื ลงมือค้นหาคำตอบไดด้ ้วยตนเอง ทำใหน้ ักเรียนเกดิ ความเบอ่ื หน่าย ไม่สง่ เสรมิ ประสทิ ธภิ าพการ เรยี นรู้ และการคดิ วเิ คราะหข์ องนกั เรยี น

กระบวนการเรียนรูข้ องนักเรียนจดั ว่าเปน็ ส่ิงสำคัญยงิ่ ในการจัดการศึกษา เป้าหมายทางการศกึ ษา ทีม่ ุ่งเนน้ ในเรอื่ งของการสอนใหค้ ิดเปน็ ทำเป็น และแกป้ ญั หาเปน็ ซ่งึ ปจั จบุ นั ครแู ละนักออกแบบระบบ การสอนทั้งหลายยังขาดวธิ กี ารในการใช้เครอ่ื งมือในการเรียนการสอนเพือ่ เชือ่ มโยงกระบวนการเรียนรู้ของ นักเรยี นกบั รปู แบบการสอน เพอื่ นำไปสกู่ ารเรยี นอยา่ งมีความหมาย คิดเป็น ทำเป็น แกป้ ัญหาเปน็ และ ถ่ายโยงการเรียนรู้ไปสชู่ วี ติ ประจำวันได้ (ปรัชญนนั ท์ นลิ สขุ . 2545 : 19) ตามหลักจติ วิทยาการเรยี นรู้ นกั เรยี นจะเรยี นรไู้ ดด้ ี และเข้าใจเนอ้ื หาบทเรยี นก็ตอ่ เมือ่ นักเรียนมีความสนใจในเรื่องนน้ั ๆ (Gagne.

  1. กล่าวว่า แรงจงู ใจและความสนใจ เปน็ ปัจจัยหนึง่ ที่เปน็ ตัวกำหนดระดบั ของความเขา้ ใจและระดบั การได้ความรู้ และทกั ษะในการเรียน

การจดั การเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความร้แู บบ PEEKE เปน็ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ หน่ึง ที่เนน้ การสบื สอบ เปน็ การจัดการเรียนรู้ ท่ฝี ึกใหน้ กั เรียนรู้จักคน้ คว้าหาความรู้ โดยใชก้ ระบวนการ ทางความคิด หาเหตุผลกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบ PEEKE ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คอื กระตุ้น ความสนใจ (Pique) ค้นหาคำตอบ (Exploration) อธิบายหาขอ้ สรปุ (Explanation) ความเขา้ ใจ (Knowledge) ประเมนิ ผล (Evaluation) จากลำดับขน้ั ตอนดังกลา่ ว นกั เรียนสามารถสรา้ งองคค์ วามรโู้ ดย ผ่านกระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ PEEKE เปน็ รปู แบบการจดั การเรียนรอู้ ีกรูปแบบ หน่ึง ซึง่ นกั เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนรู้ ได้ใช้กระบวนการคิดอยา่ งเป็นระบบ มเี หตผุ ล ม่งุ ให้นักเรียน รจู้ กั คิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ แสวงหาความจรงิ จากการสืบเสาะหาขอ้ มลู รู้จักการแกป้ ญั หาดว้ ยตัวเอง รวมท้ังรูจ้ ักทำงานรว่ มกนั เป็นหมคู่ ณะ นำไปสกู่ ารสร้างเสริมพลังความสามารถ ของแต่ละบคุ คลให้เตม็ ขีด

2

ความสามารถ โดยประยุกตใ์ ชห้ ลักการเรียนรดู้ ว้ ยการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตัวเอง เนน้ บรรยากาศในการ เรยี นการสอน ให้นกั เรียนมีอสิ ระในการคดิ สามารถใชเ้ หตุผลในการคดิ และพัฒนาความสามารถในการคิด อยา่ งมวี ิจารณญาณ

Google Apps for Education (Google Inc, 2014) ถือได้วา่ เป็นนวัตกรรมทางการศกึ ษาอยา่ ง หน่งึ เพราะมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลในการจัดการเรยี นการสอนในยคุ ดจิ ิทัลไดเ้ ป็นอย่างดี สร้างการ เรียนรแู้ บบทำงานร่วมกนั ไดท้ ุกที่ทุกเวลา และทุกรปู แบบ โดยใชเ้ ทคโนโลยที ่ีสามารถเชือ่ มตอ่ ระบบ อินเทอร์เนต็ ได้ ภายใต้การจัดเก็บ รวบรวม และบันทกึ ขอ้ มูลบนคลาวด์ ดว้ ย Google Drive มีการ ติดตอ่ สอ่ื สารผ่านทาง Gmail สามารถกำหนดเวลาเรยี น ตารางนดั หมายร่วมกันทำกจิ กรรมกลมุ่ ได้ในเวลา เดยี วกนั บนแฟ้มเอกสารเดยี วกันได้ด้วย Google Docs นอกจากน้ีครูยงั สามารถเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการ บรหิ ารชั้นเรยี นได้ดว้ ย การใชง้ าน Google Classroom

จากความสำคญั และสภาพปัญหาดังกลา่ วขา้ งต้น ข้าพเจ้าจงึ มีแนวคดิ ท่จี ะพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของนกั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง ระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบ PEEKE ผ่าน ห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom โดยรปู แบบการเรียนนี้ สามารถใชเ้ รยี นไดท้ ้ังสถานการณ์ ปกติ และสถานการณ์โรคระบาด ทำใหเ้ ขา้ ถึงความรู้ไดต้ ลอดเวลา ลดชอ่ งว่างการเขา้ ถึงขอ้ มลู นกั เรยี น สามารถเรียนรู้ทกุ ทที่ กุ เวลาตามต้องการ ทำใหเ้ กิดความพึงพอใจทจี่ ะเรียนรู้ และยังสามารถสร้างช้ินงาน ทำการบา้ นหรือตดิ ตามงานได้ตลอดเวลา เพ่อื พัฒนาให้นกั เรยี นพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะห์ และสามารถ สรา้ งองคค์ วามรู้ไดด้ ้วยตนเอง

วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ดว้ ยรปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ

PEEKE สำหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ของนักเรยี น และเจตคติท่ดี ี ต่อการเรยี นรายวชิ ากาออกแบบ

และเทคโนโลยี 3. เพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 รายวิชาการออกแบบ

และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ให้สูงขึ้น 4. เพ่ือส่งเสรมิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู ร และค่าเปา้ หมายของโรงเรียน

3

เปา้ หมาย 1. ดา้ นปรมิ าณ 1. นกั เรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียน รายวชิ าการออกแบบเทคโนโลยี สงู กว่าค่าเปา้ หมายที่

สถานศกึ ษากำหนด 2. นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 รอ้ ยละ 80 มีทักษะกระบวนการคดิ และเจตคติทีด่ ีตอ่ รายวชิ าการ

ออกแบบและเทคโนโลยี 3. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจต่อรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้

Google Classroom ระดับมาก 2. ด้านคุณภาพ 1. นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี สงู ขนึ้ 2. นักเรยี นมีพัฒนาการด้านกระบวนการคิด ความมีระเบียบวนิ ยั ความซ่ือสัตย์ มีจิตสาธารณะ

และเจตคตทิ ่ตี ่อการเรยี น ดขี ้นึ 3. นักเรียนมีความพงึ พอใจตอ่ การเรยี นรายวิชาการออกแบบเทคโนโลยี

ตัวแปรท่ีศึกษา 1. ตัวแปรตน้ : การสอนโดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์

Google Classroom 2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ในหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3

เร่ือง ระบบทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1

ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ระหวา่ งวนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2564 - 4 มีนาคม 2565

กรอบแนวคิดในการวจิ ัย การวิจัยคร้ังน้ี เป็นการวจิ ัยในชั้นเรยี นเพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3

เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยี รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom นำผลการบันทึกข้อมูลมาหาค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าร้อยละ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์และหา ขอ้ สรปุ พร้อมทง้ั นำเสนอขอ้ มูล

4

ขอบเขตของการวิจัย ในการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี ได้จดั ทำวจิ ยั เพอื่ การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3

เรื่องระบบทางเทคโนโลยี รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชร้ ูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ได้กำหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ดังน้ี

1. กลุม่ ตวั อย่าง กลุม่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการศกึ ษา คือนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสรุ ธรรมพิทกั ษ์ ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 1 หอ้ งเรียน จำนวน 36 คน

2. แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจำรายวิชา รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องระบบทาง เทคโนโลยีรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรยี นรแู้ บบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom จำนวน 20 ขอ้

นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. รูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ บบ PEEKE หมายถงึ รปู แบบการจดั การเรียนรูแ้ บบหน่งึ ซง่ึ

ประกอบ 5 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ขั้นท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Pique) ขนั้ ท่ี 2 ค้นหาคำตอบ (Exploration) ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายหาข้อสรุป (Explanation) ขั้นที่ 4 ความเขา้ ใจ (Knowledge) ขน้ั ท่ี 5 ประเมินผล (Evaluation)

2. Google Classroom หมายถึง ระบบจัดการช้ันเรียนแบบออนไลน์ เป็นบรกิ ารหน่งึ บน ระบบออนไลน์ของบรษิ ัท Google ออกแบบมา เพื่อช่วยให้ครูสร้างและเกบ็ งานได้โดยไมต่ ้องสน้ิ เปลือง กระดาษและไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย

3. แบบประเมินความพึงพอใจ หมายถึง แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบ PEEKE ผ่าน หอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบ และเทคโนโลยี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 20 ขอ้

5

4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ที่ได้ จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เรอื่ งระบบทางเทคโนโลยีรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 3 ภาคเรียน ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ประโยชน์ที่ได้รับ 1. นกั เรียนไดร้ บั การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื งระบบทาง

เทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 2. ครูได้แนวทางและรูปแบบในการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ า โดยใชร้ ูปแบบการจดั การ

เรียนรแู้ บบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom

6

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง

แนวคดิ ทฤษฏีเกี่ยวขอ้ ง เพ่ือเป็นพื้นฐานในงานวจิ ยั การศกึ ษาเร่อื งการพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หน่วยการเรยี นรู้

ท่ี 3 เรอ่ื ง ระบบทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสรุ ธรรมพทิ ักษ์ ผ้วู จิ ยั จึงศกึ ษา เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งโดยเสนอตามลำดับ หัวข้อดงั นี้

1. รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE 1.1 ความหมายของรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ PEEKE 1.2 รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE 1.3 ประโยชน์ของรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE

2. Google Classroom 2.1 ความหมายของ Google Classroom 2.2 ประโยชนข์ องการใช้ Google Classroom 2.3 การสร้างชน้ั เรยี นดว้ ย Google Classroom

3. แนวคดิ เกีย่ วกับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 3.1 ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 3.2 ลักษณะการวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 3.3 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

4. แนวคดิ และทฤษฎีเกยี่ วกับความพึงพอใจ 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ 4.2 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วกับความพงึ พอใจ 4.3 การวัดความพงึ พอใจ

5. งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ Google Classroom 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ

7

1. รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ PEEKE 1.1 ความหมายของรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE การเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 เป็นรปู แบบของการเรยี นรรู้ ูปแบบหน่งึ ทเี่ นน้ ให้นกั เรียน

มปี ระสบการณ์ตรงในการเรยี นรู้ โดยการแสวงหาและศกึ ษาคน้ ควา้ เพือ่ สรา้ งองคค์ วามรู้ของตนเอง โดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ มคี รูผสู้ อนคอยอำนวยการและสนบั สนนุ ทำให้ผเู้ รยี นสามารถค้นพบ ความรู้หรอื แนวทางแก้ปัญหาได้ตวั เอง และสามารถนาํ มาใช้ในชีวิตประจําวนั ซง่ึ ถอื วา่ เป็นกิจกรรมทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนได้นาํ ความรู้ หลกั การ แนวคดิ หรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตรไ์ ปเช่ือมโยงกบั ประเด็นปัญหาท่ี ผู้เรยี นสนใจศึกษา ค้นควา้ และลงมือปฏิบัติ ด้วยตนเอง ตามความสามารถและความถนัดของตนเองอย่าง เปน็ อสิ ระ ทำให้ การเรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ข้นั ตอนนี้ นับได้ว่าเปน็ รปู แบบหนึ่งของการเรยี นรทู้ ี่ เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ

การเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ข้ันตอน เปน็ รูปแบบการเรียนรทู้ ีพ่ ัฒนามาจากทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ ท่ีเชื่อวา่ การเรยี นรู้นน้ั เปน็ กระบวนการทีเ่ กิดข้ึนภายในของผเู้ รยี น โดยที่ผ้เู รียนเป็น ผสู้ รา้ งความรูด้ ว้ ยตัวเอง โดยการนำเอาประสบการณห์ รอื ส่งิ ทีพ่ บเห็นมาเชอ่ื มโยงกับความรู้ความเข้าใจทม่ี ี อยเู่ ดิม เพอ่ื สรา้ งเปน็ ความเขา้ ใจของตนเอง และดว้ ยความเช่อื น้ีทำให้ทฤษฎีนีถ้ ูกนำมาเปน็ รากฐานสำคัญ ในการสร้างความรู้ของผเู้ รียน

1.2 รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE 1.2.1 ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Pique) เปน็ การนำเขา้ สู่บทเรยี นหรอื เร่อื งที่สนใจซง่ึ เกดิ ข้ึน

จากความสงสัย หรืออาจเร่มิ จากความสนใจของตัวนักเรียนเองหรอื เกดิ จากการอภปิ รายภายในกลมุ่ เรื่อง ทน่ี า่ สนใจอาจมาจากเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นอยูใ่ นชว่ งเวลานัน้ หรือเปน็ เรอื่ งที่เชอื่ มโยงกับความรเู้ ดิมที่เพง่ิ เรียนรู้มาแล้ว เปน็ ตัวกระต้นุ ใหน้ กั เรยี นสร้างคำถาม กำหนดประเดน็ ท่ีศึกษา ในกรณีทไ่ี มม่ ีประเดน็ ใดที่ นา่ สนใจ ครูอาจให้ศกึ ษาจากสอ่ื ต่างๆ หรอื เปน็ ผูก้ ระตุน้ ด้วยการเสนอด้วยประเดน็ ขนึ้ มากอ่ น แต่ไมค่ วร บงั คบั ให้นักเรียนยอมรบั ประเดน็ หรือคำถามท่ีครูกำลงั สนใจเปน็ เรอื่ งท่จี ะใช้ศกึ ษา เมอ่ื มีคำถามท่ีน่าสนใจ และนักเรียนสว่ นใหญย่ อมรับใหเ้ ปน็ ประเด็นทต่ี ้องการศึกษา จึงรว่ มกนั กำหนดขอบเขตและแจกแจง รายละเอยี ดของเรื่องที่จะศกึ ษาให้มีความชัดเจนมากข้นึ อาจรวมท้งั การรับรู้ประสบการณ์เดิม หรือความรู้ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ทจ่ี ะช่วยใหน้ ำไปสคู่ วามเขา้ ใจเร่ืองหรือประเด็นทีจ่ ะศกึ ษามากข้ึน และมีแนวทางทใ่ี ช้ใน การสำรวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย

1.2.2 ข้ันคน้ หาคำตอบ (Exploration) เม่ือทำความเขา้ ใจในประเด็นหรอื คำถามทส่ี นใจจะ ศกึ ษาอยา่ งถ่องแท้แล้ว กม็ กี ารวางแผนกำหนดแนวทางสำหรบั การตรวจสอบต้งั สมมติฐาน กำหนด

8

ทางเลอื กทเี่ ปน็ ไปได้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิเพื่อเก็บรวบรวมขอ้ มลู ขอ้ สนเทศ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ วิธกี าร ตรวจสอบอาจทำได้หลายวธิ ี เชน่ ทำการทดลอง ทำกจิ กรรมภาคสนาม การใช้คอมพวิ เตอร์เพือ่ ช่วยสร้าง สถานการณจ์ ำลอง (Simulation) การศกึ ษาหาข้อมลู จากเอกสารอา้ งอิงหรอื จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ เพอ่ื ให้ไดม้ าซ่งึ ขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอทีจ่ ะใช้ในขั้นต่อไป

1.2.3 ขนั้ อธิบายหาข้อสรุป (Explanation) เมือ่ ไดข้ อ้ มูลอย่างเพียงพอจากการสำรวจ ตรวจสอบแลว้ จงึ นำข้อมูลข้อสนเทศทีไ่ ด้มิเคราะห์ แปลผล สรปุ ผลและนำเสนอผลท่ีได้ในรปู ตา่ ง ๆ เชน่ บรรยายสรปุ สรา้ งแบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ หรือรูปวาด สร้างตาราง ฯลฯ การค้นพบในข้นั นอี้ าจ เป็นไปได้หลายทาง เชน่ สนบั สนนุ สมติฐานทีต่ ง้ั ไว้ โต้แย้งกบั สมมติฐานท่ตี งั้ ไว้ หรอื ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ประเด็น ทไี่ ด้กำหนดไว้ แต่ผลท่ีไดจ้ ะอยใู่ นรปู ใดก็สามารถสรา้ งความร้แู ละช่วยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้

1.2.4 ขนั้ ความเข้าใจ (Knowledge) เป็นการนำความรู้ท่ีสร้างข้ึนไปเชอื่ มโยงกบั ความรู้เดมิ หรอื ความคิดทไ่ี ด้ค้นคว้าเพม่ิ เติมหรือนำแบบจำลองหรอื ข้อสรปุ ท่ไี ด้ไปใช้อธิบายสถานการณห์ รอื เหตกุ ารณอ์ น่ื ๆ ถ้าใชอ้ ธิบายเรอ่ื งตา่ ง ๆ ได้มากกแ็ สดงว่าข้อจำกัดน้อย ซึง่ จะช่วยให้เช่อื มโยงกับเร่ืองตา่ ง ๆ และทำให้เกดิ ความรกู้ ว้างขวางข้ึน

1.2.5 ขนั้ ประเมินผล (Evaluation) เปน็ การประเมินการเรยี นรดู้ ้วยกระบวนการตา่ ง ๆ วา่ นกั เรยี นมคี วามรอู้ ะไรบ้าง อย่างไร และมากนอ้ ยเพียงใด จากข้นั นีจ้ ะนำไปสกู่ ารนำความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ น เรอื่ งอื่น ๆการนำความร้หู รอื แบบจำลองไปใชอ้ ธิบายหรือประยกุ ตใ์ ชก้ บั เหตุการณห์ รอื เร่อื งอนื่ ๆ จะ นำไปสูข่ ้อโต้แย้งหรือข้อจำกัดซึง่ จะก่อใหเ้ กดิ ประเด็นหรือคำถาม หรือปญั หาทีจ่ ะต้องสำรวจตรวจสอบ ต่อไป ทำให้เกิดเปน็ กระบวนการท่ีต่อเนอ่ื งกนั ไปเรอื่ ย ๆ จึงเรียกว่า Inquiry cycle กระบวนการสบื เสาะ หาความรู้จงึ ช่วยใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรทู้ ้ังเนือ้ หาหลักและหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนลงมอื ปฏิบัติ เพือ่ ให้ไดค้ วามร้ซู ่ึงจะเปน็ พื้นฐานในการเรียนต่อไป

1.3 ประโยชน์ของรปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ PEEKE การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เปน็ วธิ สี อนทีค่ รเู ป็นผเู้ ตรยี มสภาพแวดลอ้ มจดั ลำดับเนือ้ หา

แนะนำหรือชว่ ยให้ นกั เรยี นประเมนิ ความก้าวหนา้ ของตนเอง สว่ นนกั เรยี นเป็นผูเ้ รยี นภายใต้เงื่อนไขของ ครู นกั เรียนมีอิสระในการดำเนินการทดลองอยา่ งเต็มท่ี (พวงทอง มีม่งั คง่ั . 2537 : 79 ; อา้ งอิงมาจาก ภพ เลาหไพบูลย.์ 2534 : 127) ไดส้ รปุ ประโยชน์ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ดังน้ี

1. นักเรยี นมีโอกาสได้พฒั นาความคิดอย่างเตม็ ที่ ได้ศึกษาดว้ ยตนเองจงึ มีความอยากรู้ อยู่ตลอดเวลา

9

2. นักเรยี นมีโอกาสได้ฝึกความคิด และฝกึ การกระทำ ทำใหไ้ ดเ้ รียนรูว้ ธิ ีจดั ระบบความคิด และวธิ สี ืบเสาะแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองทำใหค้ วามรู้คงทนและถา่ ยโยงการเรียนร้ไู ด้ กล่าวคอื ทำให้ สามารถจดจำไดน้ านและนำไปใช้ในสถานการณใ์ หม่อีกด้วย

3. นกั เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนการสอน 4. นักเรียนสามารถเรียนร้มู โนทศั น์และหลักการทางวิทยาศาสตรไ์ ดเ้ ร็วข้ึน 5. นกั เรียนจะเป็นผ้มู เี จตคติทดี่ ีต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

2. Google Classroom 1.1 ความหมายของ Google Classroom Classroom เป็นบริการสาหรับ Google Apps for Education ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือที่มี

ประสิทธิภาพ ได้รับการออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้สอนสามารถสร้างและเก็บงานได้โดยไม่ต้องสิ้นเปลือง กระดาษ มคี ุณลกั ษณะที่ชว่ ยประหยัดเวลา เชน่ สามารถทำสาเนาของ Google เอกสารสาหรับผู้เรียนแต่ ละคนไดโ้ ดยอตั โนมัติ โดยระบบจะสรา้ งโฟลเดอร์ของไดรฟ์สำหรับแต่ละงานและผู้เรยี นแต่ละคนเพ่ือช่วย จัดระเบียบใหผ้ ู้เรียนสามารถติดตามวา่ มีอะไรครบกำหนดบ้างในหนา้ งาน และเริ่มทำงานได้ด้วยการคลกิ เพยี งครงั้ เดยี ว ผู้สอนสามารถดไู ด้อย่างรวดเรว็ ว่าใครทำงานเสร็จหรือไมเ่ สร็จบา้ ง ตลอดจนสำมารถแสดง ความคิดเหน็ และให้คะแนนโดยตรงได้แบบเรยี ลไทมใ์ น Google Classroom

กิตติศักดิ์ สิงห์สูงเนิน และณมน จีรังสุวรรณ (2558, หน้า 14-20) ได้ให้ความหมายว่า Google Classroom เปน็ ชดุ โปรแกรมที่ทาง Google ไดท้ าการพฒั นาเพ่อื สนบั สนนุ การจดั การเรียนการ สอนในชั้นเรยี นอย่างมปี ระสิทธิภาพ ดว้ ยการยดึ หลกั การทางานร่วมกันระหวา่ งอาจารย์ผู้สอนกับนักเรียน เปน็ รปู แบบการเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยที่ผสู้ อนสามารถดำเนนิ การส่ังงานหรือ การบ้านผ่านระบบ Google Classroom และระบบจะทาการสง่ การบ้านไปยังผู้เรยี นผา่ นอีเมล์ซึ่งจะเป็น การประหยัดทรัพยากรกระดาษเป็นอย่างมาก และผู้เรียนก็จะทำการเข้าสู่ระบบเพื่อทาการบ้านและส่ง การบ้านกลับไปยังอาจารย์ผู้สอนได้ทันที ซึ่งอาจารย์ผู้สอนจะสามารถติดตามการทำการบ้านโดยการ ตรวจดสู ถานะของผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างรวดเรว็ นอกจากนี้ Google Classroom ยังได้ผนวกความสามารถในการ ติดต่อสนทนาออนไลน์ ทำให้ผ้เู รียนสามารถซักถามขอ้ สงสัยในงานหรอื การบา้ นท่ไี ดร้ บั มอบหมายได้ทนั ที

ลาภวัต วงศป์ ระชา (2561, หน้า 32-33) ได้กลา่ ววา่ สาหรับมมุ มองทางการศึกษาในศตวรรษ ที่ 21 คอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือหลักสำคัญสำหรับผู้สอนเพื่อเข้าถึงทรัพยากรการเรียน การเตรียม แผนการสอนให้การบ้านและติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง ผู้สอนจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อม ใน

10

การจดั การเรียนรู้เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มให้ผู้เรยี นมีทักษะสำหรบั การออกไปดารงชวี ิตในโลกในศตวรรษที่ 21 แอพพลิเคชั่น “Google Classroom” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ Google Apps for Educationเป็นชุด เครื่องมือที่อำนวยความสะดวกด้านการศึกษาเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานที่ให้บริการฟรี ได้รับการ ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้สอนสร้างและเก็บงานได้ โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองกระดาษ มีคุณลักษณะที่ช่วย ประหยัดเวลา เช่น สามารถทำสำเนาของ Google เอกสารสำหรับนักเรียนแต่ละคนได้ โดยระบบจะสร้าง โฟลเดอร์สำหรับแต่ละงานและนกั เรยี นแต่ละคนเพื่อชว่ ยจัดระเบียบให้ทุกคน ซงึ่ นักเรียนสามารถติดตาม ไดว้ า่ มอี ะไรครบกำหนดบ้าง ในหน้างาน ผูส้ อนสามารถดไู ด้ว่าใครทางานเสร็จหรือไมเ่ สร็จได้อย่างรวดเร็ว ตลอดจนสามารถใหค้ วามคิดเหน็ โดยตรงและใหค้ ะแนนได้แบบทันทีในชัน้ เรียน Google Classroom

จากการศึกษาความหมายของ Google Classroom ผู้วิจัยสรุปได้ว่า Google Classroom คือ ระบบจัดการชนั้ เรยี นแบบออนไลน์ เป็นบริการหนึ่งบนระบบออนไลน์ของบริษัท Google ออกแบบมา เพื่อช่วยให้ครูสร้างและเก็บงานได้โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองกระดาษและไม่เสียค่าใช้จ่าย ครูผู้สอนสามารถ ประยุกต์กับการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนของตนเองได้ ทั้งการเช็คชื่อนักเรียน การส่งงาน การบันทึก คะแนน การทดสอบออนไลน์ รวมท้งั การมปี ฏสิ มั พันธ์กบั นกั เรยี นแบบออนไลน์

2.2 ประโยชนข์ องการใช้งาน Google Classroom 1. ตั้งค่าไดง้ ่ายดาย ผู้สอนสามารถเพ่ิมผู้เรียนไดโ้ ดยตรง หรือแชร์รหสั เพ่ือให้ผู้เรียนเขา้

ชน้ั เรยี นได้ การต้ังคา่ ใชเ้ วลาเพยี งครู่เดียว 2. ประหยดั เวลา กระบวนการของงานเรียบง่าย ไม่ส้นิ เปลอื งกระดาษ ทำให้ผู้สอนสร้าง

ตรวจ และให้คะแนนงานไดอ้ ย่างรวดเรว็ ในทเ่ี ด่ียวกัน 3. ช่วยจัดระเบียบ ผู้เรียนสามารถดูงานทั้งหมดของตนเองได้ในหน้างาน และเนื้อหา

สำหรบั ชัน้ เรียนทั้งหมดจะถกู จัดเกบ็ ในโฟลเดอรภ์ ายใน Google ไดรฟโ์ ดยอัตโนมัติ 4. สื่อสารกันไดด้ ียิ่งข้นึ Classroom ทาให้ผู้สอนสามารถส่งประกาศและเริ่มการพูดคุยใน

ชัน้ เรยี นไดท้ ันที ผ้เู รียนสามารถแชรแ์ หลง่ ข้อมูลกนั หรือตอบคำถามในสตรมี ได้ 5. ประหยัดและปลอดภยั เช่นเดียวกับบริการอื่นๆ ของ Google Apps for Education

คือ Classroom จะไม่แสดงโฆษณา ไม่ใช้เนื้อหาหรือข้อมูลของผู้เรียนในการโฆษณา และให้บริการฟรี สำหรบั มหาวิทยาลัย

11

2.3 การสร้างชนั้ เรยี นดว้ ย Google Classroom สำหรบั การใช้งาน Google Classroom ในบทบาทของผ้สู อนนัน้ สามารถทำไดด้ งั น้ี 1. สรา้ งชน้ั เรียนออนไลน์สาหรบั รายวิชานั้นๆ ได้ 2. เพ่ิมรายชอ่ื ผู้เรยี นจากบัญชขี อง Google เข้ามาอยู่ในช้ันเรยี นได้ 3. สามารถกำหนดรหัสผ่านให้ผเู้ รยี นนาไปใช้เพอ่ื เขา้ ชัน้ เรยี นเองได้ 4. สามารถตั้งโจทย์ มอบหมายการบ้านใหผ้ ู้เรียนทา โดยสามารถแนบไฟลแ์ ละกาหนดวนั ที่ส่ง

การบ้านได้ 5. ผู้เรยี นเข้ามาทำการบ้านใน Google Docs และสง่ เข้า Google Drive ของผู้สอน โดยจะ

จดั เก็บไฟลง์ านให้อยา่ งเปน็ ระบบภายใต้ Folder “Classroom” 6. สามารถเข้ามาดูจำนวนผเู้ รียนที่ส่งการบ้านภายในกาหนดและยงั ไมไ่ ดส้ ่งได้ 7. ตรวจการบ้านของผู้เรียนแตล่ ะคน พร้อมทง้ั ให้คะแนนและคำแนะนาได้ 8. สามารถเชญิ ผู้สอนท่านอนื่ เข้ารว่ มในช้นั เรียนเพือ่ รว่ มกนั จัดการเรียนการสอนได้ 9. ปรบั แต่งรูปแบบของชน้ั เรยี นตามธมี หรอื จากภาพส่วนตัวได้ 10.สามารถใชง้ านบนมอื ถอื ทง้ั ระบบปฏบิ ัติการ Android และ iOS ได้

สำหรบั Google Classroom ผู้สอนไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งรวู้ ธิ ีการเขียนโคด้ หรอื สร้างเวบ็ ไซตห์ รอื สบั สน กบั ข้ันตอนมากมายทตี่ ้องใช้ในการสร้างชน้ั เรียน สำหรับ Google Classroom เป็นเรื่องง่ายในการสร้าง ชั้นเรยี นเพยี งแค่คลิกที่ปุ่มและการเพม่ิ ข้อความบางสว่ น

3. แนวคดิ เกี่ยวกบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 3.1. ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน มีนักการศึกษาไดใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ไว้ดงั น้ี บุญชม ศรีสะอาด (2532, หน้า 52) ได้ให้ความหมายว่าของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่า

หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้ความรู้ ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ใน เนื้อหาสาระ และตามจุดประสงค์ของวิชาหรือเนื้อหาที่สอบนั้น จากความหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข้างต้น พอสรุปคาจำกัดความ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นได้วา่ หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของ บุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เกิด จากการฝึกอบรม หรือจากการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์จึงเป็นการตรวจสอบความสามารถ หรือความ สัมฤทธิ์ผล (Level of Accomplishment) ของบุคคลว่าเรียนรู้แล้วเทา่ ไร

12

กรมวิชาการ (2551, หน้า 21) ได้ให้ความหมายว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ปริมาณและทักษะของความรู้ในสาขาวิชาที่บุคคลได้รับลักษณะการจัดองค์ประกอบและโครงสร้างของ ความรแู้ ละการใชป้ ระโยชนโ์ ครงสร้างของความรู้ ในการแกป้ ญั หาในการคดิ เชิงสร้างสรรค์ในการประเมิน ความนา่ เช่อื ถอื ของข้ออ้างและในการศึกษาคน้ คว้าตอ่ ไป

สรุปได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถทางด้านการเรียนของแต่ละบุคคลท่ี ประเมินได้จากการทาแบบทดสอบหรือการทางานที่ได้รับมอบหมาย การวัดผลสัมฤทธิ์จึงเป็นการ ตรวจสอบความสามารถหรือความสัมฤทธิ์ผลของบุคคลว่าเรียนรู้แล้วเท่าไร และผู้วิจัยได้นำคะแนนของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมาศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานทั้งในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม

3.2 ลักษณะการวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มนี ักการศึกษาไดอ้ ธิบายลักษณะการวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ไวด้ ังนี้ ไพศาล หวังพาณชิ (2523, หนา้ 137) ได้แบง่ การวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามจุดมงุ่ หมาย

และลักษณะวชิ าที่สอน ซึง่ สามารถวัดได้ 2 แบบ คือ 1. การวัดด้านปฏิบัติการ เป็นการตรวจสอบระดับความสามารถในการปฏิบัติหรือ

ทักษะของผู้เรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความสามารถดังกล่าวในรูปการกระทาจริงให้ออกเป็น ผลงาน เช่น วิชาศิลปศึกษา พลศึกษา การช่าง เป็นต้นการวัดแบบนี้จึงต้องใช้ข้อสอบภาคปฏิบัติ (Performance Test)

2. การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา ซึ่งเป็น ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน รวมถึงพฤติกรรม ความสามารถในด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้โดยใช้ “ข้อสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ”

อานวย รงุ่ รศั มี (2525, หน้า 19-111) ไดใ้ ห้ความหมายวา่ การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรยี นจะตอ้ งสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3 ดา้ น คือ

1. ด้านความรู้ความคิด (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับ กระบวนการต่าง ๆ ทางด้านสติปัญญาและสมอง เช่น การจดจำข้อเท็จจริง ความเข้าใจ ความคิดการ ตั้งสมมติฐาน และปญั หา

2. ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการ เจรญิ เติบโตและพฒั นาการในดา้ นความสนใจ คุณค่า ความซาบซ้ึง และทัศนคติหรอื เจตคติของผเู้ รียน

13

3. ดา้ นปฏบิ ัตกิ าร (Psycho-Moto Domain) พฤตกิ รรมด้านนี้เกี่ยวข้องกบั การ พัฒนาทกั ษะในการปฏิบตั ิและการดำเนินการ เช่น การทดลอง เป็นต้น

สรุปได้ว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสามารถวัดได้ทั้งการวัดด้านปฏิบัติการโดยใช้ ข้อสอบภาคปฏิบตั ิ และการวัดดา้ นเน้อื หาโดยใชข้ อ้ สอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ซึง่ ในการวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน จะตอ้ งสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 3 ดา้ น คือ ด้านความรู้ความคิด ด้านความรู้สึก และด้าน ปฏบิ ตั ิการ จึงจะส่งผลให้การวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นมีประสิทธภิ าพสงู สุด

3.3 เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในการวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน มนี ักการศึกษาได้อธบิ ายถึงเคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ไวด้ ังน้ี ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ (2531, หน้า 146-147) ไดแ้ บ่งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์

ได้เป็น 2 พวก คอื 1. แบบทดสอบของผู้สอน หมายถึง ชุดคาถามที่ผู้สอนเป็นผู้สร้างขึ้น ซึ่งเป็นข้อคาถาม

เกยี่ วกบั ความรู้ท่ีผ้เู รยี นได้เรยี นในห้องเรยี นว่า ผ้เู รยี นมีความรู้มากแคไ่ หน บกพร่องที่ตรงไหน จะได้สอน ซอ่ มเสริม หรือเปน็ การวดั ดูความพรอ้ มท่ีจะเรียนบทเรียนใหม่ ซงึ่ ขึน้ อยู่กบั ความตอ้ งการของผ้สู อน

2. แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบประเภทน้ีสร้างข้ึนจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา หรอื จากผู้สอนทส่ี อนวิชานน้ั แต่ผ่านการทดลองคุณภาพหลายครง้ั จนกระทง่ั คณุ ภาพดีพอ จึงสร้างเกณฑ์ ปกติของแบบทดสอบนัน้ สามารถใชเ้ ปน็ หลกั เปรยี บเทยี บผลเพ่ือประเมินค่าของการเรียนการสอนในเร่ือง ใด ๆ ก็ได้ แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคู่มือดำเนินการสอบบอกวิธีสอบและมีมาตรฐานในด้านการแปล คะแนนดว้ ย

บุญชม ศรีสะอาด (2545, หน้า 50-53) ได้เสนอลักษณะของเครื่องมือที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นไว้ 2 ประเภท คือ

1. แบบทดสอบอิงเกณฑ์ (Criterion Referenced Test) หมายถึง แบบทดสอบที่สร้างขึ้น ตามจุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม มีคะแนนจุดตัดหรือคะแนนเกณฑ์สาหรับตัดสนิ ว่าผู้สอบมีความรู้ตามเกณฑ์ ทีก่ ำหนดหรือไม่ การวดั ตามจุดประสงคน์ ั้นเป็นหวั ใจสำคัญของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทนี้

2. แบบทดสอบองิ กลุม่ (Norm Reference Test) หมายถึง แบบทดสอบทมี่ ุ่งสร้างเพื่อให้วัด ครอบคลุมหลักสูตร จงึ สร้างตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร ความสามารถในการจำแนกผู้สอบตามความเก่ง อ่อนได้ดเี ป็นหัวใจของข้อสอบประเภทนี้ การรายงานผลการสอบอาศยั คะแนนมาตรฐานซึง่ เปน็ คะแนนท่ี ใช้ความสามารถในการให้ความหมาย และแสดงถึงศกั ยภาพของบคุ คลนน้ั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับบคุ คลอนื่ ๆ ท่ีใชเ้ ปน็ กลุ่มเปรียบเทียบ

14

สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบทดสอบอิงเกณฑ์ และแบบทดสอบอิงกลุ่ม และยังมี แบบทดสอบของครูและแบบทดสอบมาตรฐานที่สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้เช่นกัน โดยผู้วิจัย เน้นการทดสอบแบบอิงกลุ่มและใช้แบบทดสอบของครูในการวัดผลระหว่างเรียนและแบบทดสอบ มาตรฐานในการวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหลังการทดลอง

4. แนวคดิ และทฤษฎีเกย่ี วกับความพงึ พอใจ 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ มีนักการศกึ ษาหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของความพึงพอใจ ไว้ดังน้ี ธีรพล ทะวาปี (2544, อ้างถึงใน สาวิตรี เถาว์โท, 2558, หน้า 124) ให้ความหมายไว้วา่

ความพึงพอใจเปน็ ความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษยท์ ี่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กบั แต่ละบุคคลวา่ จะคาดหมาย กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งว่าอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและได้รับการตอบสนองด้วยดี จะมีความพึง พอใจมาก แต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง เม่ือได้รับการตอบสนองตามท่ี คาดหวังไว้ ทง้ั นขี้ น้ึ อยูก่ บั สง่ิ ทตี่ นนัน้ ตัง้ ใจไวว้ า่ จะมีมากหรือนอ้ ย

Mullins (1985, อ้างถึงใน จุมพล หนิมพานิช, 2542, หน้า 9) กล่าวว่า ความพึงพอใจ เป็นทัศนคตขิ องบุคคลทมี่ ตี อ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ หลาย ๆ ดา้ น เป็นสภาพภายในท่มี คี วามสมั พันธก์ บั ความรู้สึกของบ คุคลทีป่ ระสบความสำเรจ็ ในงานทงั้ ดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ เกดิ จากมนุษยจ์ ะมีแรงผลกั ดันบางประการใน ตัวบุคคล ซึ่งเกิดจากการที่ตนเองพยายามจะบรรลุถึงเป้าหมายน้ันแล้วจะเกิดความพอใจเป็นผลสะท้อน กลับไปยงั จุดเริ่มตน้ เปน็ กระบวนการหมนุ เวียนตอ่ ไปอีกที

พัฒนา พรหมณี , ยพุ ิน พิทยาวัฒนชัย และจีระศกั ดิ์ ทัพผา (2563) ได้ทำการศึกษา คน้ ควา้ เก่ยี วกบั ความพึงพอใจ และกล่าวไว้วา่ ความพึงพอใจ (Satisfaction) หมายถงึ ภาวะของอารมณ์ ความรสู้ กึ รว่ ม ของบุคคลทม่ี ีตอ่ การเรียนรูป้ ระสบการณ์ทเี่ กดิ จากแรงจงู ใจซ่งึ เปน็ พลงั ภายในของแตล่ ะ บคุ คล อันเปน็ ความสัมพนั ธ์ระหว่างเปา้ หมายทคี่ าดหวงั และความตอ้ งการดา้ นจติ ใจ น าไปสกู่ ารค้นหาสิ่ง ทต่ี ้องการ มาตอบสนอง เม่อื ได้รบั การตอบสนองความตอ้ งการแลว้ จะเกิดความรู้สกึ มคี วามสขุ กระตือรือรน้ มงุ่ มั่นเกิดขวัญกำลงั ใจ ก่อใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของการกระทำกิจกรรมท่ี นำไปสูเ่ ปา้ หมายนัน้ สำเร็จตามทกี่ ำหนดไว้ อีกนัยหนง่ึ ความพงึ พอใจ เป็นความรสู้ กึ ในเชงิ การประเมนิ ค่า อันเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญในการเรียนร้ทู ี่สัมพันธ์กบั ผลสัมฤทธ์ิของการเรียน ประสบการณ์ของแต่ละ บุคคล

15

สรปุ ไดว้ า่ ความพึงพอใจ หมายถงึ ส่งิ ทเี่ กิดจากแรงจงู ใจซ่ึงเป็นพฤตกิ รรมภายในที่ ผลกั ดนั ให้เกิดความรู้สกึ ชอบ ไมช่ อบ เหน็ ดว้ ย ไมเ่ ห็นด้วย ยนิ ดไี มย่ นิ ดี เมื่อไดร้ ับการตอบสนองความ ต้องการและความคาดหวัง ท่เี กดิ จากการประมาณคา่ อนั เปน็ การเรียนรปู้ ระสบการณ์จากการกระทำ กจิ กรรมเพื่อให้เกดิ การตอบสนองความตอ้ งการตามเป้าหมายของแต่ละบคุ คล

4.2 ทฤษฎที เี่ กี่ยวกับความพึงพอใจ มผี ้กู ล่าวถึงทฤษฎีทเ่ี กยี่ วกบั ความพงึ พอใจ ไว้ดงั นี้ ศิริโสภาคย์ บูรพาเดชะ (2553, หน้า 156-157) ได้อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีแสวงหาความ

พึงพอใจวา่ บุคคลพอใจจะกระทำสิ่งใด ๆ ท่ใี ห้ความสุข และจะหลีกเล่ียงไม่กระทำส่ิงที่เขาจะได้รับความ ทุกขห์ รอื ความลำบาก โดยแบง่ ความพงึ พอใจในกรณนี ีไ้ ด้ 3 ประเภท คอื

1. ความพอใจทางด้านจิตวิทยา (Psychological hedonism) เป็นของความพอใจว่า มนุษย์โดยธรรมชาติแล้วต้องแสวงหาความสุขสว่ นตวั หรอื หลีกเล่ียงจากความทุกข์

2. ความพอใจเก่ยี วกับตนเอง (Egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจวา่ มนุษย์จะพยายามแสวงหาความสขุ ส่วนตัว แต่ไม่จำเป็นว่าการแสวงหาความสขุ จะต้องเป็นธรรมชาติของ มนษุ ย์เสมอไป

3. ความพอใจเกี่ยวกับจริยธรรม (Ethical hedonism) ทรรศนะนี้ถือว่ามนุษย์แสวงหา ความสขุ เพือ่ หาผลประโยชน์ของมวลมนุษย์หรอื สังคมทต่ี นเปน็ สมาชกิ อยู่ และจะเปน็ ผู้ได้รับผลประโยชน์ น้ผี ู้หนึ่งด้วย นอกจากนี้ยังได้อธบิ ายเพม่ิ เติมว่า เมอื่ บคุ คลแตล่ ะคนเกดิ ความต้องการก็จะกำหนดเป้าหมาย ไปต่าง ๆ นานา เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ โดยที่ความต้องการของแต่ละคนจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่อไปนี้ 1. วัฒนธรรมและค่านิยม (Cultural norms and values) 2. ความสามารถทางด้าน ร่างกาย (Biological capacity) 3. ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ( Personal experience) 4. สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม (Physical and social environment)

Hertzberg (1959, อ้างถึงใน รดา วัฒนะนิรันดร์, 2558, หน้า 47) ได้ทำการศึกษา ค้นคว้าทฤษฎีที่เป็นมูลเหตุที่ทำให้เกิดความพึงพอใจว่า The Motivation Hygiene Theory ทฤษฎีได้ กล่าวถงึ ปจั จัยท่ีทำให้เกิดความพงึ พอใจในการทางาน 2 ปัจจัย คือ

1. ปัจจัยกระตุ้น (Motivation Factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานซึ่งมีผลก่อให้เกิด ความพึงพอใจในการทำงาน เช่น ความสำเร็จของงาน การไดร้ บั การยอมรับนบั ถอื ลกั ษณะของงานความ รบั ผิดชอบ ความกา้ วหน้าในตำแหนง่ การงาน

16

2. ปัจจัยค้ำจุน (Hygiene Factor) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมในการทำงาน และมหี น้าทีใ่ ห้บคุ คลเกดิ ความพงึ พอใจในการทำงาน เชน่ เงินเดอื น โอกาสทีจ่ ะก้าวหน้าในอนาคต สถานะ ของอาชพี สภาพการทำงาน เป็นต้น

จากการศึกษาทฤษฎีท่ีเกีย่ วกับความพึงพอใจดังกล่าวขา้ งต้น สามารถสรุปไดว้ ่า การจัด กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่จะบรรลุผลสำเร็จจึงต้องคำนึงถึงการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อวัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอนทีก่ ระตุ้นผู้เรียนให้มีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งผลให้ผู้เรียนเกดิ ความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นรแู้ บบผสมผสานผู้วิจยั พัฒนาขน้ึ

4.3 การวัดความพงึ พอใจ มีผกู้ ลา่ วถึงการวัดความพึงพอใจ ไว้ดงั นี้ บุญชม ศรสี ะอาด (2545, หน้า 106) ได้กล่าวว่า ความพึงพอใจเปน็ คณุ ลกั ษณะทางจิตใจ

ของบุคคลท่ีไมอ่ าจวดั ได้โดยตรง การวดั ความพึงพอใจเปน็ การวัดโดยออ้ ม วิธีการวัดความพงึ พอใจในงานที่ ใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันมีหลากหลายวิธีด้วยกัน จากการศึกษาวิธีการวัดความพึงพอใจของ นักวิชาการหลายท่านพบประเด็นของวธิ ีการวัดท่ีคล้ายกนั มาตรวดั ความพงึ พอใจสามารถกระทำได้หลาย วธิ ี สรปุ ไดด้ ังน้ี

1. การใช้แบบสอบถาม โดยผู้สอบถามจะออกแบบสอบถามเพื่อต้องการทราบความ คิดเหน็ ซง่ึ สามารถทำไดใ้ นลักษณะท่กี ำหนดคาตอบใหเ้ ลือกหรอื ตอบคาถามอสิ ระคำถามดังกล่าวอาจถาม ความพึงพอใจในด้านตา่ ง ๆ เชน่ การบริหาร การควบคมุ งานและเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ

2. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีวัดความพึงพอใจทางตรงทางหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยเทคนิคและ วธิ กี ารทด่ี ีจงึ จะทำใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีเปน็ จริงได้

3. การสังเกต เปน็ วิธกี ารวดั ความพึงพอใจ โดยการสังเกตพฤตกิ รรมของบคุ คลเป้าหมาย ไมว่ า่ จะแสดงออกทางการพดู กริ ยิ าท่าทาง วธิ นี ี้จะต้องอาศัยการกระทำอย่างจริงจังและการสังเกตอย่างมี ระเบยี บแบบแผนในงานวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกรูปแบบการวัดความพึงพอใจด้วยแบบสอบถาม โดยใช้ มาตรวัดแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) มคี า่ ตวั เลือก 5 ระดับ ดงั นี้

ระดับ 5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทสี่ ดุ ระดับ 4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก ระดบั 3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง พึงพอใจน้อย

17

ระดับ 1 หมายถงึ ไม่มีความพึงพอใจ การพจิ ารณาระดบั ความพงึ พอใจของผเู้ รียน พิจารณาจากค่าเฉล่ียของคะแนน โดยเทยี บกับเกณฑ์ ดงั นี้

ชว่ งคะแนน 4.51-5.00 หมายถึง พึงพอใจมากท่ีสุด ชว่ งคะแนน 3.51-4.50 หมายถึง พงึ พอใจมาก ชว่ งคะแนน 2.51-3.50 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ชว่ งคะแนน 1.51-2.50 หมายถงึ พึงพอใจนอ้ ย ชว่ งคะแนน 1.00-1.50 หมายถึง พงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ การจากศึกษาสรปุ ได้ว่า การวัดความพึงพอใจเป็นคุณลักษณะทางจติ ใจของบุคคลที่ไม่อาจวัดได้ โดยตรง การวัดความพึงพอใจเป็นการวดั โดยอ้อม วิธีการวัดความพึงพอใจในงานท่ีใช้กันอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การใชแ้ บบสอบถาม การสมั ภาษณก์ ารสงั เกต ในการวิจยั ครง้ั น้ผี ู้วจิ ยั ได้เลือกรปู แบบการวัดความพึง พอใจด้วยแบบสอบถาม โดยใช้มาตรวัดแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มีค่าตัวเลือก 5 ระดบั ซึง่ เป็นวธิ ีการวัดความพึงพอใจท่เี หมาะสมสำหรับนกั เรยี นกลมุ่ ทดลอง

5. งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้องกบั การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom 5.1 งานวิจัยในประเทศ นายสุเทพ มะลิวัลย์ (2560) ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านการจัดการ

เรียนการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ผ่านการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ด้วย บริการ Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 มี ค่าประสิทธิภาพ 82.62/83.26 มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.72 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลงั จากเรยี นด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผา่ นการจดั การเรียนการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 สำหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรยี นสตลู วทิ ยา สูงกวา่ กอ่ นเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดับ 0.05 และ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรยี นคอมพิวเตอรผ์ ่านการ จัดการเรียนการสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 สำหรับ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ เป็นไปตามสมมตฐิ านท่ตี ้ังไว้

นางสุมนา สุขพันธ (2561) ได้ทำการวิจยั เรือ่ ง การเปรียบเทียบนวัตกรรมการเรียนการสอนดว้ ย ห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom กับรายวิชาออนไลน์บนเว็บไซต์การเรียนการสอน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความต้องการ ความพงึ พอใจ และประโยชน์ในการใชง้ านนวตั กรรมการเรียนการ

18

สอนด้วยนวตั กรรมประยกุ ตโ์ ดยรายวิชาออนไลน์บนเวบ็ ไซต์ (แบบใหม่) มรี ะดับท่นี ้อยกวา่ การใชน้ วัตกรรม การเรียนการสอนด้วยหอ้ งเรียนออนไลนโ์ ดย Google Classroom (แบบเดิม) ซึ่งอาจเกดิ จากความไม่คุ้น ชินของนักศึกษาในการใช้งาน ผู้วิจัยมีความคิดเหน็ ว่าสามารถที่จะพัฒนานวัตกรรมประยุกต์โดยรายวชิ า ออนไลน์บนเว็บไซต์ (แบบใหม่) ให้สามารถใช้งานต่อไปได้ เพราะนักศึกษาที่ตอบว่าชอบใช้งานรายวิชา ออนไลน์บนเว็บไซต์การเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก และเห็นว่าข้อมูลมีความหลากหลาย ทำให้ได้ เรียนรู้จากการเข้าใช้งานเว็บไซต์ได้มากขึ้น การเข้าถึงมีความง่ายกว่าการใช้ Google Classroom.แต่มี ข้อจำกัดท่ีนักศึกษาต้องจำช่องทางการเข้าถึงเว็บไซต์สำหรับข้อจำกัดนี้ผู้วิจัยได้แก้ปัญหาด้วยการใช้ เว็บไซต์ที่มีคุณสมบัติย่อ URL ของรายวิชาให้สะดวกและจ าง่าย รวมถึงการออกแบบเนื้อหาและการ มอบหมายงานใหอ้ ยู่บนหน้าเพจเดยี วกนั

นายสุรศักดิ์ ทิพย์พิมล (2560) ได้ทำการวิจยั เรื่อง การพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใช้ Google classroom ในรายวิชาคอมพวิ เตอร์กราฟกิ ของนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ผลการวิจัยพบวา่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัด กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้ระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ Google classroom มคี า่ คะแนนผ่านเกณฑ์ ประเมินทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 ร้อยละของคะแนนทีเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 55.95 2. ความพึงพอใจของ นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ที่มตี ่อจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้ Google classroom ในรายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก พบวา่ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่สี ดุ ( ̅= 4.57, S.D. = 0.55)

นางสร้อยสุวรรณ เตชะธ (2562) ได้ทำการวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอน โดยใช้สื่อออนไลน์ Google Classroomของนักศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 กศน.ตำบลหนองหล่ม ผลการวิจัยพบว่า ด้านการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ชว่ ยให้ประหยัดเวลาในการเรยี นมีคา่ เฉลี่ยสูงสดุ เท่ากับ 4.60 ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ถือว่านักศึกษามีความพึงพอใจมากที่สุด ด้านความปลอดภัยในการใช้งานระบบในส่วนของการ กำหนดความเป็นตัวตน มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 4.40 ถือว่ามีความพึงพอใจมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.52 ข้อดขี องการใช้Google Classroom หวั ข้อสะดวกและประหยัดเวลา มีคา่ เฉล่ียสูงสุดเท่ากัน 4.60 ถือว่ามีความพึงพอใจมากที่สุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ข้อเสียของการใช้Google Classroom หัวข้อทำใหน้ ักศึกษาแยกตวั ออกจากกลมุ่ เพือ่ น 90 และทำใหไ้ ม่มีอิสระต้องอาศัยเทคโนโลยี มาช่วยเท่าน้ันมีค่าเฉล่ียสูงสุด เท่ากบั 3.90 ถอื ว่ามีความพงึ พอใจระดับมาก สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ

19

0.99 และค่าเฉลี่ยรวม 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ถือว่ามีความพึงพอใจมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 0.26

นายศุภเศรษฐ์ พึ่งบัว (2562) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาอินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า บทเรียนออนไลน์ วิชาอินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google Classroom สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์E1 มีค่าเท่ากบั 82.06, E2 มีค่าเท่ากบั 81.10 ซึ่ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา่ หลงัเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ ความพงึ พอใจของนกัเรียนท่ีมีต่อการเรยี นหลงั เรยี น อยู่ในระดับมากทสี่ ุด

5.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ Cahill (2014, Abstract) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ผลประโยชน์ในการร่วมมือกนั จาก Google Apps เพือ่ การเรยี นการสอน ในการศกึ ษาในระดับท่ีสูงขึน้ โดยสอบถามจากกลมุ่ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ ครูผู้สอนจานวน 8 คน ซึ่งนาเครื่องมือของ Google Apps เพื่อการเรียนการสอนไปใช้งานในห้องเรียนอย่างน้อย 2 โปรแกรม และนกั เรยี นจานวน 4 กลมุ่ ที่เคยใช้เคร่อื งมอื เหล่านีแ้ ล้ว ผลการวิจยั พบว่ากลุ่มตัวอย่างท้ังสอง กลมุ่ รูส้ กึ วา่ การเรียนรู้โดยการใช้เครื่องมอื ทางเทคโนโลยรี ่วมดว้ ยเป็นสงิ่ ที่มีประโยชน์ และสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากน้ีพบว่าการสอนในด้านการเรยี นรรู้ ่วมกันและทกั ษะการส่ือสาร แบบต่าง ๆ ผา่ น Google Apps เพือ่ การเรียนการสอนยงั มสี ่วนช่วยให้ผเู้ รียนไดเ้ ตรียมความพร้อมถึงการ งานและอาชพี ได้ในอนาคต Railean (2012, pp. 19-27) ทำการศึกษาเร่อื ง การจัดหารปู แบบการใชง้ าน Google Apps เพือ่ การเรียนการสอนในด้านของผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพของห้องเรียนวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ทั้งในระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และในระดับมหาวิทยาลัยและได้กล่าวว่า รูปแบบการทำงานของ Google Apps เพื่อการเรียนการสอนมีความสอดคล้องกับยุคโลกาภิวัตน์ที่การเรียนรู้ปรับเปลี่ยนไปให้มีความ เหมาะสมกับความสามารถของผเู้ รียน และยังชว่ ยปรบั ปรงุ ให้ผู้เรียนเข้าถึงการเรยี นรู้ รบั ร้ขู อ้ มูล ประเมิน ค่า และนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มสี ่วนร่วมในการทำงานเป็นทมี และยังสามารถนำมาใช้กับกิจกรรมการเรียนการสอนแบบซิงโครนัสและแบบอะซิงโครนัสได้อีกด้วย ซ่ึง งานวิจัยได้กล่าวเสนอแนะไว้ในตอนท้ายว่ารัฐบาลจาเป็นต้องสร้างข้อตกลงในการใช้งาน Google Apps เพอื่ การเรยี นการสอนใหถ้ ูกต้องตามกฎหมายเพอื่ เอือ้ อำนวยให้สถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ ได้ใชง้ าน Google Apps เพือ่ การเรยี นการสอนอยา่ งทั่วถึงอกี ดว้ ย

20

บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั

ในการดำเนินการศึกษาวจิ ัยคร้งั นีม้ ีวัตถุประสงคเ์ พ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรือ่ งระบบทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ซ่งึ ได้ดำเนนิ การซง่ึ มรี ายละเอียดเป็นขน้ั ตอนดงั นี้

ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ 1. วิเคราะหห์ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2561)

และหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรยี นสุรธรรมพทิ ักษ์ มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ตวั ช้วี ดั ท่ี 3/1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

2. จัดทำโครงสรา้ งและออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 เร่อื งระบบทางเทคโนโลยี รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี1 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 กลุ่มสาระ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกบั หลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2561)

3. จดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 เรอื่ งระบบทางเทคโนโลยีรายวชิ าออกแบบ และเทคโนโลยี1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้รูปแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ PEEKE ประกอบ 5 ข้ันตอน ดังนี้

ข้นั ที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Pique) ขน้ั ท่ี 2 คน้ หาคำตอบ (Exploration) ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายหาข้อสรปุ (Explanation) ขน้ั ท่ี 4 ความเขา้ ใจ (Knowledge) ข้นั ท่ี 5 ประเมนิ ผล (Evaluation) 4. สร้างหอ้ งเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom ประกอบด้วย เนอ้ื หาใบความรู้ ใบกิจกรรม แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี น ท่มี ตี อ่ บทเรียนออนไลน์ และรูปแบบการจดั การเรียนรแู้ บบ PEEKE หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรือ่ งระบบ ทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 สำหรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 ภาคเรียนท่ี 2

21 ปกี ารศึกษา 2564

5. นำห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื งระบบทางเทคโนโลยี รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ใช้กับนักเรยี น ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/3 โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบ PEEKE ประกอบ 5 ขนั้ ตอน ดงั น้ี

1. กระตุ้นความสนใจ (Pique) กระตนุ้ ความสนใจโดยใช้สื่อการสอนการต์ นู ส้นั ๆ ใหเ้ กดิ ประเด็นคำถาม

2. การค้นหาคำตอบ (Exploration) ผเู้ รียนทำกิจกรรม เล่นเกมเพือ่ การเรียนรู้ และค้นหาคำตอบ ดว้ ยตนเอง

22 3. อธบิ ายหาขอ้ สรปุ (Explanation) ผู้เรยี นอธบิ ายคำตอบ และใหเ้ พื่อน ๆ ตงั้ คำถาม และให้ครู อธิบายเพิ่มเตมิ

4. ความเขา้ ใจ (Knowledge) ผู้เรยี นทำกิจกรรม นำส่งิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปประยุกตใ์ ช้หรือ ขยาย ความร้แู ละทกั ษะไปใชแ้ กป้ ญั หาในชวี ิตประจำวันได้

23 5. ประเมนิ ผล (Evaluation) วดั และประเมนิ ผลความรขู้ องผูเ้ รียนดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย โดย คำถามปลายเปิด การสังเกต และแบบทดสอบ

6. วดั และประเมนิ ผลโดยสภาพจรงิ และทำแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ บทเรยี นออนไลน์

7. นำผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นและผลการสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี น มาสรุปและเปรยี บเทียบมาตรฐานตัวชี้วดั ตามค่าเป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั

1. แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 เร่ืองระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาออกแบบและ เทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ PEEKE

2. หอ้ งเรยี นออนไลน์ด้วย Google Classroom สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/3 3. แบบทดสอบทา้ ยบทท่ี 1 เทคโนโลยเี ปลย่ี นแปลงโลก สำหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/3

24

4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 ที่มีต่อการจดั การเรียนการ สอนโดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom หนว่ ยการ เรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 20 ขอ้

การวเิ คราะห์ข้อมลู

4.1 วิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ผลจากผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรื่องระบบทางเทคโนโลยี

รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 โดยใช้

รูปแบบการจดั การเรียนรู้แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classroom และแบบประเมิน

ความพงึ พอใจของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1/3 หลงั จากเรยี นจบหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 20 ขอ้

4.2 สถติ ิท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู

4.2.1 การหาคา่ ร้อยละ

ค่ารอ้ ยละ = X x 100

N

เมอื่ X = จำนวนนักเรยี นทไ่ี ด้

N = จำนวนนักเรียนท้งั หมด

4.3 การประเมนิ ความพึงพอใจ

คะแนนรวม = ความถสี่ ะสม X คา่ คะแนน

คะแนนเฉลยี่ = คะแนนรวม

จำนวนผตู้ อบ

เกณฑก์ ารประเมินความพึงพอใจ

คา่ เฉลี่ย แปลความหมาย

4.51 – 5.00 มากทส่ี ดุ

3.51 – 4.50 มาก

2.51 – 3.50 ปานกลาง

1.51 – 2.50 นอ้ ย

0.00 – 1.50 นอ้ ยที่สุด

25

บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย

การทำวิจยั ในครง้ั น้ี มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยี รายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ไดผ้ ลดงั นี้

ผลทีเ่ กดิ ตามวัตถุประสงค์ จากผลการดำเนินงาน ตามขนั้ ตอนการพฒั นารปู แบบการจัดการเรียนรู้ แบบ PEEKE ผ่าน

หอ้ งเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom หน่วยการเรียนรู้ เรอื่ งระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาการ ออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายทกุ ขอ้ โดยมีรายละเอียดต่อไปนี้

1. เพอื่ พฒั นาห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ดว้ ยรูปแบบการจดั การเรียนรู้ แบบ PEEKE สำหรับนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ใหม้ ีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80

การหาประสทิ ธภิ าพของรปู แบบการจดั การเรยี นรู้ แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ไดท้ ดสอบหาประสิทธภิ าพ 3 ขนั้ ตอน คือ ขน้ั ทดสอบรายบคุ คล ขน้ั ทดสอบกลุม่ เลก็ และขัน้ ทดสอบภาคสนาม ผู้สอนได้เก็บรวบรวมขอ้ มูลและทำการวเิ คราะห์ ดังปรากฏผลในตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 คะแนนการหาประสิทธิภาพของรปู แบบการจดั การเรียนรแู้ บบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

ข้ันการหาประสทิ ธิภาพ ห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom E1 E2 รายบคุ คล 70.00 75.00 กลมุ่ เลก็ 84.38 83.75 ภาคสนาม 85.28 84.44

26

จากตารางท่ี 4 พบว่าขน้ั ทดลองรายบุคคล ทำการทดลองกับนักเรยี น จำนวน 4 คน ไดค้ า่ E1 เท่ากบั 70.00 และ E2 เทา่ กับ 75.00 พบประเด็นทต่ี อ้ งปรบั ปรงุ ไดแ้ ก่ รูปแบบ ขน้ั ตอนการเล่นเกมเพอ่ื คน้ หาคำตอบ นกั เรยี นยังสับสนเรื่องรปู แบบการเลน่ เกม เนือ่ งจากมีหลายรปู แบบ ผูส้ อนไดท้ ำการ ปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปทดลองกลุ่มยอ่ ย ข้นั ทดลองกลุ่มยอ่ ย ทำการทดลองกบั นักเรียน จำนวน 8 คน ไดค้ ่า E1 เทา่ กับ 84.38 และ E2 เท่ากบั 83.75 และในขั้นทดลองภาคสนาม ผลการหาประสิทธภิ าพ รปู แบบการจดั การเรียนรู้ แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ไดค้ ่า E1 เทา่ กับ 85.28 และ E2 เทา่ กับ 84.44 เมอ่ื นำคา่ ที่คำนวณได้ไปเปรยี บเทยี บกับเกณฑท์ ่ีตง้ั ไว้ คือ E1/E2 = 80/80 พบวา่ รปู แบบการจัดการเรยี นการสอน แบบ PEEKE ผา่ นหอ้ งเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ทพ่ี ัฒนาข้นึ มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑท์ ี่ตงั้ ไว้

2. เพอื่ พฒั นาทักษะกระบวนการคดิ ของนักเรยี น และมีเจตคติทดี่ ีต่อการเรยี นรายวชิ าการ ออกแบบและเทคโนโลยี ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรยี นตอ่ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ แบบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom พบวา่ นักเรียนมคี วามพึงพอใจระดบั มาก มคี า่ เฉลี่ย 4.18

3. เพอื่ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ เร่อื ง ระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ให้สงู ขึ้น

ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้ เรือ่ ง ระบบ ทางเทคโนโลยี รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ท่ีเรยี นด้วยรูปแบบการจัดการ เรียนรู้ แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom แสดงดังตารางตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี นก่อนเรยี นกับหลังเรียน

การทดสอบ n X S.D. t p 4.34 ก่อนเรียน 36 8.78 0.94 20.85* 0.000 0.87 หลงั เรยี น 36

*มนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดบั .05

จากตารางที่ 5 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี น ก่อนเรียน กับหลงั เรียน ท่ีเรยี นดว้ ยรปู แบบการจดั การเรียนรู้ แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom พบว่า ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรียนหลังเรียนมคี า่ เฉลีย่ ( X) เท่ากบั 8.78 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 0.87 สูงกว่าผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นทม่ี ีคา่ เฉลี่ย ( X) เท่ากบั 4.34 และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.94 อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05

27

4. เพอ่ื สง่ เสริมคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและค่าเป้าหมายของโรงเรียน

ผลจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ แบบ PEEKE หน่วย การเรียนรู้ เรอื่ งระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี น ที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 คอื ค่าร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อันพึงประสงค์ ระดับ 3 มีคา่ สูงสดุ คอื รอ้ ยละ 84.58 ผลการประเมิน ระดบั 2 ร้อยละ 12.33 และ ผลการประเมิน ระดบั 1 รอ้ ยละ 3.08 (งานวชิ าการโรงเรยี นสรุ ธรรมพิทกั ษ.์ 2564) แสดงดงั ภาพ

สรปุ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี1

100 84.58

80

60

40

20 12.33 0 3.08 0 0 3 21

กราฟแสดงผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี

28

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ

จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องระบบทาง เทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classroom สามารถสรุป ผลการวจิ ัยได้ดงั น้ี

1. สรปุ ผล 1. เชิงปริมาณ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 จำนวน 227 คน มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รายวชิ าการออกแบบ

และเทคโนโลยี 1 (ว21182) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 มคี ่าเฉลี่ย 3.54 นกั เรยี นท่มี ผี ลการเรียน 3-4 คิดเปน็ ร้อยละ 70.93 ซง่ึ สูงกว่าค่าเป้าหมายทโี่ รงเรียนต้ังไว้ คอื ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 นกั เรยี นที่มี ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 96.92 ซึ่งสงู กว่าค่าเปา้ หมายทโ่ี รงเรียนตงั้ ไว้ คอื ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

2. เชงิ คณุ ภาพ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1/3 ท่ีเรยี นรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี1 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการคดิ สามารถทำงานร่วมกันกบั ผู้อนื่ สามารถ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสอื่ สารและสบื ค้นข้อมูลดว้ ยตนเองได้ มีความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรยี นการสอนโดย ใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นร้แู บบ PEEKE ผา่ นหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classroom อยใู่ นระดับดีขึ้นไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 71.62

2. อภปิ รายผล จากผลการดำเนินงาน การจดั การเรียนการสอน แบบ PEEKE ผา่ นห้องเรยี นออนไลน์ Google

Classroom พบว่า นักเรียนมที กั ษะและกระบวนการคดิ เจตคตทิ ่ดี ี ตอ่ การเรยี นรายวชิ าการออกแบบและ เทคโนโลยีเพม่ิ ขึ้น มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์สูงกว่าค่า เปา้ หมายทส่ี ถานศึกษากำหนด สามารถแยกผลสัมฤทธขิ์ องงาน ดังน้ี

2.1 ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (งานวิชาการโรงเรียนสุรธรรมพทิ กั ษ์. 2564) สรปุ นักเรยี นมี ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น รายวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี 1 (ว21182) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา

29

2564 มีคา่ เฉลยี่ 3.54 นักเรยี นท่มี ผี ลการเรียน 3-4 คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.93 ซงึ่ สูงกว่าคา่ เปา้ หมายท่โี รงเรียน ตั้งไว้ คอื ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 นักเรยี นทมี่ ีผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 96.92 ซึง่ สงู กวา่ คา่ เป้าหมาย ทโี่ รงเรียนตัง้ ไว้ คอื ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

2.2 มที กั ษะกระบวนการคิดและเจตคตทิ ี่ดตี อ่ รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี การจัดการ เรยี นการสอน แบบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom โดยมขี นั้ ตอนการจัดการ เรียนรู้ท่ชี ดั เจน 5 ข้นั ตอน คือ ข้นั การกระตนุ้ ความสนใจ ข้นั การคน้ หาคำตอบ ขน้ั การอธบิ ายหาขอ้ สรุป ขน้ั การขยายความเข้าใจ และขัน้ การประเมนิ ผล เปน็ วธิ กี ารจดั การสอนทเ่ี น้นให้นกั เรียนแสวงหาความรู้ ดว้ ยตนเองมี ประสบการณต์ รงในการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทาง ความคิด ค้นพบความรหู้ รือ แนวทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางความคิด คน้ พบความรหู้ รอื แนวทางแก้ปญั หาไดเ้ อง นกั เรียนสนกุ กับการเรียนรู้ เพราะมกี จิ กรรมที่หลากหลายใหไ้ ด้มาซ่งึ คำตอบ สรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง จากประสบการณ์ตรง และสามารถนำมาประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวติ ประจำวันได้ จงึ สามารถสรปุ ได้วา่ การจดั การเรยี นการสอน แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom สามารถทำให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น และทกั ษะการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา ของนักเรยี นสูงข้ึนได้

3. ข้อเสนอแนะ และขอ้ ควรระวังในการนำผลงานไปประยกุ ต์ใช้ 3.1 ในการจัดการเรยี นรแู้ บบ PEEKE ผา่ นห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

ผสู้ อนควรเตรยี มความพร้อมให้กับนักเรยี น โดยการวิเคราะหน์ กั เรียนรายบุคคล และตรวจสอบ ความพรอ้ มของอุปกรณก์ ารเรยี น ไดแ้ ก่ คอมพวิ เตอรห์ รือโทรศัพทม์ ือถอื และสญั ญาณอินเทอร์เน็ต

3.2 ในการประยุกตใ์ ชก้ ารจัดการเรยี นการสอน แบบ PEEKE ผ่านห้องเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom ผูส้ อนควรเน้นบรรยากาศในการจดั การเรียนรู้ ให้นักเรยี นมีอสิ ระในการคิด บนพ้นื ฐานการวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ีเปน็ ระบบ เพอ่ื ให้ไดอ้ งค์ความรู้ใหม่ ซึ่งจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นได้พฒั นา ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และใชเ้ หตผุ ลในการคิด สามารถพัฒนาความสามารถในการคดิ อย่างมีวจิ ารณา ญาณ

3.3 ในการจัดการเรยี นรู้ ผสู้ อนควรอธิบายเก่ียวกับกระบวนการเรียนรู้ ขนั้ ตอนของกจิ กรรม และงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย เพอื่ ใหน้ ักเรียนเข้าใจกระบวนการเรยี นรู้ ผสู้ อนต้องมกี ารเตรยี มตวั ลว่ งหนา้ และศกึ ษาเนื้อหา เตรียมบทเรียนใหเ้ หมาะสมตอ่ ความสามารถของนักเรียน นอกจากนี้ ผสู้ อนจะต้อง วางแผนกิจกรรม กำหนดเวลาให้ชัดเจน ตลอดจนรวบรวมส่อื การสอนเพิ่มเติมลว่ งหนา้ เพือ่ ใหน้ ักเรียนได้ เรียนรู้ผ่านห้องเรยี นออนไลนไ์ ดอ้ ย่างราบรน่ื

30

4. แนวทางการพัฒนาเพิม่ เติม 4.1 ควรมีการกิจกรรมการเรยี นการสอน แบบ PEEKE สง่ เสริมการเรยี นรู้นอกห้องเรยี น

เช่น การออกค่าย การไปทัศนศกึ ษา หรือใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในห้องเรยี นปกตทิ ี่ไมใ่ ช่ การสอนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom

4.2 ควรศึกษาผลการจดั การเรยี นรู้ แบบ PEEKE ไปทดลองใช้กับกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น เช่น ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ เปน็ ตน้

4.3 ควรมกี ารศึกษาวิจยั เกย่ี วกับการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาเช่ือมโยงกบั สาระการเรียนร้อู ่นื กับการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ การคดิ วเิ คราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ เปน็ ต้น

บรรณานุกรม

กรมวชิ าการ. (2551). หลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : องคก์ ารรับสง่ สนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2542). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า : http://www.school.obec.go.th/sup_br3/cr_04.html [20 มีนาคม 2564].

กิตติศักด์ิสงิ หส์ งู เนนิ และณมน จรี ังสวุ รรณ. (2558). Google for Education กบั การปฏริ ูป การศึกษาไทย. วารสารพฒั นาเทคนคิ การศกึ ษา. 28(96), 14-20.

ทศิ นา แขมมณี. (2545). รปู แบบการเรียนการสอนทางเลือกท่หี ลากหลาย. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ธีพพล ทะวาปี. (2544). ความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงานของขา้ ราชการครุในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สงั กัดกรมสามัญศึกษา จงั หวดั อดุ รธานี (รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระปริญญา มหาบัณฑิต). มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

บญุ ชม ศรสี ะอาด (2532, หนา้ 52). วธิ ีการทางสถติ ิสำหรับนกั วจิ ัย เลม่ 2. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ เจรญิ ผล.

บุญชม ศรีสะอาด (2545). การวิจยั เบอ้ื งต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรงุ เทพฯ. สรุ ีวริ ยิ าสาส์น. ปรชั ญนันท์ นิลสุข. (2545). กระบวนการเรียนรู้ การเชอ่ื มโยง และรูปแบบการเรียน

การสอนผ่านเวบ็ ท่มี ีตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน การแกป้ ญั หา และการถา่ ยโยง การเรียนร.ู้ สงขลา : สำนกั วิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. พัฒนา พรหมณียพุ ิน พทิ ยาวฒั นชยั และจีระศักด์ิ ทพั ผา. (2563). แนวคดิ เก่ียวกับความพงึ พอใจ และการสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจในงาน.วารสารวชิ าการสมาคมสถาบันอุดมศึกษา เอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.). 26 (1) : 59-66. ไพศาล หวงั พานิช. 2523. การวัดผลการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สำนกั ทดสอบทางการศึกษาและ จิตวทิ ยา มหาวิทยาลัยศรนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พวงทอง มมี งั่ ค่ัง. 2537. การสอนวทิ ยาศาสตรระดบั ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : พฒั นาศึกษา โรงเรียนสุรธรรมพิทกั ษ์. งานวชิ าการ. (2564). การศกึ ษาผลการจัดการเรียนการสอน รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564. นครราชสมี า : โรงเรยี นสรุ ธรมพทิ ักษ์. ลาภวัต วงศ์ประชา. (2561). แนวทางส่งเสริมการใช้ Google Classroom พัฒนาการเรยี น การสอนนักศกึ ษาในระดับอาชวี ศึกษา มหาวทิ ยาลัยนครพนม. วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม. สกลนคร: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร.

32

บรรณานกุ รม (ต่อ)

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2531, หน้า 146-147). เทคนคิ การวจิ ยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์ส

ศิรโิ สภาคย์ บรู พาเดชะ. (2553). แรงจูงใจกับการทํางาน.กรงุ เทพ ฯ : ธรี ฟิลม์ และไซเท็กซ์. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). แนวทางการจัดการเรียนการสอน

ด้วย GOOGLE CLASSROOM. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า : http://oho.ipst.ac.th/google- classroom-learning-approach [20 มนี าคม 2564]. สวนา พรพัฒนก์ ุล. (2525). อิทธพิ ลของตัวแบบทมี่ ีตอ่ พฒั นาการทางดา้ นความคิดและ การเรียนรู้ทางสังคมของเด็กไทย. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าจิตวิทยา มหาวทิ ยาลัย ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. สุเทพ มะลวิ ลั ย์. (2560). การพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ผา่ นการจัดการเรียนการสอน ออนไลนด์ ว้ ย Google Classroom รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 สำหรบั นักเรยี น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1. สตูล : โรงเรียนสตลู วทิ ยา อำเภอเมือง จงั หวัดสตูล. สรุ ศกั ดิ์ ทิพย์พิมล. (2560). การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ Google classroom ในรายวิชา คอมพวิ เตอร์กราฟิก ของนักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5. [ออนไลน์] แหล่งทม่ี า : http://www.krujeen.com/web/wp-content/uploads/2018/07/Research_ Google-classroom -2017.pdf [30 มนี าคม 2564]. สุมนา สขุ พนั ธ. (2561). การเปรยี บเทยี บนวัตกรรมการเรียนการสอนดว้ ยหอ้ งเรียนออนไลนโ์ ดย ใชG้ oogle Classroom กับรายวชิ าออนไลน์บนเวบ็ ไซต์การเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ : สาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลัยเอเชยี อาคเนย์. สร้อยสุวรรณ เตชะธ (2562). ความพึงพอใจในการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้สือ่ ออนไลน์ Google Classroom ของนักศึกษาระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562. [ออนไลน์] แหล่งท่ีมา : http://hc.ac.th/userfiles/files/รายงาน วิจยั ในช้ันเรียน_หนองหลม่ .pdf [10 มนี าคม 2564]. ศุภเศรษฐ์ พ่ึงบวั . (2562). การพฒั นาบทเรยี นออนไลน์วชิ าอินเทอรเ์ นต็ ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom ส าหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี 1. [ออนไลน์] แหลง่ ที่มา : http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/57912242.pdf [6 เมษายน 2564]. อำนวย ร่งุ รัศมี. (2525). การสอนวทิ ยาศาสตร์แบบกา้ วหนา้ . มหาสารคาม : ภาควิชาชวี วทิ ยาคณะ วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วทิ ยาเขตมหาสารคาม.

33

บรรณานุกรม (ต่อ)

Cahill. (2014, Abstract). Google Apps for Education – a powerful solution for globalscientific classrooms with learner centred environment. [Online]. https://www.academia.edu/2464241/Google_Apps_for_Education_a_ powerful_solution_for_global_scientific_classrooms_with_learner_centred_ environment [April 15,2021].

Gagne, R. M. (1974). Principles of instructional design. New York : Mcgraw-Hill. Google Inc. (2014). Google Apps for Education. Retrieved April 6,2020, from

http://www.google.com/enterprise/apps/education. Herzbreg, F., Mausner, B., & Snyderman, B. (1959). The motivation to work.

New York : McGraw-Hill Book. Lawson, A.E. (1995). Science Teaching and Development of Thinking. California :

Allyn and Bacon. OECD (2020). Organization for Economic Co-operation and Development :

A Guiding Framework for Entrepreneurial Universities. Available online at https://.oecd.org/site/cfecpr/ECPECD%20Entrepreneurial%20Universities%20 Framework.pdf.

34

ภาคผนวก

35

แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/3 ท่มี ตี อ่ การจดั การเรียนการสอนโดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3

เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยีรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

คำช้แี จง ให้นกั เรยี น ✓ ระดบั คณุ ภาพ โดยพจิ ารณาจากเกณฑก์ ารประเมนิ เพ่ือเปน็ แนวทางในพฒั นาการจัดการเรียนการสอนต่อไป

ระดบั คณุ ภาพ เกณฑ์การประเมิน 5 มากที่สุด หมายถึง นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจตอ่ การจดั การเรยี นรูข้ องครูผู้สอนในระดบั มากที่สดุ 4 มาก หมายถึง นักเรยี นมคี วามพึงพอใจตอ่ การจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อนในระดับมาก 3 ปานกลาง หมายถึง นักเรียนมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นรู้ของครูผูส้ อนในระดับปานกลาง 2 น้อย หมายถึง นักเรยี นมีความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นรู้ของครผู สู้ อนในระดับน้อย 1 นอ้ ยที่สดุ หมายถงึ นักเรยี นมคี วามพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรู้ของครผู ู้สอนในระดบั นอ้ ยท่ีสดุ

ระดับคุณภาพ

รายการการประเมนิ 12 345

  1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ น้อยทส่ี ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด อย่างชัดเจน
  1. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ
  2. เน้อื หาสาระท่ีสอนทันสมยั เสมอ
  3. ครใู ช้สอื่ ประกอบการเรยี นการสอนท่เี หมาะสม

และหลากหลาย

  1. ครูใช้คำถามกระตุ้นความคดิ ซกั ถามนักเรยี นบ่อย ๆ
  2. ครปู ระยุกต์สาระท่สี อนเข้ากบั เหตุการณ์ปัจจุบัน

/สภาพแวดลอ้ ม

  1. ครูสง่ เสรมิ นักเรยี นได้ฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ มีการจัดการ

และการแกป้ ัญหา

  1. ครใู ห้นักเรียนฝึกกระบวนการคิด คดิ วิเคราะห์

คิดสรา้ งสรรค์

  1. ครสู ง่ เสริมใหน้ กั เรียนทำงานร่วมกันทั้งเป็นกลมุ่

และรายบคุ คล

36

รายการการประเมิน 1 ระดับคุณภาพ 5 น้อยทีส่ ดุ 2 34 มากที่สุด

  1. ครูใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆ นอ้ ย ปานกลาง มาก
  2. ครูมีการเสรมิ แรงให้นกั เรยี นท่ีร่วมกจิ กรรม

การเรยี นการสอน

  1. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามปญั หา
  2. ครคู อยกระตุน้ ใหน้ กั เรยี นต่ืนตวั ในการเรยี นเสมอ
  3. ครสู อดแทรกคณุ ธรรมและค่านิยมทด่ี งี ามในวิชาที่สอน
  4. ครูยอมรบั ความคดิ เหน็ ของนักเรียนที่ตา่ งไปจากครู
  5. นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการวัดและประเมนิ

ผลการเรียน

  1. ครูมีการประเมนิ ผลการเรียนดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย

และยุตธิ รรม

  1. ครมู คี วามตงั้ ใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
  2. บุคลิกภาพ การแต่งกาย และการพูดจาของครู

เหมาะสม

  1. ครเู ข้าสอนและออกชนั้ เรยี นตรงตามเวลา

37

จาการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1/3 จำนวน 32 คน

ที่มตี อ่ การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรแู้ บบ PEEKE ผ่านหอ้ งเรียนออนไลน์

Google Classroom หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื งระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ขอ้ มลู ดงั นี้

จำนวนนักเรียนท่ีเลือกระดับคุณภาพ

รายการการประเมนิ 1234 5

น้อย น้อย ปาน มาก มาก

ท่สี ุด กลาง ที่สุด

  1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 0 3 5 18 8 อย่างชัดเจน
  1. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 0 3 7 16 8
  1. เนือ้ หาสาระท่ีสอนทันสมัยเสมอ 0 2 5 18 9
  1. ครใู ช้สื่อประกอบการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสม 0 2 4 18 10 และหลากหลาย
  1. ครใู ช้คำถามกระต้นุ ความคดิ ซักถามนักเรียนบ่อย ๆ 0 4 10 15 5
  1. ครูประยุกตส์ าระทีส่ อนเข้ากับเหตกุ ารณ์ปัจจบุ ัน 0 1 7 16 10 /สภาพแวดล้อม
  1. ครูสง่ เสรมิ นักเรียนไดฝ้ ึกปฏิบตั จิ ริง มกี ารจัดการ 0 2 10 15 7 และการแก้ปญั หา
  1. ครูใหน้ กั เรียนฝึกกระบวนการคดิ คิดวิเคราะห์ 0 3 16 12 3 คิดสรา้ งสรรค์
  1. ครูสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนทำงานร่วมกันทงั้ เปน็ กลมุ่ 0 1 8 15 10 และรายบุคคล
  1. ครใู หน้ ักเรยี นแสวงหาความร้จู ากแหล่งเรยี นร้ตู ่างๆ 0 2 8 18 6
  1. ครูมีการเสรมิ แรงใหน้ ักเรียนท่ีรว่ มกิจกรรม 0 4 12 12 6 การเรียนการสอน
  1. ครูเปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนซักถามปญั หา 0 5 11 10 8
  1. ครคู อยกระตนุ้ ให้นกั เรยี นต่นื ตวั ในการเรียนเสมอ 0 3 10 14 7
  1. ครสู อดแทรกคณุ ธรรมและค่านิยมที่ดีงาม ในวิชาท่ีสอน 0 1 11 12 10
  1. ครูยอมรบั ความคิดเหน็ ของนกั เรยี นทตี่ ่างไปจากครู 0 1 4 17 12

38

รายการการประเมนิ จำนวนนักเรียนที่เลือกระดับคุณภาพ 1234 5

  1. นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น นอ้ ย นอ้ ย ปาน มาก มาก
  2. ครูมกี ารประเมนิ ผลการเรยี นดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย ทส่ี ุด กลาง ที่สุด 0 2 12 12 8 และยตุ ิธรรม
  3. ครมู คี วามตง้ั ใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 0 1 2 22 9
  4. บคุ ลิกภาพ การแต่งกาย และการพูดจาของครู เหมาะสม
  5. ครเู ขา้ สอนและออกช้ันเรียนตรงตามเวลา 0 0 6 21 7 0 0 2 20 12 รวมจำนวนนักเรยี นทง้ั หมด (คน) 0 1 2 8 23 คิดเป็นรอ้ ยละ 0 41 152 309 178 0 6.0294 22.353 45.441 26.176

และสามารถคดิ เปน็ รอ้ ยละ ของแต่ละระดับคุณภาพในการประเมนิ ความพึงพอใจของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1/3 จำนวน 32 คนทม่ี ีต่อการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้รปู แบบการจดั การเรียนรู้ แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่องระบบทาง เทคโนโลยีรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ไดด้ งั นี้

รายการการประเมนิ คิดเปน็ ร้อยละของแต่ละระดับคุณภาพ 1 2 345

  1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ นอ้ ยท่ีสุด น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด อย่างชัดเจน 0.00 8.82 14.71 52.94 23.53
  2. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ 0.00 8.82 20.59 47.06 23.53
  3. เนื้อหาสาระท่ีสอนทนั สมยั เสมอ 0.00 5.88 14.71 52.94 26.47
  4. ครูใช้ส่อื ประกอบการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสม 0.00 5.88 11.76 52.94 29.41 และหลากหลาย 0.00 11.76 29.41 44.12 14.71
  5. ครใู ช้คำถามกระตุ้นความคดิ ซกั ถามนักเรยี นบ่อย ๆ
  6. ครูประยุกต์สาระที่สอนเข้ากบั เหตกุ ารณป์ ัจจุบัน 0.00 2.94 20.59 47.06 29.41

/สภาพแวดล้อม

39

รายการการประเมิน คดิ เปน็ รอ้ ยละของแต่ละระดับคุณภาพ 1 2 345

  1. ครสู ่งเสรมิ นกั เรียนได้ฝึกปฏบิ ตั จิ ริง มกี ารจัดการ น้อยทีส่ ดุ น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด และการแก้ปญั หา 0.00 5.88 29.41 44.12 20.59
  2. ครใู หน้ ักเรยี นฝกึ กระบวนการคดิ คดิ วิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ 0.00 8.82 47.06 35.29 8.82
  1. ครูส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นทำงานรว่ มกนั ทง้ั เป็นกลมุ่ 0.00 2.94 23.53 44.12 29.41 และรายบุคคล 0.00 5.88 23.53 52.94 17.65
  1. ครใู หน้ กั เรียนแสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ 0.00 11.76 35.29 35.29 17.65
  2. ครมู กี ารเสริมแรงให้นกั เรียนที่ร่วมกจิ กรรม 0.00 14.71 32.35 29.41 23.53 0.00 8.82 29.41 41.18 20.59 การเรยี นการสอน
  3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นซักถามปัญหา 0.00 2.94 32.35 35.29 29.41
  4. ครูคอยกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนต่นื ตวั ในการเรยี นเสมอ 0.00 2.94 11.76 50.00 35.29
  5. ครสู อดแทรกคุณธรรมและค่านยิ มที่ดงี าม 0.00 5.88 35.29 35.29 23.53 ในวชิ าท่ีสอน
  6. ครยู อมรบั ความคิดเห็นของนกั เรียนทตี่ า่ งไปจากครู 0.00 2.94 5.88 64.71 26.47
  7. นกั เรียนมีส่วนร่วมในการวดั และประเมนิ 0.00 0.00 17.65 61.76 20.59

ผลการเรยี น 0.00 0.00 5.88 58.82 35.29

  1. ครมู กี ารประเมินผลการเรยี น 0.00 2.94 5.88 23.53 67.65 0.00 6.03 22.35 45.44 26.18 ดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลายและยตุ ธิ รรม
  2. ครูมคี วามตั้งใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 71.62
  3. บคุ ลิกภาพ การแต่งกาย และการพูดจาของครู

เหมาะสม

  1. ครูเขา้ สอนและออกชน้ั เรยี นตรงตามเวลา

คา่ เฉลยี่ ร้อยละ ** อยู่ในระดับมากขึ้นไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ

40

แบบบนั ทึกคะแนน ก่อน-หลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื งระบบทางเทคโนโลยี รายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี 1ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยการใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้แบบ PEEKE ผา่ นหอ้ งเรยี นออนไลน์ Google Classroom ได้ดงั น้ี

คะแนนทำแบบทดสอบ

ท่ี ช่ือ-สกุล คะแนนเต็ม 10 คะแนน พัฒนาการ

1 เด็กชายกฤตภาส เกิดทอง ก่อนเรยี น หลังเรียน 4 2 เดก็ ชายกฤษดพิ ฒั น์ รงุ่ สอาด 3 3 เดก็ ชายจิรพฒั น์ บุญมา 48 2 4 เดก็ ชายณฏั ฐกมั พล รัศมจี ุลเหลา 2 5 เดก็ ชายณัฐกาญจน์ เดมิ สงู เนิน 58 3 6 เด็กชายณฐั สิทธ์ิ ทุมพนั ธ์ 4 7 เด็กชายทวพี ฒั น์ ปัน่ ฉิมพลี 57 3 8 เด็กหญงิ จณิ ห์วรา หลัง่ น้ำสงั ข์ 2 9 เด็กหญงิ จิราภา แมงกลาง 35 3 10 เดก็ หญิงชตุ กิ าญจน์ แจวกระโทก 3 11 เด็กหญิงชุตินันท์ แท่นศิลา 36 2 12 เดก็ หญงิ ณัฏฐณิชา พลพิทักษ์ 1 13 เดก็ หญิงธัญลกั ษณ์ งาสระน้อย 48 3 14 เดก็ หญิงธาวินี รามสวุ รรณ 2 15 เด็กหญิงนฤภร แกว้ ฤาชัย 36 4 16 เด็กหญงิ นำ้ ใส เกิดมงคล 2 17 เด็กชายธนกฤต จาดทองคำ 57 2 18 เดก็ ชายธนวชิ ญ์ ฉตั รเมอื งปัก 4 19 เดก็ ชายธนาธิป ลมสูงเนิน 58 2 20 เด็กชายบญุ ทิพย์ ดำรกิ ารวศิ าล 4 21 เดก็ ชายภาคภมู ิ สุขสุภาพ 69 1 22 เด็กชายวรณัฐ วณิชลพั ธกิ ิจ 0 23 เด็กหญงิ เบญญาภา มงคลชาติ 57 1 24 เดก็ หญิงปาณสิ รา โนนสภุ าพ 5 26 เดก็ หญงิ พชิ ญาภา ฉายก่งิ 78 5

58

68

48

46

57

37

35

48

56

44

56

38

49

41

คะแนนทำแบบทดสอบ

ท่ี ชือ่ -สกุล คะแนนเต็ม 10 คะแนน พฒั นาการ

27 เดก็ หญิงภคพร นานอก กอ่ นเรยี น หลังเรยี น 3 28 เด็กหญงิ ภักตร์พมิ ล ดอกบัวเผอ่ื น 2 29 เด็กหญิงรวิสรา เนยี มสันเทยี ะ 47 6 30 เดก็ หญิงสพุ ัตตรา พุฒสระน้อย 5 31 เดก็ หญงิ สุภชั ญา ปราบไพรี 57 5 32 เด็กหญิงไอยวรนิ โคตรจังหรีด 3 39 2.74 ค่าเฉล่ีย 27.35 คา่ เฉล่ียรอ้ ยละ 38

49

58

4.29 7.03

42.94 70.29

จากตารางพบวา่ ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละของการทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เรื่องระบบทางเทคโนโลยีของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1/3 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.94 และค่าเฉลีย่ ร้อยละของการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่ืองระบบทางเทคโนโลยีของ นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 คิดเปน็ ร้อยละ 70.29

เมอ่ื เปรียบเทยี บการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนผลปรากฏวา่ นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษา ปที ี่ 1/3 ท่ีเรยี นรายวชิ าออกแบบและเทคโนโลยี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ืองระบบทางเทคโนโลยีโดยการใช้รปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ PEEKE ผ่านห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom มพี ฒั นาการหลังเรยี นการเรยี นรู้สูงขน้ึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27.35

42

แบบทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เร่อื ง ระบบทางเทคโนโลยี แบบทดสอบแบบปรนยั 4 ตัวเลือก มจี ำนวนทง้ั หมด 10 ขอ้ 10 คะแนน

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนกากบาท ( X ) ทบั ตวั เลือกหนา้ คำตอบใหถ้ กู ตอ้ ง

1. จากภาพขอ้ ใดคือสว่ นที่เรียกวา่ ผลผลิต (Output)

ก. พลงั งานไฟฟ้า ข. การสง่ คา่ อุณหภูมิหอ้ ง ค. อากาศท่ีมีอุณหภมู ลิ ดลง ง. การทำงานของเครอื่ งเพื่อปรบั ใหอ้ ุณหภมู ลิ ดลง

2. ขอ้ ใดคอื ความหมายของคำว่า“ระบบ” ไดด้ ีทสี่ ุด ก. เป็นคำที่ใชเ้ รยี กแทนส่ิงของตา่ งๆ และทำงานสมั พนั ธก์ นั ตามหนา้ ที่ ข. เป็นการทำงานทปี่ ระกอบดว้ ยสองส่วนขึน้ ไปตามหนา้ ทีท่ ก่ี ำหนด ค. เปน็ การทำงานที่ประกอบด้วยสองส่วนและทำงานสัมพนั ธก์ นั ง. เปน็ คำท่ีใช้เรยี กแทนสงิ่ ต่างๆโดยมสี ่วนประกอบตง้ั แตส่ องสว่ นข้นึ ไปทำงานสมั พันธ์กนั ตามหนา้ ที่

3. จากภาพขอ้ ใดคือสว่ นที่เรยี กว่ากระบวนการ (process)

ก. พลงั งานไฟฟ้า ข. ความร้อนจากระแสไฟฟา้ ทำให้เกดิ การเดอื ดของข้าวสารในหม้อ ค. ระบบตัดไฟเมอ่ื นำ้ แหง้ ง. ข้าวท่ีหุงสกุ

43

4. ข้อใดคือระบบทางเทคโนโลยี (Technology system) ก. ระบบการยอ่ ยอาหารของมนุษย์ ข. ระบบลำเลียงนำ้ ในพืช ค. ระบบการจ่ายยาในโรงพยาบาล ง. ระบบโทรศพั ท์มือถือ

5. ข้อใดคอื ปัจจยั ท่ที ำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีไดด้ ีที่สดุ ก. ปญั หาท่มี นุษย์พบ ข. ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ค. สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ง. ถูกทกุ ขอ้

6. ขอ้ ใดต่อไปนห้ี มายถึงระบบทั้งหมด ก. รถยนต์ แอร์ ยางลบ ข. แอร์ คอมพวิ เตอร์ พดั ลม ค. กระดาษ ยางลบ ปากกา ง. พดั ลม ยางลบ คอมพวิ เตอร์

7. ข้อใดต่อไปน้ีกลา่ วถึงตวั ปอ้ นในระบบทางเทคโนโลยี ก. สงิ่ ทต่ี อ้ งใชใ้ นกระบวนการเทคโนโลยเี พอ่ื แกป้ ัญหา ข. ความตอ้ งการหรือปญั หาทเี่ กิดจากความจำเปน็ ของมนษุ ย์ ค. ปจั จัยท่ีเอื้อตอ่ เทคโนโลยี และกระบวนการทางเทคโนโลยี ง. ผลผลิตหรอื ผลลัพธท์ เ่ี กดิ จากกระบวนการทางเทคโนโลยี

8. องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีใดเป็นตัวกำหนดรูปแบบของเทคโนโลยี ก. ตัวป้อน ข. กระบวนการ ค. ทรัพยากร ง. ปัจจยั ที่ขัดขวาง