Equimolar counter diffusion ม ต วย อว าอะไร

The process of diffusion of one component (A) into another (B) in which their respective molar fluxes are equal but in opposite directions. The diffusivity of A in B is therefore the same as B in A in which the total pressure within the process remains the same throughout. The process of steady-state equimolar counter-diffusion in an ideal gas mixture can be described by ... ...

Access to the complete content on Oxford Reference requires a subscription or purchase. Public users are able to search the site and view the abstracts and keywords for each book and chapter without a subscription.

Please subscribe or login to access full text content.

If you have purchased a print title that contains an access token, please see the token for information about how to register your code.

For questions on access or troubleshooting, please check our FAQs, and if you can''t find the answer there, please contact us.

ข ้อที 1 : ข ้อใด ไม่เกียวข ้องกับ การตัดสินใจเลือกกระบวนการแยกทีเป็ นไปได ้ในงานอุตสาหกรรม สภาวะของการป้ อน เช่น องค์ประกอบ อัตราการไหล และอุณหภูม ิ ฯลฯ สภาวะของผลิตภัณฑ์ เช่น ความบริสท ุ ธิของผลิตภัณฑ์ อุณหภูม ิ ความดัน ฯลฯ จํานวนคนงาน และศักยภาพของคนงาน ซึงมีผลต่อการคํานวณค่าแรง ิ ส์ พลังงานทีใช ้ รวมถึง อุณหภูม ิ ความดันทีต ้องใช ้ ลักษณะการปฏิบต ั ก ิ าร เช่น ง่ายในการขยายขนาด ข ้อจํากัดในเชิงฟิ สก

ข ้อที 2 : ข ้อใดกล่าวถึงแฟกเตอร์ Ki (หรือสัมประสิทธิของการกระจายขององค์ประกอบย่อย i) ระบบทีอยูภ ่ ายใต ้สภาวะสมดุลไอ-ของเหลวได ้อย่างถูกต ้อง 1 2 3 4

: : : :

Ki ไม่ขนกั ึ บอุณหภูม ิ Ki ไม่ขนกั ึ บความดัน Ki ไม่ขนกั ึ บความเข ้มข ้นทังหมดของเฟสของเหลว ประเมินหาค่าของแฟกเตอร์ Ki ได ้จาก Raoult’s Law เมือทราบความดันรวมของระบบและความดันไอขององค์ประกอบย่อย i

ข ้อที 3 : ในการคํานวณหาความสูงของเครืองมือแยกสารจําเป็ นต ้องทราบข ้อมูลสมดุลระหว่างความ เข ้มข ้นในแต่ละเฟส และแต่ละเฟสจะสมดุลซึงกันและกันเมือ 1 2 3 4

: : : :

ความดันในระบบมีคา่ คงที ศักย์ทางเคมีแต่ละเฟส (Chemical potential) เท่ากัน ความเข ้มข ้นแต่ละเฟสมีคา่ เท่ากัน ความดันย่อยของแต่ละเฟสมีคา่ เท่ากัน

ข ้อที 4 : จากแผนภาพสมดุลของระบบ 2 องค์ประกอบสําหรับสาร A และ B ดังแสดงในรูปด ้านล่าง ถ ้าสารผสม A และ B ซึงมีอต ั ราส่วนเชิงโมล (Mole fraction) ของสารเท่ากับ บรรจุในภาชนะปิ ดทีสภาวะซึงมีอณ ุ หภูม ิ T และความดัน P ซึงทําให ้ไอและของเหลว A และ B อยูร่ ว่ มกันที สภาวะสมดุลด ้วยค่าอัตราส่วนเชิงโมล XA1 และ XA3 ข ้อใด อัตราส่วนเชิงโมลของของเหลวต่อไอ

1 2 3 4

: : : :

(XA3-XA2)/(XA2-XA1) (XA3-XA1)/(XA2-XA1) (XA3-XA2)/(XA3-XA1) (XA3-XA1)/(XA2-XA1)

สท ิ

สารละลายเจือจางของโมเลกุลมีขวั สารละลายเจือจางของโมเลกุลไม่มข ี วั สารละลายเจือจางอิเลคโตรไลท์ ข ้อ 1 และ 2 ถูก

วน

: : : :

สง

1 2 3 4

ธิ

ข ้อที 5 : กฎของเฮนรีใช ้ได ้กับระบบใด

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

1/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

: : : :

ปริมาตรของก๊าซจะแปรผกผันกับความดัน เมือมวลและอุณหภูมข ิ องก๊าซมีคา่ คงที ปริมาตรของก๊าซจะแปรตรงกับความดัน เมือมวลและอุณหภูมข ิ องก๊าซมีคา่ คงที ปริมาตรของก๊าซจะแปรผกผันกับอุณหภูม ิ เมือมวลและความดันของก๊าซมีคา่ คงที ความดันของก๊าซจะแปรผกผันกับมวลของก๊าซ เมือปริมาตรและมวลของก๊าซมีคา่ คงที

าวศ ิ ว กร

1 2 3 4

ขอ

ข ้อที 6 : ข ้อใดกล่าวถึงกฎของก๊าซอุดมคติได ้อย่างถูกต ้อง

1 2 3 4

: : : :

สภ

ข ้อที 7 : กฎของเฮนรี (Henry’s Law) จะใช ้ได ้ดีกรณีใด ก๊าซอุดมคติ สารละลายอุดมคติ สารละลายเจือจาง ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 8 : ค่าคงทีของเฮนรีขึนอยูก ่ บ ั ค่าอะไรเป็ นหลัก 1 2 3 4

: : : :

อุณหภูม ิ ความดัน ชนิดตัวทําละลาย ข ้อ 1 และ 3

ข ้อที 9 : จากแผนภาพจุดเดือด เส ้นโค ้งเส ้นบนคือเส ้นอะไร

1 2 3 4

: : : :

เส ้นโค ้งจุดกลันตัว (Dew-point curve) เส ้นโค ้งสมดุล (Equilibrium curve) เส ้นโค ้งจุดเดือด (Bubble-point curve) เส ้นโค ้งคอนจูเกต (Conjugate curve)

: : : :

เส ้นโค ้งจุดกลันตัว (Dew-point curve) เส ้นโค ้งสมดุล (Equilibrium curve) เส ้นโค ้งจุดเดือด (Bubble-point curve) เส ้นโค ้งคอนจูเกต (Conjugate curve)

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ธิ

ข ้อที 10 : จากแผนภาพจุดเดือด เส ้นโค ้งเส ้นล่างคือเส ้นอะไร

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

2/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 11 : กฎของราอูลท์กล่าวไว ้ว่าอย่างไร

ความดันย่อยของสารทีอยูใ่ นสารละลายเท่ากับผลคูณของความดันไอของสารนัน คูณกับเศษส่วนโมลของสารนัน ความดันของสารทีอยูใ่ นสารละลายเท่ากับผลคูณของความดันไอของสารนัน คูณกับเศษส่วนโมลของสารนัน ความดันย่อยของสารทีอยูใ่ นสารละลายเท่ากับผลคูณของความดันของสารนัน คูณกับเศษส่วนโมลของสารนัน ความดันของสารทีอยูใ่ นสารละลายเท่ากับผลคูณของความดันของสารนัน คูณกับเศษส่วนโมลของสารนัน

าวศ ิ ว กร

: : : :

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 12 : สมการใดต่อไปนีไม่สามารถใช ้ประมาณค่า K สําหรับสมดุลระหว่าง ของเหลวและไอได ้ 1 2 3 4

: : : :

Raoult’s law Henry’s law Poynting correction van laar equation

ข ้อที 13 : จากแผนภาพจุดเดือดจุด B ประกอบด ้วยวัฏภาคอะไรบ ้าง

1 2 3 4

: : : :

ของเหลวและไอ ของเหลว ของเหลวและของแข็ง ไอ

ข ้อที 14 : ก๊าซผสมระหว่างก๊าซแอมโมเนียกับก๊าซไนโตรเจนมีความดันรวมเท่ากับ 2.5 kPa บรรจุอยูใ่ นภาชนะทีมีปริมาตรคงทีเท่ากับ V ถ ้ากําหนดให ้ก๊าซแอมโมเนียซึมออกจาก คงเหลือเฉพาะก๊าซไนโตรเจนและความดันรวมลดลงเหลือ 1.5 kPa โดยทีอุณหภูมข ิ องระบบมีคา่ คงที ถ ้าสมมุตใิ ห ้ก๊าซผสมนีมีพฤติกรรมเป็ นแบบก๊าซอุดมคติ อัตราส่ว ก๊าซแอมโมเนีย (yA) และก๊าซไนโตรเจน (yB) ทีสภาวะเริมต ้นมีคา่ เท่าใด 1 2 3 4

: : : :

yA yA yA yA

\= = = =

0.40, 0.50, 0.60, 0.80,

yB yB yB yB

\= 0.60 = 0.50 =0.40 = 0.20

ข ้อที 15 : ในการประเมินหาค่าแฟกเตอร์ Ki (หรือสัมประสิทธิของการกระจายขององค์ประกอบย่อย i) โดยใช ้ Raoult’s Law มีสมมติฐานว่าอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติ วัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายอุดมคติ วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติและวัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายอุดมคติ วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติหรือวัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายอุดมคติ

สท ิ

วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติ วัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายอุดมคติ วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติและวัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายไม่อด ุ มคติ วัฏภาคก๊าซเป็ นก๊าซอุดมคติหรือวัฏภาคของเหลวเป็ นสารละลายไม่อด ุ มคติ

วน

: : : :

สง

1 2 3 4

ธิ

ข ้อที 16 : ในการประเมินหาค่าแฟกเตอร์ Ki (หรือสัมประสิทธิของการกระจายขององค์ประกอบย่อย i) โดยใช ้ Modified Raoult’s Law มีสมมติฐานว่าอย่างไร

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

3/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

: : : :

K1 K1 K1 K1

\= = = =

0.51, 1.02, 1.96, 0.98,

K2 K2 K2 K2

\= = = =

1.02 0.51 0.98 1.96

สภ

1 2 3 4

าวศ ิ ว กร

ขอ

ข ้อที 17 : ความดันไอของสารบริสท ุ ธิของ อะซีโตน(1) และอะซีโตนไนไตรล์ (2) ทีอุณหภูม ิ 80oC มีคา่ เท่ากับ 196 และ 98 kPa ตามลําดับ ถ ้าระบบมีความดันรวมเป็ น 100 kPa o 80 C ซึงทีสภาวะนีสามารถใช ้ Raoult’s Law ในการประมาณการได ้ จงหาค่าแฟกเตอร์ Ki (หรือสัมประสิทธิของการกระจายขององค์ประกอบย่อย i)

ข ้อที 18 : ความดันไอของสารบริสท ุ ธิของ อะซีโตน(1) และอะซีโตนไนไตรล์ (2) ทีอุณหภูม ิ 80oC มีคา่ เท่ากับ 196 และ 98 kPa ตามลําดับ ถ ้าระบบมีความดันรวมเป็ น 100 kPa o 80 C ซึงทีสภาวะนีสามารถใช ้ Raoult’s Law ในการประมาณการได ้ หากอัตราส่วนเชิงโมลของสารทังสองในเฟสของเหลวมีคา่ x1 = 0.02 และ x2 = 0.98 จงหาค่าอั ของสารทังสองในเฟสก๊าซทีสภาวะสมดุล 1 2 3 4

: : : :

y1 y1 y1 y1

\= = = =

0.04, 0.03, 0.96, 0.97,

y2 y2 y2 y2

\= 0.96 = 0.97 =0.04 = 0.03

ข ้อที 19 :

1 : จุด D 2 : จุด E 3 : จุด M 4 : ถูกทุกข ้อ

สง วน

สท ิ

ธิ

ข ้อที 20 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

4/62

4/19/2021

สภ

าวศ ิ ว กร

ขอ

สภาวิศวกร

1 2 3 4

: : : :

สารผสมเฟสเดียว สารผสม 2 เฟส สารผสม 3 เฟส ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 21 :

: : : :

MIK และ Water ละลายในกันและกันได ้บ ้าง Acetone และ MIK ละลายในกันและกันได ้บ ้าง Acetone และ Water ละลายในกันและกันได ้บ ้าง ถูกทุกข ้อ

สง วน

สท ิ

ข ้อที 22 :

ธิ

1 2 3 4

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

5/62

4/19/2021

สภ

าวศ ิ ว กร

ขอ

สภาวิศวกร

1 2 3 4

: : : :

MCH MCH MCH MCH

และ และ และ และ

Aniline ไม่ละลายซึงกันและกันเลย Aniline ละลายในกันและกันได ้บ ้าง Heptane ละลายในกันและกันได ้บ ้าง Heptane ไม่ละลายในกันและกันเลย

ข ้อที 23 :

1 2 3 4

: : : :

8.4 3.4 4.4 6.4

ชัน ชัน ชัน ชัน

ข ้อที 24 : ท่อส่งไอนํ าท่อหนึง ถูกหุ ้มฉนวนโดยรัศมีภายในและภายนอกของฉนวนเท่ากับ 1 cm และ 10 cm ตามลําดับ มีคา่ สภาพนํ าความร ้อนของฉนวน เท่ากับ 0.5 W/m.K หุ ้ม นอกของท่อส่งไอนํ าทําให ้อุณหภูมท ิ ผิ ี วฉนวนด ้านนอกมีคา่ 30 °C ในขณะทีผิวด ้านในของฉนวนมีอณ ุ หภูม ิ 430 °C จงคํานวณหาอัตราการสูญเสียความร ้อนของท่อต่อ ยาวท่อ 1,256 2,256 3,256 4,256

W/m W/m W/m W/m

ธิ

: : : :

สท ิ

1 2 3 4

วน

ข ้อที 25 : สัมประสิทธิการถ่ายเทความร ้อนรวม (Overall Heat Transfer Coefficient) หมายถึงข ้อใด

สง

1 : ผลรวมของความต ้านทานความร ้อนทังหมด 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

6/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ขอ

2 : ผลรวมของการถ่ายเทความร ้อนทังหมด 3 : ผลรวมของสัมประสิทธิการพาความร ้อน 4 : ความต ้านทานความร ้อนของวัสดุทเป็ ี นผนัง

ข ้อที 26 : โดยทัวไปข ้อใดมีคา่ สัมประสิทธิการถ่ายเทความร ้อนรวมเรียงลําดับจากค่าน ้อยไปมาก : : : :

boiling or condensation to liquid, liquid to gas, liquid to liquid, gas to gas liquid to liquid, gas to gas, boiling or condensation to liquid, liquid to gas gas to gas, liquid to gas, liquid to liquid, boiling or condensation to liquid boiling or condensation to liquid, liquid to gas, gas to gas liquid to liquid

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 27 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนในข ้อใดทีโดยทัวไปมีคา่ ความสัมฤทธิผล (Effectiveness) เรียงลําดับจากค่ามากไปน ้อย 1 2 3 4

: : : :

parallel flow, cross flow, shell and tube, counter cross flow, counter flow, shell and tube, parallel counter flow, shell and tube, cross flow, parallel counter flow, cross flow, shell and tube, parallel

flow flow flow flow

ข ้อที 28 : การไหลลักษณะใดเหมาะสมทีสุด สําหรับการถ่ายเทความร ้อนทีมีของไหลชนิดหนึงกําลังควบแน่น 1 2 3 4

: : : :

counter flow parallel flow cross flow counter flow และ cross flow

ข ้อที 29 : ในทางอุณหพลศาสตร์ เครืองแลกเปลียนความร ้อนประเภทใดมีการสูญเสีย Availability ตํา 1 2 3 4

: : : :

parallel flow counter flow cross flow shell and tube

ข ้อที 30 : Net Transfer Unit (NTU) คือ 1: 2: 3: 4:

ข ้อที 31 : ความสัมฤทธิผล (Effectiveness) ของเครืองแลกเปลียนความร ้อน คือ actual heat transfer ¸ heat content of hot fluid heat content of cold fluid ¸ actual heat transfer actual heat transfer ¸ heat content of higher heat capacity fluid actual heat transfer ¸ heat transfer when minimum heat capacity fluid goes through the maximum temperature difference in the exchanger

ธิ

: : : :

สท ิ

1 2 3 4

สง

1 : liquid and liquid

วน

ข ้อที 32 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนแบบ Cross Flow นิยมใช ้ในงานใด

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

7/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ขอ

2 : liquid and evaporating fluid 3 : condensing fluid and liquid 4 : gas and gas or liquid and gas

ข ้อที 33 : สําหรับสภาวะและเงือนไขการถ่ายเทความร ้อนหนึงๆ ข ้อใดอาจใช ้พืนทีการถ่ายเทความร ้อนตําสุด : : : :

parallel flow counter flow cross flow shell and tube

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 34 : โดยทัวไป Effectiveness แสดงได ้ดังข ้อใด (Thi และ Tci คือ อุณหภูมข ิ าเข ้าของของไหลร ้อนและเย็นตามลําดับ และ Tho และ Tco คือ อุณหภูมข ิ าออกของของไหลร ้ ลําดับ Ch คือ Heat Capacity Rate ของของไหลร ้อน Cc คือ Heat Capacity Rate ของของไหลเย็น Cmin คือ Heat Capacity Rate ทีมีคา่ ตําสุด)

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 35 : ทิศทางของการไหลไม่สง่ ผลแตกต่างต่อผลสัมฤทธิของเครืองแลกเปลียนความร ้อนในข ้อใด 1 2 3 4

: : : :

Wet หรือ saturated steam to water Water to gas Oil to water Oil to gas

ข ้อที 36 : Thermal Entry Length มีความหมายตรงตามข ้อใด 1 2 3 4

: : : :

Thermal Thermal Thermal Thermal

conditions conditions conditions conditions

developing ภายใต ้ developing velocity profile developing ภายใต ้ fully developed velocity profile developing ภายใต ้ developing velocity profile fully develop ภายใต ้ fully developed velocity profile

ข ้อที 37 : ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้อง (Ch คือ Heat Capacity Rate ของของไหลร ้อน Cc คือ Heat Capacity Rate ของของไหลเย็น) 1 : Condensing Vapor สมมูลกับ Ch >> Cc 2 : Condensing Vapor สมมูลกับ Ch > Cc

สท ิ

ธิ

4 : Evaporating Liquid สมมูลกับ Ch ≥ Cc

1:

สง

วน

ข ้อที 38 : สําหรับเครืองแลกเปลียนความร ้อนแบบไหลสวนทางทีมี Ch = Cc (Ch คือ Heat Capacity Rate ของของไหลร ้อน Cc คือ Heat Capacity Rate ของของไหลเย็น) แล ตําแหน่งทีของไหลร ้อนไหลเข ้าและของไหลเย็นไหลออก ข ้อสรุปใดถูกต ้อง

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

8/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

2:

าวศ ิ ว กร

3: 4:

สภ

ข ้อที 39 : ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้องเกียวกับเครืองแลกเปลียนความร ้อน (Cmax คือ Heat Capacity Rate ทีมีคา่ สูงสุด Cmin คือ Heat Capacity Rate ทีมีคา่ ตําสุด Ch คือ Heat Ca ของของไหลร ้อน Cc คือ Heat Capacity Rate ของของไหลเย็น และ

คือ Effectiveness)

1:

2:

3:

4:

ข ้อที 40 : ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้องเกียวกับเครืองแลกเปลียนความร ้อน (Cmin คือ Heat Capacity Rate ทีมีคา่ สูงสุด Cmin คือ Heat Capacity Rate ทีมีคา่ ตําสุด Thi และ Tci คือ ของของไหลร ้อนและเย็นตามลําดับ และ Tho และ Tco คือ อุณหภูมข ิ าออกของของไหลร ้อนและเย็นตามลําดับ) 1: 2: 3: 4:

ข ้อที 41 : ั ประสิทธิการพาความร ้อนของอากาศและนํ าเท่ากับ 40 W/m2×K และ 100 W/m2×K ตามลําดับ จงหาเปอร์เซนต์กา เครืองแลกเปลียนความร ้อนเครืองหนึงแรกเริมมีสม สัมประสิทธิการถ่ายเทความร ้อนรวม ในกรณีทเพิ ี มสัมประสิทธิการพาความร ้อนของอากาศขึน 2 เท่า กับกรณีทเพิ ี มสัมประสิทธิการพาความร ้อนของนํ าขึน 2 เท่า 1 2 3 4

: : : :

2% เพิมขึน และ 93% เพิมขึน 93% เพิมขึน และ 2% เพิมขึน 74.07% เพิมขึน และ 39.21% เพิมขึน 39.21% เพิมขึน และ 74.07% เพิมขึน

3:

สท ิ วน

2:

สง

1:

ธิ

ข ้อที 42 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

9/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

สภ

ข ้อที 43 :

าวศ ิ ว กร

4:

1: 2: 3: 4:

ข ้อที 44 :

1: 2: 3: 4:

1:

สง วน

สท ิ

ธิ

ข ้อที 45 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

10/62

4/19/2021

สภ

2:

าวศ ิ ว กร

ขอ

สภาวิศวกร

3:

4:

ข ้อที 46 : ผังอุณหภูมด ิ งั ข ้อใดเป็ นของเครืองแลกเปลียนความร ้อนทีมี Cc = Cmin

1:

2:

สท ิ สง วน

4:

ธิ

3:

ข ้อที 47 : ผังอุณหภูมด ิ งั ข ้อใดเป็ นของเครืองแลกเปลียนความร ้อนทีมี Ch = Cmin 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

11/62

4/19/2021

1:

สภ

าวศ ิ ว กร

ขอ

สภาวิศวกร

2:

3: 4 : ไม่มข ี ้อใดถูก

สง วน

สท ิ

ธิ

ข ้อที 48 :

1 : Cross-flow in series 2 : Cross-flow in parallel

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

12/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

สภ

ข ้อที 49 :

าวศ ิ ว กร

ขอ

3 : Two hairpins in series 4 : Two hairpins in parallel

1 2 3 4

: : : :

Hairpins with annuli in parallel และ inner pipes in series Hairpins with annuli in parallel และ inner pipes in parallel Hairpins with annuli in series และ inner pipes in parallel Cross-flow in series และ inner pipes in series

a b c a หรือ b

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

ธิ

ข ้อที 50 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

13/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 51 : Temperature Cross ในเครืองแลกเปลียนความร ้อนแบบ Countercurrent คือข ้อใด (T คืออุณหภูมฝ ิ ั งของไหลร ้อน t คืออุณหภูมฝ ิ ั งของไหลเย็น) t2

T2 T2

สภ

3 : t1 4 : t2 -

T2

าวศ ิ ว กร

1 : T1 2 : T1 -

ข ้อที 52 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนแบบ Shell-and-Tube มีอณ ุ หภูมข ิ าเข ้าของของไหลร ้อนเท่ากับ 140 °C และอุณหภูมข ิ าเข ้าของของไหลเย็นเท่ากับ 85 °C และมี Cmin = เพือถ่ายเทความร ้อน 3.02 x 103 W เครืองแลกเปลียนความร ้อนนีมีคา่ Effectiveness เท่าใด 1 2 3 4

: : : :

0.55 0.50 0.45 0.40

ข ้อที 53 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนเครืองหนึงใช ้แลกเปลียนความร ้อน 2.65 x 105 W โดยทีอุณหภูมข ิ องของไหลเย็นขาเข ้าเท่ากับ 35 °C และมีคา่ Cc = 4,197 W/K อุณหภู ของไหลเย็นเท่ากับเท่าไร 1 2 3 4

: : : :

89.1 °C 98.1 °C 99.1 °C 108.1 °C

ข ้อที 54 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนเครืองหนึงมีคา่ hi = ho = 70 W/m×K และความต ้านทานจาก Fouling เท่ากับ 3 x 10-4 m2×K/W จงหาสัมประสิทธิการถ่ายเทความร ้อน 1 2 3 4

: : : :

34.64 34.84 35.00 36.84

W/m2×K W/m2×K W/m2×K W/m2×K

ข ้อที 55 : เครืองแลกเปลียนความร ้อนเครืองหนึงมีคา่ ความต ้านทานความร ้อนรวมเท่ากับ 1.1 x 10-3 K/W และ Cmin = 1,344 W/K จงหาค่า NTU 1 2 3 4

: : : :

0.636 0.656 0.676 0.696

ข ้อที 56 : ข ้อใดกล่าวได ้ถูกต ้องเกียวกับรูปแบบการไหลของเครืองแลกเปลียนความร ้อน 1 : ถ ้าการเปลียนแปลงอุณหภูมข ิ องของไหลชนิดหนึงชนิดใดไม่มน ี ัยสําคัญแล ้ว Correction Factor F → 1 2 : สมรรถนะของเครืองแลกเปลียนความร ้อนจะไม่ขนกั ึ บรูปแบบของเครืองแลกเปลียนความร ้อน หากมีของไหลชนิดหนึงชนิดใดเกิดการเปลียนวัฏภาค 3 : เมือเครืองแลกเปลียนความร ้อนมีคา่ Ch= Cc แล ้ว สมรรถนะของเครืองแลกเปลียนความร ้อนจะไม่ขนกั ึ บรูปแบบของเครืองแลกเปลียนความ 4 : ข ้อ 1 และ 2

: : : :

0.11 m2 39.7 m2 396,690 m2 0.025 m2

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ธิ

ข ้อที 57 : หากออกแบบให ้เครืองแลกเปลียนความร ้อนมีคา่ NTU = 2.1 ภายใต ้สภาวะการดําเนินงานด ้วย Cmin = 1,889 W/K และสัมประสิทธิการถ่ายเทความร ้อนรวมเท่ากับ 10 นันพืนทีการแลกเปลียนความร ้อนมีคา่ เท่าใด

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

14/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ข ้อที 58 : กราฟทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าความชืนของนํ าในอากาศ และอุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยก อุณหภูมก ิ ระเปาะแห ้ง คือกราฟใด 1 : Moody Chart 2 : Solubility Chart

สภ

3 : Psychrometric Chart 4 : Mollier diagram

ข ้อที 59 : ใน Humidity chart เส ้นกราฟทีแสดงค่าความชืนสัมพันธ์ท ี 100% เรียกเส ้นกราฟนีว่าเป็ นเส ้นกราฟทีแสดงสภาวะอะไร 1 : เส ้นซึงแสดงค่าความชืนอิมตัว 2 : เส ้นซึงแสดงว่าอากาศปราศจากความชืน 3 : เส ้นซึงแสดงว่ามีปริมาณอากาศและความชืนเท่าๆกัน 4 : เส ้นซึงแสดงว่าอุณหภูมก ิ ระเปาะเปี ยกสูงกว่าอุณหภูมก ิ ระเปาะแห ้ง

ข ้อที 60 : วิศวกรเคมีจะต ้องกําหนดตัวแปร (Intensive variables) กีตัวแปรจึงจะสามารถหาค่าคุณสมบัตข ิ องระบบอากาศและไอนํ าหรือความชืนในอากาศได ้จาก Psychrometric 1 2 3 4

: : : :

1 2 3 4

ตัวแปร ตัวแปร ตัวแปร ตัวแปร

ข ้อที 61 : เพราะเหตุใดในฤดูหนาวประเทศในเขตหนาวหรือเขตอบอุน ่ จึงนิยมเปิ ดนํ าพุตามจุดต่างๆ เช่นในสวนสาธารณะ หรือสนามเด็กเล่นเป็ นต ้น ิ 1 : เพราะในฤดูหนาวอากาศจะชืน การเปิ ดนํ าพุจงึ ทําให ้ไม่สนเปลื องนํ าทีพ่นสเปย์ 2 : เพราะในฤดูหนาวอากาศจะแห ้ง การเปิ ดนํ าพุจงึ เป็ นการเพิมความชืนในอากาศ 3 : เพราะในฤดูหนาวอากาศจะชืน การเปิ ดนํ าพุจงึ ทําให ้ไม่รู ้สึกเหนียวตัว ่ ชืนขึน 4 : เพราะในฤดูหนาวอากาศจะแห ้ง การเปิ ดนํ าพุจะทําให ้ผิวชุม

ข ้อที 62 : หลักการแยกนํ าออกจากของแข็งสามารถใช ้หลักการใดได ้บ ้าง 1 : การแยกโดยใช ้แรงเชิงกล 2 : การแยกโดยใช ้ความร ้อน 3 : การแยกโดยใช ้การถ่ายเทมวล 4 : ถูกข ้อ 1 และ 2

ข ้อที 63 : ทรายเปี ยกซึงมีความชืน 5% จํานวน 1 kg ถูกนํ าไปเข ้าเครืองอบแห ้งเป็ นเวลา ครึงชัวโมง เมือนํ ามาชังอีกครังพบว่านํ าหนักทรายหลังจากอบแห ้งมีนําหนัก 980 กรัม จ content ของนํ าในทรายหลังอบแห ้งในหน่วย kg H2O/kg dry sand 1 : 0.0300 kg H2O/kg dry sand 2 : 0.0306 kg H2O/kg dry sand 3 : 0.0316 kg H2O/kg dry sand

สท ิ

ธิ

4 : 0.0210 kg H2O/kg dry sand

1 : ความเร็วของอากาศ 2 : อุณหภูมข ิ องอากาศ

สง วน

ข ้อที 64 : ปั จจัยใดทีไม่มผ ี ลต่อการอบแห ้งแบบถาด (Tray Drying)

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

15/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ขอ

3 : ขนาดของวัตถุทจะอบแห ี ้ง 4 : ความหนืดของวัตถุทจะอบแห ี ้ง

เนือหาวิชา : 896 :

ข ้อที 65 : ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง : : : :

กระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนได ้ตนเอง (spontaneous process ) กระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีไม่สามารถขึนได ้ตนเอง (non spontaneous process ) กระบวนการแยกสารเป็ นได ้ทังกระบวนการทีเกิดขึนได ้ตนเอง และไม่สามารถเกิดขึนได ้ตนเองแล ้วแต่กรณี กระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนได ้เองตามธรรมชาติ

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 66 : ถ ้ากระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีไม่สามารถเกิดขึนได ้เอง (non-spontaneous process) จะต ้องทําอย่างไรเพือให ้เกิดการแยกสารขึน 1 2 3 4

: : : :

เพิมเอนโทรปี ให ้กับระบบ ลดเอนโทรปี ให ้กับระบบ เพิมเอนทราปี ให ้กับระบบ ลดเอนทราปี ให ้กับระบบ

ข ้อที 67 : โดยทัวไปกระบวนการแยกสารจะแยกสารผสมทีมีลก ั ษณะเนือเดียวกัน (Homogeneous) แต่ถ ้าสารผสมนันไม่ใช่เนือเดียวกันควรใช ้กระบวนการแยกสารกระบวนการใด แยกสารผสมนัน 1 2 3 4

: : : :

กระบวนการสกัด กระบวนการตกตะกอน กระบวนการกลัน กระบวนการดูดซับ

ข ้อที 68 : ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่เทคนิคทีใช ้ในกระบวนการแยกสาร 1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย แยกสารโดยใช ้เทคนิคออสโมซิสมาช่วย แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย

ข ้อที 69 : ข ้อใดไม่ใช่วธิ ท ี ใช ี ้ในการการแยกสารโดยอาศัยเทคนิคการสร ้างวัฏภาคอืนมาช่วย 1 2 3 4

: : : :

เพิมหรือลดอัตราการไหล เพิมหรือลดอุณหภูม ิ เพิมหรือลดความดัน ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 70 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิด Flash vaporization ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด : : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยใช ้วัสดุขวาง (Barrier separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation)

ธิ

1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยใช ้วัสดุขวาง (Barrier separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation)

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ข ้อที 71 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิด Reverse osmosis ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

16/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุของแข็งภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยใช ้วัสดุขวาง (Barrier separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation)

สภ

1 2 3 4

าวศ ิ ว กร

ข ้อที 72 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิด Chromatiography ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด

ข ้อที 73 : จากรูปเป็ นการแยกสารด ้วยวิธใี ด

1 2 3 4

: : : :

การดูดซึม (Absorption) การดูดซับ (Adsorption) การสกัดด ้วยตัวทําละลาย (Extraction) Stripping

ข ้อที 74 : ในกระบวนการแยกสารละลายของกรดอะซิตก ิ เข ้มข ้น 10 % โดยนํ าหนัก กระบวนการใดเหมาะสมทีสุดในแง่ของทางเศรษฐศาสตร์ และการนํ าไปใช ้จริง 1 2 3 4

: : : :

กระบวนการกลัน (Distillation) กระบวนการตกผลึก (Crystallization) กระบวนการดูดซับ (Adsorption) กระบวนการสกัดด ้วยตัวทําละลาย (Liquid-Liquid extraction)

ข ้อที 75 : วิธก ี ารใดต่อไปนีสามารถใช ้แยกสารผสมประเภทแอซิโอโทรป (Azeotrop) 1 2 3 4

: : : :

เพิมความเข ้มข ้นของสารทีเป็ นองค์ประกอบทีระเหยง่าย เพิมความเข ้มข ้นของสารทีเป็ นองค์ประกอบทีระเหยยาก เพิมอัตราการไหลของกระแสป้ อนกลับ (Reflux) โดยการติมส่วนประกอบทีสามเข ้าไปในสารผสมเพือทําลายสภาพทีเป็ นแอซิโอโทรป

ข ้อที 76 : ข ้อใดต่อไปนีถูกต ้อง 1 2 3 4

: : : :

กระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนได ้เอง ( spontaneous process) กระบวนการแยกสารเป็ นกระบวนการทีไม่สามารถเกิดขึนได ้เอง (non-spontaneous process) กระบวนการผสมเป็ นกระบวนการทีเกิดขึนได ้เอง (spontaneous process) ข ้อ 2 และ ข ้อ 3 ถูกต ้อง

ข ้อที 77 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิดหอกลันใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด

ธิ

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยใช ้วัสดุขวาง (Barrier separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation)

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

ข ้อที 78 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิด Extractive distillation ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

17/62

4/19/2021

แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition) แยกสารโดยเติมสารตัวทําละลายจากภายนอก ถูกทุกข ้อ

ขอ

: : : :

าวศ ิ ว กร

1 2 3 4

สภาวิศวกร

ข ้อที 79 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิดหอดูดซึมใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด : : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 80 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิดหอ Stripping ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด 1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

ข ้อที 81 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิดหอสกัดด ้วยตัวทําละลาย ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด 1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

ข ้อที 82 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิดการตกผลึกใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด 1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

ข ้อที 83 : อุปกรณ์ทอยู ี ใ่ นกระบวนการแยกสารชนิด หอดูดซับ ใช ้เทคนิคแยกสารชนิดใด 1 2 3 4

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุของแข็งภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

ข ้อที 84 : จากรูปเป็ นเทคนิคแยกสารชนิดใด

ข ้อที 85 :

ธิ

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุของแข็งภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation) แยกสารโดยเติมวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase addition)

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

18/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

: : : :

แยกสารโดยใช ้แรงภายนอกเข ้ามาช่วย (Separation by gradient) แยกสารโดยใช ้วัสดุของแข็งภายนอกเข ้ามาช่วย (Solid agent separation) แยกสารโดยใช ้วัสดุขวาง (Barrier separation) แยกสารโดยสร ้างวัฏภาคอืนเข ้ามาช่วย (Phase creation)

สภ

1 2 3 4

าวศ ิ ว กร

ขอ

จากรูปเป็ นเทคนิคแยกสารชนิดใด

ข ้อที 86 : จากรูปเป็ นการแยกสารด ้วยวิธใี ด

1 2 3 4

: : : :

การดูดซึม (Absorption) การดูดซับ (Adsorption) การสกัดด ้วยตัวทําละลาย (Extraction) Stripping

ข ้อที 87 : จากรูปเป็ นการแยกสารด ้วยวิธใี ด

1 2 3 4

: : : :

การดูดซึม (Absorption) การดูดซับ (Adsorption) การสกัดด ้วยตัวทําละลาย (Extraction) Stripping

ข ้อที 88 : ข ้อใดไม่ใช่ตวั แปรสําคัญในการพิจารณาเลือกกระบวนการแยกสาร 1 2 3 4

: : : :

สภาวะของสายป้ อนเข ้า (Feed condition) สภาวะของสายผลิตภัณฑ์ (Product condition) คุณสมบัตท ิ แตกต่ ี างกันของสารทีต ้องการแยก ความสูงตําของพืนที

ข ้อที 89 : อะไรไม่ใช่ตวั อย่างของกระบวนการแยกทีใช ้ในระดับอุตสาหกรรม

ธิ

การสกัดโลหะจากแร่ การระเหยนํ าทะเลเพือให ้ได ้เกลือ การกลันนํ ามันดิบ ึ (metabolism) ในเลือด การแยกนํ าออกจากของเสียทีได ้จากกระบวนการเมตาบอลิซม

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

19/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 90 : สารผสมใดต่อไปนีไม่สามารถกลันแยกเอาส่วนประกอบออกจากกันได ้โดยวิธก ี ารกลันธรรมดาภายใต ้สภาวะทีมีความดันคงที สารผสมทีมีแรงตึงผิวน ้อย สารผสมทีมีความหนาแน่นน ้อย สารผสมประเภทแอซิโอโทรป (Azeotrop) สารผสมทีมีองค์ประกอบย่อยมากกว่าสององค์ประกอบ

าวศ ิ ว กร

: : : :

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 91 : จากรูปเป็ นการแยกสารด ้วยวิธใี ด

1 2 3 4

: : : :

การดูดซึม (Absorption) การดูดซับ (Adsorption) การสกัดด ้วยตัวทําละลาย (Extraction) Leaching

ข ้อที 92 : ข ้อใดในต่อไปนีทีไม่เกียวข ้องกับการหาค่าของสัมประสิทธิการถ่ายโอนมวลสารรวมในวัฏภาคของเหลว (KL) 1 2 3 4

: : : :

สัมประสิทธิการถ่ายโอนมวลในวัฏภาคแก๊ส (kg) สัมประสิทธิการถ่ายโอนมวลในวัฏภาคของเหลว (kL) ค่าคงทีของเฮนรี ผิดทุกข ้อ

ข ้อที 93 : จากนิยามของกฎ Fick การแพร่ขององค์ประกอบ i จะเกิดขึนในทิศทางเช่นใด 1 2 3 4

: : : :

ในทิศทางของการลดสัดส่วนความหนาแน่นขององค์ประกอบ i ในทิศทางของการลดสัดส่วนค่าสภาพแพร่ขององค์ประกอบ i ในทิศทางของการลดสัดส่วนโมลขององค์ประกอบ i ในทิศทางของการเพิมสัดส่วนโมลขององค์ประกอบ i

ข ้อที 94 : การถ่ายโอนมวลสาร (mass transfer) เกิดขึนได ้ภายใต ้เงือนไขใดเป็ นหลัก 1 2 3 4

: : : :

ความแตกต่างของความดันระหว่างสองตําแหน่ง ความแตกต่างของอุณหภูมริ ะหว่างสองตําแหน่ง ความแตกต่างของความเข ้มข ้นระหว่างสองตําแหน่ง ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 95 : ตัวแปร (parameter) ตัวใดต่อไปนีทีไม่เกียวข ้องกับกฎของ Fick ในเรืองการแพร่ (Fick’s law of diffusion) : : : :

ค่าสัมประสิทธิการแพร่ ระยะห่างระหว่างสองตําแหน่งในระบบ ฟลักซ์เชิงโมล (molar flux) ผิดทุกข ้อ

สท ิ

ธิ

1 2 3 4

1 : DAB = DBA 2 : DAB > DBA

สง วน

ข ้อที 96 : ข ้อใดกล่าวถูกต ้องสําหรับการแพร่ของระบบทีมีแก๊สสองชนิด (เมือกําหนดให ้ DAB เป็ นสัมประสิทธิการแพร่ของ A เทียบกับ B และ DBA เป็ นสัมประสิทธิการแพร่ของ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

20/62

4/19/2021

ส ขอ

าวศ ิ ว กร

3 : DAB < DBA 4 : ไม่มข ี ้อถูก

สภาวิศวกร

ข ้อที 97 : ข ้อใดไม่ถก ู ต ้องตามกฎข ้อทีหนึงของ Fick : : : :

ฟลักซ์ของการแพร่เชิงมวลของสาร A ตามแนวแกน Z แปรผันตามการเปลียนแปลงความเข ้มข ้นของสาร A ตามแนวแกน Z ฟลักซ์ของการแพร่เชิงมวลของสาร A ตามแนวแกน Z แปรผันตามสัมประสิทธิการแพร่ (DAB) ฟลักซ์ของการแพร่เชิงมวลของสาร A ตามแนวแกน Z แปรผกผันกับการเปลียนแปลงความเข ้มข ้นของสาร A ตามแนวแกน Z ข ้อ 1 และ 2

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 98 : แรงขับ (Driving Force) ของการแพร่ คือ 1 2 3 4

: : : :

ความแตกต่างของอุณหภูมข ิ องสาร ความแตกต่างของความเข ้มข ้นของสาร ความแตกต่างของความหนืดของสาร ความแตกต่างของความหนาแน่นของสาร

ข ้อที 99 : ั กับข ้อใดต่อไปนี สภาพแพร่มวล (Mass Diffusivity) สําหรับระบบสององค์ประกอบไม่เป็ นฟั งก์ชน 1 2 3 4

: : : :

อุณหภูม ิ ความเข ้มข ้นของสาร ความดัน จุดเดือดของสาร

ข ้อที 100 : เลขไร ้มิต ิ (Dimensionless Number) ใดต่อไปนีไม่ถก ู นํ ามาใช ้ในการคํานวณการถ่ายโอนมวลสาร สําหรับกรณีทไม่ ี มก ี ารถ่ายเทความร ้อนเกิดขึนในเวลาเดียวกัน 1 2 3 4

: : : :

Sherwood Number Schmidt Number Nusselt Number Reynolds Number

ข ้อที 101 : หน่วย (Unit) ของสัมประสิทธิการถ่ายเทมวล ไม่ขนอยู ึ ก ่ บ ั ข ้อใดต่อไปนี 1 2 3 4

: : : :

หน่วยของความเข ้มข ้นของสาร หน่วยของอัตราการถ่ายเทมวล หน่วยของแรงขับเคลือน (Driving force) หน่วยของความดันลดทีเกิดคล่อมพืนทีถ่ายเทมวล

ข ้อที 102 : ฟลักซ์มวล (หรือฟลักซ์โมลาร์) ขององค์ประกอบ i เป็ นปริมาณเวกเตอร์แสดงมวล (หรือโมล) ขององค์ประกอบ i ทีเคลือนทีผ่านส่วนใดของระบบต่อหน่วยเวลา 1 2 3 4

: : : :

หนึงหน่วยปริมาตร หนึงหน่วยความยาว หนึงหน่วยพืนที หนึงหน่วยความกว ้าง

ข ้อที 103 : ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก ู ต ้องเมือกล่าวถึงฟลักซ์โมลาร์

ธิ

เป็ นสัดส่วนกับความเร็วเฉลียเชิงโมล เป็ นสัดส่วนกับเกรเดียนซ์ของความเข ้มข ้น มีหน่วยเป็ น โมล/พืนที-เวลา เป็ นการพิจารณาการไหลผ่านระนาบนิง

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

21/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 104 : ใครเป็ นผู ้เสนอสมการการแพร่กระจายมวลสารด ้วยผลต่างของความเข ้มข ้น นิวตัน(Newton) ฟูเรีย(Fourier) แวนเดอร์วาล์ล(van der Waal) ฟิ คก์(Fick)

าวศ ิ ว กร

: : : :

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 105 : ข ้อใดสอดคล ้องกับ Equimolar counterdiffusion (EMD) สําหรับกรณีของระบบสารสองชนิด A และ B 1 2 3 4

: : : :

โมลาร์ฟลักซ์รวมทังหมดมีคา่ เท่ากับศูนย์ ปริมาณของโมลาร์ฟลักซ์ของสาร A เท่ากับโมลาร์ฟลักซ์ของสาร B สัมประสิทธิการแพร่ของ A เทียบกับ B เท่ากับ สัมประสิทธิการแพร่ของ B เทียบกับ A ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 106 : ข ้อใดสอดคล ้องกับ Unimolecular diffusion (UMD) สําหรับกรณีของระบบสารสองชนิด A และ B 1 2 3 4

: : : :

โมลาร์ฟลักซ์รวมทังหมดมีคา่ เท่ากับศูนย์ ปริมาณของโมลาร์ฟลักซ์ของสาร A เท่ากับโมลาร์ฟลักซ์ของสาร B สัมประสิทธิการแพร่ของ A เทียบกับ B ไม่เท่ากับ สัมประสิทธิการแพร่ของ B เทียบกับ A โมลาร์ฟลักซ์ของสาร A หรือ โมลาร์ฟลักซ์ของสาร B มีคา่ เท่ากับศูนย์

เนือหาวิชา : 897 :

ข ้อที 107 :

1 2 3 4 5

: : : : :

จุด จุด จุด จุด จุด

L M N O P

ข ้อที 108 : จงหาองค์ประกอบของของเหลวทีสมดุลที 95 องศาเซลเซียสของเบนซีน-โทลูอน ี ทีความดันรวม 101.32 kPa โดยความดันไอเบนซีนเท่ากับ 155.7 kPa และ ความดั เท่ากับ 63.3 kPa 1: 2:

สท ิ

5:

สง วน

4:

ธิ

3:

ข ้อที 109 : สําหรับหอกลันทีไม่มก ี ารเกิดปฏิกริ ย ิ าจะมีคา่ ระดับขันเสรี (Degree of freedom) เท่าไหร่ 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

22/62

4/19/2021

0 1 2 3

ขอ

: : : :

าวศ ิ ว กร

1 2 3 4

สภาวิศวกร

ข ้อที 110 : ทีความดันรวม 101.32 kPa ถ ้าความดันเท่ากับ 135.5 kPa ทีสัดส่วนโมลของเหลว yA = 0.1 จงหาองค์ประกอบของของเหลว (xA) : : : :

xA xA xA xA

\= = = =

0.075 0.095 0.035 0.135

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 111 : จงหาองค์ประกอบของไอทีสมดุลที 95 องศาเซลเซียสของเบนซีน-โทลูอน ี ทีความดันรวม 101.32 kPa โดยความดันไอเบนซีนเท่ากับ 155.7 kPa และ ความดันไอโท 63.3 kPa 1 2 3 4

: : : :

yA yA yA yA

\= = = =

0.41 0.55 0.63 0.82

ข ้อที 112 : ข ้อใดต่อไปนีเป็ นสมการทีเกียวข ้องกับการคํานวณหาอุณหภูมท ิ เป็ ี นจุดกลันตัวหรือจุดนํ าค ้าง (Dew point) ของเหลวผสมทีมีหลายองค์ประกอบ กําหนดให ้ xi คือเศษส Fraction) ขององค์ประกอบย่อย i ในเฟสของเหลว yi คือเศษส่วนโมลขององค์ประกอบย่อย i ในเฟสไอ

1: 2: 3: 4:

ข ้อที 113 : ของเหลวผสมเมืออยูภ ่ ายใต ้สภาวะทีสมดุลกับไอ ถ ้าอุณหภูม ิ ความดัน และความเข ้มข ้นของ องค์ประกอบย่อยใดๆ ในของเหลวผสมนันไม่เปลียนแปลง จะทําให ้ปริมาณ เปลียนแปลง 1 2 3 4

: : : :

ความเข ้มข ้นขององค์ประกอบย่อยในไอ ค่าการละลายขององค์ประกอบย่อยในไอ ค่าการนํ าไฟฟ้ าขององค์ประกอบย่อยในไอ ค่าของสัมประสิทธิการแพร่ขององค์ประกอบย่อยในไอ

ข ้อที 114 : แผนภาพ (chart) ใดทีเกียวข ้องโดยตรงกับการคํานวณการกลันแบบพริบตา 1 2 3 4

: : : :

DePriester chart Kox chart Friction-factor chart Isolated fiber efficiency chart

: : : :

100 200 300 400

กิโลโมลต่อชัวโมง กิโลโมลต่อชัวโมง กิโลโมลต่อชัวโมง กิโลโมลต่อชัวโมง

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ธิ

ข ้อที 115 : ในการคํานวณ Isothermal Flash ครังหนึง ซึงหลังจากคํานวณแล ้วพบว่า ค่าสัดส่วนของปริมาณสารผลิตภัณฑ์ในวัฏภาคไอต่อสารป้ อนเท่ากับ 0.8 ถ ้าปริมาณสารป้ อน กิโลโมลต่อชัวโมง จงหาว่า อัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ในวัฏภาคของเหลวจะเป็ นเท่าใด

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

23/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

: : : :

i-C4 i-C5 i-C4 i-C5

\> > > >

n-C4 n-C5 n-C5 n-C5

สภ

1 2 3 4

าวศ ิ ว กร

ข ้อที 116 : สําหรับข ้อมูลทีกําหนดให ้ต่อไปนี จงเรียงลําดับองค์ประกอบทีอยูใ่ นผลิตภัณฑ์วฏ ั ภาคไอมากทีสุดไปน ้อยทีสุด

\> > > >

i-C5 > n-C5 i-C4 > n-C4 i-C5 > n-C4 n-C4 > i-C4

ข ้อที 117 : นํ าอะซิโตน(CH3COCH3) นํ า และโทลูอน ี (C7H8)อย่างละเท่าๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมแ ิ ละความดันปกติ แล ้วทิงไว ้จนกระทังไม่เกิดเคลื ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ไม่มข ี องผสมเหลือ เป็ นของเหลวผสมเน ้อเดียว เป็ นของเหลวผสมแยกชัน 2 ชัน เป็ นของเหลวผสมแยกชัน 3 ชัน

ข ้อที 118 : นํ านํ ามันเบนซิน เอทธานอล(C2H5OH) และนํ า อย่างละเท่าๆกันโดยปริมาตร มาผสมกันในถังกวนผสม ณ อุณหภูมแ ิ ละความดันปกติ จะพบสารประกอบใดทีก ้นถังกวน 1 2 3 4

: : : :

นํ าผสมเอทธานอล นํ ามันเบนซินเท่านัน นํ ามันเบนซินผสมเอทธานอล นํ าผสมเอทธานอลและนํ ามันเบนซิน

ข ้อที 119 : ในการแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส์(aromatic)ผสม ด ้วยไอนํ ายิงยวด(superheated steam) ในขณะทีเคลือนทีสวนทางกัน ความเข ้มข ้นของมีเทนในอะโรแม กับข ้อมูลสมดุลอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ต ้องน ้อยกว่าสมดุล ต ้องเท่ากับสมดุล ต ้องไม่มากกว่าสมดุล ต ้องมากกว่าสมดุล

ข ้อที 120 : จากแผนภาพสามเหลียม (Triangular coordinate diagram) ของของเหลวผสม A B และ C ทีแสดงในรูป ข ้อใดต่อไปนีไม่ถก ู ต ้อง

ของเหลว C ละลายได ้อย่างสมบูรณ์ในของเหลว A ของเหลว C ละลายได ้อย่างสมบูรณ์ในของเหลว B ของเหลว A ละลายได ้อย่างเล็กน ้อยในของเหลว B ถ ้าทราบอุณหภูมแ ิ ละความดันจะสามารถระบุสภาวะของระบบได ้

ธิ

: : : :

สง วน

สท ิ

1 2 3 4

ข ้อที 121 : ในการออกแบบเครืองมือแยกสารนันมีความจําเป็ นต ้องทราบข ้อมูลเกียวกับความเข ้มข ้นทีสมดุลกันของสารทังสองเฟส ข ้อใดคือเหตุผลของความจําเป็ นนี 1 : ความดันลดจะมีคา่ มากเมือเฟสทังสองถึงจุดสมดุลซึงกันและกัน 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

24/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ขอ

2 : การถ่ายเทมวลของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมือเฟสทังสองถึงจุดสมดุลซึงกันและกัน 3 : การถ่ายเทโมเมนตัมของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมือเฟสทังสองถึงจุดสมดุลซึงกันและกัน 4 : การถ่ายเทความร ้อนของสารในสองเฟสจะหยุดลงเมือเฟสทังสองถึงจุดสมดุลซึงกันและกัน

ข ้อที 122 : ข ้อใดกล่าวถึงกฎของเฟส (Phase Rule)ไม่ถก ู ต ้อง : : : :

ใช ้ได ้กับระบบทีไม่มป ี ฏิกริ ย ิ าเคมีเกิดขึน ใช ้กับสถานะหรือสมบัตท ิ ไม่ ี ขนกั ึ บปริมาณ (Intensive properties) จะให ้ข ้อมูลทีแตกต่างกันสําหรับระบบทีมีขนาดใหญ่และระบบทีมีขนาดเล็ก เฟสหลายเฟสอาจจะอยูร่ วมกันได ้แต่ต ้องอยูใ่ นสภาวะทีสมดุล

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 123 : ข ้อใดต่อไปนีเป็ นสมการทีเกียวข ้องกับการคํานวณหาอุณหภูมท ิ เป็ ี นจุดเดือด (Bubble point) ของเหลวผสมทีมีหลายองค์ประกอบ กําหนดให ้ xi คือเศษส่วนโมล (Mol ขององค์ประกอบย่อย i ในเฟสของเหลว yi คือเศษส่วนโมลขององค์ประกอบย่อย i ในเฟสไอ

1: 2: 3: 4:

ข ้อที 124 : จงคํานวณหาระดับขันเสรี (Degree of freedom) ของระบบ นํ าสมดุลกับไอนํ า 1 2 3 4

: : : :

0 1 2 3

ข ้อที 125 : จากรูป A=40 kg, B= 20 kg และ C=40 kg คือจุดใดบนกราฟ

: : : :

จุด จุด จุด จุด

L M N O

สท ิ

ธิ

1 2 3 4

สง วน

ข ้อที 126 : ในการสกัดของเหลว สมดุลทีแสดงการกระจายตัวของตัวถูกละลาย A อยูใ่ นของเหลว B และ S ทีไม่ผสมกัน (หรือผสมกันได ้เพียงบางส่วน) สามารถแสดงด ้วยรูปกราฟ สามเหลียม (Triangular coordinates) ซึงความเข ้มข ้นทีแทนโดยจุดใดๆ ในแผนภาพสามเหลียมด ้านเท่านีจะหมายถึง 1 : ความเข ้มข ้นของสารผสมระหว่าง A และ B 2 : ความเข ้มข ้นของสารผสมระหว่าง A และ C 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

25/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

าวศ ิ ว กร

ขอ

3 : ความเข ้มข ้นของสารผสมระหว่าง B และ S 4 : ความเข ้มข ้นของสารผสมทังหมด

สภ

ข ้อที 127 : จากรูป เป็ นสมดุลของกรดอะซิตก ิ (acetic, A) 10 kg, นํ า(B) 60 kg และไอโซโพรพิวอีเทอร์ (isopropyl ether, C) 30 kg ที 20 องศาเซลเซียส จงหาความเข ้มข ้นขอ (extract layer)

1 2 3 4

: : : :

yA= yA= yA= yA=

0.04, 0.94, 0.04, 0.02,

yB yB yB yB

\=0.02 =0.02 =0.94 =0.04

yC yC yC yC

\= = = =

0.94 0.04 0.02 0.94

ข ้อที 128 : จากรูป เป็ นสมดุลของกรดอะซิตก ิ (acetic, A) 10 kg, นํ า(B) 60 kg และไอโซโพรพิวอีเทอร์ (isopropyl ether, C) 30 kg ที 20 องศาเซลเซียส ข ้อใดถูก

1 2 3 4

: : : :

จุด h เป็ นจุดที xC =0.03 จุด h เป็ นจุดที xA =0.01 จุด h เป็ นจุดที xB =0.6 ถูกทุกข ้อ

ข ้อที 129 : ข ้อใดถูกในเรืองสมดุล (equilibrium)

ธิ

สมดุลของการกลันเป็ นการใช ้สมการของเฮนรี (Henry) ในหอดูดซับใช ้สมการของราอูลท์ (Raoult) ในกระบวนการสกัดใช ้ไดอะแกรมวัฏภาค (phase diagram) ข ้อ 1 และ 2 ถูก

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

ข ้อที 130 : ตัวแปรใดที ไม่เกียวข ้องกับ การกลันแบบพริบตาเลย 203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

26/62

4/19/2021

อัตราการไหลของสารป้ อน อัตราการไหลของผลิตภัณฑ์ของเหลว อุณหภูม ิ และความดันของหอกลันแบบพริบตา ขนาดของถัง

ขอ

: : : :

าวศ ิ ว กร

1 2 3 4

สภาวิศวกร

ข ้อที 131 : เมือเก็บนํ ามันเบนซิน(gasoline)ไว ้ในถังนํ ามัน ณ อุณหภูมห ิ ้อง และภายใต ้ความดันสูงกว่าความดันจุดเดือด(bubble point pressure) นํ ามันเบนซินควรมีสภาพอย่างไร : : : :

เป็ นไอยิงยวด เป็ นไออิมตัว เป็ นไอบางส่วน เป็ นของเหลวอุณหภูมต ิ ํา

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 132 : เมือป้ อนนํ ามันเบนซิน(gasoline)เข ้าถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมส ิ งู กว่าอุณหภูมจ ิ ด ุ เดือด(bubble point temperature) อุณหภูมข ิ องไอสัมพันธ์กบ ั อุณห ของเหลวทีออกจากถังแยกอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

อุณหภูมไิ อสูงกว่าอุณหภูมข ิ องเหลว อุณหภูมไิ อเท่ากับอุณหภูมข ิ องเหลว อุณหภูมไิ อตํากว่าอุณหภูมข ิ องเหลว ไม่มค ี วามสัมพันธ์กน ั

ข ้อที 133 : ถ ้าป้ อนนํ ามันเบนซิน(gasoline)เข ้าถังแยก ณ อุณหภูมห ิ ้อง และความดันตํากว่าความดันจุดนํ าค ้าง(dew point pressure) จะได ้ผลลัพธ์เป็ นอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ได ้เพียงนํ ามันเบนซินเหลว ได ้เป็ นนํ ามันเบนซินผสมไอ ได ้เป็ นไอนํ ามันเบนซินอิมตัว ได ้เป็ นไอนํ ามันเบนซินยิงยวด

ข ้อที 134 : การแยกนํ ามันเบนซิน(gasoline)ความดันสูงด ้วยถังแยก ณ ความดันบรรยากาศ และอุณหภูมข ิ องจุดนํ าค ้าง(dew point temperature)ของนํ ามันเบนซิน ปริมาณใดคงท 1 2 3 4

: : : :

องค์ประกอบของนํ ามัน อุณหภูมข ิ องไอนํ ามัน ความดันของไอนํ ามัน องค์ประกอบของไอนํ ามัน

ข ้อที 135 : สําหรับหอดูดซึมแก๊ส ทีไม่มก ี ารเกิดปฏิกริ ย ิ าจะมีคา่ ระดับขันเสรี (Degree of freedom) เท่าไหร่ 1 2 3 4

: : : :

0 1 2 3

ข ้อที 136 : โดยทัวไปแล ้วสมการเส ้นปฏิบต ั ก ิ ารสําหรับปฏิบต ั ก ิ ารแยกสารโดยใช ้เครืองมือทีมีขนตอนสมดุ ั ลต่อกันแบบอนุกรมนันจะเป็ นสมการเส ้นโค ้ง เนืองสาเหตุใด : : : :

อัตราการไหลของเฟสทีไหลเข ้าและออกจะแปรผันตลอดทุกๆ ขันตอนสมดุล ความดันลดทีเกิดในแต่ละขันตอนสมดุลมีคา่ แปรผันตลอดทุกๆ ขันตอนสมดุล ความเข ้มข ้นของเฟสทีไหลเข ้าและออกจะมีคา่ คงทีตลอดทุกๆ ขันตอนสมดุล อุณหภูมม ิ ค ี า่ แปรผันตลอดทุกๆ ขันตอนสมดุล

ธิ

1 2 3 4

สง วน

สท ิ

ข ้อที 137 : ถ ้ากําหนดให ้ค่าการระเหยสัมพัทธ์ (αA,B) ของ A เมือเปรียบเทียบกับ B เป็ นไปตามสมการ เมือ K คือ ค่าคงทีสมดุล y และ x คือสัดส่วนโมลในวัฏภาคไอและของเหล ระบบนํ า (A) และกลีเซอรอล (B) ทีความดัน 101.3 kPa อุณหภูม ิ 140.4 องศาเซลเซียส ซึงมีคา่ yA เท่ากับ 0.9 และ xA เท่ากับ 0.4 จงหาว่าค่าการระเหยสัมพัทธ์ขอ เทียบกับกลีเซอรอลจะเป็ นเท่าใดโดยประมาณ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

27/62

4/19/2021

12.5 13.5 14.5 15.5

ขอ

: : : :

าวศ ิ ว กร

1 2 3 4

สภาวิศวกร

สภ

ข ้อที 138 : ถ ้ากําหนดให ้ค่าการระเหยสัมพัทธ์ (αA,B) ของ A เมือเปรียบเทียบกับ B เป็ นไปตามสมการ เมือ K คือ ค่าคงทีสมดุล y และ x คือสัดส่วนโมลในวัฏภาคไอและของเหล ระบบเมธานอล (A) และนํ า (B) ทีความดัน 101.3 kPa อุณหภูม ิ 89.3 องศาเซลเซียส ซึงมีคา่ yA เท่ากับ 0.4 และ xA เท่ากับ 0.08 จงหาว่าค่าการระเหยสัมพัทธ์ของเ เปรียบเทียบกับนํ าจะเป็ นเท่าใดโดยประมาณ

1 2 3 4

: : : :

6.67 7.00 7.5 7.67

ข ้อที 139 : ในขณะทีต ้มนํ าให ้เดือด ณ ความดัน 2 บรรยากาศ ความดันไอของนํ าควรสัมพันธ์กบ ั ความดันของระบบอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ความดันไอของนํ าน ้อยกว่าความดันย่อยของไอนํ าในระบบ ความดันไอของนํ าเท่ากับความดันย่อยของไอนํ าในระบบ ความดันไอของนํ ามากกว่าความดันย่อยของระบบ ความดันไอของนํ าเท่ากับความดันรวมของระบบ

ข ้อที 140 : ในขณะทีระเหยนํ า ณ ความดัน 2 บรรยากาศ และอุณหภูม ิ 80 องศาเซลเซียส ความดันไอของนํ าควรสัมพันธ์กบ ั ความดันในระบบอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ความดันไอของนํ าสูงกว่าความดันย่อยของไอนํ าในระบบ ความดันไอของนํ าเท่ากับความดันย่อยของไอนํ าในระบบ ความดันไอของนํ าตํากว่าความดันย่อยของไอนํ าในระบบ ความดันไอของนํ าเท่ากับความดันรวมของระบบ

เนือหาวิชา : 899 :

ข ้อที 141 : โดยทัวไปแล ้วเส ้นผ่าศูนย์กลางของหอดูดซึมก๊าซแบบหอแพคจะไม่ขนอยู ึ ก ่ บ ั ปั จจัยใดต่อไปนี 1 2 3 4

: : : :

คุณสมบัตข ิ องก๊าซและของเหลวในกระบวนการดูดซึม อัตราส่วนของก๊าซและของเหลวในกระบวนการดูดซึม ความสูงของหอแพค วัสดุทใช ี ้ทําหอแพค

สง วน

สท ิ

ธิ

ข ้อที 142 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

28/62

4/19/2021

ส ขอ

สภ

าวศ ิ ว กร

จากรูปกําหนด

สภาวิศวกร

1 : 0.04 in H2O/ft packing 2 : 0.08 in H2O/ft packing 3 : 0.15 in H2O/ft packing 4 : 0.25 in H2O/ft packing

ข ้อที 143 : ความเข ้มข ้นของแอมโมเนีย(NH3)ในแก๊สผสมทีกําลังเคลือนทีสวนทางกับนํ าภายในหอดูดซึม ควรมีความสัมพันธ์กบ ั สมดุลไอของเหลวของแอมโมเนียอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ต ้องไม่น ้อยกว่าสมดุล ต ้องเท่ากับสมดุล ต ้องไม่มากกว่าสมดุล ต ้องมากกว่าสมดุล

ข ้อที 144 : การกําจัดความชืนในแก๊สธรรมชาติ ควรใช ้กระบวนการใดเหมาะสมทีสุด 1 2 3 4

: : : :

กระบวนการควบแน่น กระบวนการสกัดด ้วยตัวทําละลายอนินทรีย ์ กระบวนการดูดซึมด ้วยไกลคอล(glycols) กระบวนการดูดซับด ้วยถ่าน(activated carbon)

ข ้อที 145 : ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่คณ ุ สมบัตท ิ ต ี ้องการของแพคกิง (Packing) ของหอดูดซึม 1 2 3 4

: : : :

มีความหนาแน่นตํา มีลก ั ษณะทีเปี ยกของเหลวได ้ดี ไม่ทําให ้เกิดความดันลดในหอมากเกินไป มีพนที ื ทําให ้สารทังสองเฟสสัมผัสกันได ้น ้อย

4:

สท ิ

3:

สง วน

1: 2:

ธิ

ข ้อที 146 : ความสูงสุทธิ (H) ของหอแพคทีใช ้ในการแยกสารสามารถคํานวณได ้จากความสูงของหน่วยถ่ายเท (H.T.U.) และจํานวณหน่วยถ่ายเท (N.U.T.) โดยสมการใดต่อไปนี

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

29/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 147 : ในกระบวนการดูดซึม (absorption) ก๊าซเบนซีน(C6H6) ควรใช ้สารใดเป็ น absorbent นํ า ไฮโดรคาร์บอน โซเดียมไฮดรอกไซด์ ไม่มข ี ้อถูก

าวศ ิ ว กร

: : : :

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 148 : จากรูป เป็ นกระบวนการแยกสารวิธก ี ารใด

1 2 3 4

: : : :

leaching extraction stripping absorption

ข ้อที 149 : กระบวนการซึงของผสมในวัฏภาคแก๊สถูกทําให ้สัมผัสกับของเหลว โดยมีการถ่ายโอนมวลจากแก๊สไปยังวัฏภาคของเหลวเรียกว่า กระบวนการใด 1 2 3 4

: : : :

absorption stripping distillation dilution

ข ้อที 150 : แรงขับเคลือน (driving force) ทีทําให ้เกิดการแยกสารในกระบวนการ ดูดซึม(Absorption) คือ 1 2 3 4

: : : :

ความเข ้มข ้นของตัวถูกละลายในของเหลวมากกว่าแก๊ส ความเข ้มข ้นของตัวถูกละลายในแก๊สมากกว่าของเหลว อัตราการไหลของของเหลวมากกว่าแก๊ส อัตราการไหลของแก๊สมากกว่าของเหลว

ข ้อที 151 : ปรากฎการณ์ทเป็ ี นผลมาจากการทีป้ อนของเหลวเข ้าไปในหอดูดซึมมากเกินไปจนเกิดการล ้นออกมาทางด ้านบน เรียกว่าอะไร 1 2 3 4

: : : :

flooding channeling entrainment void aging

0.5 1.0 1.5 2.0

เมตร เมตร เมตร เมตร

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

ธิ

ข ้อที 152 :

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

30/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

สภ

าวศ ิ ว กร

ขอ

ข ้อที 153 : จากรูปและสมการ Overall material balance

1 2 3 4

: : : :

1.0 0.1 0.01 0.001

ข ้อที 154 :

1 2 3 4

: : : :

5.5 5.6 5.7 5.8

เนือหาวิชา : 900 :

ข ้อที 155 : ในการคํานวณหาอัตราการป้ อนเวียนรอบตําสุดมีตวั แปร q (สัดส่วนของความร ้อนทีใช ้ในการระเหย) มาเกียวข ้อง กรณี q=1 สารป้ อนอยูใ่ นสภาวะใด : : : :

ไออิมตัว ของเหลวปนไอ ของเหลวทีจุดเดือด ของเหลวตํากว่าจุดเดือด

ธิ

1 2 3 4

: : : :

77 79 81 89

psi psi psi psi

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ข ้อที 156 : การหาสภาวะการทํางานของยอดหอ กรณีทใช ี ้เครืองควบแน่นทังหมด สมมติความดันลดทีเครืองควบแน่นเท่ากับ 2 psi ความดันทีเครืองควบแน่นเท่ากับ 79 psi ดังนัน ยอดหอเท่ากับ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

31/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

: : : :

ความร ้อนแฝงของการระเหยต่อโมลของทังสององค์ประกอบมีคา่ เท่ากัน ไม่มค ี วามร ้อนของการผสม เอนธัลปี ของระบบในแต่ละชันรองรับของเหลวผสมมีคา่ เท่ากัน ความดันภายในหอกลันมีคา่ เท่ากับความดันบรรยากาศ

สภ

1 2 3 4

าวศ ิ ว กร

ข ้อที 157 : ข ้อใดคือสมมุตฐิ านทีไม่ถก ู ต ้องในการคํานวณหาขันตอนสมดุลหรือชันรองรับของเหลวในหอกลันแบบต่อเนืองของระบบของเหลวผสมสององค์ประกอบโดยใช ้วิธ ี McCa

ข ้อที 158 : ่ อกลันลําดับส่วนแบบต่อเนือง ถ ้ากําห ข ้อใดต่อไปนีคือ ความชันของเส ้นปฏิบต ั ก ิ าร (Operating line) ในส่วนทีอยูเ่ หนือกว่าจุดหรือตําแหน่งทีป้ อนของเหลวผสมเข ้าสูห อัตราส่วนป้ อนกลับทียอดหอ (Reflux ratio) 1 2 3 4

: : : :

(R+1)/R R/(R+1) 1/R 1/(R+1)

ข ้อที 159 : การเกิดสภาวะการรัว (Weeping) ของของเหลวบนชันรองรับของเหลว (เพลทหรือเทรย์) ของหอ กลันจะเกิดขึนเนืองจากสาเหตุใด 1 2 3 4

: : : :

อัตราการไหลของไอมีคา่ น ้อยไม่เพียงพอ อัตราการไหลของไอมีคา่ มากเกินไป อัตราการไหลของกระแสป้ อนเข ้า (Feed) มีคา่ มากเกินไป อัตราการไหลของกระแสป้ อนเข ้า (Feed) มีคา่ น ้อยเกินไป

ข ้อที 160 : ข ้อใดคือความจําเป็ นในการป้ อนกลับ (Reflux) ในกระบวนการกลัน 1 2 3 4

: : : :

ทําให ้ได ้ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ทส่ ี วนล่างของหอกลันเพิมขึน ทําให ้ความดันลดทีเกิดคล่อมชันรองรับของเหลว (Tray) ภายในหอกลันมีคา่ ลดลง สารผลิตภัณฑ์ทได ี ้จากส่วนบนของหอกลันมีความบริสท ุ ธิมากขึน สารผลิตภัณฑ์ทได ี ้จากส่วนล่างของหอกลันมีความบริสท ุ ธิมากขึน

ข ้อที 161 : ปกติแล ้วหอกลันมักจะแบ่งออกเป็ นสองส่วนทีสําคัญคือ 1 2 3 4

: : : :

Rectifying และ Stripping Rectifying และ Steaking Resurectifying และ Stripping Resurectifying และ Steaking

ข ้อที 162 : ข ้อใดที ไม่ใช่ องค์ประกอบของหอกลันระบบสององค์ประกอบแบบเทรย์ 1 2 3 4

: : : :

เครืองควบแน่น หอป้ อนกลับ (Reflux drum) หม ้อต ้ม แพคเบด

ข ้อที 163 : คําว่า องค์ประกอบเบา (Light key component) หมายความถึงอะไร

ข ้อที 164 :

ธิ

องค์ประกอบทีมีคา่ การระเหยมากกว่า องค์ประกอบทีมีคา่ การระเหยตํากว่า องค์ประกอบทีไม่มค ี า่ การระเหย องค์ประกอบทีใช ้ทํากุญแจ

สท ิ

: : : :

สง วน

1 2 3 4

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

32/62

4/19/2021

สภาวิศวกร

สภ

1:

าวศ ิ ว กร

ขอ

จากรูปข ้อใดเป็ นการป้ อนสารเข ้าหอกลันทีอุณหภูมต ิ ํากว่าจุดเดือดของชันป้ อน (feed tray)

2:

3:

4:

ข ้อที 165 : จากรูปข ้อใดเป็ นการป้ อนสารเข ้าหอกลันทีสภาวะของเหลวอิมตัว (saturated liquid)

1:

2:

3:

4:

สง วน

สท ิ

ธิ

ข ้อที 166 : จากรูปข ้อใดเป็ นการป้ อนสารเข ้าหอกลันทีสารป้ อนมีสถานะเป็ น 2 วัฏภาค หรือ เป็ นไอบางส่วน (partially vaporized)

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

33/62

4/19/2021

2:

สภ

1:

าวศ ิ ว กร

ขอ

สภาวิศวกร

3:

4:

ข ้อที 167 : จากรูปข ้อใดเป็ นการป้ อนสารเข ้าหอกลันทีสภาวะไออิมตัว (saturated vapor)

1:

2:

3:

4:

: : : :

ไม่คงทีตลอดความสูง ่ ้นหอ ค่อยๆลดลงจากยอดหอสูก ่ ้นหอ ค่อยๆเพิมขึนจากยอดหอสูก ่ ้นหอ ไม่เปลียนแปลงจากยอดหอสูก

สง วน

1 2 3 4

สท ิ

ลักษณะอย่างไร

ธิ

ข ้อที 168 : ในการคํานวณเพือแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส์(aromatic)ผสม โดยการใช ้ไอนํ ายิงยวด(superheated steam) อัตราการไหลของอะโรแมติกส์ผสมภายในหอ

203.170.248.248/memexam/main/app4011.php?aSubj=295&aDb=0

34/62

4/19/2021

ขอ

สภาวิศวกร

ข ้อที 169 : เงือนไขใดทีไม่สามารถใช ้สําหรับแยกมีเทน(CH4)ออกจากอะโรแมติกส์(aromatic)ผสม ด ้วยไอนํ ายิงยวด(superheated steam)ได ้ อัตราการไหลของไอนํ าสูงกว่าค่าสูงสุด อัตราการไหลของอะโรแมติกส์เท่ากับไอนํ า อัตราการไหลของอะโรแมติกส์ตํากว่าค่าตําสุด อัตราการไหลของไอนํ าตํากว่าค่าตําสุด

าวศ ิ ว กร

: : : :

สภ

1 2 3 4

ข ้อที 170 : อัตราการไหลของไอในหอกลันทีคํานวณด ้วยวิธข ี อง McCabe-Thiele มีลก ั ษณะอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

ไม่แน่นอนขึนกับอุณหภูมแ ิ ละความดันของแต่ละชัน คงทีเฉพาะส่วนเหนือจุดป้ อน(feed stage) คงทีเฉพาะส่วนใต ้จุดป้ อน(feed stage) คงทีตลอดหอกลัน

ข ้อที 171 : ผลิตภัณฑ์ยอดหอของหอกลันทีใช ้เครืองควบแน่นบางส่วน(partial condenser) ควรมีลก ั ษณะอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

เป็ นของเหลวอุณหภูมต ิ ํา(subcooled liquid) เป็ นของเหลวอิมตัว(saturated liquid) เป็ นของเหลวผสมไอ เป็ นไออิมตัว(saturated vapor)

ข ้อที 172 : ผลิตภัณฑ์ยอดหอของหอกลันทีใช ้เครืองควบแน่นทังหมด(total condenser) ควรมีลก ั ษณะอย่างไร 1 2 3 4

: : : :

เป็ นไอยิงยวด(superheated vapor) เป็ นไออิมตัว(saturated vapor) เป็ นไอผสมของเหลว เป็ นของเหลวอิมตัว(saturated liquid)