Brf ส งคมน ม นค บเคล อนด วยอะไรก น

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

๘.ชโลสิง ปาตุง เหลาอ่อนที่ไม่ได้เป็นสุรานํ้าเมา ฉนได้ ซึ่งขัดพระ

วนยที่ห้ามดื่มนํ้าเมา ๙. อฑสกัง น!เทนง ภกษไขัผๆนิสิฑXน:ที่ไม่มชายก็ควร

๑๐.ชาตรปรชตง ภกษุTIJเงนนละทองก็ได้

แต่คมภรทุฑธศาสนามหายานจารกด้วยภาษาสันสกฤด ที่มซึ่อว่า

เภทธรรมตจ'กรศาสตร์*'' กล่าวว่าสังคายนาครั้งนี๋ไมใช่สาเหตุมาจากว่ตถ ๑๐ ประการ แต่มาจากมต rf ขัอฃองพระมหาเทวะ สาเหตุที่แทจร์งมาจาก

มสิเหล่านี้ คอ

๑. พระอรห้นต์อาจถูกมารยวยวนได้ด้วยความฝืน

๒. บุคคลเป็นพระอรหนด่ได้โดยไม่รูด้วด้องไห้ผู้อนพยากรณ์

๓. พระอรห้นต์กังม่ความสงสัยไนพระพทธเจา

๔. บุคคลจะบรรลุพระอรห้นด้ได้ไดยไม่มพรrพุทธเจาไม่ได้ ๔. บุคคลจะบรรลุพระอรห้นตได้ด้วยการเปล่งวา ทุกข์หนอๆ

ฬระแmแทะ(MahS(fera)

สำ หรบพระมหาเทวะผู้มีมด ๔ ประการนั้น เสิมเป็นบุดรนายพาณ์ว!ย

แหงแคว'นมถุรา ปรากฎว่าเป็นผู้มีรูปงาม เป็นที่ด้องใจของเพศตรงกันข์าม เมอบดาได้ไปขายสันคาต่างแดน ได้สักลอบเป็นขักับแม่ของตนเฎง เบึ๋ฐ บดากสับจากคาขายก็กสัวควๆมสับถูกเป็ด1ผข5งล0^ๅฎ^ ^กั'3y,-,

มารดาไปเมองปาฎลบุดรอยู่ก็นกันทนัน ต่อมาได้รู้จกพระเถระที่เป็นพวะ อรห้นต์องค์หนี้ง ที่ตนสนทด้นเคยเพราะกสัวความสับถูทเปีดเผยเงไกัลฐบ

ฟาท่านเสย เมอมารดาแอบไปมชูจงฆ่ามารดาด้วเองเสียฐทดน ทสังจาท

นนเกดความกระวนกระวายไจเป็นอย่างยง เพราะท่าอนนตร์ยกรรมนั้งฆ่ๆ

พระอรห้นค์ ฆ่าบดา ฆ่ามารดาด้วเอง- แลวไปขออุปสมบทที่กกกฎาราม

เ๘)น'!ใพรันนฑร.ปรราลเnMH^VplOiriMUl.(ดน!{ทรงท BI. ทุงเทหฯ:มหานทุฎราร!รทเทรัย.

totf๔*). หรัา •«๔.

The History of Buddhism in India

นครปาฎลบุดร คณะสงฆใม่ทราบเรื่องที่ไดก่อไว จงได้อุปสมบทเป็นภกษุ เมึ๋อบวชนลวกสบเป็นผูมความจำดี มเสยงไพเราะ มรูปร่างดีจงมชึ๋อเสิยงทั่ว กรุงปาฎสิบุตร ต่อมาเพี่อด้องการชึ๋อเสิยงมากขึ้นจืงประกาศว่าตนเองบรรลุ พระอรฟ้นดนลว ต่อมาคนหนึ๋งได้ฝันถงกามวตกทำได้อสุจเคลอน ในดอน

เซาเมึ๋อได้คษย์ไปซกผ้าได้ ศษยเด้นจงกล่าวว่า ''ผูเป็นอ7ฟ้นด์ยังรสงเหลำ นอย่หรยั' ท่านกล่าวว่า พระอรห้นต์อาจถูกมารรบกวนในความยันได''

ต่อมาพระมหาเทวะตองการยกย่องลูกดีษย์จงกล่าวว่า คนนี้เป็นโสดาบน

คนนี้เป็นพระอรด้นด์ เร!เอศษย์ถามว่าคนที่เป็นพระอรด้นด้ย่อมมความ

รอบรู!นทุกสํ่งมไช่หรื่อ เหตุไดตนจงไม่ทราบอะไร จงดอบว่า พระอรด้นด้

อาจจะไม่รู!ด้บางเรื่องด้องได้คนอึ๋นพยากวณ์จงจะทวาบ เมื่อรษยถามว่า

ธรรมดาพระอรด้นด์ย่อมไม่กงขาไนirnม แต่เหตุไดฃาพเจาจงไม่แจ่มแจง

ในธรรม ท่านตอบว่า ธรรมดาพระอรด้แด์ย่อมมความก้งฃาได้ ต่อมาศษย์

ถามว่า ธรรมลาพระ0รหนฅ์ทั้งหสายย่ธมรนจงยัวนฅนเธงร่าชาสิ้นนยั'^

พรหมจรรย์อย่ครบนลว แตํเหฅใดขาพเยั)ลองไหอาจารย์พยากรถ!Iห''

ท่านคอบว่า *'พระอรหนคลองใหคนอนพยากร(น เช่น พระสารบลร พระ

โมคคลลานะกอาศ้ยพระพทธองค์พยากรถ! และต้องอาศัยพระพุทธเจา"

เมื่อท่านทำกรรมมากๆ เขาจงเกิดความทุกข์ร่อนรนไนไจจงเปล่งอุทานว่า

ทุกข์หนอๆ เมื่อศษย่ได้ยนและถามว่า เมึ๋อเป็นพระอรศันต้ เหลใลจงม

ทุกข์'" ท่านตอบว่า ''ผจะบรรลธรรมไต้ต้องอทานร่าทกข์หนอๆ" เป็น เพราะท่านเป็นพระธรรมกถก มลูกศษย์มากจงรวบรวมพรรคพวกได้มาก และนี้คอสาเหตุการทำสิ'งคายนาครื่งที่ to ตามนยด้มภีร์เภทธรรมตจ่กร ดาสตร์ของพระวสุมดร แต่หลกฐานยงไม่เป็นที่เขึ้อถอมากนก ส่วนมากยง ถอว่าเหตุสังคายนามาจากว้ดถุ «o ประการของภกษุวชชบุตร ซึ่งจะได้

กล่าวต่อไป

ต่อมาพระยสกากิ'ณ•ทบุตร (YasakakaijcJaputra) ผ้เป็นอรด้นตซึ่ง

** เธนต่แาพเท•ท่า ฟ้ารท่นไสัฑํๆก'ทนหไรโกm■ามประการจรง ไเาระรฟ้จำใฟ้ ททว รยง

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาใบอินเดีย

เป็นบุต•ทเองกากัณ•เาพราหมณ์ ได้เดินทางจากเมองโกสัมฟ้มายังเมอง

เวสาล แล้วไปพำนักฑื่กุฎาคารศาลา ปามหาวัน และเมึ๋อทราบเหตุเหล่านี้ จงเข้าไปห้ามปราม แต่ภิกษุเหล่านี้นหาเชึ๋อฟ้งไม่ นอกจากนั้นพวกภิกษุ

ได้นำถาดทองสำริดไส่นั้าเดิมเ!เยมไปนั้งไวํในโรงอุโบสถ ให้ทายกทายิกาใส่ เงินลงไปในถาดนั้นเพึ๋อถวายภิกษุแล้วนำไปแจกและได้แปงส่วนให้พระ เถระด้วย'"" แต่พระเถระไม่ยอมวับทั้งได้กล่าวดิเดิยนภิกษุชาววัชข้ ไเาการ

กระทำนี้ข้ดต่อพุท!ฌัญญ้ด เป็นความผิดทั้งผู้วับ ทั้งผู้ถวายพวกภิกษุวัชช

บุตรไม่พอใจ จืงประกาศลงปฎ็สารณ็ยกรรม'" แก่พระเถระ โดยให้ท่านไป

ขอขมาโทษทายกเสย แทนที่จะไปขอขมาโทษดามคำแนะนำของภิกษุชาว

วัชช แต่พระเถระกล้บชึ้แจงแก่ทายกทๆยิกๆทราบ จนทายกเข้าใจและเป็น พวกกับพระเถระ ทายกส่วนมากเข้าใจดิว่าการที่ท่านทำไปเช่พนั้นเป็นทาร

ขอบด้วย!!รรมวินัยแล้ว และการกระทำของภิกษุชาววัชชเป็นการผิด เมึ๋อพระเถระปร้บความเข้าใจแก่ทายกเช่นนี้แล้ว จืงมคนเส์อมใสใน

พระเถระเป็นอันมาก ภิกษุขาววัชขีเมื่อได้วับทราบช่าวนั้นกพากันแลตง

ความโกร!! ให้ลงโทษพระเถระ คอประกาศจะทำอุกเขปนียกรรบ' กงกับ

ได้พากันห้อมล้อมกุฏิของพระเทระ แต่ท่านทราบเสียก่อนจืงได้นลบนนํไป

ยังเมองโกสัมพํ เมอไปถงแล้วจงได้ส่งช่าวไปให้ภิกษุชาวเมองปาวาและ ภกษุชาวเมองอวนดชงอาด้ยอยู่ในเมองทราบ นัมนด้ท่านเนล่านั้นบาประขุม

เพอด้ดสินปัญหา!!รรมวินัย และเที่อป้องกันวักษาพระานัย จากนั้นทระเทระ

ได้เดินทางไปหาพระสัมภูดสาท;วาสีเถระ (Sambhatasaijavasl) ที่อโหคังค

บรรพด เพื่อชี้แจงพฤดิกรรมของภิกษุวัชชีบุตร ชาวเบีองเวทสีทั้งทลาย

ให้ท่านทราบ

ต่อมารภิกษุเดินทางมาจากเมองปาวา bo องค์ และจากเมองอวันสี

ll. ทโ / bsioi / tobo

นะ*■ทุ่! กชุฟ้ ไปขอข!ทเiaคฤห้สrf

ห!ทยสืง กาในกใฑษที๋คณะสงฟ้พงทานก่ภิกชุที*อง8าบ้«นๆไปย่01ทบาเ£|นฎา^ โ*บไปไ!?

0น1วม ไปไ!?อม ไม่ไ!?ปี(1ทเ1ฌอกบภํกชุทั๊งห8าย

The History of Buddhism \r\ India

๘๐ องค์ มาร่วมประซุมทึ่อโทคังคบรรพต ไากท่านล้วนเป็นพระขณาสพ ภกษุทั้งทลายที๋ไล้เตินทางมาร่วมกัน ณ สถานที๋แท่งนนไล้จัดใท้มการประ ชุมกันขึ้น ทีประชุมไล้มมตว่าควรนิมนค์ท่านเรวตเถระ (Revata) ขึ้งจำ พรรษาอยู่ทีเมองใสเรยยะ เข้■าร่วมประชุมล้วย เพราะท่านเป็นขีณาสพ มี

ปัญญา เป็นบัณฑิต เป็นรกศิษย์ของพระอานนค์เถระ เป็นผู้มีพรรษายุกาล

มาก ทั้งบังนตกฉานไนพระธรรมวินัย เป็นทีเลึ๋อมใสของภิกษุสงฟ้ทม่ใหญ่ จงไล้จัดส่งพระภิกษุไปนิมนต์ท่านทีเมีองใสเรยยะ แต่ไม่พบท่าน ทราบว่า

ท่านเดินทางไปบังสทขาศินครในแควนเจต พระภิกษุเทล่านนไล้ดิตดาม

ท่านไปบังเมีองสทชาดินคร

ฝ่ายภิกษุชาวเมีองวัชขี เมึ๋อไล้ทราบข่าวว่าภิกษุทีเป็นฝักฝ่ายของ พระยสะทีเดินทางมาจากปาวา และอวันดิ กำลังร่วมชุมนุมกันเพีอตัดสิน อธิกรท่เของพวกตนจงไล้จัดพระภิกษุไปนิมนต์ท่านเรวตเถระ ทีสทชาดินคร

เพึ๋อมาเป็นฝักฝ่ายของดน ไล้ส่งสมณบริขาร เป็นล้นว่าบาดร จีวร กล่อง

เขีม ผ้านิสิทนะและฝ่ากรองนํ้าไปถวายพระเรวตเถระ ภิกษุชาววัชขีเทล่า

นนไล้ลงเริอจากเมีองเวสาลไปบังเมีองสทชาตินครก่อน เมีอไปทงแล้วไล้ไล้

พระอุดดระ (Uttara) ขึ้งเป็นลุกศิษย์ของพระเรวดเถระนำเข้าถวายบริขาร

และบอกกล่าวพฤติกรรมทั้งทลายไล้ท่านทราบ ตลอดทั้งไล้ขอร้องไล้ท่าน

เข้ามาเป็นฝักฝ่ายของดนล้วย

พระเรวตเถระไม่เทินดิล้วย เพราะท่านเทินว่าวัตถุทั้ง «๐ ประการ

นนไม่ชอบล้วยพระธรรมวินัย จีงทำไล้พระภิกษุชาววัชขีฝ็ดทวัง เสิยไจมาก เพราะไล้ขาดแรงสนับสนุนทีสำคัญไป จีงเดินทางกลับไปบังเมีองเวสาสิ ไล้

ขอความข่วยเทลอจากบัานเมีอง ฝ่ายพระเจ้ากาพาใศก(Kalfisoka)กษ้ตริย์

แห่งนครเวสาสิไล้ถวายความอุปถัมภ์ และคุ้มครองปัองกันภิกษุชาววัข3 มีไล้ภิกษุสงฆ์ฝ่ายตรงข้ามเข้ามาเปียดเบยนไล้

คทั้เต่อมา มีนางภิกษุณองค์ทนงชอว่า พระนันทาเถริ (Nanda) ขึ้ง

ไล้บรรลุพระอรล้นต์แล้ว เป็นพระญาติของพระเจ้ากาพาใศกทราบข่าวกาT

แดกสาบัคคของพระสงฆ์ จีงไล้เข้าไปล้ามมีไล้พระเจ้ากาพาใศกทลงเขึ้อ

ประว้ติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

คำ ของภกษุชาววํเชช ชงพระเจ้ากาvnโศกไดทรงนมนต์พระสงฆ์ทั้งสองฝ่าย มาร่วมประชุม และเมื่อทรงทราบความเใ!เนไปโดยละเอยดของสงฆ์ทั้งสอง

ฝ่ายแล้ว พระองต์ทรงกล้บพระท้ยมาบำรุงอุปถ้มภ์ภ็กษุผูเปีนฝักฝ่ายของ

พระยสกากณฑบุตรหรอภํกษุฝ่ายวนยวาทึ ครั้งแรกภกษุฝ่ายวินัยวาทีได

ทั้งใจว่าจะพจารณาหาทางระง้บอธกรณ์เสิยที่สหชาตนครนั้น แต่พระเรวต

เถระไม่เหนต์วยที่จะทำก้นในที่นั้น โดยใหเหตุผลว่าควรไปทำที่เมองเวลกล เพราะเหตุเกํดที่เมองไหนควรไประง้บที่เมองนั้น ที่ประชุมเหนดวย จงได เดนทางไปเมองเวสาล เพื่อประชุมล้งคายนา

เ^

HfmirtiFlllW te(The Second BuddhistSvn<^l

•ะ.-!_ โ?.^; "UJIM

จากนั้นคณะสงฆ์จ้งเฃ้าไปปรกษาพระสพพกามเถระ (Sabbakamr)

ผูมพรรษา ©๒๐ เปีนพหุสูตร เปีนอรหนต์ เป็นศษย์ที่ร้บไชพระอานนทํเถระ

มาอย่างใกล้ชด แล้วกราบอาราธนาให'เป็นประธานสงคายนาเพื่อระงบ

อธํกรณ์ พระเถระพจารณาเห็นควรที่จะระงบอธกรณ์จืงรบคำอาราธนา แล้ว

คณะสงฆ์โดยการนัาของพระสัพพกาม่จึงจ้ดใหม่การประชุมล้งคายนาครั้งที่

๒ ก้นขึ้นที่วาลการาม หรอวาลุการาม (อารามดํนทราย) เม่องเวสาลี ใน การประชุมครั้งนั้ ม่พระอรหันต์เขาร่วมประชุมถง ๗๐๐ องค์ ทำ ใหัการ

ประชุมไม่คำเนนไปควยความเรยบรอย เพราะเนึ่องจากม่ผูเขาร่วมประชุม

มากไป ดองใชเวลาถกเถียงก้นเป็นเวลานาน ที่ประชุมจงไดตกลงเลีอกเอา

พระขีณาสพที่มาจากภาคตะวนออก ๔ องค์ คือ'"'" ๑. พระสัพพกาม่

๒. พระสาพหะ ๓. พระอุชชโสภตะ ๔. พระวาสภคามกะ ทำ หนัาที่วินจนัย

อธกรณ์ที่เกดขึ้นควยวิขีอุพพาห็กะ'"' และจากภาคตะวนตก (เมองปาวา)

อก ๔ องค์ คือ ๑. พระเรวตะ ๒. พระสัมภูดสาณวาส ๓. พระยสกา-

ก้ณฑบุตร ๔. พระลุมt4ะ ม่หนัาที่เป็นตวแทนฝ่ายสงฆ์ธรรมวาที ม่หนัาที่

'ป. ๗/ ๖๔< / taW*

คอวิทะงบอธักรทi ในกรท!ทีประชุมแงฟ้รความใบ่®ะลวก^วยเพทุผBบางประการ สงฬงเร0ก iini{ในทีประชุมเปินคณะท่างานนfวนาใ!]วิ!!*ฉย

The History of Buddhism in India

เสนออธกรณต่อสงฟ้

รวมทั๊งทมด ๘ องสั เป็นผู้ทำการสาธยายพระธรรมวินัยและนำ อธิกรณ์เข้าสู่สงฆ์เพื่อระง้'บ และในจำนวน ๘ องค์นี้ ๖ องค์ เป็นลูกศิษย์

ของพระอานนท์ คอ" ๑. พระส้พพกามี ๖. พระสาพหะ ๓. พระเรวตะ ๔.

พระอุขชโสภิดะ ๕. พระสัมภูดสาณวาส และ ๖. พระยสกากัณฑบุตร อีก ๖ องค์ ศิอ พระวาสภคามีกะ และ พระสุมนะ เป็นลูกศิษย์ของพระอนุรุทธะ

พื่ประขุมได้ตกลงแด่งตั้งใท์พระอธิตะ (ผู้มีพรรษา «๐) เป็นผู้จัดสถานที่ ประขุมสังคายนา และอาราธนาพระสัพพกามี เป็นประธานในที่ประขุม

สาเหตุที่คณะสงฆ์เลอกเอาพระสัพพกามีเป็นประธานในที่ประขุมนั้น

เพราะท่านเป็นผู้มีพรรษายุกาลมาก คือ มีพรรษา ๑๖๐ ปีแก่กว่าพระภิกษุ

ตั้งหลายในที่ประขุม ตั้งเป็นผู้มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก ตั้งอยู่ใน ฐานะควรเคารพสักการะของภิกษุและประขาชนตั้วไป การประขุมครั้งสุด

ว่า" "ท่านผู้เจริญ รง- I

รโสณกัปปะนนควรทริอ

ไป" พระสัพพกามีดอบ 1ทะ81พั1ฅ์aloo ท่าศ้Jคานนาค7■เที่๒ ทึ๋วารุททาน ว่า "ไม่ควร" พระเรวดะถามว่า "พระคารดาทรงท้ามไว้ทึ๋ไทน" พระ

Wilbelm Ceiger. MฟMvaalsa or the Great Chrtmkle of Ceylon.(New Delhi ะ Subham OfTnet Presa,2000).Page 24.

จุ. ป.๗ / ๖๔๖ / torfto

ประว้ติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

ร้ฟพการ!)ตอบว่า "ทึ๋กรุง(ทวัฅถื ปรากฏในคัมภีร์รุฅฅวัภังด์" พรทรวดะ

ทามว่า "นคัวคัองอาบ้ฅอะไร" พระส้พพกามตอบว่า "ปาจิตฅึย์เทราะสะสม

ใภรรนะ" เป็นต้น และในทีประชุมไต้ต้ดสินเป็นเอกฉันท์ว่าการปฎิบ้ดิของ

ภิกษุชาววัชชี ไม่ชอบต้วยพระธรรมวินัย ไต้ประชุมกันทีวารการาม นอก

เมองเวรกสิ โตยการสนับสนุนจากพระเจ้ากาพาโตก พระมทากษ้ตริย์แห่ง

นครเวรทสิ สังคายนาครั้งนึ๋ไช้เวลาทำอยู่ ๘ เสือนจ้งร}าเร็จ

สชุปสังดายนาครั้งที น'"

«. ทำ ทีวาลุการาม (หร็อ วาสิการาม) เมองเวรกสิ แควันวัชชี

๒. พระส้พพกามมทาเถระ เป็นประธาน

๓. พระอชีตะ เป็นผู้จ้ตสถานทีประชุม

๔. พระเจ้ากาพาโศกเป็นองค์คาสนูปกัมภ์ ๕. พระอรหันค์ ๗๐0 องค์เข้าร่วมประชุม ๖. ไต้ยกวัดรา «๐ ประการมาเป็นเทตุสังคายนา

๗. ใข้เวลาทำ ๘ เสือนจงร}าเวิจ

๘. ทำ เมึ๋อพระพุทธองค์ปรินิพพานไต้ ftoo ปี'"'

การแตกนิกายไนสังคายนาครั้งนี้มเพยง )a นิกายเท่านั้น คอฝ่าย

พระส้พพกามีเถระ และภิกษุชาววัชชีทีเริยกตนเองว่ามทาสังคีคิ ต่อมๆจง

แดกออกเป็น «๘ นิกาย คอแยกออกจากเถรวาทตงเสืม ce นิกาย แยก ออกจากมทาสังฆิกะ (มทายาน) ๗ นิกาย และ ๗ นิกายทีแตกจากมทา

สังฟ้กะ เภิตเมึ๋อ พ.ต. «๐๐ ร}วน ๑« นิกายทีแตกจากเถรวาท เภิตเมึ๋อ

พ.ต.iDOO เป็นต้นมา

พระเจ้ากาพาโตก ในทนังสือชีนกาลมาสินิกล่าวว่า พระองค์มีพระ

โอรส «๐ พระองค์ คอ'"' ต. เจ้าชายกัทรเสน to. เจ้าชายโกรณ•ควรรณ ๓. '' ชุ•เพณา*ทาร(รวํนฬ »1ะ•ท). ••ระ. ปรทํล•ท*••เรเท■พาในรานรร.(«๗ครงล่ ๒.

rrjJiTiพฯ ะ ฆหาชุพใบTTณาศ-ท, totfflin), ฑใรก ta«b

ในหน้ง์รอ The History ofBuddhism in India and Tibet by Bu Ston กเท่วว่า รงfnuunnTldlBfl

ฑทพyทน••๒ ปิ

^*'NalinakshiDun.BnrtdhhtScctifa India.(New Delhi ะ Jaincndra Prakwh Jun atรท Jainendn

Press.l998).Page5.

The History of Buddhism in India

เจาซายมงถูร ๔. เจาชายสัพพญชหะ ๔. เจาชายชาลกะ ๖- เจาชายสัญช้ย ๗. เจาชายอุภกะ ๘. เจาชายโกรพยะ ๙. เจาชายน้นฑวฌไ4ะ ๑๐. เจ้าชาย

ปัญจมกะ ตอมา พ.ศ. ๑๑๔ พระเจ้ากาพาโศก ผู้อุปถัมภ์การสังคายนา ครั้งที่ ๒ ก็เสดํจสวรรคด รวมครองราชสมบคิ ณ กรุงปาฎลบุดรไค้' ๒๘ ปี เมึ๋อพระองค์สวรรคตแลว เจ้าชายภัทรเสนและพระโอรสองค์อื่นๆ ไค้ร่วม ถันปกครองปาฏลีบุตรแบบคณะจนมาถืง พ-ศ. ©๔๐ ปี ก็คูกโจรนนทะยด

อำนาจสำเร็จ ราชวงค์สุสุนาคจ้งสิ้นสุตลงแค่นี้ รวมเวลาที่พระเจ้าภัทรเสน

ปกครอง ๒๖ ปี

ต่อมา พ.ศ. ๑๔๐ มหาโจรนนทะ (Nanda) ช่องสุมผู้คนไค้เปีน จำ นวนมาก นสัวเขารดนครปาฎลบุตรจากพระเจ้าภัทรเสนสำเร๊จ ไค้ค้ง

ราชวงค์น้นทะขึ๋น ปราบดาภเษกตนเองเปีนกษดร็ย์ปกครองแควนมคธ ต่อมา พระเจ้านันทะ มพระโอรส ๙ พระองค์ คอ ๑. เจ้าชายอุคคเสนนันทะ

๒. เจ้าชายกนกนนทะ ๓. เจ้าชายจ้นคุติกน'นทะ ๔. เจ้าชายภูติปาละน้นทะ ๔. เจ้าชายรฐปาลนันทะ ๖. เจ้าชายโควสาณกนนทะ ๗. เจ้าชายทสสิทธิ-

กนแทะ ๘. เจ้าชายเกวัฎฎนันทะ ๙. เจ้าชายธนนันทะ

พระเจ้านนฑะปกครองปาฎลบุตรนานพอสมควรก็สวรรคต เจ้าชาย

ธนน้นทะ (Dhanananda)พระโอรสองค์ที่ ๙ ปกครองต่อมา'"° ในยุคนี้ทาง

ฝังตะวนตกของอนเติย อาณาจ้กรมาเซโดเนยของกร็กเริ่มเร็องอำนาจ

สามารถรดอาณาจ้กรหลายแห่งไหลยู่ไนอำนาจไค้ เช่น อยปค์ เปอร์เซย

และเริ่มเตร็ยมรุกรานอนเติย ต่อมาพระเจ้าธนนันทะก็ภูกจ้นทรคุปค์ช่องสุม ผู้คนเป็นกบฎ ครั้งแรกพระองค์ปราบปรามกองฑ้พจ้นทรคุปตไค้สำเร็จ แต่

ครั้งสองก็ฟายแพค้องสิ้นพระชนม์ไนสนามรบ รวมราชวงค์น้นทะปกครอง

มคธ ๒๒ ปี ก็ค้องสิ้นสุดลง จ้นทรคุปค์สถาปนาราชวงค์เมารยะปกครองต่อ

บางตำ7าทเท่วว่าiSjamriiiuนทะ(ท■ทค*แร้ว พระโอรเโฑง ๘ นปงทนปกทรQงรามเาเ1า{)ปก ครองรวม bto ปี

ประวตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

ร่องรอยแท่งการแบ่งแยกในวงการทุฑธศาสนานั้นได้รมาดั้งนต่ทลง

ทุฑ!โปรินิพพาน กล่าวคอพระปุราณะไม่ยอมร้บการสังคายนาฑึ่จ้ดโดย

พระมหากสสปะ ณ เรองราชคฤห์ จงได้นำคณะสงฟ้อกกลํมหนึ่งไปทำ

สังคายนาต่างหาก เริยกคณะด้วเองว่ามหาสังคีติ จงเป็นเหตุไห'คณะสงฟ้

เริ่มนคกแยกออกเป็น ๒ ฝ่าย แต่ที่ช้ดเจนเริ่มเมื่อ พ.ศ. ๑0๐ เป็นด้นมา

หสักฐานที่เขียนเหตุการณ์แตกแยกเป็น ๑๘ นิกายมีปรากฎในด้มภีร่มหา วงส์ และคมภีร่ที่ปวงส์ฃองสังกา ด้มภีร่กถาว้ดถุในอนเคีย จดหมายเหตุ

พระถงชมจ้งก็กล่าวถงเช่นกน จนต่อมาการแตกแยกนิกายได้ขยายออก

เป็น ๑๘ นิกาย แม่'การทำสังคายนาครั้งที่ ๔ ที่กัศมีร่ หริอชาสันธรได้จัด

ฃนก็เพอขจัดความขีดแยงของ ๑๘ นิกายเป็นสำด้ญ แม่'ว่าในปัจจุบ้นพุทธ

ศาสนาฑง ๑๘ นิกายจะได้สูญหายไปหมดแสัวกึดาม เพื่อเป็นประโยชนํ

ด้านการศกษา จงได้นำเสนอพอสมควรด้งนี้

[ «พะ«งฝ'«>๘'(เจิ^J

แพวาท(พระมหาททฝะ) มหารง่ฟ้กะ (/รกชุวขเ) (»ท1รวาท) —I , "รพรเรทพิเ! fjjiui ริก'!'ไท 1 fเอกพโพห์าวกวาท (•rmihnftu) (I^ (เทากลุลกวาทุ้น) J [ «0ทพยพา1ก•ท^น) ,

พหสสคํกวาท า [ ปัฌญคฺกํวาท

(พ14พ2«ชวาทน) 1 1 {ปรรญปตํวาfiน)

lummMirmfHo mm J.-f'L.I-f.in' %พแวิเunพํเ

The History of Buddhisiri เก India

หลงจากสังคายนาครั้งที่ ki ผ่านฟันไปแลว พระสงฟ้ที่เป็นฝึกฝ่าย

ก้บภกษุว้ชชบุตรเมองเวสาลไม่ไค้ยอมร้บการสังคายนาของพระมหาเถระ

ครั้งนี้ ไค้ไปรวมค้วก้นทำสังคายนากนที่เมองปาฎลบุตร โดยมพระสงฟ้เข้า

ร่วมค้วย ๑๐,๐๐๐ องค์ แลวเร่ยกคณะสงฆ์ของตนเองว่า มหาสังฆ์กะหร่อ

คณะสงฆ์หมู่มาก และเร่ยกการสังคายนาของตนเองว่า มหาสังคต นบ

เป็นการแตกแยกทางความคดอย่างข้ตเจน เมอถงตอนนี้คณะสงฆ์ไค้แยก

ออกเป็น ๒ ฝ่ายข้ตเจน คอ

๑. ฝ็ายเถรวาท ที่ยดตามแบบแผนตั้งเดมโนคราวสังคายนาครั้งที่ ๑ ไม่ถอดถอนพระธรรมวน้ย รกษาไว้เหมอนเตม ครั้นต่อมา พ.ค.๒๐๐ ไค้ แตกออกเป็น ๒ นกาย ค้อ"* ๑. นํกายมหสาสกะ ๒. นกายว้ซชีปุดดกวาท

ต่อมานกายมหสาสกะไค้แยกออกเป็น ๒ นกาย ค้อ ๑. นกายส์พฟัตถก-

วาท ๒. น๊กายข้มมคุตดิกวาท ต่อมานกายสัพฟัตถกวาทไค้แยกออกเป็น ๑ นกาย ค้อ นกายก้สสปิยวาท ครั้นไม่นานนกายก้สสปิยวาทนี้กไค้แยกออก

เป็นอก ๑ นิกาย ค้อ นิกายสังก้นดิกวาท ต่อมานิกายสังก้นดิกวาทไค้

แยกออกเป็นอก ๑ นิกาย ค้อ นิกายสุตตวาท ส่วนนิกายว้ชชปุตตกะไค้

แยกออกเป็น ๔ นิกาย ค้อ ๑. นิกายธ้มมุตตร่กวาท ๒. นิกายก้ททยา-

นิกวาท ๓. นิกายฉนนาคาระ หร่อฉนนาคาร่กวาท ๔. นิกายสัมมดิยวาท

๒. ฝ่ายมหาสังฆกะ ที่ยตดามภกษุว้ชชบุตรซึ๋งต่อมาพตเนาการมา เป็นฝ่ายมหายานใ\นาายหลง ฝ่ายนี้สามารถประยุกค์ปรบปรุง เปลี่ยนแปลง

เพมเดิมค้ดทอนทุทธพจน์ไค้ต่อมาฝ่ายมหาสังฟ้กะกแยกออกเป็น๒นิกาย

ค้อ ๑. นิกายโคกุลกวาท ๒. นิกายเอก้พโพหาร่ณาท จากนี้นไม่นานนิกาย

โคกุลกวาท แยกออกเป็น ๒ นิกาย ค้อ ๑. นิกายปัญญ้ดดิกวาท ๒. นิกาย พทุสสุดิกวาท ต่อมานิกายพทุสสุดิกวาทแยกเป็นอีก ๑ นิกาย ค้อ เจดิย-

กวาท รวมเป็น ๖ นิกาย ต่อมานิกายมหาสังจ]กะยงแตกออกเป็น ๕ นิกาย ค้อ «. นิกายอปร-

^. ป. ๗/•</ ฟ

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

เ»รยะ ๒. นิกายอุดตรเสรยะ ๓. นิกายอุดดรปทะ ๔. นิกายวิภัชชวาทิน ๔. นิกายเวดุสลวาท รวมเป็น ๒๓ นิกาย โดยฝ่ายเถรวาทได้แบ่งออกเป็น

«๒ นิกายทรังจากพุทธบ่รินิพพานราว ๒00 ปี ส่วนมทารังฆิกะนนได้เรํ่ม

แบ่งแยกออกเป็นนิกายย่อยราวพุทธบ่รํนิพพาน «00 ปี เทดุการเนแดก

แยกเป็น «๘ นิกายนี๋ได้มีด่อมายาวนานจนสิ้นสุดลงเมีอราว พ.ด. ๑(ท๐๐

ก่อนฑึ่ทุฑธศาสนาแบบมนตรยานทรึอต้นตระจะเขามานฑนฑึ่

๗.ฬร»maian<init«iiir^lliri«(Alexander the Great

* •- -r •'-ว ร^-' 1 1

พ.ศ, ๑๗๖"'" ที่คาบสมุทรบอลข่าน เมองมาชโดเนย (Macedonia)

กรก เจาชายอเลกชานเดอร์ ก็ไต้'ประสูต้ฃึ้นมาในโลก พระองค์นบเป็น

กษ้ตรย์ที่น้กประวตศาสตร์ทวโลกยอมรับว่า ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่ง ฃึ้น

ครองราชสมบด ณ มาชิโดเนีย เมึ๋ออายุ ๒๐ พรรษาต่อจากพระบดานามว่า

พระเจ้า?เรปส์ที่ ๒ (Phillips 2"'') พระองค์เป็นศษย์เอกของอรัสโตเตล

(Aristoile) เมึ๋อทรงพระเยาว่ได้รับการศึกษามาเป็นอย่างด พอพระชนมายุ

๒๖ พรรษา ก็ทรงเป็นนักรบที่เก่งกาจ มม้าคู่พระท'ยชึ๋อว่า บูเซฟารัส

(Bucephalus)วิ่งได้รวดเร็วและนขงแรงมากมความอดทนเป็นเลศ ด้วสขาว

สะอาด จงเป็นพาหนะนำพาใหกองท้พของพระองค์มีชยในหลายสมรภูม

โดยเอาชรน:ที่งชิเรย ปาเลสไตน์ อยปค์ เปอร์เชิย (รหว่าน) ภายในเวลาแค่

๔ ปี จากใ4นข้ามภูเขารนดูกูฎเข่ามาสู่ปัญจาป ทางอนเดยภาคเหน์อเมี๋อ

พ.ศ. ๒๐๖ ที่นึ่พระองค่ได้ทะสุถงเมองตกกสลา (Takkasila) หรัอด้กษศลา

(Tak^a^ila) เมองที่มีชึ่อเสืยงด้านการศึกษาที่งพราหมณ์ และพทธศาสนา

ณ ที่นึ่ พระเจ้าอมททชา(Ambhiraja)ไม่ได้ทรงต่อด้านเพราะเหนว่า ด้ว

เองมก่าลงอำนาจไม่เข้มแข้งพอที่จะด้านศตรูต่างแดนได้ จ้งได้เปิดเมอง

ด้อนรับอเลกชานเดอร์ ชึ๋งพระองค์ก็ไม่ได้ท่าอนตรายแต่อย่างไร เพยงแต่

ไหเมองด้กกสลาเป็นเมองขึ้นต่อมาชิโดเน์ยเท่านั้น แด้วใหปกครองตามเดม

1ท4ฟนฑร่าวไ{ๆ พ.ท. •«ito ฬะพรรเ{ๆรเรกๆทนเทofโจมทรนเทย พ.ท.•๖๒

The History of Buddhism in India

และ:ท'รงขอให้ต้กกสิลาส่งทหารมาช่วยรบปัญจาป ๕,000 คน ซี่งพระเจ้า

อมฟ้ราชาก็ยนยอมตามคำขอ

ต้งนั้นพระเจ้าอเสิกชานเดอร์จงรุกเข้าสู่ปัญจาปไดพบก'บกองใาพ

ของพระเจ้าเปารวะ (Paurava)หรอเปารุส พระราชาแห่งปัญจาป และเมื่อ

พระเจ้าอเลกชานเดอร์เดนทางมาสิงแม่นํ้าวตัสดะ พระองค์สิได'มองเฟ้นฑัพ

ของพระเจ้าเปารวะตั้งอยู่ฝังตรงกนข้าม เมื่อสิงดอนกลางคนกองท'พกรก พร้อมทหารตกกสิลาเปีนพ้นธมตรสิเริ่มโจมดีอย่างฉ้บพล้'น เมื่อเจอลูกศร

ข้างทรงของพระเจ้าเปารวะได้ร้บบาดเจบ จึงอาละวาดเหยียบทั้งทหารตน

ฒของพระเจ้าเปารวะสิแพ้อย่างเองและทหารกร้ก เกิดความสิ'บสนอลหม่านไปทั้ว และในไม่ข้าทพอินเดีย ยบเยีน ด้วพระเจ้าเปารวะเอง

บาดเจ็บสาห'ส จึงถูกนำด้วมา

เฝืาพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ เมื่อ

กษ้ดร้ย์กรีกถามว่า จะให้ปฎ๊บด

ต่อเจ้าอย่างไร พระเจ้าเปารวะ

กล่าวว่าให้ปฎิบตเยี่ยงพระราชา

กระทำต่อก้น ทำ ให้พระเจ้า

อเล็กชานเดอรพอพระก้ย สุด

พระเจา81รทซานเฅอ{มพาราช ห้ายทรงแต่งตั้งให้เป็นกพ้ตรีย์

ปกครองปัญจาปเช่นเดีม เมื่อเสรีจสิกที่ป็ญจาปแลว พระเจ้าอเล็กชานเดอร

หว้งจะยกทพต่อเพึ๋อยีดมคธและส่วนอึ่นๆ ของอินเดีย แต่แม่ห้พนายกอง

ทหารอ่อนด้าเดีมที จึงวงวอนไม่ให้เดีนห้พต่อ กษัตรียแห่งมาซโตเนียจึง

จำ เป็นตองถอนฑพกลบหลงยีดอินเดียเหนํอได้ ๑ ป็ก้บ ๘ เดีอน กองห้พ

กรีกแปงออกเป็น ๒ ฝ่าย โดยฝ่ายแรกกลบทางเรีอ อิกฝ่ายกลบทางบก

หลงกลบไดไม่นานพระเจ้าอเลกซานเดอร้สิไดสิ้นพระชนม์ทึ่บาบโลน (อิร้'ก)

รวมพระชนมมายุ ๓๓ พรรษาเท่านั้น นํกประ'งดศาสตร้ต่างยอมร้บก้นว่า พระเจ้าอเล็กชานเดอร์นั้นนํบเป็นกษัตรียที่ยี่งไหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งใน

ประวตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

ประ:วตศาลf«fโลก เทยบเท่าก้บเจ็งกสฟานของมองโกลผูฟ้?ตยุโรป ในยุคนี้

รนเดยส่วนเหนอ เปอรเชย (อหร่าน) บาบโลน (รร่ก) รยปต ปาเลสไตน์

ชเรย และยุโรปต่างตกอยู่ภายไต้การยดครองของจ้กรวรรดกรกฃองพระเ^า

อเล็กชานเตอร์อย่างสิ้นเชง การรุกรานรนเดียของพระองน์นี้เองต่อมาท่าไห

ชาวกรกที่ตามกองฑพมาดั้งรกรากไนภาคเหนือของรนเต่ยไต้สร่างสร'5ค์ การปันพระพุทธรูปนรกขนเป็นชาตแรกไนโลก

สรุปราชวงด่างๆ แคว้นมคธ (โดยอนุมาน)""

  1. ราชวงด่หารย้งกะดามคมภึร์มหาวง

๑. พระเจาภาตกะ (Bhaiika) ปกครองก่อนสม้ยพุทธกาล te. พระเจาพมพสาว(Bimbisara)ปกครองสมัยพุทธกาล ถงก่อน

พุทธปรินืพพาน ๘ ปี รวม rfki ปี ๓. พระเจาอชาตศัตรู (AjatasatrG) ก่อนพุทธปรินืพพาน ๘ ป็ถง

พ.ศ. ๒๔ รวม ๓๒ ปี

๔. พระเจาอุทยภ้ทร(Udayabhadra) พ,ศ. ๒๔ ถง พ,ศ. ๔0

รวม ๑๖ ปี

๕. พระเจ้าอนุรุทธะ (Anuruddha)พ.ศ. ๔0 ถง พ.ศ. ๔๔

รวม ๔ ปี

๖. พระเจ้ามณฑกะ (Muqdaka)พ.ศ. ๔๔ กง พ.ศ. ๔๘

รวม ๔ ปี

๗. พระเจ้านาคทาสกะ (Nagadasaka)พ.ศ. ๔๘ กง พ.ศ. ๖๘

รวม ๒0 ปี"'

iDunmrinนวน พ.ฅ. โคบอในภนเท่านน เพ•ทะรพนังรรviaายเajjfidnง๖ น ข6»าวาฬงพั นยงทนพรายพำท ผู้•ทบทมน่านาจากพนังรอปใะว้คศา■ตเพทธศาเทเาของอาจาาปัเ บา โพเนันทะเปีนพนัก

โนพนังรอ Civilisaiitm in the Riuldhist Age B.C.320-A.D.500 กรำว'ง่าทฃวงพํไคศนาคะร «k) องพํ คงน •. พวะเนัาไคคนาคะ to, พวะเนัากากะวรวณะ m. พระเนัาเกษบขวม้น พระเจากษ้คทวทค rf. พระเนัาพิฆพสาร ๖. พระเนัาอรทคคัครุ ท(. พระเนัาmภกะ ๔. พระเนัาอุทัยสวะ ๔. พระเจานันทิวรรขนะ .to.

พระเจาบพานันทิน

ไนหนังรอ Royd Patronage ๗"Buddhism เท India กรำว*ง่าพระเนัานาคทาสกะปกครองนครราว

The History of Buddhism in India

to.ราซวง«(ชุสุนาด (รนรนท5ga Dynasty) ๑. พรทจาสุสุนาค (รนรนnSga) พ.ศ. ๖๘ {ไง พ.ศ. ๘๖

รวม ๑๘ ปี

๒. พระเจ้ากาพาโศก (Kaja^oka) พ.ศ. ๘๖ ถง พ.ศ. «๑๔

รวม ๒๘ ปี

๓. พระเจ้าภัทรเสน(Bhadrasena)พ.ศ. «๑๔ {ไง พ.ศ. ๑๔©

รวม ๒๖ ปี

  1. ราชวงส์น้นทะ(Nanda Dynasty) ๑. พระเจ้ามหาปัฑมาน้นทะ (MahapadmSnanda)

จาก พ.ศ. ๑๔0 {ไงพ.ศ.๑๖๒ รวม ๒๒ ปี"^

๒. พระเจ้าธนนนทะ (Dhanananda) พ,ศ. ๑๖๒ {ไง พ.ศ. «๖๘

รวม ๖ ปี

(ในคมภีร์มหาโพธว้งสะกล่าวว่า ราชวงสันี้i3ผู้ปกครองต่อจากพระ

เจ้าธนนันทะอีก ๘ พระองค์ คอ ๑ .พระเจ้าปัณฑกะ ไร. พระเจ้าปัณฑุกด

๓. พระเจ้าภูตปาละ ๔. พระเจ้าราษฎระปาละ ๔. พระเจ้าโควสาร ๖. พระ

เจ้าทสสฑธกะ ๗. พระเจ้าไกวารตะ ๘. พระเจ้าธนะ)

/I

Rocnciai C.Duu.CWUlntioo ๒ the Buddhist Age B.cJ20-AJD.500.(Second Ediitoo. New Delhi ะ Low Price Publication. 1993).Page 44.

ประว้ติศาสตร์พระพทธศาสนาในอินเดีย

^|ทห ๔ I

รศาสนายุค พ.ศ.]ท0ปี-๕ทน

(Buddhism in B.E. 200-500)

เมื่อพระเจารเล็กซานเดอร์รดครองรนเสิยภาคเหนือได'สำเร็จ และ

ยกทัพกลบไปแล'ว แต่พระองค์ก็ย้งดั้งนายพลคนสำคญๆ ดูแลเมืองต่างๆ

ฑื่ยดได การดัดสนใจใดๆ ของเมืองในอารักขา ดัองไดัรับความเห็นขอบจาก ผู้สำ เร็จราชการขาวกร็ก และเมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์สิ้นพระชนม์แลว

อาณาจ้กรกรีกที่กวางใหญ่ไพศาลก็แดกเป็นเสี่ยงๆ เพราะทุกคนต่างก็ดัอง

การเป็นใพญ่ อกฑงกษตรียองค์ต่อมาจากพระเจ้าอเล็กซานเดอรมหาราชไม่

เขมแขํงพอ

หลงจากดังคายนาครั้งที่สองผ่านไปแล้ว อาณาจ้กรมคธก็ถูกยึดครอง

โดยพระเจ้าน้นทะ (Nanda) ซึ่งในดำนานกล่าวว่า เดิมเป็นมหาโจร แต่เมื่อ

มืก่าดังมากขนจงเขายึดครองปาฎสิบุตรต่อจากพระเจ้าภาVทโศท แล้วดั้ง

ราชวงค์น้นทะขึ้นแทนราชวงค์สุสุนาค พระเจ้านันทะเมื่อขึ้นเถลิงราชสมปด แล้วกดับเป็นกษตรียที่ดิ ทรงทำนุบำรุงพุทธศาสนาและปานเมืองเป็นอม่าง

ดิ ราชวงศ์นนทะปกครองปาฎล็บุตรมาจนถึงพระเจ้าธนน้นทะ พระองค์

พยายามเป็นนักปกครองที่ดิ และสรัางกองทัพให้เขมแขง ยิ่งใหญ่ ต่อมาก็ ถูกจ้นฑรคุปตทัาทาย ทรงปราบสำเร็จในสงครามครั้งแรก แต่เมื่อจ้นทรคุปค์

ใดัพราหมณ์ซึ่อ จาณ้'กยะเป็นผู้วางแผน และเปลี่ยนยุทธศาสตร์ใหม่ ครงที่

สองการยึดอำนาจของจ้นฑรคุปค์จืงประสบความสำทํ่จ พระเจ้าธนนันฑะ

สวรรคตในสนามรบ นครปาฏลิบุตรดันเป็นคูนยกลางของพุทธศาสนาและ

ชมพูทวีปตกอฝูในอำนาจของจ้นทรคุปค์

f๑.พระเจาจ้พพรยุฟ่พ(Candi^gt^^

* นารฟ้ยน1ป็น จันฑทุ**ะ (CafKlaguim)

The History of Buddhism in India

พ.ศ. ๑๖๘^ จ้นทรคุปต์ สามารถยดอำนาจได'6ทเร์จ จงสถาปนา ราชวงศ์เมารยะขน ปกครองปาฎลบุตรต่อมา พระองศ์มนามตามสำเนยง

กรืกว่า ชานโดรคอตดุส(Sandrocottus) เป็นนักรบที่กล้าหาญได'ช่วยเหลอ

พระเจ้าอเล็กชานเดอร์ในการตีอนเดย ในคมภร์ปุราณะกล่าวว่า จ้นทรคุปศ์

เป็นบุตรของนางบุรา พระชายาองศ์หนึ๋งของพระเจ้านันทะที่เijองปาฎล็บุตร เพราะเหคที่เป็นโอรสของนางบุรา จงได้ตั้งราชวงคใหม่ว่า เมารยะ

(Maurya) หรอ โมรยะ แต่ตำราบางเล่มกล่าวว่า จ้นทรคุปศ์ มเชอสาย ศากยะแห่งกรงกบลพสศ์ หด้งถูกพระเจ้าวฑูฑภะได้ทำลายราชวงศ์ศากยะ

แล้ว เผ่าพนธุส่วนหนึ่งของศากยะได้อพยพหลบหนึจากการด้งหารไปตั้ง อาณาจ้กรเล็กๆ แห่งใหม่ขึ้น แถบทุบเขาห่มาด้ย และบรเวณนั้นเป็นที่

อาด้ยของนกยูง จ้งเรียกว่า เมารยะ หรีอโมรยะ หนังสอมหาโพธวงศ์กล่าว ว่า บดาของจ้นฑรคุปศ์เสียชวดในสนามรบ ที่เมองโมรยะนคร มารดาของ

จ้นทรคุปด์ตั้งครรภ์จงแอบหลบหนไปเมองปาฎสีบุตร แควนมคธ เมื่อโตขึ้น

ได้พราหมณ์คนหนึ่งชึ๋อว่า จาณ์กยะ(Csnakya)หรีอ เกาตณยะ เป็นผู้อบรม

เลี้ยงดู และสอนศลปวทยา ในช่วงด้นได้ช่วยเหลอกองทํเพกรีกของพระเจ้า

อเล็กชานเดอร์มหาราชในการยดครองอนเตยภาคเทนอ ต่อมาจ้งแขงข้อ

กบฎต่อพระเจ้าธนนันทะ (Dhanananda) ราชวงศ์นันทะ เมองปาฎสีบุตร

ในการรบครั้งแรก จ้นทรคุปศ์พ่ายแพอย่างยับเรน ด้องหลบหนเอาด้วรอด

และเมื่อเดนทางผ่านหมู่บานแห่งหนึ่ง ได้ฟังเสียงย่าด่าหลานที่ก็นขนมที่ รอนๆ ตรงกลาง จงดุต่าว่าโง่เหมือนจ้นทรคุปด์ กนของรอนด้องกนตั้งแต่

ขอบ เพราะขอบบางจะเย็นกว่าด้านในซึ่งรอนกว่า

เมื่อได้ฟังด้งนั้นจ้นฑรคุปศ์จงฉุกคดได้สตขึ้นมา เรั้มทำการช่องสุม

ผู้คนใหม่แล้วตจากรอบนอกเขามาหาชาวบ้านเป็นมวลชน อาจกล่าวได้ว่า

^ ตำ ■ทบ-พเร่มกรhวว่า พ.ค. tatote พุทธคักทฟ้น■ร่วงฟ้เรม วามส้บรru ในหนังรeจาริกบุญทรก

ธทมของพระเครพระคทเพระธรรมปิฎก นักปทฃtfนห่งคณะสงรJไทยกร่าวว่า จันทรคปคัสถาปนาราชวงคั เมารยะ พ,ค.•๖๘ ร่วนหนังรอประว้•คาสคริพระพุธคาสนา โ•ยพระราชธรรนนัเฑศกร่าวว่า พ.ค.toloto หนังรอ History ofIndia by Anil Chandra Bancijec กส่าวว่า พ.ค. totata เพี่อกันสบสนนัรวบทมรงใจั พ.ศ. คามแบบ พร?เคชพระคุณพระธรรมปิฎกเป็นหจัก

.1 ๙๒ ประวัติศาสตร์พระพูทธศาสนาในอินเดีย

จนทรคุปด์ 1ป็นคนนรกที่คีดยุทธศาสตร์ป่าล้อมIJJองขึ้น ในที่สุดกรด

ปาฎลบุตรไล้เด็ดขาด โดยล้งหารพระเจ้าธนนนทะในสนามรบ แล้วปราบ

ดาภเษกเป็นกษ้ตรย์ สถาปนาราชวงศ์ ^

เมารยะขึ้นในนครปาฎสิบุตร พระองศ์ Ijfc

ไล้ธตาพระเจ้าธนน'นทะมาเป็นมเหสี"

แล้วทำสงครามต่อล้ก้บเจ้าเมืองกร์ก

ชสีวกุส

นคาเตอร์(Seleukus Nicator) ขึ้งเป็น แม่ทพใหญ่ ๑ ใน ๓ คนของพระเจ้า

อเล็กซานเดอร์ในด็นแดนล้นธาระขึ้ง

ครอบคลุมอัฟกานิสถานและบางส่วน ^^^IBBSbHBmI

ของปากสถาน ในที่สุดนิคาเดอร์ยอม

แพจงยอมยกธดาใหเป็นรางวัลแก่พระ ขาทพ7t7าชว้•รปาฏลบทร เรองป็ฏนะ

เจ้าจ้นทรคุปศ์ จงทำใหจ้กรวรรด็เมารยะแผ่ไพศาลตั้งแต่ลุ่มแม่นาคงคาจน

ถงอัฟกานิสถาน ในสมยของพระเจ้านิคาเตอร์กไ?ดริย์แห่งล้นธาระไล้ส่ง

เอกราชทูตมาประจำที่สำนกเมืองปาฎสิบุดรนามว่า เมล้สเทเนส (Magus-

lenes) โดยเขาไล้เฃ๊ยนรายงานไวัอย่างละเอยดเกี่ยวกบสภาพของเมือง

ปาฎสิบุตรในยุคนั้น นบเป็นหน้งสิอเส่มแรกที่รายงานสภาพการณ์ในอินเด็ย

อย่างละเอิยดที่เฃืยนโดยฝรั่งต่างชาต

เมอพระองศ์ครองราชสมไใดไล้ ๑๔ ปี พระสีคควเถระ'^ พระผูทรงจำ พระวัน้ยปิฎกลำล้บที่ ๔ ต่อจากพระอุบาลเถระคราวสงคายนาคเงฑ ๑ ไล้ นิพพานอย่างสงบในอารามกุกกุฎาราม นครปาฏลบุตร รวมอายุ cVb ปี

พระเจ้าจ้นทรคุปศ์มืพระโอรสอยู่หลายพระองศ์ แต่ที่ปรากฎขึ้อ คอ พาชายสิงหเสน(Sinhasena) เจ้าชายพนทุสาร (BindusSra)ในช่วงล้น

"จำ โนค์ ทองประเสวํฐ.ประวัฅสาสตจํทุทDศาสนาในเทเปึยอา«เนฟ้.(คุรสภาสาดพfท.กรุงเทพฯ ;

torfmiO. ทป้:า ๔๖๙.

Hcnnann Olcknbcrg.The EHpHVMinsa.(New Delhi:Suhham Offset Press.200U.Page 146.

The History of Buddhism in India

พระองค์ปรารถนาให้เจาชายสงหเสนขึ้นครองราชย์แทน แต่กถูกเจาขาย พนทุสารยึดอำนาจ แลวปกครองแทน ในช่วงปลายร้ชกาล พระองค์เลื่อมใส

ในลฑธเชน หรอช่เปลอย โดยนมนตช่เปลอชและอาชีวกมาฉนที่พระราชว้ง

ทุกวน และไค้เสด็จออกบวชในคาสนาเชน ราชบัลลงกจงดกอยู่ในมอของ เจาชายพนทุสาร ราชโอรสองค์เลก พระเจาจ้นทรทุปค์บำเพ็ญตบะค้วยการ อดอาหารอย่างแรงกลาตามล้ทธเชนจนสวรรคตที่เบลกูล่า ใกลโมซอร์ฑาง

อนเด็ยภาคใค้ ทรงครองราชย์จนทง พ.ศ. ๑๙๒ ประมาณ ๒๔ ปี

พ,ค.«๙๒ เจ้าชายพ็นทุสารแย่งราชสมบดกับพระเชษฐา คอ สงหเสน

สำ เร์จ' โดยการสน้บลนุนของพราหมทเ อำ มาตย์ราชมนดร จงไค้ขึ้นครอง

ราชลมบดต่อจากพระเจาจ้นทรคุปค์ กล่าวกันว่าพระองค์นบถอศาสนา พราหมถ! ในหน้งสอมหากังสะกล่าวว่า พระองค์เชีญพราหมถ!มาเลี้ยงที่

ราชกัง{ไงกันละ ๖๐,๐๐0 คนทุกกัน ขึ้งเป็นจำนวนที่มากกว่าความเป็นจรัง

บัาง แต่ก็เขึ้อไค้ว่าพระองค์ศรทธาในคาสนาพราหมณ์อย่างจรังจง แต่

กษตรัย์พระองค์นี้กไม่ไค้ทำลายพุทธศาสนา ยงไค้สนบสนุนอยู่บางส่วน ดอนนี้พุทธศาสนาไค้แผ่ขยายออกไปหลายส่วนของอินเด็ย เช่น นิกาย เถรวาทไปดั้งหลักแหล่งเพมเด็มที่แคกันอกันด็ นิกายมหาลังฆกะไปรุ่งเรัอง

ที่นคกันค้นธาระและกัศมร นิกายลัพพัตถิกวาท (สรวาสด็วาทน) ไปเจรัญ

รุ่งเรัองที่แคกันมธุรา นิกายมห้สาสกะไปเจรัญรุ่งเรัองที่มห้สมณฑล พระเจา

พ็นทุสารมีพระมเหสี «๖ พระองค์และมีพระโอรสมากมาย บางเล่มกล่าวว่า

มี{ไง «๐๑ พระองค์ แต่ที่สำค้ญ คอ ๑. เจ้าชายสุมนะ (Sumana) ๒. เจ้า

ชายอโศก (A^oka) ๓. เจ้าชายวตโศก (VltaJioka) ๔. เจ้าชายสุสิมะ

(Susima) ในช่วงแรกทรงหกังให้เจ้าชายธุ[สิมะขึ้นครองราชสมบดแทน จง วางแผนให้เจ้าชายอโศกไปรักษาการอุปราชที่เมีองอุชเชนิ และเมึ๋อค้กกสิลา

'ihnin4iajjn«nวไเา พ.ฅ. ๒๔๖

ประว้ติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

เป็นกบฎทรงส่งเจ้าชายสุสิมะพร้อมกองฑทารไปปราบแต่ไม่สำเร็จ จ้งส่ง

เจ้าชายอโศกไปแทนจ้งปราบปรามสำเร็จ ตั๊งแต่น็นชึ๋อเสียงของเจ้าชาย

อโศกจ้งโต่งดังมรัศมีเท{เอกว่าพระโอรรทั้งทมด เมึ๋อพระเจ้าพินทุสารจะ ศวรรคดเจ้าชายอโศกจืงเช้าเฝืา ในทีสุดกิยดอำนาจไดัสำเร็จ พระเจ้า

พินทุสารครองราชย์ ๒๒ ปี'' จนทง พ.ศ. ๒๑๔

พ.ศ. ๒๑๘ เจ้าชายอโศกใช้เวสาต่อสู้แย่งราชสมบ้ติอยู่ ๔ ปี'' โดย

สังทารพระเชษฐาและพระอนุชาต่างมารดา ๔๔ พระองค์ โดยเวนไวแต่เจ้า

ชายดิสสะ พระอนุชาร่วมพระมารดา แล้วปราบดาภิเษกเป็นทษ้ต่ริย์ปก

ครองปาฎลบุดรต่อมา พระเจ้าอโศก เป็นกษ้ดริย์ปกครองอินเดียทียิ่งไทญ่ ทีสุดในประรัดํศาสดรพระองค์ทนึ๋งจนฐร?รัอยพระนามว่า มทาทข พระองด

มีราชธานี ชอว่า ปาฎรบุดร (Pa{anputra) ทร็อปัจจุบันเรียกว่า ปัฏาเะ

(Patna) ทรงเป็นพระโอรสของพระเจ้าพินทุรทร แท่งราชวงค์บJาร0J ทระ

มารดานามว่า สรธรรมา (Siridhamma) พระเจ้าอโศกมีพระมเทสีทลาย

พระองค์แต่ทสำคัญมี i พระองค์ คอ ๑. พระนางอสันธมดดา to. พระนาง

เวทีสา (พระนางเทวี)(ท. พระนางการุวาภิ ๔. พระนางปัทมวดี ๔. พระนาง ดษยรักษิต มีพระโอรสและธิดา ๑๑ พระองค์ แต่ทีปรากฎนาม ดีอ''

เจ้าชายดิวาระ (Tivara)ประสูดีจากพระนางการุวากี to.เจ้าชายกุณาละ (Kuijala)ประสูดีจากพระนางปัทมวดี „.เจ้าชายมทํนทะ(Mahind'a)และ

เจ้าทญิงสังฆมีดดา (Saiighamitta)ประสูดีจากพระนางเวทีรท <^. เจ้าทญิง

ในคันภิfมหาวงเfกล่าวว่า พ■นอ-)สัค'Jองวา!(เทJljfi ปี ส่ารามางเล่มกล่าวว่า พ.ค. 10^๘ ฟ้ญหาศักวๆขขังเป็นว่^ท้มสน ผรวมรวมน่า ทค. มาใ-Jหน่าเ?เอ

ส่องการเฟ้นภาพความเป็นใปแค่อะTiวงใ^'ฐ้เแ9นฟ้น โปรคอบ่าไส่รคส่วแ!!(ออ่างเคว่งคชุ้ค เพ'ฑะหอามส่าnfid

ความห■ายหราข น่บห่างกนสังfอมปีทปี เช่นหนังรอปนว'คิคารคiพุทJคารนาของอา,าาอ่ 1พ|น่น„1 ย ๘ นค่หน่า •๕๔ กล่าวว่าพนองิสัครองราชสั พ.ค. tarirf ใน

เล่มนขฅคานคมภ๊ร์มหาวงร์เป็นนรก

" Unw Chimpa.Alalui Chatu>pjnhyaya. Taranitha's Wstory ofBuddUam in India.(Second

Edition. Delhi:Jainendra Prakasfa Jain Ai Jaineodra Prc*s,1990).Page 76.

The History of Buddhism in India

จารุพติ (Carumati) ไม่ทราบพ■ระมารดา d*. เจ้ารายทสฟัน (Kustan) ไม่ทราบ•พระมารดา ๖. เจ้าชายวิสมโลมะ (Visamaloma)ไม่ทราบพระ

มารดา ๗. เจ้าชายจาลุกะ(Caluka)ไม่ทราบ

¥ ในขณะที่เป็นเจ้าชยพระองค์ถูกส่งไปพระมารดา เป็นผู้ดูแลเมองอุชเชนื และเมองตักกสิลา จน

เ}!เอพระบิดาสวรรคตแล้ว จ้งฃึ้นครองราชย์ ใน

ดำ นานทลายเล่มกล่าวว่า พระองค์ปลงพระ

ชนม์เจ้าชายในราชดระกูลไปสืง ๙๙ พระองค์

ก่อน'ทึ่จะเปลี่ยนมานับกอพุทชศาสนา มีความ

QBn^||»9D ดุ'ร้ายและโหดเที้ยมเป็นอย่างยิ่ง จนไตัรับ

ฉายาว่า จัทเ'ทาโศก แปลว่า อโศกผู้ดุร้าย ต่อ

มาหลังครองราชย่ใตั ๘ ปีทรงยกทัพไปรบที

■ไพพแเ* แครันกาลิงคะ (ปัจจุบันอยู่รัฐโอริสสา) ชาว

■LyiMiv เมียงร่วมทันต่อตัานอย่างหนักกว่าทีพระองค์

ZiZTJimenบ0^สา^น\ป็นรปรง๙ หไ? จะเอาชนะไตัตัองเสียกำลังพลไปมากทั้ง k)

mTumciจ้าอโศก ,, บาดเจ«็บVลมดาย ถูกจaบ-เปC็,นฺเชลยอีกเป็น

จำนวใ^มาก จากสงครามครั้งนี้ทำใฟ้'พระองส์

สลคพระฑัย และเลกการทำสงครามโดยเด็ดขาด

วนหนี้งขณะที่พระองค์ประทับบนปราสาท มองไปทางพระแกล

(หนาด่าง) ไค์พบสมณะองค์หนี้งกำลังเดินผ่านมา ทราบชื่อภายหลังว่าซึ๋อ

นใครธสามเณร ชื่งเป็นพระโอรสของเจ้าชายสมนะและเจาหญงสุมนาผู้เป็น ชายา เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกปราบปรามพระอนุชาและพระเชษฐา พร^

นางแอบหลบหนึไปอาทัยที่หม่บ้านจัณฑาล เทวดาได'สจ้างกระท่อมไห

พระนางไตด็เนไทร'' ด่อมาเมื่อคลอดโอรสแลัวจ้งตงชื่อว่า น๊โครธ (ค้นไทร)

Wilhcim Geiger.The Mahavamsa or The Great Chroiikic of Ccybท.<New Delhi:ShuMiam Offs« Pres4.2000).Page 29.

ประว้ตศาสตร์พระพทธศาสนาในอินเดีย

วนทนึ่งพระมหาวรุณะ:เถ'!ะ (Mah5vami)a)มาพบเขาจงน่าไปบรรพชาเป็น

สามเณร จนมความรูแตกฉานในพระ!ทรมวน่ยเป็นอยำงด เมื่อไดเจรจากบสามเณรฑำใพพาะเจาอใดถดร้'!1เลื่อมใสในนิโครธ

สามเณรเป็นอยำงมาก พระองค์จงฟ้'นพระฑัยมาเลึ๋อมใสพุพด'ไ''ไ'^ จร็งจัง ไดทรงทำนุบำรุงพุทธดาสนา เข่น ทรงสTางจัต วหาร พระสดูป

พระเจดย์นสะหล้กคลาจารก เป็นต้น และเมื่อไต้รบการแนะน่าจากพระ

โมคคัลลบุตรดสสเถระ'ร์าการที่จะไต้เป็นญาดพาะดานาที่แทํจ^งดอก'ไ'!ได้ ใหบุตรธดาออกบวชในพระพุทธคาสนา คังนั้นพระเจัาอโคกจงโปรดใหพระ

โอรสนามว่ามหนทะอุปสมบท โดยมพระโมคคัลลบุครติสสเถระเป็นพระ อุปัชฌาย์ ส่วนพระธดานามว่าสงฆมดดาอุปสมบท โดยมีพระธรรมปาล

(DhaminapalT) เป็นอุปัชฌายนิ และมีพระอยุปาล (Ayupalr) เป็นกรรม

วาจาจนในที่สุดพระโอรสและพระธดาที่เขามาอุปสมบทก็ไต้บรรลุเป็นพระ

อรหนค์ฑงคุ่

ข .•

พระเจัาอโคกไต้บำรุงพระภกษสงฟ้ต้วยปัจจัย ๔ คอ อาหาร ที่อยํ อาคัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรคอยำงสมบูรณ์ การที่พระองค์ทรงบำรุง พระภ๊กษุสงฆ์เข่นนี้ ก็เพี่อจะให่'พระภกษุในพทธคาสนาไต้รับความสะดวก

มีโอกาสบำเพญสมณธรรมไต้เติมที่ ไม่ต้องกังวลในการแสวงหาปัจจัย ๔

แต่แทนที่จะเป็นเข่นนั้น กลบปรากฎว่ามีพวกน่กบวชนอกศาสนาเป็น

จำนวนมากก็ง ๖๐,๐๐๐ คน ปลอมเข้ามาบวชในพุทธศาสนาเพราะเห็นแก่

ลาภสกการะ เมื่อบวชแต้วก็คงสงสอนต้ทธคาสนาเก่าของตน โดยอางว่า

เป็นคำสอนของพุทธคาสนา ข้อนี้ทำให้พระโมคคัลสิบุตรติสสะเถระซึ่งเป็น ผูที่มีความแตกฉานในพระไครปิฎก เก็ดความระอาใจต่อการประพฤติ ปฎบตของเหล่าพระภกษุอต้ชชที่ปลอมบวชทั้งหลายจงไต้ปลกคัวไปอยู่ที่ อโธคังคบรรพต เจรํญวเวกสมาปัดอยู่ที่นั้นอย่างเงยบๆ เป็นเวลา ๗ปี

จำนวนพระอต้ชชมีมากกว่าพระภกษุแท้ๆ ต้องหยุดการทำอุโบสถ

สงฆกรรมถง ๗ ปี เพราะเหดที่พระสงฆ์ผู้มีศลบรัธุทธไม่ยอมร่วมกับพระ

อต้ชซึ่เหล่านั้น จงทำให้พระเจัาอโคกมหาราชไม่สบายพระท้ย ในความ

The History of Buddhism in India

นดกแยกของพระสงฆ์ ทรงปวารถนาจะให้'พระสงฆ์เหล่านั้นสามคคก้น จึง

ไดตรสสั่งให้อำมาตย์หาทางสาม้คค ฝ่ายอำมาตย์ฟังพระตำรสไม่แจ้งชด

สำ คญผ๊ดในหนาที่จึงไดทำความผดก้นรายแรง คือได้ปังคับให้พระภกษุ

บรสุทธทำอุโบสถร่วมก้บพระอลชช พระภกษผู้บร่ธุกาธ ด่างปฎํเสธที่จะร่วม

อุโบสถสังจเกรรรม อำ มาตย์จึงคัดคืรษะเสียหลายองค์

เมี่อพระเจ้าอโศกมหาราชทราบข่าวนี้ ทรงตกพระท้ยย์งจึงเสด็จไป ขอชมาโทษต่อพระภํกษที่อาราม และได้ตรสถามสงฆ์ว่า การที่อำมาตย์ใด้ ทำ ความผดเช่นนี้ ความผดจะตกมาถงพระองค์หรือไม่ พระสงฆ์ถวายคำ

ตอบไม่ตรงก้น ปัางกว่าความผดจะดกมาถงพระองค์ด้วย เพราะอำมาตย์

ทำ ดามตำสั่ง แด่บางองค์กดอบว่าไม่ถงเพราะไม่มเจตนา คำวสีชนาที่ข่'ด แย์งก้นเช่นนี้ทำให้พระเจ้าอโศกมหาราชกระวนกระวายพระคัยยิ่งนก หรง

ปรารถนาที่จะให้พระภกษุองคืใดองค์หนี้งผู้มีความสามารถ และแดกฉานใน

พระธรรมวนยถวายคำวสีชนาอย่างแจ่มแจ้ง จึงได้ดร้สถามถงพระภกษุผู้

แตกฉานและได้คำตอบว่า ม่แด่พระโมคคัลลบุตรด็สสเถระองค์เด็ยวเท่านั้น

ที่อาจแก้ความสงสี'ยได้ พระเจ้าอโศกมหาราชจึงได้ส่งสาสั่นไปอาราธนา

ทำ นเด็นทางมาปังเมองปาฎรบุตรแด่ไม่สำเร็จ เพราะพระเถระไม่ยอมเด็น

ทางมาตามคำอาราธนา พระเจ้าอโศกมหาราชก็ไม่ทรงหมดความพยายาม

จึงได้ร้บสั่งให้พนกงานออกเด็นทางโดยทางเรือไปรับทำนตามคำแนะนำ

ชองพระตสสะเถระ ผู้เปีนอาจารย์ชองโมคคัลสีบุตรตสสะเถระ

ในที่สุต พระเถระก็ยอมมา และในรันที่ท่านเด็นทางมาถงนั้นพระเจ้า อโศกมหาราชได้เสด็จไปรับพระเถระด้วยพระองค์เองโดยเสด็จลุยนั้าไปถง พระชานุ แลวยิ่นพระกรให้พระเถระจ้บและตรัสว่า ''ขอพระคุณท่านจง

สงเคราะท่ขาพเจาเถ็ด" แลวได้นำท่านไปส่อุทยาน ได้ทรงแสดงความ

เคารพพระเถระอย่างสูง และได้ตรัสถามพระเถระว่า การที่อำมาตย์ได้คัด ศรษะพระ/ไกษุนั้น จะทำให้บาปตกมาถงพระองค์ด้วยหรือไม่ พระเถระ

ถวายวสีชนาว่า จะเปีนบาปได้ก็ด่อเมึ๋อพระองค์มเจตนาที่จะฆ่าเท่านั้น ตำ

วสีชนานี้ทำให้พระองค์ทรงพอพระก้ยมาก ฝ่ายพระอลชชผู้ปลอมบวชใน

ประวตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

แขนทีแสดง€ทร่วรรดฃ0งพระเจ้ไฟ้ศกมหาราช

Map of Asoka Empire

1

คนธาระ

ฒัาทSm

ๆ^

มรัฐ* (ทวัตถํ้Xmtพน็J-V "'v" ทกบจfาioW«RaตAุI*'""ก*?^!า' าI&. .. " "•=•

มถ»ใา*

ประยาค ปาฎลุบุตรั.^ _

'พ s i_i»? นิฝื ร)ธ โกสัมฟ้'เ *

กๆg[ •ทุทธfไยิาข'3คร^

; ชุฬน ม่คธ ;'

เทญจี

nsiRdiiitJuu

•านาปา#

กลงคะ^.

อ่าวเบงกอร

The History of Buddhism in India

พทธศาสนานั้น ก็ยงพยายามฑึ่จะประกอบรจฉาซพอยู่ต่อไป พระเทล่านั้น

ไดมวเมาหลงไทลในลาภสกการะ ไม่พอใจในการปฎิบ้ดธรรม อาศยผา

เทลองเลี้ยงชพ ประพฤตผดธรรมวน้ย ไม่สังวรระว้งในสิลาจารว้ตร เที่ยว

อวดอางคุณสมบ้ตโดยอาการต่างๆ ทลอกลวงประชาชนให้ทลงเซึ๋อ เพื่อหา ลาภสัไกการะเขาดว เพราะเหตุนั้จงทำให้พระสัทธรรมอนบรสุทธึ๋ของพระ สัมมาสัม่พุทธเจาห้องพลอยต่างพร้อยไปด้วย ความอลเวงไห้เก็ดขึ้นใน วงการของพุทธคาสนาทั่วไป

L๔.สัพ! n CTheTMal Syitodyj

พ.ค. ๒๓๖ พระโมคห้ลสิบุตรตสสเถระ ไห้ถวายเทคนาแก่พระเจา

อโคกมหาราช จนพระองค์ทรงJJความเส์อมใส และชาบขึ้งในหลักธรรมอัน

บร้สุฑธของพระพุทธองค์ ไห้ประห้บอยู่ที่อุทยานนบเป็นเวลา ๗ วน เพื่อ

ชำระพระศาสนาให้บร้สทธจากเดยรถย์เขาปลอมบวช ในว้นที่ ๗ พระองค์

ไห้ประกาคบอกนดให้พระภกษุที่อยู่ในชมพูทวปทั่งสิ้น ให้มาประชุมกนที่ อโคการามเพื่อชำระความบร้สุทธึ๋ของตน ภายใน ๗ ว้น พระองค์ประทับนั้ง ภายในม่านทับท่านโมคห้ลสิบุตรตสสเถระ ไห้สั่งให้ภกษุผู้ลังทัดอยู่ในนิกาย

นั้นๆ นั้งรวมทันเป็นนิกายๆ แลัวตร้สถามให้พระอธํบายคำสอนของพระ

พุทธองค์ ขึ้งพระสงฆ*เหล่านั้นไห้อธบายผดไปตามลัทธของตนๆ พระเจ้า

อโศกมหาราช จ้งไห้ตร้สให้สกพระอลัซชํเหล่านั้นทั่งหมด ขึ้งเป็นจำนวน

มากกวำหมึ๋นองค์ ครั้นกำจ้ตพระภกษุพวกอลัชชํให้หมดไปจากพุทธคาสนา แลัว พระโมคห้ลลบุตรตสสเถระจ้งไห้จ้ดให้มการทำลังคายนาครั้งที่ ๓ ขึ้นที่

อโคการามเมองปาฎสิบุตร โดยไห้รบราชูปทัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราช

อย่างเต็มที่

ในการทำลังคายนาครั้งนี้ มพระภกษุเข้าร่วม «,0๐๐ องค์ ลัวนแต่ เป็นผู้เชี่ยวชาญแตกฉานในพระไตรปิฎก ไห้อภญญา ๖ และปฎิลัมภิทา ๔ ลังคายนาครั้งนึ๋ไห้ทำเชํนเตยวทับลังคายนาครั้งที่ ๑ ไห้มีการปุจฉาวิสัชนา พระวินยปิฎกก่อน เริ่มตั้งแต่ปฐมปาราชก ลังคายนาจ้ตคุ นิทาน บุคคล

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

บญญต อนุบญญ้ด อาบ้ต นละ อนาป้ต แล้วสงคายนาในฑตยปาราชก

ไปดามลำดับจนครบปาราชกฑั๋ง ๔ แล้วยกปาราซกทั้ง ๔ ขึ้นตั้งไวัIปีน

ปาราชกกณฑ์ ยกดังฆาฑํIสส ๑๓ สกขาบทเปีนเดรสกณฑ เป็นดัน เมื่อ

ดังคายนาพระวนยปิฎกเสร็จแล้วไดัดังคายนาพระสุดดันตปิฎกด่อไป เริ่ม

ตั้งแด่ ฑฆนกาย จนกง ขฑฑกนํกาย ในการทำดังคายนาครั้งนี๋ไดัจดทำ

ดังคายนาพระอภิธรรมปิฎกอีก คอ ใดัดังคายนาพระอภิธรรม ๗ ดัมภิร์เริ่ม

ตั้งแด่ ธรรมดังคณี จนถึง มหาปัฎฐาน เริ่องที่ลำดัญในการทำดังคายนาครั้งนี้กคอ พระโมคดัลลีบุตรตสส

เกระไดัรอยกรอง ดัมภิร์ I TM-fnT

กถาวดกขึ้น เพื่อแก้ เร:^

ป็ญหาด่างๆ ที่ยงคลุม

เคร็อใหแจ่มแจง โดยไดั '-f

ตั้งคำกามและคำตอบไป ^ ในดัวกกาว้ดถุ (เริ่อง)

กลำวถึงธรรมหมวดใดก T-

เร็ยกดามขึ้อของธรรม

บุคคลกกา หรอกล่าวกง ทำ ศ้งทพนาครงท et ทอโศกา-ราม

ความเสื่อมกเร็ยกว่า ปรหานยกถา รวมทั้งหมดม ๖๑๙ กกา และ กถาวัตถุ

เป็นคัมภืร์ หนึ๋งในอภิธรรม ทเ คัมภีร์ คือ ๑. ธรรมส้งคืณี to. วิภังคะ ๓'

ธาตุกถา ๔. ปุคคลบํญญ้คิ ๔. กถาว้ตถุ ๖. ยมกะ cK. ปัฏฐานะ นักปราชญ์

หลายท่านใคัความเฟ้นว่า กถาวัตถุมิใช่หนังรอทีบรรจุไวชึ๋งพระทุฑธพจน อันตงเคืม พระโมคคัลรบุตรคืลสเถระทีงจะรจนาขึ้นเมึ๋อคราวท่าสังคายนา

ครงท ๓ ในร้ช่สมัยของพระเจ้าอโคกมทาราช หลังจากทีพระพฑธเจ้า

ปรินิพพานนลัว tomb ปี

เรึ๋องทีสำคัญทีสุตในการท่าสังคายนาครั้งที ๓ นี้ก็คร หระเจ้าอโคก

The History of Buddhism in India

มทาราชได้ส่งรมณทูตไปป7ะกาศพุทธศารนาในแคว้นและประเทศต่างๆ

£ . V ^d

รวมทงหมดม ๙ สายด่วยกน คอ

0. พระม้ชเม'นติกเถระ (Majjhantika) และคณะไปแคว้นกัศมร์

และคันธาระ อยู่ทางทิศคะวันตกเฉยงเหนอของรนเดีย ชึ่งไคัแก่แคว้นจ้มมู และกศมร (แคชเมยร์) ในปัจจุปันนี้ ใดแสดงธรรมโปรดพวกนาค ปักษ์และ

มนุษย!ห'หันมานับถอเป็นจำนวนมาก

to. พระมหาเทวเถระ (Mahadeva) และคณะใปมหสกมณฑล

(Mahisamancjala) อยู่ทางทิศใคัของแม่นี้าโคธาวาร ซึ่งใคัแก่ ใมชอร์ ใน ปัจจุปัน (อยู่ทางทิศไคัฃองรนเดยคดคับเมองมทราส) แสดงเทวทูตสูตร

โปรดชาวเมองจนหันมานับถอพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก ท. พระรกซฬเถระ (Rakkhita) และคณะใปวนวาสิประเทศ อยู่ใน

เขตกนราเหนือ ภาคดะวันตกเฉยงใคัของรนเดย แสดงอนมคัคค!!ริยาย

กถา จนทำไหซาวเมองหันมานับถอพุทธศาสนา สริางอาราม rfoo แห่ง กลบุตรเขามาบวชในพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก

๔.พระโยนกธ^มมรกขดเถระ(Yona Dhammarakkhita)และคณะ

ใปอปรนตกชนบทอยู่ริมฝ็งทะเลอาระเบียน ทางทิศเหนือของเมองมุมใบ (บอมเบย์) ใดแสดงอคคขนธูปมสูตร จบธรรมเทศนากุลบุตรขออุปสมบท ๑,๐๐๐ คน กุลธตาขอบวช ๖,๐๐๐ คน** นอกนั้นปังใคัสริางอารามเป็น

จำ นวนมาก

๕, พระมหาปัมมรกชดเถระ (Mahsdhammarakkhita) และคณะ

ใปที่แคว้นมหารฎฐะ หริอ รฐมหาราษฎร์ ภาคตะวันตกของรนเตย ไม่ห่าง จากเมองมุมใบ (บอมเบย์) ในปัจจุปัน แสดงมหานารทชาดกและมหา

กสสปชาดกแก่ซาวเมอง จบธรรมเทศนากุลบุตรขออุปสมบท ๘๔.๐๐๐ คน

ชาวเมองหันมานับถอพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก

พนhelm Cieiger. The Mahavunsa or The Great Chronicle ofCeykn.(New Delhi ะShubham Offset Press. 2000).Pige 82.

** njua.•/ ๖๗

ประว้ตศาสตร์พระพทธศาสนาในอินเดีย

๖. พระมหาร้กขตเถระ (MahSrakkhita) และคณะไปที่โยนก

ประเทศ ไดแก่ เขตแดนบากเตรย ในอฟกานิสถานและเปอร์เซียปัจจุบน ท่านไดแสดงกาพการามสูตรจนทำให้ชาวโยนกหันมาโiบถือทุทธศาสนา

เป็นจำนวนมาก

๗. พระม้ธผมเถระ (Majjhima) พระกสสปโคตดเถระ พระอพก

เฑวเถระ พระทุนทุภัสสรเถระ พระสหัสสเทวเถระ และคณะไปห้มวนต

ประเทศ ไดแก่ เนปาล ชึ๋งอยู่ดอนเหนือของอนเตย พระม้ชฌมเถระได แสดงธมมจกกปปวดตนสูตร ทำ ใหัชาวเมองเลี๋อมใสขอการอุปสมบทหลาย

พนคน

๘. พระโสณเถระ นละ พระอุตตรเถระ (Soi)a,Uttara) และคณะ

ไปที่สุวรรณภูมประเทศ ไดแก่ ไทย พม่า และ มอญทุกวนนี้ ไดแสดง

พรหมชาลสูตรจนท่าใหัชาวเมองหันมานบถือพทธคาสนา กลบุตรขอการ

อุปสมบท ๓,๙๐0 คน กลธิดาขอการอุปสมบท ๑,๙๐๐ คน ๙. พระมห้นทเถระ (Mahinda) พระอฏฐยะ พระบุดฬยะ พระ

สัมภระ นละ พระภ้ททสาละ ไปประเทศสิงหล หร์อประเทศศร์ลังกา

ปัจจุบน ไลัแสดงหัตถืปโทปมสูตรโปรดพระเจาเทวาน้มปียตสสะ (Deva-

nampiyatissa) กษตรยแหงสิงหล และชาวเมอง จนทำให้พทธศาสนาได้ดั้ง

มั่นในเกาะนั้น

เมึ๋อเห็นการเผยแผ่ไปของพุทธคาสนาทั้ง ๙ สายนี้แลัวพอจะทราบ ได้ว่า ในร้ชสมยฃองพระเจาอโศกมหาราช พุทธศาสนาได้เจรญว่งเร์องแพร่ หลายไปไกลที่สุดยงกว่าสมยใดๆ นับดั้งแต่พุทธศาสนาอุบดฃึ้นมา ในสมย เมึ๋อพระองค์ยังทรงพระชนมายุอยู่นั้น พุทธศาสนาได้เจรญอยู่ในแคว้น มคธ โกศล ว้ชซี องคะ ว้งสะ กาสิ และอุชเชนืเป็นส่วนมาก คอได้เจรญอยู่ทาง

ทศเหนือ ทศตะว้นออกเฉยงเหนือ และดอนกลางบางส่วน พระพุทธองคได้

เสด็จไปประกาศพุทธศาสนาใน ๗ รฐ เท่านั้น ส่วนทางทศใด้สุด ดะว้น

ออกสุด และดะว้นตกสุด พุทธศาสนายังไปไม่ถืงเพราะศาสนาพราหมณ์

ยังมั่นคง แซีงแรงอยู่ แมแต่ในที่พุทธศาสนาเจรญร่งเร์อง กยังมศาสนา

The History of Buddhism ifi India แพฺ

'fs พนพทิเทรฟิงสมผt]ต ๙๚ทแ

๖.โcmfj(ฟBร์เ5ข)' /\v- ะ-:(เนปวุ้ft)

๙. อปรผข JI

๙. มพา-ทษเ)ร่ -nlK:ir" รสุวรรณภู่^

  1. วนวารlbะเฑศ .:Si-

๒. มพรทกมณฑร

«-ฑหมณ์ และศาสนาเชนแทรกซมอยู่ทุกแท่ง ในยุคของพระเจ้าอโศกใเน

ไคมีการติดต่อก้บราชอาณาจ้กรของกษ้ตริย์ที่อยู่ท่างไกลออกไป คอ*"

•. กพ้คริย์โยนะ นามว่า อันติโยคะ คอ พระเจ้าอันติโอโคส (Antiochos) แท่ง?เรย

to. พระเจ้าตุระมายะ คีอ พระเจ้าปโคเลมี (Ptolemy) แท่งรยิปติ'

๓. พระเจ้าอันติเกนะ คอ พระเจ้าอันติโคโนส (Antgonos)

แท่งมาเซโดเนีย

๔. พระเจ้ามคะ หริอพระเจ้ามคัส(Magas)

อาณาจ้กรไกรินถัดจากรยิปติ

๔. พระเจ้าอรกสุนทระ หริอพระเจ้าอเลกซานเดอริ (Alexander)

แท่งเอปิรสหริอประเทศกริก

«.frnhiJ.ทาาเแฟ้าโ9ไนเรี๋ผพ-ท:1(า8โพกเน1ะ0โทกาาทาน.(ftuilflfรที ท กทเทพฯ ะ บรพ้ท

ท่4ศ{ทม thn«.^๕๔๗)หlb ๒๗น.

ประว้ติคาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

จากทลักฐานmnไดํ'พบแสะได้รู้จากทลักศิลาจารกของพระเจ้าอโศก มทาราช ขึ๋งปักไว้ตามสถานทึ๋สำคัญต่างๆ เก็อบทั่วประเทศรนเตียนน

แสคงให้เทินว่า พระองศ์ทรงมีความเลื่อมใสในพุทธศาสนาอย่างมาก คนรุ่น

ทลังจ้งได้อาศัยสงก่อสร้างเทล่านี้เป็นทลักฐานในทางประว้ติศาสตร์ มีเข่น

นี้น เราอาจไม่รู้ว่า สถานทีสำคัญของพุทธศาสนาในสมัยนี้นอย่ทึ๋ไทนปัาง สรุปการทำสังคายนาครั้งที เท

ท. ทำ ทีอโศการาม เมีองปาฎตีบุตร แคว้นมคธ

to. พระโมคคัลตีบุตรตีสสเถระเป็นประธาน เท. พระเจ้าอโศกมทาราขเป็นองศ์อุปถัมศ์ ๔. พระอรห้นศ์ ท,000 องศ์ เข้าร่วมประชุม

๕. พระโมคคัลตีบุตรตีสสเถระได้รจนากถาว้ตถุขึ้น

๖. ส่งสมณฑูตไปประกาศพุทธศาสนารวม ๙ สาย

๗. การทำสังคายนาครงนี้ เทีอกำจัดภิกษุอลัขขจำนวน ๖0,๐๐๐ คน

ทีปลอมบวช

๘. ทำ อยู่ ๙ เตีอนจ้งสำเร็จ พุทธศาสนาแผ่ไพศาลมากยงขึ้น

๙. พระโมคคัลตีบุตรติสสะเถระเป็นผู้ถาม ๑๐. พระมัขผันติกเถระ และพระมทาเทวเถระเป็นผู้วิส้ชนา

ทท. เมึ๋อพระพุทธองศ์เสด็จปรินิพพานแล้ว ๖)๓๖ ปี

(บางเล่มว่า ๓๐๓ ปี)

ผลคีของการสังคายนา

สังคายนาครั๊งนี้ ในตำราพุทธศาสนาฝ่ายมทายานของฝ่ายจีน ทริอ

ธิเบต และทำนเขึ้ยนจ้งก็มีได้กล่าวไวในรายงานของท่านแต่อย่างใด ทลัง

สิ้นสุดการสังคายนาแล้วได้มีผลตีเกิดขึ้นทลายอย่าง คอ ท. กำ จัดภิกษุผู้ปลอมบวชได้ ทำ ให้สัง*]มณ•ทลบริสุทธขึ้น

to. รวบรวมพระไตรปีฎกเป็น ๓ ทมวดอย่างสมบูรณ

ตีอ พระวินัยปีฎก พระสุดคันตปีฎก และพระอภิธรรมปิฎก

๓. พระโมคคัลตีบุตรติสสเถระแต่งกถาว้คถุไวในพระอภิธรรมปิฎก

The History of Buddhism in India

สังคายนาครั้งทื่ ๓ นี้!สั£3พระเถาะที่มบทบาทสำคญทคา7จะไดกลาว

ถงพลายท่านคอ

ท่านเรนชาวเมืองปาฎลบุตร เป็นบุตรของพราทมถ!ผูคงนก่เรยน

เมื่อลมยเดกไต้ศกษาไตรเพทอย่างชั่าชอง ต่อมาพระสิคควะไต้มาเยี่ยม

พราหมถ!ผู้เป็นบคาที่บ้าน และเมื่อกุมารไต้ถามคำถามเกี่ยวกับพระเวท

พระเถระไต้ตอบปัญหาในพระเวทไต้อย่างแจ่มแจ้ง แต่เมื่อถามเรี๋องพทธ คาสนา โมคต้ลลบุตรต้สสกุมารไม่อาจให้'คำตอบไต้ เพราะความอยากรู้ใน

พทธศาสนา พระเถระจงจ้ดการบรรพชาให้ ศกษากัมมฎฐานอย่างจริงจ้งก

บรรลุโสดาปัตต้ผล แต้วไปศกษาต่อกับพระจ้นทวชชี (Candavajjr) ต่อมา

อปสมบทเป็นพระภกษุ แต้วเจริญวิปัสสนาญาณจนบรรลุพระอรห้นต์ เมื่อ

พระเจ้าอโศกมหาราชห้นมานบถอพทธศาสนาท่านไต้ร้บการเคารพอย่างสูง

จากพระเจ้าอโศก เจ้าชายมห้นทะและเจ้าหญงสังฆมืดตา พระโอรสและ

พระธตากไต้ริบการอุปสมบทจากท่าน ต่อมาท่านไต้ริบการไววางใจให้เป็น

ประ!ทนทำสังคายนาครั้งที่ ๓

WTsqiJqพwtoiy

พระอุปคตต้ (Upagutta)หริอ พระอุปคุปตะ (Upagupta) เกดใน

ตระกลพ่อคาเครื่องหอมชาวเมืองมถรา นครนี้ดั้งอยู่บนรงแม่นํ้ายมุนา ใกต้

เมืองหลวงเดลสิปัจจุบ้น มืพี่น้อง ๓ คน บดาท่านไต้สัญญากับพระญาณ วาสีว่าถาไต้บุตรชายจะให้บวช แต่เมื่อไต้มา ๓ คนก็ยงไม่ไต้ถวายพระเถร: แต่อย่างใด โดยอางว่าจะให้เป็นผู้คาขายแทน เมื่ออุปคุตต้โตเป็นหนุ่ม พระ เถระจึงไปแสดงต้วฃณะที่เขากำต้งสาละวนอยู่กับการขายของที่ริาน ต้วย

เทศนาของพระเถระจึงไต้ดวงตาเห็นธรรม แต้วขออนุญาตอุปสมบทใน

"""แเฑยร เพรนนท:.ประาททๆเIfl-fvjnsflาแนา.(ฟ็ม ไรั้งff ๓.ทเงเทพฯ ะ มทามคุฎราชวิทยาลัย.

ร). ทนา «๗๔.

ประวตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

พุทธศาสนา ซํวงแรกป็ศายังไม่อนุญาต พระเถระจงตองทวงสัญญา บดาจง

อนุญาตในภายหลง เมึ๋อไตอุปสมบทแล้วเจรญวปัสสนากมมฎฐานจนไต' บรรธุพระอรหนต์ ต่อมาท่านเปีนวปัสสนาจารย์ที่ชำนาญ กล่าวกนว่าท่านม่ ศิษย์ศกษาก้มมฎฐานด้วยถง ©๘,๐00 องค์ ทุกองค์ล้วนเป็นพระอรหันต์

ท่านจำพรรษาที่ว้ดนัตภ้ตการาม ภูเขาอุรุมนค์ ต่อมาพระเจาอโศกได้ อาราธนามาจำพรรษาที่ว้ตอโศการาม เมองปาฎรบุตร ท่านเป็นผู้พา

พระเจำอโศกเสต็จกราบล้งเวชนยสถานทั่วอนเตย และสร้างเสาหนปักไว้ เป็นหล้กฐาน

รรสืรโศกหรี่อ Ifรร:ท"flflinรร,(VltaSoka)

ท่านเป็นพระอนุชาของพระเจ้าอโศกมหาราช มีพระมารตาองค์เคยว กบพระเจ้าอโศก ซึ่งรอดชีวิตขณะที่พี่ใโองหลายคนสิ้นพระชนย์ เพวาะ

พระเจ้าอโศกสั่งประหารคราวรดราชบัลล้งก์ปๆฎลบุตว เกดในพระราชวัง

เมืองปาฎลีบุตร มืพระบิดาคอพระเจ้าพินทุรทร เจ้าชายวีตโคกหรีอติ{(สะ

ทรงกังขาที่พระสงรJได้รับการอุปถัมภ์อย่างติจะเลิกร,ะกีเaa■โ^0ย่างไร ความทราบกงพระเจ้าอโคก จึงมือุบายสั่งใฟ้ขึ้นครองราชย์ ท( วันแร้ว จะนำ

ไปประทาร เมอครบ ๗ วันแร้วจึงได้ตร้สถาม เจ้าชายตรัสว่า of วันมืแต่

ความทุกข์ เพราะกร้วความตายที่จะมากง พระองค์จึงตรัสว่า พระสงฟ้ก็ เช่นเตยวกัน ต่างกร้วไนชาติ ชรา ทุกข์และมรณภัย จำ ด้องเร่งขวนขวาย เพอใทับรรลุ เมึ๋อได้ทราบตังน้'น เจ้าชายก็เลึ๋อมไสในพระคารเนา แร้ว ประทานขออนุญาตอุปสมบท ฝ่ายส้นสกฤตกล่าวว่า ฟานอุปสมบทกับ พระยสะ ส่วนฝ่ายบาลีกล่าวว่าท่านอุปสมบทกับพระมหาธรรมรักขิตเทระ

เมื่อได้รับการอุปสมบทแร้วปลีกวิเวกที่แควันวิเททะ จนได้บรรลุพระอรทันต์

ท่านเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พุทธคา{(นา เมื่ออายุ ๘0 พรรษากิเข์าสู่

นิพพาน

[เร หรรมfiUMiQIร(Maiuiuy

The History of Buddhism in India

พระมหนทะ หรือมหนทระ (Mahindra) เป็นพระทชโอรสของพระ

เ^าอโศกมหาราข พระมารดานามว่าพระนาง!.วทํสา ประสูตที่เมืองอุชเชน

คราวที่พระบดาเป็นเจาชายโปเป็นพูสำร็ราช!าร^* ไดรับการ

คกษาเป็นอย่างดี ต่อมาจงยายมาที่เมืองปาฎลบุตร ท่านและเจ้าหญง

สังฆมืตตาได้รับการอุปสมบท เพราะพระบิดาด้องการเป็นญาติกับพระ

ศาสนา โดยมืพระโมคคลลบุตรติสสเถระเป็นพระอุปัชฌาย์ พระมหาเทวะ

เป็น^หบรรพชา ส่วนเจ้าหญงสังฆมืดตามืพระมหาเถรืธรรมปาลีเป็น

อุปัชฌารนี พระเถรือยุปาลีเป็นพระกรรมวาจา ท่านที่งสองได้รับการ

อุปสมบทในTBสม้ยที่พระบิดาครองราชยได้ ๖ ป็ ท่านเจรืญวปัสสนาอย่าง เอกอุ ในที่สุดก็ได้บรรลุพระอรหันต์ คราวที่พระเจ้าอโศกตำรืส่งพระธรรม ทูตเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนาสู่ต่างแดน ท่านและพระส์งฆมืตตาเถรืได้รับอารา ไปเผยแผ่พุทธศาสนาที่เกาะสงหล ท่านทั้งสองนำหน่อด้นพระศรืมหาโพธ จากพุทธคยาไปด้วย และปสูกที่นนจนเจริญเติบโต ยนยาวจนถงปัจจบ้น

ท่านได้รับการด้อนรับจากพระเจ้าเทวานมปิยติสระ (Devanampiyatissa)

พระมหากษต่ริย์ฃองสงหลเป็นอย่างดี ท่าไหัพุทธศาสนาหยั่งรากลีกในเกาะ

ด้งกาตั้งแต่นั้นมา

พระเจ้าอโศกมหาราชนบเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยงใหญ่ที่สุดของ

อนเดียทั้งไนอดีตจนถึงปัจจุบน พระองต์เป็นหักประชาสมพ้นธ์ที่หาได้ยาก งานสำด้ญที่สุดคอ การจารืกเรื่องราวของพระองต์ไว่ในเสาหนไนที่ด่างๆ"'

แทพินนระจาใกเพ่นฟ้นของพใะเจาอโศกฑึ่พบไนฟ้ป้นฆใาว ๙®! นท่ง นบ่งเป็นทีรนเคย ๓ta

นน่งค0 «. ทีทีรน่าf รฐคุชราค b.โ๗าระ ร้ฐมทาราษฎร ๓. เทาร ร5โอริ«สา ๔. เจากาทำ ชุ้โอริสสา ๕. ทาสส

ทุ้อุคครประเทค ๖. อเ^ร่า รัฐอุคครประเทค ๗. โทสฆพ รัฐอุตครประเทค ๘. อัลสาทบาด รัฐอุดดรประเทศ

๘ ส้งภัสสะ รัฐอุดดรประเทศ mo. สารนาท รัฐอุดดรประเทศ mm. เสาริยะ อราราช ร^ทาร ดษ. เสาริยะ

นันทันการท์ รัฐพทาร •๓.รามโเรว่า รัฐฟ้หาร•V เวทส รัฐพิหาร •๔.ภเขาบา•ทบาร์ รัฐพิหาร•๖.ททราม

รัฐพิหาร •๗.เยอรากด ริฐอนชฟระเทศ •๘. ม้'สกํ รัฐอันรรประเทศ •๘.ไพรัด ทาบร รัฐราช■ถาน bo.ไพรัด

ราขmาน ta. ทญ? รฐม้ธยบ่ระเทศ bb รุปนาท รัฐมธยประเทศ bm.คชารรา รัฐมธยประเทศ b๔.พรหมศึริ รัฐการ์นาดกะ ษ๔.ชัยดงคะ ราเมศวาระ รัฐการ์นาดกะ bfe. สททาใJระ รัฐทาร์นาดกะ tart.กวีมาท รัฐการ์นาดกะ

tart. รา'ฐส่า บัณ'ทาคริ รัฐการนาดกะ brf. พัสกิกนด รัฐการ์นาดกะ ๓๐. พหา!เระ เรองเดสร ๓•- เดสร-เมรัฐุ

เมืองเดสร «b. เดสร-โทปรา เมืองเดสร ทีเนปาส ๓ แห่ง คอ •. ลมพิน่ b. มืคลิหาว่า ๓. โกดหาว่า ที

ปาทสถาน b รอ ชาโทซดารซิ และมนเสห่ร่า ทีอัฟกา(เสถาน b แห่ง รอ ทีกันดาหาร์ นสะ จาลาราบาด

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

ทรงจากmะเจ้าอโศกมทาราชแล้วยังไม่jjมทากพัเริย•■องคไดทำน'•เช่Viนี้ ใน

ที่สุศ พ.ศ. iBbo โดยประมาณ" พระเจ้าอโศกมทาราชท็ไจ้รวรรค?,อย่าง

สงบ ที่พระราชวังนครปาฎฐบุดร รวมการครองราชยัรมบ1)ประมาณ^ปี

เมอพระองคสวรรคตนล้ว ผูลราชบลล้'งกนครปาฎสิบุดรไน่มเดๆ!านุภๆVJ

เท่าพระองค์ ท่าใท้ทลายเมืองแยกตัวออกไปเปีนฐสระ ดอนนี้จ้กรวรรดมคช

ที่กวัางใหญ่ไพศาลไตัถูกแปงออกเปีน to ตังน ในตัมภืfijราณะกส่าวว่า

สบราชสมบดดอจากพระเจาอโศก คอ เจาชาย;เมปพิ (Sanipadi) ทรอ

สมประตพระนดดาของพระ;จ้าอโคก พระราชโอรสของเจ้าชายกณาละ ปกครองอาณาจกรมคชตัานทิศปีชุเจ้ม (ดะวันดก) ทรงเลื่อมใสในศาสนาเชน

ทรงอุปถัมภ์นิครนถ์อาชีวก ชีเปลอย อย่างจริงจ้^เ พระองค์เปีนลูกสิษถ์ของ

สุหัสดินผู้เปีนลูกศิษย์ของภัทรพาทุ อาจารย์เชนที่สำตัญในยุศตัใ แอะตัง

ส่งธรรมทูดของเชนออกเผยแผ่ทั่วชมพูฑริป เลียนแบบการสํงท(ระชรรมทูด

ของพระเจ้าอโศกอีกตัวย ค่อมาไตัเบยดเบียนพุทชศาลนานลายศ•รง นำ ใน'

พระพุทธศาสนาเรมอ่อนฦๅล้',3ลงฐปๅJJJๅก แล^ เจ้าซายฑศรท (Dasa-

ratha) ปกครองอาณาจ้กรมคธตัานทิศบูรทา ไม่ทรงโปรดพุทธศาลนาเช่น

เดยวกน บ'เงพ■รากล่าว"3าพระเจ้าทศรถทรงนับทอโปรดทนชศาลนาเช่น

เดียวกัน บางดำรากล่าวว่าพระเจ้าทศรถทรงนับลีอศาลนาเขน ดูาริกf{

ภูเขานาครชุนิ^ ถาบาราบาf วัฐทินาร เชียนไจ้ว่า พระเจ้าทศรทนลังการ

ครองราชสมบด ไดถวายถำแท่งนนงในํ'อาชวก แม้จะเปีนศาสนิกของเชน

แค่พระองค์ก็ไม่ไตันำลายพุทธศาลนาแด่อย่าง'!,ด ราชวงศ์เมารยะจงเปีน

ราชวงค์ที่นับถีอทุกศาสนาในยุคนั้นคือ เชน พุนข และพรานมทเ

fjrf. ฟั«9ฑง<ท8ซนพ้า(Aji^ Cave^

เมอราวปี พ.ศ. ๓dfo เปีนต้นมา**' พระพุทธศาสนาไต้นผ่กระจาย

ส่าราบางเร่นกเ(าวว่า พ.(ๆ, oiab

ทรฆปีฏท{ปD.ปยุ^น). พระ.«ารกบุญ จารทธรรม.(บรษัท emmfln รำ ก้ส่.พมพ์ทรั้งฟ้ ato.

กเงเทพฯ ะ tetf๔b), พนา Oimel.

The History of Buddhism in India

ครอบคลุมอินเดียทั้งIVlนอนละใด คณะสงฆ์อินเดียภาคตะว้นตกเฉยงใด ก

เริ่มสรางว้ตดูหาขึ้นเรียกว่า ถํ้าอช้นด้ๆ โดยการเจาะภูเขาเขาไป สร้างเป็น

วดและวิหารเพึ๋อใช้เป็นที่อยู่อาศ'ย และปฎิบ้ดธรรมหลกเร้นจากชุมชน งาน

เจาะหินนั้นนบว่าเป็นงานที่หนกหนาสาหัสที่ต้องใช้ความพยายามอย่างแรง

กต้า หากปราศจากซึ่งศร้ทธาที่มนคงในศาสนาแลว ผูเจาะคงไม่อาจทำ

17^

VIVถาอขนดา เมองBB7งfiบาด รฐมดาราษฏ{ ...พ,

สำ เรีจไต้ การเจาะถาเริ่มต้นจากการสำรวจภูเขาก่อน เมึ๋อเหินว่าเป็นภูเขา

หินจ้บกนอย่างแน่นหนา เป็นหินเนั้อเดียว แข็งแรงทนทาน สถานที่ส้ปปายะ ต้วยนั้า และสามารถป็ณฑบาดไต้ จึงเริ่มลงมอเจาะหินโดยรพระสงฆ์ที่ม

ช้านาญใหัคำแนะน่า โดยการสน'บสนุนของพระมหากษ้ดรีย์ในราชวงศ์

สาดวาหนะ อช้นดาเป็นซึ่อหมู่บานแห่งหนึ่งของเมองออร้งคบาด อยู่ในร้ฐ

มหาราษฎร์ ห่างจากดวเรองออร้งคบาดราว ๑๐๒ กโลเมดร รประมาณ

๓๐ ถา""' เป็นถํ้าพฑธศาสนาลวนๆ ไม่รศาสนาอื่นมาปนเหรอนถํ้าเอลโลร่า

น0ภ«าททาอขัน*านรว ย้ง2ว*ทาIปินจ'านวนมากกระรายรยู่ทั่วรฐมนาราษฎรรอ(«). ถ้าอขันคา

«๖ ถ้า fte). ถ้าเอ9โ8+ไ *๒ ถ้า (๓). ถ้าออขัรคบาค «๒ ถ้า («0. ถ้าเบค(ท เมองกามเศค «)D ถ้า (/). ถ้า

ภา*า ถ้า (๖). ถ้ารุนนาร์ *๙10 ถ้า (๗). ถ้ากานเหใ «10๙ ถ้า (๘). ถ้ากาเรา •๒ ถ้า (๘). ถ้ามหค cn«

ถ้า (•o). ถ้านา■ก ๒๓ ถ้า (••}. ถ้าปิคัลโซรา •๓ ถ้า (•๒}. ถ้า*!โคจกจ ๓ ถ้า (•๓). ถ้ากะรค ๖๖ ถ้า {•๔). ถ้าโทร ๗ ถ้า (•๔). ถ้าโกนเคน •๖ ถ้า (•๖). ถ้าโกนคัไว*โ •๘ ถ้า {•๗). ถ้ากฑา ๒๔ ถ้า (•๘). ถ้านัดรุระ •๔ ถ้า (•๙). ถ้าเนนันวร ๓๗ ถ้า (๒๐). ถ้าครวัร •๕ ถ้า (๒*). ถ้าคัลวคั ๖ ถา (๒๒). ถ้า}นะเล ๒๓ ถ้า

(น๓) ถ้าไว ๙ ถ้า และร้}อนเช่น รัฐ^■ท*!•๖๒ ถ้า รฐทชลทาน •๔๒ ถ้า รัฐมัรยประเฑfl ๙ ถ้า รัฐ ขันรรประเฑส•๖ ถ้า รัฐฟ้หาร •๒ ถ้า นละทมทงหมคทวทงรนเคัย ๙๘๙ ถ้า

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

โดยแบ่งเป็นถํ้าหนยาน ๖ ถํ้า อก ๒๔ ถ'ๆ เป็นฝายมหายาน การก่อสราง กนเวลายาวนานดั้งแด่ พ.ศ. ๓๕๐ ถง พ.ศ. ๑๒๐๐ เศษ รวมเวลาการก่อ

สร้าง ๘๕๐ ปี โดยประมาณ ถํ้าอชนตาถูกทิ้งร้างกลายเป็นป่ารกช้ฎบ่กคลุม

ถง ๘๐๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๒ นายทหารองกฤษนามว่า จอห์น สมิธ (John Smith) เขาไป่ล่าสัตว์ ไต้ยงกวางตวหนึ๋ง (บางเล่มว่าเป็นเสิอ) เมื่อออก

ต้นหากวางบาดเจบที่หลบหนไป่จงเจอถํ้าโดยบงเอญ ถํ้าอข้นต้าจงเป็นที่

ร้จกของชาวอนเดยและด่างชาดดั้งแด่นั้นมา ความจริงการเจาะภูเขาสร้าง

เป็นวดนั้นมใช่มเฉพาะอข้นต้า หริอเอลโลร่าเท่านั้น แด่มมากมายไนรนเดย ดะร้นตก เช่นถํ้าออร้งคบาต ถาที่เมองนาสัก ถาที่ไกลเมองบอมเบย์ และ

ถาที่ปูเณ่ เป็นต้น ที่กล่าวมาทิ้งหมดสัวนเป็นถาทางพุทธศาสนาทิ้งสิ้น แด่ ปัจจุบนหลายถํ้าไต้ถูกขดครองโดยชาวฮนดไป่แต้ว

ไนต้านอาณาร้กรมคธอนกร้างไหญ่น้น หลงพระเจ้าอโศกมหาราช สวรรคตแต้วก็เริมแตกแยกเพราะกษ้ดริยไนยุคหต้งอ่อนแอ และสลายต้วลง

อย่างรวดเริว จนถงร้ชสมยพระเจ้าพฤห์สรถ ราชวงศ์เมารยะองต้ลุดท้ายถูท พราหมถ!คนหนงชึ่อลุงคะ ต้มราชวงศ์เสิยแต้วสถาป่นาต้วเองเป็นกษ้ตริย์

นามว่าปุษยมตร

ราว พ.ศ, ๓๕๘ พระเจ้าปษยมิตรไต้อำนาจมาจากการกบฎต้มrไช

บลสังก์ของพระเจ้าพฤห์สรถกษ้ตริย์องค์ลุดท้ายแท่งราๆ!วงศ์tมารยะ ราะ เคยเป็นพราหมณมาก่อน ไต้รอจ้งหวะที่มีอำนาจเพึ๋อหร้งที่จะท่าลายพุทช

ศาสนา เพราะพระเจ้าอโศกทรงห์ามการล่าสัตว์ และฆ่าสัตว์บูชายัญ'จง

สร้างความไม่พอไจไห์ท้บพวกพราหมณ์เป็นอย่างมาก แด่ก็ไม่อาจจะท่า

อะไรไต้ เมื่อไต้เป็นกษตริย์สมไจ ไต้เรียกราชวงศ์ที่ดนเองดั้งขึ้นว่า ลุงดะ (Sunga) จ้งไต้รอทิ้นการประกอบฟ้ธยัศวเมธ ฆ่ามาบูชายัญ ดงนั้นศาสนา พราหมณ์ หรีอฮนดูจ้งทิ้นชพขึ้นมาอก ทรงท่าลายร้ดพุทธศาสนาอย่าง

มากมาย ดลอดดงค่าห์วพระสงฟ้ ๑00 ทนาว์ ถาไครต้ดหวพระสงฆ่หรีอ

The History of Buddhism in India

ทุทธศาสนิกขนได'ยุคนี้พุทธศาสนาถูกทำลายอย่างนนิ'ก ในบ้นทํกของทำน

ดา7นาถ นิกประว้ตศาสตร์ซาวธิเบดชี่อดงได้กล่าวว่า "'ฬระเจาปษยรตร

กษตริย์รนดูองค์นไฅทำลายอารามกุกกฏาราม เมองเวรทล และวดพทธ

ศา^าที่รทคละทึ๋ปัญจาปดะวนออก และพระราชทานรางว้ลจำนวน ๑00

ที่นาร์ร(าหรบผูด้ดศรีษะชาวพุทธ■ไ นี้เป็นเครื่องยืนยนถึงการทำลายด้าง

พุทธคาสนาเป็นครั้งแรกจากกษตร์ยด่างศาสนาหด้งพุทธทาลมๅ ปุษยมิตร

ปกครองมคธนานถึง ๓๔ ปี เมื่อสวรรคตแด้ว พระเจาอคนิมตร (Agni- mitra) พระโอรสได้ปกครองมคธต่อมา พระองคไม่ได้ทำลายพุทธศาสนา แด่กไม่สนิบสนุน พระเจาด้คนิมิตรปกครองมคธแด่ ๘ ปี ยุคนี้จงเป็นยุคมด ของพุทธศาสนาในแควนมคธ แมว่าจะถูกทำลายด้างแด่พุทธศาสนาในส่วน อื่นของอนเดยย้งเจร็ญรุ่งเรืองและแผ่ขยายกวางไกล แม้กระทั่งภาคได้ของ

รนเดย จนเรื่มมิการสร้างวัดถํ้าขนแด้วในหลายๆ แห่ง โดยเฉพาะที่ถํ้า

อข้นด้า รฐมหาราษฎร์

สรุปราชวงทั่ต่าง ๆ แดวันมคส

  1. ราชางต่เมารยะ(Maurya Dynasty)"''

o.พระเวัาจ้นทรคุปต์(Candra gupta)

พ.ศ.๑๖๘ ถึง พ.ศ.๑๙๒(๒๒๒-๒๔๘)รวม ๒๔ ปี

๒. พระเจาพนทุสาร (BindusSra) พ.ศ. ๑๙๒ ถง พ.ค. ๒๑๔(๒๔๘-๒๗๖)รวม ๒๒ ปี

๓. พระเจ้าอโศกมหาราช(A^oka)

พ.ศ. ๒๑๘ ถึง พ.ศ. ๒๖๐(๒๗๖-๓๑๒)รวม ๔๒ ปี

๔.พระเจาสัมปฑิ (Sampadi) พ.ศ. ๒๖๐ - ไม่อาจะระบุ

๕. พระเจ้าทศรถ (Dasaratha) พ.ศ. ๒๖๐ - ไม่อาจะระบุ

๖. พระเจ้าพฤหสรถ (Vrhasratha) ปกครองจนถึง พ.ศ. ๓๔๔

ในหใฬ้รอ Civilisaiimi in the Buddhist Age B.C.320 - A.D.500 พนา •toe' ก๘าวไ)า 7าขวงสั

นทใยะนทั๋งหมร ๙ 04ค์ «0 •. จ้นท7คปตะ to. ฟินทุ(ทท ๓. อโคกมหาราช ๙. สุขาระ ๙. ททรถะ b. สังิก่ค่ะ

ct. ■รสุกะ ๘. โรมเทม้น นระ ๘. พฤหะทรทะ

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

(พลังจากพ•ระเจ้าสัมปทิ และพ•ระเจ้าท?!■รถแลัว •ฑชวงศ์เมารยะยังมี

กษ้ตริย์ปกครองต่อมาอกคอ พระเจ้าสาสิสุกะ พระเจ้าเทวธัมมะวรมนะ พระ เจ้าสมตะ!นุ จนถงพระเจ้าพฤทัสรถ)

to.•ราชวงศ์สุงคะ(Sunga Dynasty)" ร. ทรรเจ้าปุ»ยนิทร (Pusyamitra)

พ.ค. ๓๕๘ ถง พ.ค. ๓๙๒ รวม ๓๔ ป"ี

to. ทระเจ้าจ้คนนิทร (Agnimitra)

ราว พ.ค. ๓๙๒ ถง พ.ค. ๔0๐ รวม ๘ ปี

ท.ทระเจ้าชุชเน»ฐา (Sujaye$tha)

ราว พ.ค. ๔๐๐ ถง พ.ค. ๔๐๖ รวม ๖ ปี

๙. ทระเจ้าวรุนิทร (Vasumitra)

ราว พ.ค. ๔๐๖ ถืง พ.ค. ๔«๐ รวม ๔ ปี

๕. ทระเจ้าอรทรากะ (Ardaraka)

•ราว พ.ค. ๔®๐ ถง พ.ค. ๔®๗ รวม ๗ ปี

๖.พระเจ้าปุรินททะ (Purindaka)ราว พ.ค. ๔®๗ ๗. พระเจ้าโฆพวสุ (Ghosavasu)(ไม่อาจระบุเวลา) ๘.พระเจ้า-รัชรนิทร (Vajramitra)(ไม่อาจระบุเวลา)

๙.พระเจ้าทควทะ (Bhagavata)

•ราว พ.ค. ๔๒๙ ถง พ.ค. ๔๖® รวม ๓๒ ปี

00.พระเจ้าเทวภูทิ (Devabhati)

จาก พ.ค. ๔๖® ถง พ.ค. ๔๗® รวม «๐ ปี

(•ราชวงศ์นี้มีกษ้ตริย์ «๐ พระองศ์ ปกครอง•ราว ®®๓ ปีเคษ)

01. ราชวงศ์กานวะ(Kanva Dynasty)

®. พระเจ้าวาสุเทวะ(Vasudeva) เรํ่มจาก พ.ค. ๔๖๘

**' Romc&h C.Dun .Civilisatfon in th* Buddhist Age B.C320-A.D.500.(Secom]Edition. Delhi

ะ Low Price Publication, 1ฬ3),Page 124.

ไนหน่ง่■อประว้ฅิ*ท*•{ทุท*ffทสนาข6ง8ารารย์แrRบใ โทธํนันทะ กร่าวว่า พระเ^าไเษยรทร

ปกทรรงทา พ.ท.

The History of Buddhisin เท India G)(e)Cn ^

to.พระเจ้าฎ»3มิตร(BhOmimitra)

ปกครองต่อ จนกง พ.ค. ๕๑๓

(ราชวงสันี้มิ ๔ พระองสั คอ ๑.พระเจ้าวาสุเทวะ ๒.พระเจ้าภูมิมิตร ๓.พระเจ้านาราย!เะ ๔.พระเจ้าสุลารพ้น ราชวงศ์นี้ปกครองรวม ๔๕ ปี)

๔. ราชวงศ์อันธระ(Andhara Dynasty)

พระเจ้าศรีมุชะ (^rltnukha) ยตนควันมคธใต้เมึ๋อ พ.ค. ๕๑๖

อาณาจักรมคธจืงลลาย กลายเป็นรท่นทนี้งของอาณาจักรอันธระ ในอนเตย ภาคใต้ อันมิเมิองทลวงชึ๋อว่า อมราวต (AmarSvati)

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

บทที่ if

พระพุทธศาสนาชุค พ.ศ.^00-๘๐๐

(Buddhism in B.E.500-800)

หลงจากที่พระเจาปุษยมตรแพ่งราชวงศ์สุงคะไดทำลายทุทธศาสนา

ลงอย่างหนก ทำ ให้สถานการณ์ทุทธศาสนาโดยรวมอ่อนแอลงอย่างมาก ใน

ขณะที่ศาสนาพราหมณ์เริ่มไดรบการสนับสนุนฟ้นฟูมากขน ราชวงศ์สงคะ ปกครองอยู่ ๑๑๓ ปีจงสิ้นสุดลง ด่อมาทชวงศ์กานวะไดขนปกครองต่อจาก ทชวงศ์สุงคะ กษ้ตริย์ในราชวงศ์นี้ส่วนมากเป็นทุทธศาสนักชนจงทำให้ สถานการณ์พุทธศาสนาดีขึ้นมาก ราชวงศ์นี้มีกษ้ตริย์ปกครอง ๔ พระองศ์ รวมเวลา ๔๕ ปี ในยุคนี้ไดมพระมหากษตริย์ที่มีเดชานุภาพยงใหญ่เกดขึ้น

ในอนเดียทางเหนัอ พระองค่ไม่ใช่ชาวอินเดียอารยนโดยสายเลือด แต่เป็น

เชอสายฝรั่งกริก ผู้ที่ทำ ให้พุทธศาสนาแผ่ไพศาลในอินเดียเหนัอและเลยไป

ถงเอเชยกลาง พระองศ์คอพระเจามลืนฑ์ หริอเมนันเดอร์ตามสำเนียงกริก

ราว พ.ศ. ๕๐๐ พระเจามลืนทํ หริอเมนันเดอร์ (Menander) หริอ กริกเริยกว่า เมนันดรอส (Menandros) เป็นกษต่ริย์เขึ้อสายกริกราชวงศ์

อทํเดมล (Euthydemus)' ขึ้งไดเขามาดั้งรกรากในอินเดียตั้งแต่สมย

พระเจ้าอเลืกชานเดอรยกกองทํพเขามายดครองอินเดีย พระบดาคอพระเจ้า

ธมตระ หริอเดเมตริอุส (Demetnus) ตามสำเนียงกริก พระองศ์ประสูตที่

หมู่บานกลาส เมองอลส้นทะ(อเลืกขานเดริยหริอ กันทาหาริอฟกานัสถาน)

เมองหลวงของพระองศ์ดั้งอยู่ที่เมืองสาคละ (Ssgala)^ ไดขยายอิทธพลลง

Anil Chandra Banerjec. History ofIndia.(Calcutu ะ Pnn(-o-graph.l995).Page 89.

^ ปึ%ชุบัน «0 ชิaโก*! รเฟ!cot รฐป็ญจาป ประเทศปาก๓าน ฌึ๋อฮ้งกฤษโฟ้เอกราชนก์รณรยแระ

ปาก็เทเาน ร้ฐป็ญจาปถกนปงออกเปน to เท่นอขไน to ประเทศ

The History of Buddhism in India

มาrไงเรรองดอนเหนอของลุ่มนม่นํ้า รนร^

คงคา ในยุคสม'ยของพระองค์

ปรากฏว่าอารยธรรมเจรํญรุ่งเรอง

เพราะใดนำวํทยาการ

การทำเหรยญดราที่ทาจากทอง

ส่ารด ทองนดง เพอเปีนสึ๋อกลาง น^^^^^BBSm

ซอขาย^ค์าเหมอนป้จจุปัน ๒.

การก่อสrไง ได'นำสกาปัดยกรรม

นบบกรกโรปันมาก่อสรางอาคาร เVi%ญล'ท ขBiViStihunน

สถานที่ด่างๆ จงปรากฏว่ารูปแบบสถูป เจดย์ อาคารที่คงเหสิอในปัจจุปัน

เช่น ที่ตกกสิลา ชปัลคารฮี ในปากีสถานมีการสร้างแบบโคธกหรอโครน-

เธี่ยนอย่างชดเจน ๓. การสร้างรูปเคารพ ก่อนหนำนี้อนเดยไม่นํยมการ สร้างรูปเคารพ ด่อเมึ๋อกีงยุคของพระองค์จงเรมมีการสร้างขนมา ภาษาที่ใช่

เปีนสื่อกลางคีอภาษากรีกโบราณ เพราะพบจารีกและเหรียญตราในสปัย

ของพระองค์ลวนใช่อ้กษรกรีกโบราณทั้งสิ้น

ปรากฏในด่านานฝ่ายบาลี และฝ่ายจีนว่าตอนแรกพระเจามีสินท์มีได'

เสื่อมใสในพุทธศาสนา ได่ช่ดขวางพุทธศาสนาด่วยพระราโซบายต่างๆ

เนึ๋องจากพระองค์เป็นผูแตกฉานในวชาไดรเพทและศาสนาปร้ชญาต่างๆ รวมทั้งพุทธศาสนาดวย จีงไดเที่ยวประกาศโด่วาทีก้บเหล่าสมณะพราหมถ! ทั้วชมพูทวป จนลามารถเอาชนะสมณะพราหมถ่แหล่านั้นรวมทั้งพระภกชุ

ในพุทธศาสนาได่หมด ขนาดภกษสงฆ์พาก้นอพยพหนํออกจากนครสาคละ

จนหมดสิ้น ทำใหเมีองสาคละว่างภํกษสงฆ์อยู่ถง «>๓ ปี ต่อมาคณะสงฆ์

ด่องเลอกสรรค์ส่งพระภกษุหนุ่มผูเจนจบพระไดรปิฎกและลทธํนอกพระ

ศาสนาองค์หนึ่งชึ๋อ พระนาคเสน (NSgasena) เช่าไปในนครสาคละเพี่อ

พี่นฟูพระศาสนา กีดดศัพท์ความเก่งกาจของพระนาคเสนทราบไปถง

พระเจามีสินท์จีงโปรดใหเปิดการอภปรายปุจฉาวสัช่นา (ถามและตอบ) ก้บ

ประว้ตศาลตร์พระพทธศาสนาในอินเดีย

พระนาคเสนขน ขรความทอภํปรายปจฉาวส้ขนาทนนั้นพ่flJJามผรวบรวม

ขนชงเรยกว่า มรนฑ{โญพา (Milindapanha) คมภีร์*3ทั้งในฉบบสันสกฤค

และบาล ในฉบับส้นสกฤตใหํชีอว่า "นาดเสนภิกษุสูตร" ไต้มีผู้แปลก่าย

ออกสู่ภาษาจีนประมาณพันปีเตษมาแต้ว ส้าทรับภาษาบาลีifนพระพุทธ โ*)ษาจารย คณาจารย!!าวมคธเรนผู้แต่งตำนิทาน และตำนิคมประก0บเข้า ไว้ในมิลีนทปัญหาเมึ๋อพุทธตตวรรษท g! ส่วนเนอธรรมอันเปีนตัวปัญหา

มิไต้กล่าวไว้ว่าผู้ใดแต่ง เนึ้อหาของมิลีนทปัญหาถามตอบนับว่ามีตวาฆันิา

สนใจมาก เพราะเปีนการถามตอบเกี่ยวกับหต้กธรรมในพระพุท!ตาลนา

ล้วนๆ ทำ ใหคนในปัจจุบันเองเมื่อไต้อ่านแต้วลาบา■รถทายลงลัยไแพว-พุเๅธ

ศาสนาไต้มาก

ในฉบับภาษาส้นสกฤตไต้บอกชาติภูมิของพระนาตเลนว่า0yf{แต-5'แ กัตมิระ ในฉบับบาลีกล่าวว่าท่านเกิดในวรรณะพราหมณ์ ปัคาขึ๋อโสณุตตระ

(Sonuttara) อาศัยอยู่ ณ กข้งคลคาม ข้างภูเขาหิมาลัย เปีนข้อความตรง

กัน (ภูเขาหิมาลัยตั้งต้นจากแคว้นกัตมิร์ ของอินเดียผ่านเนปาล ธิเบต

ภูฐาน สิกขิม จรดขายแตนพม่า) ในว้ยเด็กอายุ ๗ ขวบ ไต้ศึกษาไตรเพท และตาสตรัอึ๋นจนเจนจบ จีงทามบตาว่ามิตาสตร์อึ๋นที่จะต้องเรียนบ้างไทบ บิดาตอบว่า มิเท่านี้ ต่อมาว้นหนึ่งไต้พบพระโรทนะมาบิณฑบาตที๋บ้านบิตา

เกิดความเลอมใสจีงใท้บิตานิมนต์มาทึ๋บ้านถวายกัตตาทาว และศิตว่าพระ

องค์นี้ต้องมิศิลปวิทยามาก จีงขอศึกษากับพระเถระ พระเถระกล่าวว่า ไม่

อาจสอนผู้ทไม่บวขไต้ จงขอบิตาบวขที่ตำรักข้ต ไต้ศึกษาพุทธตาลนากับ พระโรหนเถระต่อมาเมออายุ too ปีกิไต้รบการอุปลมบท ว้นหนี้งเกิดตำหนิ

อุปัขท)ายํในใจว่า อุปัชฌาย์ของเราข่างโง่จริง ใหเราศึกษาพระอภิธรรมก่อน

เรยนสูตรอึ๋นๆ พระโรหนะผู้อุปัชฌาย์ทราบกระแลจีตจีงกล่าวว่า พระนาค- เสนศิตอย่างนหาถูกต้องไม่ พระนาคเสนทราบว่าพระอุปัชฌาย์รัวาระจิต

ของตนจีงตกใจ และขอขมา แต่พระเถระกล่าวว่า เราจะใหอกัยไต้งายๆ ไม่

The History of Buddhism in India

พระนาคเสนต้องไปทำภาใกีจอย่างทนึ๋งฑี๋สำคัญ คือต้องไปโปรดพระเจ้า มํลินทํทึ่เ}]องสาคละใคัเลึ๋อมไสในพระรัดนดร้ยก่อนจงจะอภัยไต้' แอะแต้ว

พระโรท;เะท็ส่งไปคืกษาเพั๋มเดิมกับพระอัสสคุดดะ (Assagutta) ทรือพระ

ดนิยเสนาส;เะวิหาร เมองสาคละ

1 1^ ss คักอยู่ ท' รันพระเถระจึงยอมรับ

nmiiSSunmjriKuimaน ไปสู่นครปาฎลีบุตร ไต้พักฑึ๋รัด

อโศการามแต้วสืกษาธรรมกับพระทรมรักขิด จนจบภายโน ๖ เดิอน พระ

นาคเสนเดินทางไปบำเพ็ญเพยรทีรักขิดคูหาเปีนเวลานาน ที่สุดก็ไต้บรรลุ พระอรต้นด์ คณะสงฟ้ที่งหลายจึงอนุโมทนาแต้วประกาศใต้ทำนไปโต้วาทะ

กับพระเจ้ามรนทํ พระนาคเสนจึงเดินทางไปนครสาคละเพึ๋อพบคับพระเจ้า

มิลินฑ์ที่นน เมี่อไต้ดอบโต้ปัญหาคับพระเจ้ามิลินฑ์แต้วทำใต้พระองค์เกิด เส์อมโสในพุทธศาสนาขึ้นมา และเปล่งวาจาถงพระรัตนตรัยตลอด5วิด

ไนยุคนั้นพุทธศาสนานิกายสรวาสดิกวาทินกำลังเจริญรุ่งเรีองอยู่

พระนาคเสนอาจจะสังคัดนิกายนี้ และคัมภีรัฝ่ายจีนกล่าวว่า พระนาคเสน

ไต้รจนาคัมภีร์ ตริกายศาสดร์ต้วย ผลของการอภิปรายน้บเป็นความสำเร็จ

อย่างใหญ่หลวงต่อพุทธศาสนา เพราะพระนาคเสนมีขัยต่อพระเจ้ามิลินท์

พระองค์บังเกิดความศรัทธาปสาทะในพุทธคาสนา เพราะทรงแจ่มแจ้งไน

พุทธธรรมโดยตลอด คัดข้อวิตกคังขาในพระทัยจนหมดสิ้น จึงทรงปฏิญาณ ตนเป็นพุทธมามกะรับเป็นผู้อุปถัมภก บูรณปฏิสังขรณ์พระสถูป วิหาร และคณะสงฆ์ พุทธศาสนาก็รุ่งเริองตลอดมา จนวาระสุดท้ายของพระองค์

ประว้ตศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

ทรงสวรรคตในกระโจมที่พัก และมการพพาทกนระหว่างเจาIJJองต่างๆ ของรนเดีย นละมีการแจกพระอ้ฐของพระเจามลนฑ์แก่เJjองต่างๆ คล้ายก้บ

พระบรมคาสดา'' หล้งจากการสวรรคดของพระเจามิลนท์แล้ว กษ้ตรํยกรก

ที่ปกครององคต่อมาอ่อนแอ อาณาจ้กรจงแตกเป็นแคว่นเลกแคว้นน้อย

พระมหากษดริย์องค์สุดท้ายในราชวงศนี้คอ พระเจ้าเฮอมีอุส(Hermaeus)"^

ก่อนที่อาณาจ้กรจะแดกสลาย พรอมกับการขยายอำนาจของพวกสกะ

(Sakas) จากเอเชยกลางเข้าครอบงำอาณาจ้กรของพระเจ้ามิลนท้เดม

[ท. (CuMtion ofBud^'s^lEM^I:

ดั้งแต่พระบรมคาสดาปรน้พพานเป็นตนมา จนทง พ.ศ. ๕๐๐ โดย

ประมาณ ยังไม่มีการสว้างพระพุทธรูปเป็นที่เคารพบูชาแต่อย่างใด การ กำเน้ดพระพุทธรูปมีทรรศนะที่แตกต่างกันอยู่บาง แบ่งออกเป็น รท ประเด๊น

คอ

๑. เชึ๋อว่าพระพุทธรูปเกดมาในสยัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนม์ชพ อยู่ ในหน้งลือจดหมายเหดของพระกังข้มจง ซึ่งเดนทางเข้าอนเดียไล้กล่าว

ถงพระเจ้าธุเทนเมีองโกล้มพ สว้างพระพุทธรูปไม์จ้นทน้บูชาพระพุทธองค์

และพระเจ้าปเสนทโกศล เมีองสาว้ต่ถก็สว้างพระพุทธปฏิมาขึ้นเช่นกัน แต่

หล้กฐานทางโบราณคดยังไม่มีการขุดพบ จ้งยังไม่มีสิ่งรนยันที่เต่นข้ด หรอ มีนำ หน้กพอ นอกจากนนยุคสมยของพระเจ้าอโศกมหาราช หล้งพุทธ ปรํน้พพานสองว้อยปีเศษ กไม่ปรากฎว่าพระองค์สรางพระพุทธรูปแต่อย่าง ใด เป็นแต่แกะสล้กรอยพระพุทธบาทแทนเท่านั้น

๒. เกดในสมยพระเจ้ามิลืนท้ หรอเมน้นเดอว้ซึ่งเป็นกษดรย์กรก

ปกครองรนเดยโดยมีเมีองหลวงที่สาคละ ในหน้งลือดำนานพระพุทธเจดีย์

"มหามกุฎ'ทชวิทขารัย. 1l|pnBf(า■Uป'l£-^1CW'ท่ง ๖ ๒ จทึ๋แ•พน•ๆ. (กเงเทพฯ : มหามกุฎ

ราช^ฑขารัย. หนา •๗*.

Kanai Lai Hazra. Royd PatrocMge of Buddhisiii in India.(Delhi ะ Sangeeta Printers. 1984.)

Page 118.

The History of Buddhism in India

ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพกล่าวว่าทิ่มสร้างสม้ยนี้ แด่มาแพร่

พลายสม้ยพระเจากนษกะมหาราช ในหนังสือประวตศาสตร์พุทธศาสนา ของพระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตณาโณ) กล่าวว่าสร้างในสมัยพระเจา

มิลนท์เช่นกน ทฤษฏีนมผู้ยอมร้บมากที่สุด

\ ๓. เกิดในสมัยพระเจ้ากนิษกะ

ท^^^^^Kj มหาราช ซึ่งปกครองอินเด็ยเหนิอ

โดยมีศูนย์กลางที่เมิองปุรุษปุระ หรือ

เปชวาร์ หนังสือกำเนิดพระพุทธรูป

หลายสมัยของบรรจบ เทยมทด กล่าว'

ว่า พระพุทธรูปแบบค้นธาระเกิดใน

สมัยพระเจ้ากนิษกะนี้ ก่อนหนัานี้มัง

ใม่มีการสร้างแด่อย่างใด พระเจ้า

กนิษกะทรงร้บสั่งใหช่างกรืกสร้างพระ

พ-iะทุทโทปนบบค้น!ทระ ศิลปะทรทโรค้น อย่างไรกตาม ในการสร้างพระ

พุทธรูปส่วนมากแลวเชอค้นว่าเรมจากสมัยพระเจ้ามิลนท์เรนค้นมา กล่าว

คือเมื่อชนชาตกรืกสมัยพระเจ้าอเลกชานเดอร์เข้ามารุกรานอินเดีย ไค้ตั้ง

รกรากถาวรที่ บากเตรืย' ค้นธาระ สาคละ และหลายส่วนของอาฟกา-

นิสถาน ปากิสถาน และอินเดียดอนเหนือ คำ ว่า ค้นธาระ (Gandhara) มา

จากคำว่า ค้นธารื หมายกิงผู้คนที่อาค้ยอยู่ในแควนค้นธาระ'' คติของพวก

กรืกไม่ร้งเกิยจในการสร้างรูปเคารพ และก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นพุทธมา

มกะ กิไค้สร้างรูปเคารพของตนอยู่มากมายหลายองค์ค้วยค้น เช่น เทพเจ้า

ยูปีเดอร์ หรือ ชิวส์ รรา เฮอร์มีส อิรืส อพอลโล อาร์เตมิส เอเธนา

'ป็จจุบ้นอยูไนเขตปใะเฑคชัฟกานิรทาน น. ณ นากนํ้า (แปร). ทน1ท1รน«ท่ป้น2มาเนิตพรร¥{ททรูน ทระเจาป้รนทแรรทาะนาตเรน.

(กรุงเฑพฯ : น่ารุงนกรกิจ. ๒(ภ0๖). รเน่า •๙.

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

เปนต้น เทพเจ้าเหล่านส่วนใหญ่เป็นเทพประจำ!โรรมชาต และพวกกรก

สร้างเป็นเทวรูปดจมนุษปัที่มสัดส่วนงดงาม จนจ้ดเป็นลญลกษณ์อินโดด

เด่นแห่งประตมากรรมชาดกรีกโบราณ ครั้นเมื่อเปลี่ยนใจมาเลึ่อมใสพทธ

คาสนาแลว นสัยความเคยชนที่ไต้กราบไหวับูชาเทววูป ทำ ให่'พวกกรีกเกิด มโนภาพคดสร้างพระพุทธรูปขนมาทดแทนเทวรูป เพึ๋อให้เป็นทํสนานุดตรี

ยะยามนึกถงพระบรมศาสดา ไม่เกิดความวัาเหวเปลี่ยวใจ ฉะนั้นจ้งไดเกิด

คดในการสTางพระพุทธรูปขึ้นในหมู่ชาวกรีกก่อน ภายหลงพุทธมามกะ

ชนชาตอนเดียไต้พบเห็นพระพุทธรูปเขากิเกิดความศรั)ๅธา จงไต้ห้นมา

นํยมสร้างพระพุทธรูปดามอย่างคดของชาวกรีกขึ้น แด่ไต้ดดแปลงเป็นแบบ อย่างศลปกรรมแห่งชนชาดํของดน แม้พวกพราหมณ์พลอยเกิดสร้างเฑวรูป

พระอควร พระนารายณ์ ขึ้นกราบไหวบูชา คดร้งเกิยจสร้างรูปเคารพจ้งเป็น

อินจืดจางไปจากชาดิชาวอนเดียโดยพฤตน้ย ในสม้ยพระเจ้า มลินทะจืงนึบ

ว่าเป็น ยุคแรกแห่งการสร้างพระพุทธรูป" ลกษณะพระพุทธรูปของซ่างชาวกรีก ไต้สร้างให้เหมอนมนุษย์จรีง มื่

ล'กษณะที่งดงามดวงพระพกดรคลายคลึงกับเทวรูป จนบางครั้งทาเป็นพระ ม้สส (หนวด) บนพระโอษฐ์กิมี เบื๋'องบนพระเคยรทำเป็นพระเกตุมาลา (ขมวดผม) เพื่อให้เห็นแตกต่างจากรูปพระสาวก เสนพระเกศากิฑาเป็น

ลกษณะม้วนเกลาดงเช่นพระเกศาของกษตริย์ ผ้ากาสาวพัสตร์ทำเป็นรอย

กลีบย่นเห็นชดเจนดุจผ้าจริงๆ และม้กจะมประภามณฑลรายรอบพระเศียร

แด่ไม่มีลวดลาย พระพุทธรูปดงกล่าวนั้ช่างกรีกคิดสร้างสรรค์เป็นปางต่างๆ โดยอาศ้ยพระพุทธจริยาที่ฑรงบำเพญมาเป็นบรรทดฐาน เช่น ปางตร้สร้กิ

ทำ เป็นขัดสมาธํวางพระห้ดถช้อนกันภายใต้ร่มไม้!พธพฤกษ์ ปางแสดงพระ

ธรรมจ้กรทำเป็นรูปประทบบนบลลงค์ และจืบพระดรรชนีเป็นวงกลมดุจ วงจ้กร เป็นต้น อย่างไรกิดีพุทธศีลป๋ต้งกล่าวนี้มาแพร่หลายรุ่งเรีองอย่าง

กวางขวางกิในสม้ยต่อมา คอ สม้ยพวกอนโดไซร้ส หรีอพวกงวยสี มีอำนาจ

"ฟ้าวง'ทขา14ภาพ. แมเพั*ฯกวมพวะขา นแะคณะ. อฟทาน■ทาน นพเฬ่n3■ทระพุทธวปองค์นวก

ในโรก.(ก-^งเทพฯ . บใษ้ท'พ*]เนคพวนคิ้ง เชนเพอร ว่าทัพ. ทนา ๙.

The History of Buddhisin in India

ในรนเตยภาคเหนอ พุทธศลป๋ในยุคนี้เรยกว่า "พุทธสิลฟ้แบบคนราระ

(Gandhara Arts)" เพราะเกตขนแถวแควนคันธาระนั่นเอง

การแดกแยกออกเป็น ๒ นกายใหญ่นอย เริ่มมเคัารางมาตั้งแต่หลัง

พุทธปรินพพานเป็นคันมา เพราะพระปุราณะไม่ยอมรับผลการลังคายนาทึ๋ ท่าโดยพระมหากัสสปเถระที่ถํ้าลัดดบรรณคูหา และไคัแยกคัวออกมาท่า การลังคายนาต่างหาก แต่นกปราซญ่'ทั้งหลายเ^อว่าพุทธศาสนาไคัเกด การแปงแยกนกายต่างๆ ถง ๑๘ นิกาย หริอมากกว่านั่น ในพุทธศตวรรษที่

๒ ส่วนมากเป็นนิกายเล็กๆ ไม่ต่อยมีบทบาทนัก นิกายที่ไคัรับความนับถอ

และมีอทธพลมากที่สุดในระยะ ๕ ทศวรรษแรกไคัแก่ เถรวาท ซึ่งยตถอ ดามมดปฐมลังคายนาเป็นสำคัญ และนิกายนี้เองยงใดแดกแยกออกเป็น นิกายเล็กๆ อก ๑๒ นิกาย คังนั่นการศกษาหลักธรรมที่สำคัญที่สุดจง

สามารถคันหาใดจากคัมภีร์เภทธรรมมดิศาสดริในฝ่ายลันสกฤต และกถา-

รัดถุของฝ่ายบาล็ ซึ่งเป็นหลักธรรมของฝ่ายสาวกยานหริอนิกายเถรวาท

ส่วนนิกายอื่นๆ ที่พอจะคันควาหาหลักธรรมไคัอย่างละเอยดพอสมควรคอ นิกายสพพดดกวาท หริอสรวาสดวาทิน ซึ่งส่วนใหญ่คณาจารย์จนไคัแปล

จากลันสกฤดและบาล เป็นภาษาจน และธเบด หลักธรรมของนิกายสรวา

ลควาทินสามารถคันหาไดจากนิกายมหายาน เพราะไคัรวบรวมหลักธรรม

ที่สำ คัญของนิกายสรวาสติวาทินอยู่คัวย นอกจากนิกายที่กล่าวมานั่น

ปรากฎว่ามีหลักฐานหลงเหลือตกทอดมาถึงปัจจุบันนัอยมาก แม้แต่นิกาย

มหาลังฆกะซึ่งนับเป็นนิกายหลักของพุทธศาสนาในศตวรรษคันๆ ภีมีหลัก

ฐานดกมาถึงปัจจุบันนัอยมาก จนไม่สามารถยดถึอเป็นหลักสำคัญไคั แต่ นิกายมหาลังฟ้กะ และนิกายที่แดกแยกออกไป มีบทบาทสำคัญมากในการ

กำ เนิดพุทธศาสนานิกายมหายานขึ้น ในสบัยต่อมาลัทธมหายานเป็นลัทธ อสระและไดเป็นที่รวมหลักธรรมสำคัญๆ ของทุกๆ นิกายในพุทธศาสนา จง นับใคัว่า นิกายมหายาน เป็นขุมกำลังที่สำคัญมากของพุทธศาสนา

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย

เมึ๋อย้อนหลงไปดูเหตุการณ์ที่เปีนบ่อเกดของมหายานนั้น กพอจะ

ทราบความเปีนมาของทุทธศาสนาในยุคตนได้พอสมดาร คึอในระหว่างสมย

ที่ราชวงศ์กษาณะกำลงแผ่อทธ๊พลอยู่ในฐนเดึยภาคเหนือ และพวกอ้นธระ

กำอ้งครองอำนาจ ณ อนเตยภาคท้กษณ {ใด้) ราวพุทธศตวรรษที่ ๖-๗ ในสมยด้งกล่าว ได้มเหตุการณ์สำด้ญเกดขนในพุทธศาสนานั้นคอ กาวทอ กำเน๊ดของล้ทธนกายใหม่ ชึ๋งไม่ยอมอยู่ร่วมอาณ์ตด้วยกับ ๑๘ นืกาย นส- กำด้งเจรญแข่งกันอยู่ ณ บัดนั้น ด้ทธนืกายใหม่นั้เรยกด้วเองว่า "มหา

ยาน" การบ่รากฎขนของลัทธมหายานนบว่าเป็นวัวฌนากาว ความเปลี่ยน

แปลงในประวัดศาสตร์พุทธศาสนา ป็จจุบันลัทธินั้สามาวถครองใจปวะชาชน

หลายร์อยลัานคนในจีน ญี่ป่น ธิเบต มองโกเลย เวียดนาม เกาหล ด้งที่เวา ทราบกันในปัจจุบัน

สาเหตุททำใหเกดนืกายมหายานนนมีหลายปวะเค็น แด่พอสวุปยอๆ

ด้งต่อไปนั้

๙.© มหายานเกดจากบางนิกายใน ๑๔ นิกาย

อย่างที่เราทราบว่า พุทธศาสนาได้แตกออกเป็นนืกายต่างๆ 1นั้อง

จากความวีบดแห่งทิฎฐสาบัญญตา(ความเห็นไม่ตรงกัน)และสีลสามญญดา (ศลไม่เท่ากัน) นับแต่พุทธบ่รนืพพาน ๑00 ปีเป็นตนมา ลังฆมณฑลแยก เป็น ๑๘ นืกาย ต่างนืกาย ด่างมอุดมคดํ ทศนะทางหลักธรรม และวัตร ปฎบัดที่ผดแผกแตกต่างกันออกไปมากบัางน้อยบ้าง และต่างนืกายต่างก็ฐ

ดูนยกลางของนืกาย นืกายทง ๑๘ คือ ๑. นืกายเถรวาท to. นืกายมหา

ลังฆกวาท ๓. นืกายนืกายมห็สาสกวาท ร;, นืกายนืกายวัชชีปุตดกวาท rf.

นิกายสัพพตถกวาท ๖. นิกายธ้มมคุตตกวาท ๗. นิกายกัสสปีกวาท ๔. นิกายลังกันดกวาท ๙. นิกายสุตดวาท ๑๐. นิกายโคกลกวาท ๑๑. นิกาย เอกัพโพหารกวาท ๑to. นิกายพหสสุตกวาท ๑๓. นิกายปัญญ้ตดวาท ๑๔.

นิกายเจดยวาท ๑๕, นิกายธมมคุตติยวาท ๑๖. นิกายกัทรยานิกวาท ๑๗. นิกายฉนทาคารกวาท ๑๘. นิกายลัมมติยวาท นิกายเหล่านั้ต่อมาแยกออก

เป็น ๕ นิกายอก คือ ๑. นิกายอปรเสลยะ to. อุดดรเสรยะ ๓. นิกายอุด-

The History of Buddhism in India

ตรปถะ ๔. นกายวภัชชวาทน ๕. นกายเวตุลลกะ ววมเปีน tool นกาย ต่อมาบางนกายย่อยก็ได้พฒนากาามาฟ้น3Jทายา^ โดยเฉพาะนกายมหา

สงฆิกะ และบางส่วนก็ยังคงเป็นเถรวาท หรือหินยานเช่นเด้ม

๔.to มหายานเก็ดจากพระบุคสิกภาพของพระทุทรรง

ไนหลกธรรมของนกายมหาสงฆิกะ*' จะเหินได้ว่าทศนะต่อพระ

บุครกภาพยันยิ่งไหญ่ของพระบรมศวศศาไนพ่านโลกพ'!ภาพแ'ไ-3จาก

นกายเถรวาท ขณะที่ฝ่ายเถรวาทถอว่าพระวรกายเปรยบเหมอนก้บสามญ

ชนทั่วไป ย่อมเศึ๋อมไปเพราะอนจยัง ทุกขง อน้ตตา ย่อมแดกด้บในที่สุตแต่

ที่ไม่ด้บคอพระธรรมคำสอนของพระพทธองค์ แต่นกายมหาสังฟ้กะเหินว่า

พระบุครกภาพและพระชนม์ชพจะแดกด้บลงไนลนปาพ^ลลน๊พพานนนยั-! ไม่ได เสยนรงที่พระองค์เป็นอภบุรุษที่สรางบารมีมานับอสงไขย จะมาด้บ

สูญโดยไม่เหรออะไรไม่ได้ พวกเขารอว่าภาวะของพระพุทธองค์ทั่งนาม และรูปเป็นโลกคดระ พระชนม์ชพยังทั่งยนไม่มีขอบเขต ศั๋งที่แดกด้บเป็น

เพยงมายาธรรมเท่านั้น ความคดเช่นนี้เองที่กอไห้เก็ดลทธมหายาน พวก

เขาเหินด้วอย่างการบำเฟ้ญบารมีฃองพระพุพรองค์เมึ๋อ''ลวยพ'!ะขาตํ^มีน

พระโพธสดว์ ผู้ที่ซาบซึ้งจงนำเอาโพธจรืยาทั่ง ®o ห้ศนั้นมาประกาศเป็น

พํเศษ และทั่งเป็นอุดมคดที่จะไห้ม่งสำเรืจสัพพญญดญาณ มีโอกาสสราง

บารมีเป็นพระโพธสัดว์เป็นประโยชน์แก่สรรพสัตว์ และไม่พอไจไนการบรรล

พระอรห้นค์ เพราะรอว่าคบแคบเฉพาะดน

๔.0 มหายานเก็ดจากนรงผลักดนของศาสนาพราหพณ์

ในเมึ๋อพระองค์ดรสรู้ และอยู่ระหว่างการเผยแผ่พุทธศาสนานั้น

หลักธรรมของพระองค์สามารถพชํตไจของปวงชนได้ เนี้องจากคำสอนท

ประกอบด้วยเหตุผลที่เป็นความจรืง ด้งนั้นพุทธศาสนาจืงแพรหลายไปไน หมู่ชนทุกชนอย่างรวดเรืว เรืวจนลัทธอนๆ คาดไม่รง ลัทธํเหล่านนรงกบ

เกดความเสื่อมโดยเฉพาะศาสนาพราหมณ์ คณาจารย์ลัทธพราหมณ์

** อ^ชย โพJihr*ทเศาสif. fpriHsnสนามทา!ทน. (ฟ้มใเคเรฑี๋ ๔. ท-เงเทพฯ ะ มทามทุฏราช

รทเท•น. ๒๔๓๔),หงา ๘๔.

๑๒๔ ประวติศาสตร์พระพทรศาส■นาในอินเดีย

พยายามลมพทธศาสนาแต่ไม่ส์าเรจ จนมาถงยุศพระเจ้าอโศกมหา■ราช

พระองคทำนุบำรุงพุทธศาสนาจนเจรญอย่างสุตขด สร้างความคับแคนใจ แก่พวกพราหมณเปีนอย่างมาท จนโอกาสมาถึงเมื่อยุคของพระเจ้าอโศก มทาราชผ่านฟันไป พราหมณ์คนหนึ่งชีอปุษยมิตร ยดอำนาจได้ จงทั๋ม

ทาลายพุทธศาสนาอย่างขนานใหญ่ ส่วนศาสนาพราหมณ์ifนก็เริ่มปรับปรุง

ตัวเองอย่างขนานใหญ่เช่นกัน แต่งมหากาพย์ขึ้นมา to เริ่ฏง สือ มหาภารตะ

และรามายทเะหรอรามเกยรต เปนทนยมชมชอบมากทสต พราหมณ์กัง

เลียนแบบฝ่ายพุทธที่มิไตรสรณตมณ์ ๓ ประการ จืงสรางตรมูรสิขึ้นปัาง

คอ รวมพระเจา ๓ องคเขาไป คอ พระพรหม พระศิวะ และพระนารายณ์

เป็นที่พี่งสูงสุต ฝ่ายพุทธมิสังจ)ารามเป็นทึ๋อยู่อาด้ย ฝ่ายพราหมณ์ได้สรัาง

สงฆารามขนมาบ้าง ฝ่ายพุทธจาริกแสวงบุญตามสังเวชนยสทาน ฝ่าย

พราหมณกได้สรัางแหล่งจาริกแสวงบุญรเนเช่นกัน การปรับปรุงของฝ่าย

พราหมณ์ครั้งนี้นับว่าได้ผลมากทำให'อิทเviaรเขายใป ริบ่

สถานการณ์เป็นเช่นนี้ คณาจารย์ฝ่ายพุทธไม่สามารถนึ่งตูตายได้ จืงปฐรม่ การเผยแผ่พุทธศาสนาเพึ๋อแช่งกับศาสนาทราทมณ์ โตยปฎํรูป to แนวคอ

ก.แนวแห่งบุคลาธิษฐาน ข.ปฏิรูปตามแนวแห่งธรรมาธิษ5าน

๔.๙ มหายานเกิดจากพุทธบริษัท

เนองจากการปฏิรูปด้งกล่าว แม้จะเกิตจากพระเถระจาก ^ นิกายก็

จริงอยู่ พระเถระเหล่านหนักไปในทางการศิกษาปกัชญา ส่วนด้นึ่ปฐรูปนี้ง

ทางด้านธรรมาธิษฐานและบุคลาธิษฐานศิ0 พุทธบริษัทฝ่ายคฤหัสย์ โตย

เฉพาะหนุ่มสาว คณะพุทธบริษัทเหล่านี้พยายามเผยแผ่ตาสนาตา,Jสังตข

ด้านต่างๆ อย่างใกสัชิต และสะดวกกว่าพระสงฆ์ เพราะไม่ด้องเตร่งดรัตใน

สมณสารูปเหมอนพระ สามารถเผยแผ่ธรรมได้ทุกกาละแaะ;เวฐา และตน

เหล่านี้ก็ปรารถนาโพธิญาณเช่นกัน

ttw^innrvw^ แด่

๑. '^จวฑกอว่าการบT5ลพระอรหนดเปีนสงสูงสดของชุค

The History of Buddhism \n India

ฝ่ายมหายานถอว่าศภาวะการเขาถงความเป็นพระโพธสควสำค'ญกว่าพระ

อรห้นฟ้"

to. เทรวาทเนนให้ขาวทุฑธพึ่งตนเองเป็นสำคญ พระทุฑธองคเป็นผู้ ชี๋ฑางเท่านั้น ส่วนมหายานไต้อนุญาตให้ออนวอนพระพุทธองค์และพระ

โพธส้ดว์ต่างๆ ไต้ บางนํกายมหายานถือว่าเพึ่ยงระรกถงพระโพธสัตว์ก

สามารถพ้นทุกข์ไต้

๓. เถรวาทเป็นอเทวนยมคือไม่นบถือพระเจาเป็นผู้สราง เชื่อไนกฎ

แห่งกรรม ส่วนมหายานพ้ฒนาเฃ้าใกล้ศาสนาพราหมท!และเทวนํยมมาก

ขน โตยถือว่าพระอาทิพุทธเป็นพุทธะที่สูงสุด ทรงดลบันดาลให้ทุกสงเป็น ไป แมแต่พระพุทธองค์กเป็นภาคหนึ่งของพระอาทิพุทธ

๔. เถรวาทรักษาความเดิมของคำสอนทุกประการ ไม่นยมเปลี่ยน

แปลงคำสอน แม้ภาษากใข้ภาษาเดิมจารกคือ บาล ส่วนมหายานปรับปรุง

เปลี่ยนแปลงคำสอนไปมาก และแต่งค้มภีรจบใส่พระโอษฐ์อยู่เสมอ ภาษา

เบึ้องต้นใชสันสกฤต ก่อนจะใช้ภาษาถนของตนในลำต้บต่อมา ๕. เถรวาทม่งช่วยตนเองให้พ้นส้งสารวัฏ^ก่อนช่วยผู้อน แต่ฝ่าย

มหายานเนนช่วย^นก่อน ส่วนตนนั้นจะตามไปภายหลัง จงเรัยกยานของ

ตนว่ามหายาน เรยกเถรวาทว่าหนยาน แปลว่ายานเลก หรือยานเลว

๖. เถรวาทไม่มุ่งเน้นการฉันม้งสวรัดิ คืออาหารเว์นจากเนึ่อลัตว์ ยก เว์นเนึ่อที่พระพุทธองค์ห้ามไว์ เพราะถือว่าทำตนไห้เลี้ยงง่าย แต่มหายาน ถือว่าการทานม้งสวร้ตเป็นลี่งที่จำเป็นยิ่ง พวกเขาถือว่าผู้ที่จะช่วยเหรอ ลัตว์ต้องไม่มเนั้อของลัตว่ไนทองของผู้มาช่วยเหรอ

๗. เถรวาทถือว่าพระศากยมน้พุทธ พระโอรสพระเจ้าสุทโธทไ;ะ

เป็นองค์สูงสุด เป็นผู้ก่อตั้งศาสนาพุทธ แต่มหายานไต้ยกฐานะพระพุทธเจ้า

หลายพระองค์ให้เทิยมเต่นกับพระองค์ และบางพระองค์กดิเด่นยิ่งกว่าเสีย

อก พระพุทธเจ้าที่มหายานยกย่องขน เช่น พระอมดาภพุทธะ พระม้ญชศรื

* ว?เน รนทเทะ. ประวัลสาส#แทุทธศว■นา. {wwnffirjfi ta, กรุงเทพฯ ; เราญกํจ. torfmrf). หนัา