Eec ระเบ ยงเศรษฐก จภาคตะว นออก ม จ งหว ด

“ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)” เพื่อให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจชั้นน าของ เอเชีย ที่จะสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้ง ยกระดับคุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชน

2. คาดการณ์ผลกระทบด้านสุขภาพจากการพัฒนา EEC

2) คาดการณ์ว่าจะมีการย้ายถิ่นของประชากรโดยเฉพาะวัยแรงงาน และครอบครัว ผู้ติดตามเข้ามาใน

พื้นที่ 3 จังหวัด EEC ซึ่งปัจจุบันมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน ในอีก 10 ปี ข้างหน้า ประมาณการว่า

จะมีจ านวนประชากรสูงถึง 13 ล้านคน โครงสร้างประชากรจะมีสัดส่วนวัยแรงงานสูงขึ้น

2) ประชากรที่เพิ่มจ านวน ท าให้มีความต้องการใช้บริการและปัญหาการเข้าถึงบริการด้านส่งเสริม

สุขภาพ ป้องกันโรคและรักษาพยาบาล

2) มีภัยคุกคามจากสิ่งแวดล้อมและมลภาวะต่างๆ มากขึ้น เช่น ปัญหาสารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม

รั่ว/ระเบิด ปัญหามลภาวะที่เป็นพิษ

2) การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง และจ านวนยานพาหนะต่างๆ ที่มากขึ้น ท าให้ปัญหาอุบัติเหตุ

จราจรเพิ่มสูง และรุนแรงมากมากขึ้น

2) ประชากรแฝง ที่โยกย้ายถิ่นและเพิ่มจ านวน มีผลกระทบต่อการจัดสรรระบบการเงินสุขภาพและ

การจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ

2) นักท่องเที่ยว ที่เพิ่มจ านวนมากขึ้น มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ า

2

3. (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์พัฒนาด้านสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รองรับโครงการพัฒนาระเบียง

เศรษฐกิจภาคตะวันออก ( 2560 - 2564 ) (Eastern Economic Corridor: EEC)

วิสัยทัศน์ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น บริการสุขภาพมีมาตรฐาน เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

เป้าประสงค์ ประชาชนและคนวัยท างานมีสุขภาพดี โรงพยาบาลมีคุณภาพ นักท่องเที่ยวเข้าถึงบริการ

สร้างรายได้และชื่อเสียงให้ประเทศ

ยุทธศาสตร์

1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ยกระดับบริการสุขภาพ

  1. พัฒนาศักยภาพ รพ. เพิ่มเตียง/ยกระดับ รพ.ในเขต Hot Zone
    1. PCC+FCT / SMART Fam Med
    2. คุณภาพหน่วยบริการ HA/JCI/รพ.สต.ติดดาว
  2. Smart ECS/Smart Refer
  3. Training/HRD&HRM ผลิต/พัฒนาและจัดสรรอัตราก าลังเพียงพอ
  4. ส่งเสริมป้องกันโรคและจัดการภัยสุขภาพ
  5. ฐานข้อมูล Health Risk
  6. SMART EMS/ EOC
  7. ศักยภาพด่านท่าเรือ ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
  8. สาธารณสุขทางทะเล
  9. สิ่งแวดล้อมเมืองน่าอยู่/สถานบริการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3 ) พัฒนาศักยภาพงานอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  10. รพ.เฉพาะทางอาชีวเวชศาสตร์ ฯ
  11. พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้าน อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  12. มีคลินิกอาชีวเวชศาสตร์ฯ ใน รพ.ทุกแห่งเขต Hot zone 3 พัฒนา Lab Toxicology
  13. ส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
  14. Medical Hub
  15. Wellness Hub
  16. Herb Hub
  17. Academic Hub
  18. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
  19. ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
  20. ประกันสุขภาพแรงงาน/นักท่องเที่ยว

4

  1. การวางแผนก าลังคน

จากการประมาณการจ านวนประชากรที่เพิ่มขึ้นใน 3 จังหวัด EEC จาก 2 ล้านคน เป็น 13 ล้านคน ในอีก 10 ปี ข้างหน้า ได้วิเคราะห์และวางแผนก าลังคน ดังนี้

จังหวัดฉะเชิงเทรา มี รพศ. 1 แห่ง รพช. 10 แห่ง จ านวนเตียงตามกรอบ ปี 60 รวม 1, เตียง มี รพ.ที่อยู่ในพื้นที่นิคม/โรงงานอุตสาหกรรม ที่วางแผนเพิ่มจ านวนเตียง 5 แห่ง คือ รพ.พุทธโสธร

รพ.พนมสารคาม รพ.บางคล้า รพ.แปลงยาว รพ.บางน้ าเปรียว รวมจ านวนเตียงที่เพิ่ม 159 เตียง จัดให้มีคลินิก อาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพิ่มใน รพช.อีก 4 แห่ง ประมาณการเพิ่มอัตราก าลัง สายงานแพทย์

จ านวนอีกจ านวน 222 คน พยาบาล 1,640 คน จังหวัดชลบุรี มี รพศ. 1 แห่ง รพท. 1 แห่ง รพช. 10 แห่ง จ านวนเตียงตามกรอบ ปี 60 รวม

1,700 เตียง มี รพ.ที่อยู่ในพื้นที่นิคม/โรงงานอุตสาหกรรม ที่วางแผนเพิ่มจ านวนเตียง 6 แห่ง คือ รพ.ชลบุรี รพ.บางละมุง รพ.พนัสนิคม รพ.บ้านบึง รพ.แหลมฉบัง รพ.พานทอง รวมจ านวนเตียงที่เพิ่ม 630 เตียง จัดให้มี

คลินิกอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพิ่มใน รพช.อีก 10 แห่ง ประมาณการเพิ่มอัตราก าลัง สายงาน แพทย์ จ านวนอีกจ านวน 826 คน พยาบาล 3,630 คน

จังหวัดระยอง มี รพศ. 1 แห่ง รพท. 2 แห่ง รพช. 6 แห่ง จ านวนเตียงตามกรอบ ปี 60 รวม 1,225 เตียง มี รพ.ที่อยู่ในพื้นที่นิคม/โรงงานอุตสาหกรรม ที่วางแผนเพิ่มจ านวนเตียง 4 แห่ง คือ รพ.ระยอง

รพ.ปลวกแดง รพ.นิคมพัฒนา รพ.บ้านค่าย รวมจ านวนเตียงที่เพิ่ม 377 เตียง จัดให้มีคลินิกอาชีวเวชกรรมและ เวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพิ่มใน รพช.อีก 9 แห่ง ประมาณการเพิ่มอัตราก าลัง สายงานแพทย์ จ านวนอีกจ านวน

382 คน พยาบาล 1,660 คน

นอกจากนี้ จะต้องวางแผนการพัฒนาบริการพื้นฐานอื่นๆ เช่น การเพิ่มจ านวนห้องผ่าตัด เตียง ICU / NICU / Burn unit / Smart ER/ Emergency Care System /EOC-Disaster

เขตพัฒนาพเิ ศษ ภาคตะวันออก

“เชือ่ มโลก ใหไ้ ทยแล่น

สานกั งานการพัฒนาเขตพเิ ศษภาคภาคตะวันออก

ท่มี า https://www.eeco.or.th

โครงการเขตพฒั นาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (ออี ีซ)ี เป็นแผน ยทุ ธศาสตร์ภายใต้ ไทยแลนด์ 4.0

ภูมิภาคเอเชีย เป็นผู้นาในการขับเคลื่อนโลก ท้ังด้านการลงทุน และการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ โดยมีประเทศจีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ รวมทั้งอาเซียน เป็นหัวใจหลักของการ ขับเคล่ือน ด้วยประชากรรวมกว่า 3.5 พันล้านคน และ GDP คิดเป็น 32% ของ GDP โลก ประเทศไทย เป็นจุดศูนย์กลางในการเช่ือมต่อกับกลุ่มเศรษฐกิจในทวีปเอเซีย จากเหนือสู่ ใต้ ต้ังแตจ่ ีนลงสอู่ นิ โดนีเซีย จากตะวันออกมายังตะวันตกต้ังแต่เวียดนามข้ามไปจนถึงเมียนมา และเป็นจดุ ยทุ ธศาสตรข์ องกลมุ่ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น หรอื AEC ในด้านการผลติ การค้า การส่งออกและการขนส่ง ท้ังยังอยู่ก่ึงกลางระหว่างประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมา และ เวียดนาม ที่กาลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยจึงเป็นตาแหน่งท่ีดีที่สุดของการลงทุนใน อาเซยี น เพ่ือเช่อื มเอเชยี และเช่ือมโลก โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) เป็นแผนยุทธศาสตร์ภายใต้ ไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการพัฒนาเชิงพื้นที่ท่ีต่อยอดความสาเร็จมาจากโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝ่ังทะเล ตะวันออกหรือ Eastern Seaboard ซึ่งดาเนินมาตลอดกว่า 30 ปีที่ผ่านมา โดยในคร้ังนี้ ส า นั กง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร นโ ย บา ย เ ขต พั ฒ น า พิ เ ศ ษ ภ า ค ตะ วั น อ อ ก ( ส กพ อ . ) มีเป้าหมายหลักในการเติมเต็มภาพรวมในการส่งเสริมการลงทุนซ่ึงจะเป็นการยกระดับ อุตสาหกรรมของประเทศเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันและทาให้ เศรษฐกิจของไทยเติบโต ได้ในระยะยาว โดยในระยะแรกจะเป็นการยกระดับพื้นท่ีในเขต 3 จังหวัดคือ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ให้เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพื่อรองรับการขับเคลื่อน เศรษฐกิจอย่างเป็นระบบและมีประสทิ ธิภาพผา่ นกลไกการบริหารจัดการภายใต้การกากับดูแล ของ คณะกรรมการนโยบายพื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน

ทีม่ า https://www.eeco.or.th

“เป็นองค์กรต้นแบบในการขับเคลอื่ นการพัฒนาเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกอยา่ งบูรณาการ ยกระดับ เศรษฐกจิ สังคมและส่งิ แวดล้อมใหส้ าเรจ็ อย่างยั่งยืน

เพ่อื ให้ประเทศไทยเปน็ ประเทศพัฒนา ”

•พฒั นา EEC ใหเ้ ป็นพนื้ ทต่ี น้ แบบทีม่ กี ารพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ มอย่างเป็น ระบบ มกี ฎหมาย องคก์ รดาเนินการ และมีภารกจิ ชัดเจน ของการพฒั นาเชงิ พน้ื ท่ีอื่นๆ ใน อนาคต •ใหค้ วามสาคัญกับการสง่ั สมและนาเทคโนโลยสี มยั ใหม่มาใช้ประโยชน์ในการสรา้ งรายได้ และ สร้างคณุ ภาพชีวติ ทด่ี ีใหก้ ับสังคม •ดาเนนิ การเชงิ รกุ แบบบูรณาการอย่างเบด็ เสร็จ ครบวงจร ภายใต้กรอบเวลา โดยความร่วมมือ อย่างใกล้ชิดระหวา่ ง ภาครฐั -เอกชน-ประชาชน ทง้ั ในส่วนกลาง สว่ นภูมภิ าค และสว่ นทอ้ งถน่ิ โดยคานงึ ถงึ ประโยชน์ของประเทศ และประชาชนในพน้ื ทเ่ี ป็นสาคัญ •ร่วมผลกั ดนั แผนภาพรวม เพือ่ การพัฒนาเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออกให้บรรลุตามเป้าหมาย ของประเทศ •จัดทาโครงสร้างพ้นื ฐานและระบบสาธารณปู โภคทม่ี ีประสทิ ธิภาพ มีความตอ่ เนือ่ ง ประชาชน สามารถเจ้าถึงไดโ้ ดยสะดวกและเชอ่ื มโยงกนั อยา่ งเปน็ ระบบโดยสมบูรณ์ •กาหนดการใชป้ ระโยชน์ในท่ดี ินอยา่ งเหมาะสมกับสภาพ และศักยภาพของพื้นทโ่ี ดยสอดคลอ้ ง กับหลกั การพัฒนาอย่างย่งั ยืน •พฒั นาเมอื งให้มคี วามทันสมัยระดับนานาชาติท่ีเหมาะสมต่อการอยู่อาศยั อย่างสะดวก ปลอดภัย เขา้ ถึงได้โดยถว้ นหน้า และส่งเสรมิ การประกอบกจิ การอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ท่ีมา https://www.eeco.or.th

เชื่อมโลก ให้ไทยแล่น

โครงการแห่งชาติท่ีจุดประกายความหวัง ความเปล่ียนแปลง ที่นามาซึ่งโอกาสมากมาย ท่ีจะนาผลประโยชน์มาให้คนไทย และประเทศ ไทย เปน็ จดุ หมายปลายทางทคี่ นไทยทกุ คนมรี ว่ มกนั เพ่ือให้พ้นกับดักรายได้ ปานกลาง นาประเทศชาติไปส่คู วามมัน่ คง ม่งั ค่งั ท่ียัง่ ยืน

แนวคดิ ของการออก แบบอตั ลกั ษณอ์ งคก์ ร ได้รบั แรงบันดาลใจจาก การมองเห็นโอกาสของการสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ท่ีเป็น ระเบยี งของกรุงเทพฯ นับเป็นยุทธศาสตร์ที่ลงตัวในการเช่ือมต่อทั้งทางด้าน ภูมิศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม จากประเทศไทยสู่ภูมิภาค และสู่โลก โดยสะท้อนความลงตัวน้ีในสัดส่วนของสามเหลี่ยมสมมาตร (Golden Ratio) ในรูปแบบสัญลักษณ์ของใบเรือสาเภาทองล้อกับแสงสีส้มทองของ ตะวันยามเช้า สื่อถึงความรุ่งโรจน์แห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศ โดยต้งั เดน่ ตระหง่านบนสนี า้ เงนิ น้าทะเล บอกเล่าเรื่องราวของการเดินทางสู่ ไปแสงตะวันแห่งโอกาสคร้ังใหม่ ไม่มีที่ส้ินสุด พ้องกับแนวคิด ท่ีเชื่อกันว่า

“ตราบใดทีด่ วงตะวนั ยงั คงขึ้นทางทศิ ตะวันออก ตราบน้นั ยอ่ มมโี อกาสให้คนไทยเสมอ”

คือทีม่ าของ คาขวัญ (สโลแกน) “เช่อื มโลก ให้ไทยแลน่ ”

ที่มา https://www.eeco.or.th

เป้าหมายการพฒั นา

โครงการแห่งชาติท่ีจุดประกายความหวัง ความเปลี่ยนแปลง ท่ีนามาซึ่งโอกาสมากมาย ที่จะนาผลประโยชน์มาให้คนไทย และประเทศ ไทย เปน็ จุดหมายปลายทางท่ีคนไทยทกุ คนมรี ่วมกนั เพ่ือให้พ้นกับดักรายได้ ปานกลาง นาประเทศชาติไปสู่ความมัน่ คง มัง่ คงั่ ที่ยงั่ ยนื

แนวคิดของการออก แบบอัตลกั ษณ์องคก์ ร ได้รบั แรงบันดาลใจจาก การมองเห็นโอกาสของการสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ท่ีเป็น ระเบยี งของกรุงเทพฯ นับเป็นยุทธศาสตร์ที่ลงตัวในการเช่ือมต่อทั้งทางด้าน ภูมิศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม จากประเทศไทยสู่ภูมิภาค และสู่โลก โดยสะท้อนความลงตัวน้ีในสัดส่วนของสามเหล่ียมสมมาตร (Golden Ratio) ในรูปแบบสัญลักษณ์ของใบเรือสาเภาทองล้อกับแสงสีส้มทองของ ตะวันยามเช้า สื่อถึงความรุ่งโรจน์แห่งการติดต่อค้าขายระหว่างประเทศ โดยต้ังเดน่ ตระหงา่ นบนสีน้าเงนิ น้าทะเล บอกเล่าเรื่องราวของการเดินทางสู่ ไปแสงตะวันแห่งโอกาสครั้งใหม่ ไม่มีที่ส้ินสุด พ้องกับแนวคิด ที่เชื่อกันว่า

“ตราบใดทด่ี วงตะวัน ยังคงขน้ึ ทางทิศตะวันออก ตราบนน้ั ยอ่ มมโี อกาสให้คนไทยเสมอ”

คือที่มาของ คาขวัญ (สโลแกน) “เชื่อมโลก ให้ไทยแล่น”

ทีม่ า https://www.eeco.or.th

กฎหมายจดั ตั้ง EEC

คณะรักษาความสงบแห่งชาติมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการจัดต้ังเขต พัฒนา เศรษฐกิจพิเศษเพื่อส่งเสริมการค้าและการลงทุนและการอานวยความ สะดวกในการประกอบกิจการ อันเป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเพ่ือกระจายการพัฒนา ไปยัง พืน้ ที่ตา่ ง ๆ โดยเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชน ให้ท่ัวถึง ซ่ึงนโยบายดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ในการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EasternEconomic Corridor)ท่ีครอบคลุมพื้นท่ีสามจังหวัดในภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และเขตจังหวัดอ่ืนท่ีติดต่อหรือเกี่ยวข้อง ซึ่งมี ศกั ยภาพ ในการพฒั นาดว้ ยความพร้อมด้านการคมนาคม การขนส่ง โครงสร้าง พื้นฐาน ความต้องการของ ผู้ประกอบการ การจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ และ ความเชื่อมโยงกับศูนย์กลางเศรษฐกิจอื่น ๆ แต่โดยที่ การดาเนินการดังกล่าว อยู่ระหว่างการจัดทากฎหมายที่เกี่ยวข้อง กรณีจึงมีความจาเป็นต้องกาหนด มาตรการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกขึ้นเพื่อดาเนินการไป พลางก่อนการบังคับใช้ กฎหมายว่าด้วยการน้ี เพ่ือให้การดาเนินการดังกล่าว เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว อันจะเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิรูประบบ เศรษฐกิจ การยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นท่ี ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและการเพิ่มขีดความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศโดยรวม..

ทม่ี า https://www.eeco.or.th

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๐ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา

คําสั่งหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ

ที่ ๒/๒๕๖๐ เร่ือง การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

โดยท่ีคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการจัดต้ังเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษเพ่ือส่งเสริมการค้าและการลงทุนและการอํานวยความสะดวกในการประกอบกิจการ อันเป็นปัจจัยสําคัญต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และเพื่อกระจายการพัฒนา ไปยังพื้นที่ต่าง ๆ โดยเหมาะสมกับศักยภาพของพ้ืนที่อันเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ทั่วถึง ซ่ึงนโยบายดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) ที่ครอบคลุมพื้นที่สามจังหวัดในภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และเขตจังหวัดอ่ืนท่ีติดต่อหรือเก่ียวข้อง ซึ่งมีศักยภาพ ในการพัฒนาด้วยความพร้อมด้านการคมนาคม การขนส่ง โครงสร้างพ้ืนฐาน ความต้องการของ ผู้ประกอบการ การจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ และความเช่ือมโยงกับศูนย์กลางเศรษฐกิจอื่น ๆ แต่โดยท่ี การดําเนินการดังกล่าวอยู่ระหว่างการจัดทํากฎหมายที่เกี่ยวข้อง กรณีจึงมีความจําเป็นต้องกําหนด มาตรการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกขึ้นเพื่อดําเนินการไปพลางก่อนการบังคับใช้ กฎหมายว่าด้วยการนี้ เพ่ือให้การดําเนินการดังกล่าวเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว อันจะเป็น ประโยชนต์ ่อการปฏริ ปู ระบบเศรษฐกิจ การยกระดับคุณภาพชีวติ และความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นท่ี ตลอดจนการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมและการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศโดยรวม

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงมคี ําสง่ั ดังตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ ในคําสั่งน้ี “ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” หมายความว่า พ้ืนท่ีในบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และให้หมายความรวมถึงเขตจังหวัดอ่ืนท่ีติดต่อหรือเกี่ยวข้องตามที่คณะกรรมการนโยบาย กําหนดเพิม่ เตมิ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี “การพัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” หมายความว่า การกําหนดและการปรับปรุง การใช้ประโยชน์ในอสังหาริมทรัพย์ และการจัดให้มีกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกระเบียง เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก เพือ่ ให้เกิดการบูรณาการอันจะทําให้ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกและ พื้นท่ีต่อเน่ืองมีการพัฒนาอย่างสมบูรณ์และย่ังยืนในทุกมิติ มีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ รวมท้ังสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและจําเป็นต่อการอยู่อาศัย การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว การสาธารณสุข การศึกษา และการอ่ืนที่เก่ียวเนื่องอย่างเพียงพอได้มาตรฐานสากล และมีความต่อเน่ือง เชือ่ มโยงกัน

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๑ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา

“เขตส่งเสริม” หมายความว่า บริเวณพื้นที่ในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกตามท่ี คณะกรรมการนโยบายกําหนดท่ีผู้ประกอบการ อยู่อาศัย หรือพํานักในพ้ืนท่ีดังกล่าวจะได้รับสิทธิ ประโยชน์ในการประกอบกิจการ อย่อู าศยั หรือพาํ นักเปน็ พิเศษตามทค่ี ณะกรรมการนโยบายกําหนด

“คณะกรรมการนโยบาย” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก

“กรศ.” หมายความว่า คณะกรรมการบรหิ ารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวนั ออก “สกรศ.” หมายความว่า สาํ นักงานเพ่ือการพฒั นาระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน รฐั วสิ าหกจิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และหนว่ ยงานอน่ื ของรัฐ ข้อ ๒ ให้มีคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบดว้ ย (๑) นายกรฐั มนตรี เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รองนายกรฐั มนตรซี ึง่ นายกรฐั มนตรมี อบหมายจาํ นวนไมเ่ กนิ สองคน เป็นรองประธานกรรมการ (๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงอุตสาหกรรม เปน็ กรรมการ (๔) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ เป็นกรรมการ (๕) ผทู้ รงคุณวฒุ ซิ ึง่ นายกรฐั มนตรีแตง่ ตงั้ จาํ นวนไม่เกินหกคน เป็นกรรมการ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปน็ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ การดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตาม (๕) ให้เป็นไปตามท่ี นายกรัฐมนตรกี ําหนด การประชุมของคณะกรรมการนโยบาย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการ นโยบายกาํ หนด

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๒ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา

ขอ้ ๓ ใหค้ ณะกรรมการนโยบายมหี นา้ ที่และอาํ นาจ ดังต่อไปน้ี

(๑) กาํ หนดนโยบายและอนมุ ตั แิ ผนการพัฒนาพ้ืนท่รี ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (๒) อนุมัติแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินการพัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก รวมตลอดท้ังการดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือให้การพัฒนาพ้ืนที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออกเปน็ ไปอยา่ งเหมาะสมและต่อเน่ืองเช่อื มโยงกนั อยา่ งสมบูรณ์ (๓) กําหนดภารกิจและหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าท่ีต้องดําเนินการเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา พ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเป็นไปตามนโยบายและแผน ทั้งภายในและภายนอกระเบียง เศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก (๔) กําหนดเขตส่งเสริมและสิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกอบการ ผู้อยู่อาศัย หรือผู้พํานักในเขต ส่งเสริมแต่ละแห่งจะได้รับตามความเหมาะสม รวมทั้งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการได้รับสิทธิประโยชน์ ดงั กลา่ ว (๕) อนุมัติหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินงานของ สกรศ. ตลอดจนกําหนดโครงสร้าง การบริหารงาน และอตั ราคา่ ตอบแทนของเลขาธิการและผู้ปฏิบตั งิ านใน สกรศ. (๖) กํากับดแู ลและติดตามการดําเนนิ การของ กรศ. และ สกรศ. (๗) ดําเนินการอน่ื ใดตามทก่ี าํ หนดไว้ในคําสั่งนี้ (๘) ดําเนินการอ่ืนใดท่ีจําเป็นเพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวนั ออก ข้อ ๔ นอกจากหน้าที่และอํานาจตามข้อ ๓ ในกรณีที่ปรากฏว่าการดําเนินการในเร่ืองใด ไม่เป็นไปตามนโยบายหรือแผนการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือมีปัญหา อุปสรรค หรือข้อขัดข้องอื่นใดเกิดขึ้น ให้ กรศ. รายงานต่อคณะกรรมการนโยบายเพ่ือวินิจฉัยช้ีขาด โดยไม่ชักช้า และเมื่อคณะกรรมการนโยบายวินิจฉัยช้ีขาดเป็นประการใดแล้ว และให้หน่วยงานของรัฐ ท่ีเกี่ยวข้องมีหน้าที่ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามคําวินิจฉัยชี้ขาดน้ัน แล้วให้ สกรศ. เสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือทราบดว้ ย ข้อ ๕ ในเขตส่งเสริม ถ้ากฎหมายกําหนดให้ผู้ดําเนินการหรือผู้กระทําในเรื่องใดต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจากหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายน้ัน หรือต้องจดทะเบียนหรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายน้ันก่อน ให้อํานาจ ในการอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบ รับจดทะเบียน หรือรับแจ้งตามกฎหมาย ว่าด้วยการน้ัน เป็นหน้าท่ีและอํานาจของเลขาธิการ และให้เลขาธิการมีหน้าท่ีและอํานาจบังคับ การใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายนน้ั ได้ด้วย

เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๓ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา

ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ถ้าเลขาธิการเห็นว่าการดําเนินการเกี่ยวกับการอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบ รับจดทะเบียน หรือรับแจ้งในเรื่องใดเป็นอุปสรรคต่อการ ดําเนินงาน หรือสร้างภาระแก่ประชาชนโดยไม่สมควร ให้เสนอความเห็นและวิธีการดําเนินงาน ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งกว่าต่อ กรศ. เพื่อพิจารณา ในกรณีที่เห็นชอบด้วย ให้ กรศ. รายงานตอ่ คณะกรรมการนโยบายเพ่อื วินจิ ฉยั ชข้ี าดตามข้อ ๔ โดยไมช่ ักช้า

เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการตามวรรคหน่ึง ให้ สกรศ. มีอํานาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่าย หรือค่าอ่ืนใดที่กฎหมาย ข้อบัญญัติ หรือเทศบัญญัติว่าด้วยการน้ันกําหนดให้ เรียกเก็บได้ และให้มีอํานาจเรียกเก็บค่าบริการในการดําเนินการดังกล่าวได้ตามอัตราท่ีคณะกรรมการ นโยบายประกาศกาํ หนด

ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บได้ตามวรรคสาม ให้นําส่งหน่วยงานของรัฐท่ีมีอํานาจเรียกเก็บ คา่ ธรรมเนียมนนั้ สว่ นคา่ บรกิ ารทเี่ รยี กเกบ็ ไดใ้ ห้เป็นรายไดข้ อง สกรศ.

ขอ้ ๖ ให้มีคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประกอบดว้ ย

(๑) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม เปน็ กรรมการ (๓) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผูบ้ ญั ชาการทหารอากาศ และผ้บู ญั ชาการตํารวจแหง่ ชาติ เป็นกรรมการ (๔) ผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง ผวู้ า่ การการประปาส่วนภูมภิ าค และผวู้ า่ การการไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค เปน็ กรรมการ (๕) บคุ คลซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังจาํ นวนไม่เกินสบิ คน เปน็ กรรมการ ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ การดํารงตําแหน่งและการพ้นจากตําแหน่งของกรรมการตาม (๕) ให้เป็นไปตามที่ นายกรฐั มนตรกี ําหนด

เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๑๙ ง หน้า ๓๔ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา

ข้อ ๗ ให้ กรศ. มหี นา้ ที่และอาํ นาจ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) เสนอแผนการพัฒนาพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกต่อคณะกรรมการ นโยบายเพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยให้ข้อมูลและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผู้อยู่อาศัยในระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกประกอบดว้ ย (๒) ให้ความเห็นชอบแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังวงเงิน รายจ่าย กําลังคน กําลังวัสดุ อุปกรณ์ และทรัพยากรอื่นใด และพิจารณาปรับปรุงหรือแก้ไขแผนงาน หรือโครงการตามความเหมาะสมและจําเปน็ (๓) เสนอแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการดําเนินการพัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก รวมตลอดทั้งการดําเนินงานของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ต่อคณะกรรมการนโยบาย เพ่อื พจิ ารณาอนมุ ัติ (๔) กาํ หนดหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการดําเนินงานและการใช้จ่ายเงินของ สกรศ. และหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องกับการดําเนินการตามแผนงานและโครงการ เพื่อให้การพัฒนาพ้ืนท่ี ระเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออกเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ (๕) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนการปฏิบัติหน้าที่ ของผู้รับผิดชอบแผนงานหรือโครงการที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และรายงานคณะกรรมการนโยบายเพ่ือพจิ ารณาหรือเพอ่ื ทราบเป็นระยะ (๖) เสนอแนะการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดําเนินงานของ สกรศ. ตลอดจนกําหนด โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน และอตั ราค่าตอบแทนของเลขาธกิ ารและผปู้ ฏิบัติงานใน สกรศ. (๗) เสนอแนะคณะกรรมการนโยบายในการพิจารณากําหนดสิทธิประโยชน์ท่ีจะให้แก่ ผู้ประกอบกิจการ อยู่อาศัย หรือพํานักในเขตส่งเสริมเป็นพิเศษ รวมทั้งหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ในการไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์ดงั กลา่ ว โดยจะกําหนดให้เขตส่งเสริมแต่ละแห่งได้รับสิทธิประโยชน์แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมกไ็ ด้ (๘) เสนอแนะต่อคณะกรรมการนโยบายเพ่ือให้ความเห็นชอบการดําเนินการใดตามท่ีกําหนด ในคําส่ังน้ี หรือเพื่อพิจารณาส่ังการเพ่ือให้การพัฒนาพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เปน็ ไปอย่างเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพ (๙) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพ่ือช่วยเหลือหรือปฏิบัติหน้าท่ีแทนได้ตาม ความจาํ เปน็ และเหมาะสม

เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๕ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา

(๑๐) ขอให้หน่วยงานของรัฐมาช้ีแจงหรือส่งข้อมูลต่าง ๆ เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวันออก

(๑๑) ขอยืมตัวบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ และทรัพย์สิน รวมตลอดถึงการขอใช้อสังหาริมทรัพย์ ของหนว่ ยงานของรฐั ทเี่ กีย่ วข้อง เพือ่ ช่วยเหลอื หรอื สนับสนุนการปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามความจําเปน็

(๑๒) ออกระเบยี บ ประกาศ และคําสั่ง เพอ่ื ปฏิบตั กิ ารตามระเบยี บนี้ (๑๓) ดําเนินการอื่นใดอันจําเป็นเพื่อให้การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ประสบความสําเร็จตามนโยบายและแผนการพัฒนาพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ทคี่ ณะกรรมการนโยบายกําหนด ขอ้ ๘ การประชุมของ กรศ. คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารที่ กรศ. กําหนด กรศ. ตอ้ งประชมุ อยา่ งน้อยเดือนละหนงึ่ ครงั้ ข้อ ๙ ให้มีสํานักงานเพ่ือการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เป็นหน่วยงาน ภายในกระทรวงอุตสาหกรรม เพ่ือทําหน้าที่เป็นสํานักงานเลขานุการสนับสนุนการดําเนินการของ คณะกรรมการนโยบาย และ กรศ. โดยให้มีหน้าท่แี ละอาํ นาจ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) บริหารแผนการพัฒนาพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกในภาพรวม ตลอดจน ประสานการปฏิบตั ิของหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้องเพ่ือให้การดําเนินการต่าง ๆ เป็นไปตามนโยบายและ แผนการพฒั นาพื้นที่ระเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก (๒) ประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องในการจัดเตรียมแผนงานและโครงการต่าง ๆ ตามนโยบายและแผนพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ตลอดจนติดตามดูแลและให้ คําแนะนําแก่หน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องเพ่ือให้ปฏิบัติโดยถูกต้องตามท่ีกําหนดในคําสั่งนี้ หรือตามมติ ของคณะกรรมการนโยบายหรือ กรศ. (๓) ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวนั ออก และเสนอแนวทางการแก้ไขท่เี หมาะสมต่อ กรศ. เพ่ือพิจารณา (๔) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้อง รวมท้ัง ความก้าวหน้าในการดําเนินการตามแผนงานและโครงการ ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก

(๕) ดําเนินการให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผู้อยู่อาศัยในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ

ภาคตะวันออก และประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างความรับรู้และความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับการพัฒนาพ้ืนท่ี

ระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวนั ออก

เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๑๙ ง หนา้ ๓๖ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา

(๖) สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกได้มีส่วนร่วมและได้รับประโยชน์จากการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกอย่างเหมาะสม ตลอดจนดําเนินการให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการ ดาํ เนินการตามแผนการพฒั นาพนื้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก

(๗) ปฏิบัติงานอน่ื ใดตามทคี่ ณะกรรมการนโยบาย หรือ กรศ. มอบหมาย การกําหนดโครงสร้าง อัตรากําลัง และค่าตอบแทนของ สกรศ. ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการนโยบายอนมุ ัติตามข้อเสนอของ กรศ. โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง ขอ้ ๑๐ ให้มีเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก เปน็ ผู้บงั คับบญั ชาของผูป้ ฏิบตั งิ านใน สกรศ. นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งและถอดถอนเลขาธิการ ตามความเหมาะสม ข้อ ๑๑ ให้สํานักงบประมาณสนับสนนุ งบประมาณสําหรับการดําเนินการของคณะกรรมการ นโยบาย กรศ. คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน รวมทั้งค่าใช้จ่ายของ สกรศ. และเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ และบุคคลใดที่ชว่ ยเหลอื หรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของ กรศ. หรือ สกรศ. และคา่ ใช้จ่ายอื่นท่ีจําเป็น ตามความเหมาะสมในการดาํ เนินการตามคาํ สั่งนี้ โดยให้เบิกจ่ายจากงบประมาณของกระทรวงอตุ สาหกรรม ข้อ ๑๒ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบอํานวยการให้งานตามแผนงาน หรือโครงการที่ได้รับมอบหมายดําเนินไปด้วยความเรียบร้อย ตรงตามเป้าหมาย และสอดคล้องกับ นโยบายและแผนการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ทั้งนี้ ให้ถือว่าการดําเนินการ ตามนโยบายและแผนดังกล่าวเป็นเร่ืองสําคัญเร่งด่วนที่หน่วยงานของรัฐที่ได้รับการกําหนดให้รับผิดชอบนั้น ต้องดาํ เนนิ การเป็นลาํ ดับแรก และเปน็ ตวั ชว้ี ดั ผลการปฏบิ ตั ริ าชการของหนว่ ยงานของรัฐน้นั ดว้ ย ข้อ ๑๓ ในกรณีเห็นสมควรนายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีอาจเสนอให้คณะรักษาความสงบ แห่งชาติแกไ้ ขเปลย่ี นแปลงคาํ สัง่ น้ไี ด้ ข้อ ๑๔ คําส่งั นีใ้ ห้ใชบ้ ังคบั ต้งั แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป

สง่ั ณ วนั ท่ี ๑๗ มกราคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา

หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

ทีป่ รกึ ษา

นางสรุ สั วดี เลยี้ งสุพงศ์ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอสตั หีบ คณะครู กศน.อาเภอสัตหีบ

คณะทางาน

นางสาวศิริทรพั ย์ กติ ตภิ ญิ โญวฒั น์ บรรณารกั ษ์

นางสาวพรทพิ ย์ พลอยประไพ บรรณารักษ์ (อัตราจา้ ง)