เฉลยท ายหน วยท 8.1 การส บพ นธ ของพ ชดอก ม.5

เฉลยท ายหน วยท 8.1 การส บพ นธ ของพ ชดอก ม.5

แชร์งานครู Teachers Sharing Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา3

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา3 คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ ชีววิทยา

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3 ตามผลเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมชีววิทยา3

แผนการจดั การเรยี นรู้

วิชาชวี วิทยา 3 ว32243 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 เร่อื ง การสบื พันธ์ุของพชื ดอก ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นหนองวัวซอพิทยาคม

นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ รหสั ประจาตวั นักศกึ ษา 61100147112

นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิทยาศาสตร์ (เนน้ ชวี วทิ ยา)

การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 รหัสวชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

แผนการจดั การเรียนรู้

วชิ าชวี วิทยา 3 ว32243 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหนองวัวซอพิทยาคม

นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ รหสั ประจำตัวนักศึกษา 61100147112 นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ สาขาวทิ ยาศาสตร์ (เนน้ ชีววิทยา)

การฝกึ ปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา 1 รหสั วชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

คำนำ

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว32243 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เล่ม 3 น้ี จดั ทำข้ึนเพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพ และใหน้ ักเรยี น บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้ เทคนิค วิธีการสอน การวัดและประเมินผล มาจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ในครั้งน้ี แผนการจัดการเรียนรู้ในเล่ม 1 น้ี ประกอบไปด้วย ความสำคัญของวิทยาศาสตร์ เป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ คุณภาพผเู้ รยี นเมอื่ จบชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์สำคัญของผู้เรียน ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างกำหนดการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ มาตรฐานการเรยี นรู้ได้เตม็ ศักยภาพอยา่ งแทจ้ ริง

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการ เรยี นการสอนรายวชิ าชีววิทยา 3 นำไปส่กู ารพฒั นาทถ่ี กู ต้องและเกิดผลแกผ่ ูเ้ รยี นเป็นอยา่ งดี

ธญั ญาเรศ ทบอาจ 8 ตุลาคม 2565

สารบญั เรือ่ ง หน้า

คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบญั …………………………………………………………………………………………………………………………… ข หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์………………………………………………………………………………………. ค

ความสำคัญของวทิ ยาศาสตร์……………………………………………………………………………… ค เป้าหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์……………………………………………… ค สาระและมาตรฐานการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์………………………………………………………….. ง คุณภาพของผูเ้ รียนวทิ ยาศาสตร์ เมอื่ จบช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6…………………………………. ช สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน………………………………………………………………………………... ซ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียน………………………………………………………………….. ฌ ผลการเรยี นรแู้ ละสาระการเรียนรู้แกนกลาง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5………………………….. ญ คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เตมิ ………………………………………………………………………………………….. ฏ โครงสรา้ งรายวิชา…………………………………………………………………………………………………….. ฒ โครงสร้างกำหนดการสอน………………………………………………………………………………………….. ต หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 เรอื่ ง การสืบพนั ธข์ุ องพชื ดอก แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง โครงสร้างของดอกและชนดิ ของผล…………………………… 1 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรอ่ื ง วฏั จกั รชีวิตแบบสลบั ของพชื ดอก…………………………….. 20 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง การสร้างไมโครสปอรแ์ ละเมกะสปอร์

และการสร้างเซลล์สบื พนั ธุ์……………………………………………………………………………… 36 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรื่อง การปฏิสนธคิ ่ขู องพืชดอก……………………………………….. 53 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 5 เร่ือง การเกิดผลและเมลด็ ……………………………………………… 69 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 6 เร่ือง การใช้ประโยชนจ์ ากโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของผลและเมลด็ …......................................................................................................................... 83

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ความสำคัญของวทิ ยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์มบี ทบาทสำคัญยิ่งในสงั คมโลกปัจจุบนั และอนาคต เพราะวทิ ยาศาสตรเ์ ก่ียวข้อง กับชีวิตของทุกคนทั้งในการดำรงชีวติ ประจำวันและในงานอาชีพต่างๆ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจน ผลผลิตต่างๆ เพื่อใช้อำนวยความสะดวกในชีวติ และการทำงาน ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกบั ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละศาสตรอ์ น่ื ๆ ความรู้วทิ ยาศาสตรช์ ว่ ยให้เกดิ การพัฒนาเทคโนโลยี อยา่ งมาก พรอ้ มกนั นนั้ เทคโนโลยกี ็มีสว่ นสำคัญมากท่ีจะใหก้ ารศกึ ษาค้นคว้าความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพม่ิ ขน้ึ อย่างไม่หยุดย้ัง

วทิ ยาศาสตรท์ ำให้คนได้พัฒนาวธิ ีคิด ทัง้ ความคิดเป็นเหตุเปน็ ผล คิดสรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะห์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของ โลกสมัยใหม่ ซง่ึ เป็นสงั คมแห่งความรู้ ทุกคนจงึ จำเปน็ ต้องได้รับการพฒั นาใหร้ ู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะ มีความรู้ความเข้าใจโลกธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น และนำความรู้ไปใช้อย่างมี เหตุผล สร้างสรรค์ มีคุณธรรม ความรู้วิทยาศาสตร์ไม่เพียงแต่นำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี แต่ยังช่วยให้คนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกตอ้ งเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ การดูแลรักษา ตลอดจนการ พัฒนาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน และที่สำคัญยิ่งคือ ความรู้ วิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ สามารถแข่งขันกับนานาประเทศและ ดำเนินชีวิตรว่ มกนั ในสังคมโลกได้อย่างมคี วามสุข

เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผ้เู รยี นได้คน้ พบความรดู้ ว้ ยตนเองมากท่สี ดุ เพ่อื ให้ ได้ทั้งกระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกต การสำรวจคำตอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้ม า จัดระบบเป็นหลักการ แนวคดิ และองคค์ วามรู้ ซ่งึ การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มีเป้าหมาย ดังน้ี (กรมวิชาการ, 2546:4)

1. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎที่เปน็ พื้นฐานในวิชาวิทยาศาสตร์

2. เพื่อให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และข้อจำกัดในการศึกษา วทิ ยาศาสตร์

3. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะท่ีสำคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคน้ หาทางเทคโนโลยี

4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ สภาพแวดล้อม ในเชงิ ที่มีอทิ ธพิ ลและผลกระทบซ่งึ กันและกัน

5. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชวี ติ

6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัด การทักษะในการสือ่ สาร และความสามารถในการตัดสนิ ใจ

7. เพื่อให้ผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใชว้ ิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กบั สงิ่ มชี วี ติ และความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชวี ติ กบั สงิ่ มีชวี ิตต่าง ๆ ในระบบนเิ วศการถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หา สง่ิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ี ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์ กัน รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปลยี่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมท่ีมีผลต่อสิ่งแวดล้อมความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลือ่ นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธร์ ะหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี เก่ยี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และ การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวน การเปลีย่ นแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณพี บิ ัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและ ภมู ิอากาศโลก รวมทงั้ ผลตอ่ สงิ่ มชี วี ติ และส่งิ แวดล้อม

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และส่ิงแวดล้อม

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการ แก้ปญั หาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม

สาระวทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเติม วิทยาศาสตรเ์ พ่ิมเติม ผู้เรียนจะได้เรยี นรูส้ าระสำคัญ ดังนี้ สาระท่ี 4 สาระชีววิทยา 1. เข้าใจธรรมชาติของส่งิ มีชีวิต การศึกษาชวี วทิ ยาและวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรส์ ารที่เป็น

องคป์ ระกอบของสง่ิ มชี ีวติ ปฏกิ ิริยาเคมีในเซลลข์ องสงิ่ มชี วี ิตกลอ้ งจุลทรรศน์ โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องเซลล์ การ ลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลลก์ ารแบ่งเซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์

2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหนา้ ท่ี ของสารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐานข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์กการเกิดสปีชีส์ใหม่ ความหลากหลายทาง ชีวภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์

3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสัตว์และมนษุ ย์ การหายใจและการแลกเปล่ยี นแก๊สการลำเลียง สารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การ เคลื่อนท่ี การสบื พนั ธุ์และการเจริญเตบิ โต ฮอรโ์ มนกับการรกั ษาดุลยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

5. เข้าใจแนวคดิ เกี่ยวกบั ระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวียนสารใน ระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนทีข่ องสิง่ มชี ีวิตในระบบนิเวศ ประชากร และรูปแบบการเพิ่มของประชากรทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาและผลกระทบที่เกิด จากการใช้ประโยชน์และแนวทางการแก้ไขปญั หา

สาระที่ 5 สาระเคมี

1. เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตพุ นั ธะเคมีและสมบัติ ของสาร แก๊สและสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้ัง การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และ เซลลเ์ คมีไฟฟ้า รวมทง้ั การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

3. เข้าใจหลักการทำปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคำนวณปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทกั ษะใน การอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวันและการแก้ปญั หาทางเคมี

สาระท่ี 6 สาระฟิสกิ ส์

1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรงแรงและกฎ การเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการ อนุรักษพ์ ลังงานกล โมเมนตมั และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตัม การเคลอื่ นที่แนวโค้ง รวมทัง้ นำความรู้ไป ใช้ประโยชน์

2. เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยิน ปรากฏการณท์ ่เี ก่ียวข้องกบั เสยี ง แสงและการเหน็ ปรากฏการณ์ท่เี ก่ียวข้องกับแสง รวมท้ังนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์

3. เขา้ ใจแรงไฟฟา้ และกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักยไ์ ฟฟ้า ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้าและ กฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้าการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น พลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทำกับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนำ

แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าและการสื่อสาร รวมทั้งนำ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสารสภาพ ยืดหยุน่ ของวสั ดแุ ละมอดลุ ัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอารค์ มิ ดี ิส ความตึงผิว และแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส อุดมคติและพลังงานในระบบทฤษฎีอะตอมของโบว์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่น และอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสิกส์อนุภาค รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 7 สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

1. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิตและ สงิ่ แวดลอ้ มรวมทั้งการศกึ ษาลำดบั ชน้ั หิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนำไปใช้ประโยชน์

2. เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของน้ำใน มหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมท้ัง การพยากรณอ์ ากาศ

คณุ ภาพของผเู้ รียนวทิ ยาศาสตร์ เมอื่ จบชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6

ผเู้ รยี นทีเ่ รียนครบทกุ ผลการเรยี นรู้ มคี ณุ ภาพดงั น้ี

1. เขา้ ใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่าง ๆ ของสง่ิ มชี ีวิต ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวิตใน ระบบนเิ วศ และความหลากหลายของทรพั ยาธรรมชาติทีพ่ บในระดับประเทศ

2. เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและกรทำให้สาร เกิดการเปลี่ยนแปลง การเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมขี องสาร การแยกสารอยา่ งงา่ ย และสารในชวี ิตประจำวัน

3. เข้าใจลักษณะของแรงประเภทต่าง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการ เบ้อื งต้นของแรงพยุง ส่วนประกอบและหน้าที่ของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า การถา่ ยโอนพลังงาน กลทเี่ กดิ จากแรงเสียดทานเปน็ พลงั งานอื่น สมบัติและปรากฏการณ์เบ้อื งตน้ ของเสียงและแสง

4. เข้าใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจำแนกประเภทของกลุ่มดาว ความสัมพันธ์ของ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความก้าวหน้าเทคโนโลยี อวกาศ

5. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของดิน น้ำ และบรรยากาศ และปัจจัยท่ีมีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงของผิวโลก การเกิดลมบก ลมทะเล ผลกระทบที่เกิดจากธรณีพิบัติภัยและ ปรากฏการณ์เรือนกระจก

6. ตั้งคำถาม หรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้ หรือตามความสนใจ คาดคะเน คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถาม หรือปัญหาที่จะสำรวจ ตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทั้งเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ

7. ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสทิ ธภิ าพและประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือ ตดั สินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผล เชิงตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทำงานร่วมกนั เข้าใจสิทธิ และหน้าทีข่ องตน เคารพสทิ ธิของผอู้ น่ื

8. วเิ คราะห์ขอ้ มูล ลงความเหน็ และสรุปความสมั พนั ธ์ของข้อมูลทีม่ าจากการสำรวจตรวจสอบ ในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลักฐาน อา้ งอิง

9. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา ตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเหน็ ของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มหี ลกั ฐานอ้างอิง และรับ ฟงั ความคิดเหน็ ผอู้ ืน่

10. แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซือ่ สตั ย์ จนงานลุลว่ งเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่นอย่างสรา้ งสรรค์

11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวน การ ทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงำนของผู้คิดค้น และศึกษาหาร้เู พมิ่ เติม ทำโครงงาน หรอื ชิ้นงานตามทก่ี ำหนดให้หรือตามความสนใจ

12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอย่างรู้คุณคา่

สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมงุ่ พฒั นาผเู้ รียน ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการพฒั นาผเู้ รยี นให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี ำหนดนั้น จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการดงั นี้

  1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรูค้ วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพ่อื แลกเปลี่ยน

ขอ้ มูลขา่ วสาร และประสบการณอ์ ันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจา ตอ่ รองเพอ่ื ขจัดและลดปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลอื กรับหรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสังคม

  1. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้าง องคค์ วามรหู้ รือสารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
  1. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพนั ธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คมแสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม
  1. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และ การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม และการรูจ้ กั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
  1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้าน การเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เพือ่ ใหส้ ามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อ่ืนในสังคมได้อยา่ งมีความสุขbในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

  1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
  1. ช่อื สัตยส์ ุจริต
  1. มีวนิ ยั
  1. ใฝ่เรียนรู้
  1. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
  1. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

  1. รักความเปน็ ไทย
  1. มีจติ สาธารณะ

ผลการเรยี นรู้และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5

1. อธบิ ายวัฏจกั รชวี ิตแบบสลับของพืชดอก 2. อธิบายและเปรียบเทยี บกระบวนการสร้างเซลล์สบื พนั ธุ์เพศผู้และเพศเมยี ของพชื ดอกและ อธิบายการปฏิสนธขิ องพืชดอก 3. อธบิ ายการเกดิ เมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสรา้ งของเมล็ดและผล และยกตัวอย่างการใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสรา้ งต่าง ๆ ของเมลด็ และผล 4. อธบิ ายเกีย่ วกบั ชนิดและลกั ษณะของเนือ้ เยอ่ื พชื และเขยี นแผนผังเพ่อื สรปุ ชนดิ ของเน้อื เยือ่ พชื 5.สังเกตอธิบายและเปรยี บเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเด่ยี วและรากพืชใบเลย้ี ง คจู่ ากการตดั ตามขวาง 6. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลำตน้ พชื ใบเล้ยี งเดี่ยวและลำตน้ พืช ใบเลี้ยงคู่จากการตดั ตามขวาง 7. สงั เกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพชื จากการตัดตามขวาง 8. สืบค้นข้อมูลและอธบิ ายกลไกการลำเลยี งนำ้ และธาตุอาหารของพืช 9. สบื ค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปล่ยี นแก๊สและการคายน้ำของพชื 10. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายความสำคญั ของธาตุอาหาร และยกตวั อยา่ งธาตอุ าหารท่ีสำคญั ท่มี ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช 11. อธบิ ายกลไกการลำเลยี งอาหารในพชื 12. สืบคน้ ขอ้ มูลและสรุปการศกึ ษาท่ไี ด้จากการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตร์ในอดตี เกย่ี วกับ กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 13. อธบิ ายขั้นตอนทเี่ กิดข้นึ ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื C3 14. เปรียบเทยี บกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และ พืช CAM 15. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ รายและสรปุ ปัจจัยความเข้มแสง ความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ และอณุ หภมู ทิ มี่ ีผลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื 16. สบื ค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหนา้ ที่ของออกซนิ ไซโทไคนนิน จิบเบอเรลลิน เอทลิ ีน และกรดแอบไซซกิ และอภปิ รายเกีย่ วกับการนำไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร 17. ทดลอง และอธบิ ายเกยี่ วกบั ปจั จยั ต่าง ๆ ทีม่ ีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตวั ของเมลด็ และบอกแนวทางในการแกส้ ภาพพกั ตัวของเมลด็

18. สบื ค้นข้อมูล ทดลอง และอภปิ รายเกี่ยวกับสิง่ เร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช

รวมทงั้ หมด 18 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์

ว 32243 ชีววทิ ยา 3 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษาเกย่ี วกับวัฏจกั รชวี ติ แบบสลบั ของพชื ดอก กระบวนการสรา้ งเซลล์สบื พันธ์ุเพศผ้เู พศเมีย และการปฏิสนธิของ พืชดอก การเกิดและโครงสร้างของเมล็ดและผล ศึกษาชนิดและลักษณะของ เน้ือเย่อื พืช โครงสรา้ งภายในของราก ลาํ ตน้ และใบของพชื ศกึ ษาการแลกเปลยี่ นแกส๊ และการคายน้ำ

ของพืช กลไกการลาํ เลียงน้ำ ธาตอุ าหาร และอาหารในพืช ศกึ ษา การทดลองของนักวิทยาศาสตร์ใน อดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 การตรึง

คาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และพืช CAM ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช รวมท้ังศึกษา สภาพพักตัวของเมล็ดและปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ การงอกของเมล็ด ส่ิงเร้าภายในและภายนอก ทีม่ ผี ลต่อการเจริญเติบโตของพชื และการนําไปใช้ประโยชนท์ างการเกษตร

โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วเิ คราะห์ เปรียบเทียบ อธบิ าย อภปิ ราย และสรปุ

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏบิ ัติการ ทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิด และแก้ปัญหา ด้านการส่อื สาร สามารถส่อื สารสงิ่ ท่ีเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตของตนเอง มีจิต

วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายวฏั จักรชวี ิตแบบสลับของพชื ดอก 2. อธบิ ายและเปรียบเทยี บกระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศผู้และเพศเมยี ของพืชดอกและ

อธิบายการปฏิสนธขิ องพชื ดอก 3.อธบิ ายการเกิดเมล็ดและการเกดิ ผลของพชื ดอกโครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่าง

การใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเมล็ดและผล 4.อธิบายเกี่ยวกบั ชนิดและลกั ษณะของเนอื้ เยอ่ื พชื และเขยี นแผนผงั เพ่อื สรุปชนิดของเนื้อเยือ่

พืช

5.สงั เกตอธบิ ายและเปรยี บเทยี บโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพชื ใบเล้ยี ง คจู่ ากการตัดตามขวาง

6. สงั เกต อธบิ าย และเปรียบเทยี บโครงสรา้ งภายในของลำตน้ พืชใบเลยี้ งเดย่ี วและลำต้นพืช ใบเลยี้ งคู่จากการตัดตามขวาง

7. สังเกต และอธิบายโครงสรา้ งภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง

8. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายกลไกการลำเลยี งน้ำและธาตอุ าหารของพืช 9. สืบค้นข้อมูล สงั เกต และอธิบายการแลกเปลย่ี นแกส๊ และการคายนำ้ ของพืช

10. สบื คน้ ข้อมูล อธิบายความสำคัญของธาตุอาหาร และยกตัวอยา่ งธาตุอาหารท่ีสำคญั ทมี่ ผี ล ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื

11. อธิบายกลไกการลำเลยี งอาหารในพืช 12. สบื ค้นขอ้ มูลและสรปุ การศึกษาทีไ่ ด้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดตี เก่ียวกับ

กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 13. อธบิ ายขน้ั ตอนทเ่ี กดิ ขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื C3 14. เปรียบเทยี บกลไกการตรงึ คาร์บอนไดออกไซดใ์ นพืช C3 พืช C4 และ พชื CAM 15. สบื ค้นข้อมูล อภปิ รายและสรุปปจั จยั ความเข้มแสง ความเขม้ ข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์

และอุณหภมู ิทีม่ ผี ลต่อการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 16. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ ายบทบาทและหน้าที่ของออกซนิ ไซโทไคนนนิ จิบเบอเรลลิน เอทิลนี และกรดแอบไซซกิ และอภิปรายเกยี่ วกบั การนำไปใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร 17.ทดลองและอธิบายเกยี่ วกบั ปัจจยั ต่าง ๆ ท่มี ีผลตอ่ การงอกของเมล็ด สภาพพกั ตัวของเมลด็ และบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมล็ด 18.สบื คน้ ขอ้ มูลทดลองและอภปิ ราย เก่ยี วกับสิ่งเรา้ ภายนอกที่มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช

รวมทง้ั หมด 18 ผลการเรียนรู้

เงอ่ื นไขการผ่านการวดั ประเมินผลการเรียน รายวิชาชีววิทยา3 (ว32243)

การตดั สินผลการเรยี น กำหนดเกณฑ์การวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นร้เู พอ่ื ตดั สินผลการเรยี น ดังนี้ ๑. ตดั สนิ ผลการเรยี น โดยใชผ้ ลการประเมินระหวา่ งภาคและปลายภาค นักเรยี นตอ้ งมีเวลาเรยี น ตลอดภาคเรยี น ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทงั้ หมดในรายวิชานนั้ ๆ ๒. นกั เรียนตอ้ งได้รับการประเมนิ ทกุ ตัวชีว้ ดั โดยแต่ละตัวชว้ี ดั ตอ้ งผ่านรอ้ ยละ ๕๐ หรอื มีระดับ คุณภาพ ๑.๐ ขึน้ ไป โดยการประเมนิ ผลการเรียนสาระการเรียนรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ๕ เปน็ ไปตามที่กำหนดไวใ้ นหลักสูตร สถานศกึ ษา ตดั สนิ ผลการประเมนิ เป็นระดบั ผลการเรียน ๘ ระดบั ดังน้ี

“ ๔” หมายถงึ ผลการเรยี นดีเย่ียม ผลการประเมินรอ้ ยละ ๘๐ -๑๐๐ “ ๓.๕ ” หมายถึง ผลการเรยี นดมี าก ผลการประเมนิ ร้อยละ ๗๕ –๗๙ “ ๓ ” หมายถงึ ผลการเรยี นดี ผลการประเมินร้อยละ ๗๐–๗๔ “ ๒.๕” หมายถึง ผลการเรยี นค่อนขา้ งดี ผลการประเมนิ รอ้ ยละ ๖๕ –๖๙ “ ๒” หมายถงึ ผลการเรียนน่าพอใจ ผลการประเมินร้อยละ ๖๐ –๖๔ “ ๑.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นพอใช้ ผลการประเมนิ รอ้ ยละ ๕๕ –๕๙ “ ๑” หมายถงึ ผลการเรยี นผา่ นเกณฑข์ ั้นตำ่ ผลการประเมนิ รอ้ ยละ ๕๐ –๕๔ “ ๐” หมายถงึ ผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑข์ ั้นตำ่ ผลการประเมนิ ต่ำกวา่ ร้อยละ ๕๐ “ ร” หมายถงึ รอการตัดสนิ ผล หรอื ยงั ตัดสนิ ผลไม่ได้ “ มส” หมายถึง ไม่มีสิทธิเ์ ข้ารบั การประเมินผลปลายภาค นักเรียนท่ีไดร้ ับการตดั สนิ “ ๐” “ ร”หรือ “ มส”ต้องได้รบั การ ซอ่ มเสริมและแก้ไขทดแทน จนผ่าน เกณฑ์ขั้นต่ำ ๓. นกั เรียนต้องได้รับการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น โดยมีผลการประเมินในระดบั “ ผ่าน ” ๔. นกั เรียนต้องได้รับการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยมีผลการประเมนิ ในระดับ “ ผ่าน ”

โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชา ชวี วิทยา 3 รหัสวิชา ว32243

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 60 ช่วั โมง (3 ชั่วโมง/สัปดาห)์ จำนวนหนว่ ยกติ 1.5 หน่วยกติ อตั ราสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค 70 : 30

เวลา คะแนน (ช่ัว หน่วย ช่อื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ภาระงาน/ โมง) ก่อน กลาง หลงั ปลาย ท่ี การเรียนรู้ ชน้ิ งาน กลาง ภาค กลาง ภาค ภาค ภาค

1 การ สาระชวี วทิ ยาข้อ3 ม.5/1-3 10 12 7

สืบพนั ธ์ุ 1. อธิบายวัฏจักรชีวติ แบบสลับของพืชดอก - แบบ (2) (1) - - ของพชื 2. อธบิ าย และเปรยี บเทียบกระบวนการ ฝึกหัด (6) (3) - - ดอก สร้างเซลลส์ ืบพนั ธุเ์ พศผแู้ ละเพศเมีย

ของพชื ดอก และอธิบายการปฏิสนธิ

ของพืชดอก -แบบ (4) (3) - - 3. อธิบายการเกดิ เมลด็ และการเกดิ ผลของ ฝึกทักษะ พืชดอกโครงสรา้ งของเมล็ดและผล และ

ยกตวั อยา่ งการใช้ประโยชนจ์ ากโครงสรา้ ง

ต่าง ๆ ของเมลด็ และผล

2 โครงสร้าง สาระชวี วิทยาขอ้ 3 ม.5/4-7 -สรุปองค์ 17 13 13 2 (7) (7) (2) - และการ 4. อธบิ ายเกยี่ วกับชนิดและลกั ษณะของ ความร้เู ป็น - - เจริญของ เนอ้ื เยื่อพชื และเขยี นแผนผังเพอ่ื สรุปชนดิ แผนผงั - พืชดอก ของเนอื้ เยื่อพชื ความคิด

5. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบ - แบบ (2) (2) - โครงสรา้ งภายในของรากพืชใบเลย้ี งเดีย่ ว ฝกึ หัด และรากพชื ใบเลยี้ งคจู่ ากการตัดตามขวาง

6. สงั เกต อธิบาย และเปรียบเทียบ -แบบ (2) (2) -

โครงสรา้ งภายในของลำตน้ พชื ใบเลี้ยงเดี่ยว ฝึกทกั ษะ

และลำตน้ พืชใบเลยี้ งคู่จากการตดั ตามขวาง

7. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างภายในของ (2) (2) - ใบพชื จากการตัดตามขวาง

รวมคะแนนสอบกลางภาคเรยี น 20

เวลา คะแนน (ช่วั หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ ภาระงาน/ โมง) ก่อน กลาง หลัง ปลาย ท่ี การเรยี นรู้ ช้นิ งาน กลาง ภาค กลาง ภาค ภาค ภาค

3 การ สาระชวี วิทยาขอ้ 3 ม.5/8-11 9 87 ลำเลยี ง 8. สบื คน้ ขอ้ มูล สงั เกต และอธิบายการ ของพชื แลกเปล่ยี นแก๊สและการคายน้ำของพชื - แบบ - - (2) (2)

9. สบื ค้นขอ้ มูล และอธิบายกลไกการ ฝึกหดั - - (2) (2) ลำเลยี งน้ำและธาตุอาหารของพืช -แบบ 10. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายความสำคญั ของ ฝึกทกั ษะ - - (2) (2)

ธาตุอาหารและยกตวั อย่างธาตุอาหารที่

สำคญั ที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช - - (2) (1) 11. อธิบายกลไกการลำเลยี งอาหารในพืช

4 การสงั สาระชีววิทยาขอ้ 3 ม.5/12-15 - แบบ 14 15 8

เคราะห์ 12. สืบคน้ ขอ้ มูล และสรปุ การศกึ ษาท่ไี ด้ ฝกึ หดั - - (4) (2)

ด้วยแสง จากการทดลองของนักวทิ ยาศาสตรใ์ นอดีต -แบบ - - (6) (2) เกยี่ วกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ฝึกทกั ษะ 13. อธบิ ายข้นั ตอนท่ีเกดิ ขน้ึ ใน กระ

บวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื C3

14. เปรียบเทยี บกลไกการตรงึ - - (2) (2) คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นพืช C3พืช C4 และ

พชื CAM - - (3) (2) 15. สืบค้นขอ้ มูล อภปิ ราย และสรปุ ปัจจยั

ความเขม้ ของแสง ความเข้มข้นของ

คาร์บอนไดออกไซด์ และอุณหภูมิทมี่ ผี ลต่อ

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื

เวลา คะแนน (ช่วั หนว่ ย ชื่อหนว่ ย มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ ภาระงาน/ โมง) ก่อน กลาง หลงั ปลาย ที่ การเรียนรู้ ชิน้ งาน กลาง ภาค กลาง ภาค ภาค ภาค -รายงาน 5 การควบ สาระชีววิทยาข้อ3 ม.5/16-18 1 ชิ้น 9 15 คุมการ 16. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบายบทบาท และ - - - (8)

เจริญเติบ หนา้ ที่ของออกซิน ไซโทไคนนิ จิบเบอ โต เรลลิน เอทิลีนและกรด แอบไซซิก และ และการ ตอบสนอง อภิปรายเก่ียวกับการนำไปใชป้ ระโยชน์ - แบบ ของพืช ทางการเกษตร ฝึกหัด

ดอก 17. ทดลอง และอธิบายเกีย่ วกับปัจจยั ตา่ ง - - - (3) ๆ ที่มีผลตอ่ การงอกของเมล็ด สภาพพัก

ตวั ของเมลด็ และบอกแนวทางในการแก้

สภาพพกั ตวั ของเมล็ด -แบบ - - - (4) 18. สบื ค้นขอ้ มูล ทดลอง และอภปิ ราย ฝกึ ทักษะ เกยี่ วกับส่งิ เรา้ ภายนอกท่มี ผี ลต่อการ

เจรญิ เติบโตของพืช

รวมคะแนน 25 20 25 30

รวมคะแนนทง้ั ส้นิ 100

กำหนดการสอน ภาคเรยี นที่ 1/2565

รายวชิ าชีววิทยา 3 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/2

โรงเรียนหนองวัวซอพิทยาคม โดยคุณครธู ญั ญาเรศ ทบอาจ

สัปดาห์ สาระการเรยี นรู้/เนื้อหา ชัว่ โมง หมายเหตุ

1 บทที่ 8 การสืบพันธ์ขุ องพืชดอก

เรื่องที่ 1 โครงสร้างของดอกและชนดิ ของผล 3

2 เรื่องที่ 2 วัฏจักรชวี ิตแบบสลับของพืชดอก 1

เรื่องที่ 3 การสร้างไมโครสปอรแ์ ละเมกะสปอร์ และการสรา้ งเซลล์ 2

สบื พนั ธุ์

3 เรื่องที่ 4 การปฏิสนธิคู่ของพืชดอก 1

เร่ืองที่ 5 การเกิดผลและเมล็ด 1

เรอ่ื งที่ 6 การใช้ประโยชน์จากโครงสร้างต่าง ๆ ของผลและเมล็ด 1

4 เร่ืองท่ี 6 การใช้ประโยชน์จากโครงสรา้ งต่าง ๆ ของผลและเมล็ด 1

บทที่ 9 โครงสรา้ งและการเจรญิ เติบโตของพชื ดอก

เรื่องท่ี 1 เน้อื เย่ือพชื 2

5 เรอ่ื งที่ 2 โครงสร้างภายนอกและหนา้ ทีข่ องรากพืชดอก 3

6 เรื่องท่ี 3 โครงสรา้ งภายในของรากพชื ใบเลี้ยงคู่และรากพชื ใบเลย้ี ง 3

เด่ยี ว

7 เร่อื งที่ 4 โครงสร้างภายนอกหนา้ ที่ของลำตน้ พชื ดอก 2

เรื่องที่ 5 โครงสรา้ งภายในของลำตน้ พืชใบเลีย้ งคู่และลำต้นพชื ใบ 1

เลยี้ งเดี่ยว

8 เรอื่ งท่ี 5 โครงสรา้ งภายในของลำต้นพชื ใบเลี้ยงคู่และลำตน้ พืชใบ 2

เลยี้ งเดยี่ ว

เรื่องที่ 6 เร่ือง โครงสร้างและการเจรญิ เตบิ โตของใบ 1

9 เรอ่ื งที่ 6 เรอื่ ง โครงสร้างและการเจรญิ เตบิ โตของใบ 3

10 สอบกลางภาค 3

11 บทท่ี 10 การลำเลยี งของพืช

เรอ่ื งท่ี 1 การลำเลยี งนำ้ 2

เร่อื งท่ี 2 การแลกเปล่ียนแก๊สและการคายนำ้ 1

12 เรอ่ื งท่ี 2 การแลกเปลยี่ นแกส๊ และการคายนำ้ 1

เรื่องที่ 3 การลำเลยี งธาตอุ าหาร 1

เรอ่ื งที่ 4 การลำเลียงอาหาร 1

สปั ดาห์ สาระการเรยี นร/ู้ เน้ือหา ชั่วโมง หมายเหตุ

13 บทที่ 11 การสงั เคราะห์ด้วยแสง 1 เรอ่ื งที่ 1 การศึกษาที่เกยี่ วกับการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 2 14 เรอื่ งท่ี 2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (พลงั งานแสง 15 และสารส)ี 2 เรื่องที่ 3 กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื (ปฏิกิรยิ าแสง) 1 16 เรื่องที่ 4 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (การตรึง 17 คาร์บอน) 1 เรอ่ื งที่ 4 กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื (การตรึง 18 คาร์บอน) 1 19 เรอ่ื งท่ี 5 โฟโตเรสไพเรชัน 1 20 เร่ืองท่ี 6 การเพิ่มความเข้มขน้ ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 1 รวม 20 เรื่องท่ี 6 การเพมิ่ ความเขม้ ข้นของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 2 สปั ดาห์ เรอ่ื งท่ี 7 ปัจจยั บางประการทม่ี ผี ลต่อการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 2 เรื่องที่ 8 ปจั จัยจำกัดและปัจจยั ของสง่ิ แวดลอ้ มท่ีมีผลตอ่ กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง 1 บทท่ี 12 การควบคุมการเจริญเติบโตและการตอบสนองของพชื 2 เรื่องที่ 1 ฮอรโ์ มนของพืช 1 1 เรื่องที่ 1 ฮอร์โมนของพืช 1 เรือ่ งท่ี 2 ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด 1 เรอ่ื งท่ี 2 ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ การงอกของเมล็ด 3 เรอ่ื งที่ 3 การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคลอ่ื นไหว 60 เรื่องที่ 4 การตอบสนองต่อภาวะเครยี ด สอบปลายภาค

รวม 20 คาบ

1

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 รายวิชา ชีววทิ ยา 3 รหสั ว 32243 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 การสบื พนั ธุข์ องพืชดอก เวลา 10 ชว่ั โมง เรือ่ ง โครงสรา้ งของดอกและชนดิ ของผล เวลา 3 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1/2565 ครผู ูส้ อน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้ สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพชื รวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล และ ยกตวั อยา่ งการใช้ประโยชน์จากโครงสรา้ งต่างๆ ของเมล็ดและผล

2. สาระสำคัญ ดอกโดยท่วั ไปมีส่วนประกอบ 4 ชนั้ คอื ช้ันกลบี เลยี้ ง ชัน้ กลบี ดอก ชน้ั เกสรเพศผแู้ ละชั้นเกสร

เพศเมียอาจจำแนกประเภทของดอกได้โดยใช้เกณฑ์ที่เป็นส่วนประกอบของดอกตำแหน่งรงั ไข่ หรือ จำนวนดอกที่อยู่บนก้านดอกส่วนประกอบของดอก ที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์โดยตรง คือชั้นเกสร เพศผ้แู ละช้นั เกสรเพศเมียซง่ึ จำนวนรงั ไขเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การเจรญิ เปน็ ผลชนดิ ตา่ ง ๆ

3. สาระการเรียนรู้ - โครงสร้างของดอก - โครงสร้างของเมลด็ และผล

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ (K) 1. นักเรียนอธบิ ายโครงสร้างของดอกและชนดิ ของผลได้ 2. นกั เรยี นอธบิ ายเก่ยี วกับจำนวนรงั ไข่และการเจรญิ เปน็ ผลชนดิ ตา่ ง ๆ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) นกั เรยี นสามารถสบื คน้ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนรงั ไขแ่ ละการเจริญเป็นผลชนดิ ต่าง ๆ

2

3. ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) นกั เรยี นมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานที่ได้รบั มอบหมาย

5. กจิ กรรมการเรียนรู้ รูปแบบการสอนที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

ชั่วโมงท่ี 1 – 2 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement)

1.1 นกั เรยี นดรู ปู ดอกบัวหลวงและสว่ นตา่ งๆของบวั หลวงทคี่ รูเตรยี มมา เชน่ ฝักบวั เมลด็ บัวและดีบวั จากนั้นร่วมกนั ตอบคำถามโดยครูใชค้ ำถามถามนกั เรียนว่า สว่ นตา่ งๆของบัวหลวงนี้ เก่ยี วขอ้ งกบั การสบื พนั ธอ์ุ ย่างไร

(แนวคำตอบ ดอกบวั เป็นโครงสร้างที่ใชใ้ นการสบื พันธ์เุ มล็ดอยูใ่ นผลท่ีตดิ อย่บู นฝกั บัวซง่ึ เป็นผลดีบวั เปน็ เอม็ บรโิ อทอ่ี ย่ภู ายในเมล็ด)

1.2 นักเรียนยกตัวอยา่ งดอกไมท้ น่ี กั เรยี นรูจ้ กั เพอ่ื อภปิ รายร่วมกันว่าดอกไมช้ นิดตา่ งๆท่ไี ด้ ยกตัวอย่างมานี้มีโครงสร้างและส่วนประกอบที่เหมือนกันหรือไม่อย่างไร นักเรียนและครูร่วมกัน ทบทวนความรู้เดมิ เกี่ยวกบั โครงสร้างของดอก

(แนวคำตอบ ดอกไม้ส่วนประกอบทีเ่ หมอื นกัน เช่น มีกลบี เลยี้ งกลบี ดอก เกสรเพศผ้แู ละ เกสรเพศเมียทั้งนี้ครูจะยังไม่สรุปคำตอบเนื่องจากดอกไม้ที่นักเรียนยกตัวอย่างมานี้อาจมีความ หลากหลายบางชนดิ อาจมีโครงสร้างทีค่ รบทัง้ 4 ส่วนและบางชนิดอาจมโี ครงสรา้ งที่ไม่ครบทัง้ 4 สว่ น)

3

2. ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรยี นศึกษารูปท่ี 8.1 โครงสรา้ งดอกและรูปที่ 8.2 ดอกไม่สมบูรณข์ องปตั ตาเวีย

ในหนงั สือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 3 เพือ่ เปรยี บเทียบโครงสรา้ งของดอกสมบรู ณ์และดอกไมส่ มบูรณ์ 2.2 นักเรียนศึกษารูป 8.3 โครงสร้างของดอกแบ่งตามตำแหน่งรงั ไข่ในหนงั สือเรียน

ชวี วิทยา ม.5 เลม่ 3 ซ่ึงจำแนกเปน็ ดอกที่มีรงั ไข่เหนือวงกลีบและดอกทม่ี รี ังไขใ่ ตว้ งกลีบและศึกษารูป 8.4 การจดั เรยี งตัวของดอก ในหนงั สอื เรยี นชวี วิทยา ม.5 เล่ม 3 ซ่งึ เป็นแผนภาพแสดงดอกเดี่ยวและ ดอกช่อ และนักเรยี นทำใบงาน เร่อื ง โครงสร้างของดอก

2.3 จากนัน้ นักเรยี นศึกษาเก่ยี วกบั ชนดิ ของผล ซึ่งแบง่ เป็น 3 ประเภทคือผลเดี่ยว ผลกลุ่ม และผลรวม จากนั้นทำกิจกรรมที่ 8.1 โครงสร้างของดอกและชนิดของผล ตอนที่ 1 โดยศึกษาจาก ดอกไม้ทเ่ี ตรียมมาทงั้ 7 ชนิด ไดแ้ ก่ ชบา ลีลาวดี ทองอไุ ร พลับพลงึ ตนี เป็ด ตอ้ ยตงิ่ ดอนย่า และเข็ม และบันทกึ ผลลงในตาราง กจิ กรรมท่ี 8.1 โครงสรา้ งของดอกและชนดิ ของผล ตอนที่ 1

ช่ัวโมงที่ 3 3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation)

3.1 นักเรยี นอธบิ ายและลงข้อสรุปโดยมคี รูคอยชีแ้ นะเพ่ิมเตมิ จากการศกึ ษาภาพท่ี 8.1 โครงสร้างดอกและรูปที่ 8.2 ดอกไมส่ มบรู ณ์ของปตั ตาเวีย ในหนงั สือเรียนชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม 3 โดย รว่ มกนั สรุปไดว้ า่ ดอกท่มี สี ว่ นประกอบทัง้ 4 ส่วน คอื กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมีย เรยี กวา่ ดอกสมบรู ณ์ ถ้าขาดส่วนประกอบใดไปจะเรียกว่าดอกไมส่ มบูรณ์ ครใู ห้นกั เรยี นพิจารณา ตอ่ ไปว่าดอกทม่ี ีทั้งเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี อยภู่ ายในดอกเดยี วกนั เรียกวา่ ดอกสมบรู ณเ์ พศ ถ้า ดอกชนิดใดมีเฉพาะเกสรเพศผู้หรือเกสรเพศเมียอย่างใดอยา่ งหนึง่ เรียกวา่ ดอกไม่สมบรู ณ์เพศ

3.2 นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภปิ รายและลงขอ้ สรุปจากการศึกษาภาพที่ 8.3 โครงสร้าง ของดอกแบง่ ตามตำแหนง่ รงั ไข่ ในหนงั สือเรียนชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 3 ว่าดอกเดย่ี วคือดอกท่มี ีดอก เพยี ง 1 ดอกบนก้านดอกและดอกช่อคอื ดอกทมี่ ีดอกยอ่ ยมากกว่า 1 ดอกตดิ อยบู่ นก้านชอ่ ดอก

4

ตวั อยา่ งของดอกเดยี่ ว

กุหลาบ ตำลงึ บวั หลวง สายหยุด ตัวอย่างของดอกช่อ

เข็ม หญ้าหนวดแมว กล้วยไมส้ กุลหวาย

ภาพท่ี 1 ตัวอยา่ งดอกเด่ยี วและดอกชอ่ ทมี่ า : หนังสือคู่มอื ครชู ีววิทยาชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 สสวท.

3.3 นกั เรยี นและครรู ่วมกันระดมความคิดเพม่ิ เติมว่าดอกช่อบางชนดิ อาจมีรปู รา่ งลักษณะ ที่มองคลา้ ยเป็นดอกเดี่ยวเช่น ดอกทานตะวนั โดยให้นักเรียนศึกษารูป 8.5 ทานตะวัน ในหนังสอื เรยี น ชวี วิทยา ม.5 เล่ม 3 และอภิปรายรว่ มกันเก่ียวกับลักษณะของดอกทานตะวัน

3.4 นักเรียนและครูร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ชนดิ ของผลโดยใชร้ ปู 8.6 ดอกและผลเดย่ี ว 8.7ดอกและผลกลมุ่ และ 8.8 ช่อดอกและผลรวมของยอ ในหนังสอื เรยี นชีววิทยา ม.5 เลม่ 3 ประกอบการอภปิ รายครอู าจยกตวั อยา่ งเพิม่ เติมวา่ ผลของมะมว่ ง แตงโม ทุเรียน กลว้ ย มงั คดุ ละมุด มะนาว สม้ โอ ฟักทอง และแตงกวาเป็นผลเด่ยี ว นมแมว สายหยดุ เปน็ ผลกลุม่ สว่ นผลรวมนัน้ เช่น ยอ หม่อน สาเก ขนนุ และมะเด่อื

4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) ครใู ห้นกั เรยี นยกตัวอยา่ งดอกไม้บางชนดิ อาจมีลักษณะท่พี ิเศษนอกเหนอื จากท่ีได้ศกึ ษาท่ี

สามารถพบไดใ้ นพ้ืนที่ใกล้เคียง เช่น บางชนิดมีเกสรเพศผู้ท่เี ป็นหมนั เกสรเพศผทู้ ใี่ ช้สืบพันธุ์ได้มีเพียง อบั เรณยู าว ๆ เท่าน้ันพบได้ในดอกพุทธรักษา บางชนิดมีกลบี เลย้ี งท่ีคล้ายกลีบดอกสีสันสวยงาม เช่น ดอนย่า นอกจากนีบ้ างชนดิ มีใบประดบั ท่มี สี สี นั สวยงามคล้ายกบั กลบี ดอก เช่น โปย๊ เซียน

5

เกสรเพศผู้ที่เป็นหมนั

อับเรณู ยอดเกสรเพศเมยี พทุ ธรกั ษา กา้ นเกสรเพศเมีย กลีบดอก กลีบเลี้ยง

ดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยง ดอก

ดอนยา่ โปย๊ เซยี น

ภาพท่ี 2 ลักษณะพิเศษของพชื ดอก ทม่ี า : หนังสอื คูม่ อื ครูชวี วิทยาชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 สสวท.

5. ขน้ั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ครูตรวจใบงาน เรื่อง โครงสรา้ งของดอก 5.2 ครูและนกั เรียนสรปุ ความรเู้ กี่ยวกบั โครงสร้างของดอกและชนิดของผล โดยมี

แนวการสรุปดังนี้ ส่วนประกอบต่างๆ ของดอกจะประกอบกันเป็นชัน้ ๆ แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้ กลีบ เลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมยี ชนดิ ของดอก 1. จำแนกชนดิ ของดอกโดยพจิ ารณาจากจำนวนดอกบนหนงึ่ กา้ น สามารถแบ่งออกได้เป็น ดอกเด่ยี ว ดอกช่อ 2.จำแนกชนดิ ของดอกจำแนกโดยใชโ้ ครงสรา้ งช้ันเกสรเพศ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ ดอกสมบูรณ์เพศ และดอกไม่สมบรู ณเ์ พศ 3. จำแนกชนดิ ของดอกโดยพิจารณาจากตำแหน่งของรงั ไข่ สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ รงั ไขเ่ หนือวงกลีบ (Superior Ovary) และรังไขใ่ ตว้ งกลีบ (Inferior Ovary) ชนดิ ของผล ดอกแต่ละชนดิ มีลักษณะโครงสรา้ งของดอก จำนวนและตำแหน่งของรังไขแ่ ตกต่างกนั ออกไป ถ้าหาก จำแนกผลตามกระบวนการเกดิ ผลเปน็ เกณฑส์ ามารถจำแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ ผลเด่ียว ( simple fruit ) ผลกล่มุ ( aggregate fruit ) และผลรวม ( multiple fruit )”

6

6. สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ชีววทิ ยา เลม่ 3 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 สสวท. 2. อปุ กรณท์ ใี่ ช้ในการสบื คน้ ขอ้ มูล 3. เพาเวอร์พอยต์ เร่ือง โครงสรา้ งของดอกและชนดิ ของผล 4. ดอกไม้ทเี่ ตรยี มมาทง้ั 7 ชนดิ ได้แก่ ชบา ลีลาวดี ทองอไุ ร พลบั พลงึ ตีนเปด็ ต้อยติ่ง

ดอนยา่ และเข็ม

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน 1. ใบงาน เรื่อง โครงสรา้ งของดอก 2. ทดลองกิจกรรมท่ี 8.1 ตอนที่ 1 โครงสร้างของดอกและชนิดของผล

7

8. การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีวัดผล เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารผา่ นจุดประสงค์

ดา้ นความรู้ (K) ใบงาน เรอ่ื ง ระดบั คณุ ภาพพอใช้ข้นึ ไป โครงสร้างของ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 1. อธิบายโครงสร้างของดอกและชนิด ตรวจใบงาน ของผลได้ เรอ่ื ง โครงสรา้ ง ดอก 2. อธบิ ายเก่ียวกับจำนวนรังไข่และการ เจรญิ เปน็ ผลชนดิ ต่าง ๆ ของดอก

ดา้ นทักษะกระบวนการ (P)

สบื ค้นขอ้ มูลเก่ยี วกบั จำนวน รังไข่และ ตรวจกิจกรรม กจิ กรรมท่ี 8.1 ผ่านเกณฑ์ระดับดีขน้ึ ไป

การเจรญิ เปน็ ผลชนดิ ต่าง ๆ ที่ 8.1 ตอนที่ 1 ตอนท่ี 1 ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป โครงสร้างของ โครงสร้างของ

ดอกและชนดิ ดอกและชนิด

ของผล ของผล

ดา้ นคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A)

มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ ประเมิน แบบประเมิน

มอบหมาย คุณลักษณะอนั คณุ ลักษณะอนั

พงึ ประสงค์ พึงประสงค์

8

9

เกณฑก์ ารประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรม

ประเดน็ ท่ี ระดบั คะแนน ประเมนิ 1. การปฏิบตั ิ 4 32 1 กิจกรรม ทำกจิ กรรมตาม ตอ้ งให้ความ ขัน้ ตอน และใช้ ทำกจิ กรรมตาม ตอ้ งให้ความ ช่วยเหลอื อยา่ งมาก 2. ความ อปุ กรณ์ได้อย่าง ในการทำกจิ กรรม คล่องแคลว่ ถกู ต้อง ข้นั ตอน และใช้ ชว่ ยเหลอื บ้างในการ และการใชอ้ ุปกรณ์ ในขณะ ปฏิบตั ิ มคี วามคล่องแคล่ว อุปกรณ์ได้อย่าง ทำกจิ กรรม และการ ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ กจิ กรรม ในขณะทำกจิ กรรม ทันเวลา และทำ โดยไมต่ ้องได้รบั คำ ถกู ตอ้ ง แตอ่ าจตอ้ ง ใชอ้ ปุ กรณ์ อปุ กรณ์เสียหาย 3. การบันทึก ชี้แนะ และทำ สรปุ และ กจิ กรรมเสรจ็ ได้รับคำแนะนำบา้ ง ตอ้ งใหค้ วาม นำเสนอผล ทนั เวลา ชว่ ยเหลืออยา่ งมาก การปฏิบตั ิ บันทึกและสรปุ ผล มีความคลอ่ งแคลว่ ขาดความ ในการบนั ทึก สรปุ กิจกรรม การทำกจิ กรรมได้ และนำเสนอผลการ ถกู ต้อง รดั กมุ ในขณะทำกจิ กรรม คล่องแคล่วในขณะ ทำกจิ กรรม นำเสนอผลการทำ กจิ กรรมเป็นข้ันตอน แต่ต้องไดร้ บั ทำกจิ กรรมจงึ ทำ ชัดเจน คำแนะนำบ้าง และ กิจกรรมเสรจ็ ไม่

ทำกจิ กรรมเสร็จ ทันเวลา

ทันเวลา

บนั ทึกและสรปุ ผล ตอ้ งใหค้ ำแนะนำใน การทำกจิ กรรมได้ การบันทึก สรปุ และ ถกู ตอ้ ง แตก่ าร นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ กิจกรรม กจิ กรรมยังไม่เป็น ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

10-12 ดีมาก

7-9 ดี

4-6 พอใช้

0-3 ปรับปรงุ

10

11

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ทำใบงานถูกตอ้ ง ความถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถกู ตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 ทำใบงานเปน็ ทำใบงานมคี วามเป็น ทำใบงานมีความเปน็ ทำใบงานเปน็ ระเบียบ สะอาด เรยี บร้อยพอใช้ ความเปน็ ระเบียบ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ส่งใบงานล่าชา้ กว่า ความตรงตอ่ เวลา เวลาท่ีกำหนด เรยี บร้อยดมี าก เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกว่า 3 วัน

ส่งใบงานทันตาม ส่งใบงานลา่ ชา้ กว่า ส่งใบงานล่าชา้ กว่า

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาที่กำหนดไป 3

วนั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ 0-4 5-6 ควรปรับปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดีมาก

เกณฑ์การผ่าน ระดบั คุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

12

13

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ประเด็นการ คุณลักษณะของนักเรียน ประเมนิ 3 2 1 1. มีวนิ ัย - มคี วามตรงตอ่ เวลา มีความซ่อื สตั ย์ - มคี วามซื่อสัตย์สจุ ริต - มีความตัง้ ใจที่จะ 2. มีความ สจุ รติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะทำงาน ทำงาน ใฝเ่ รียนรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตง้ั ใจท่ีจะ - มีความรบั ผดิ ชอบ - รจู้ กั เสียสละ ทำงาน - มคี วามอดทน - มคี วามซอื่ สตั ย์ - มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อ่นื ขยนั หม่นั เพยี ร สุจรติ - มีระเบียบและปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑ์ - ร้จู ักเสียสละ - เห็นอก เห็นใจผ้อู ่ืน - เหน็ อก เหน็ ใจผอู้ น่ื - เข้าร่วมกิจกรรม - มคี วามอดทนขยันหมั่นเพียร การเรียนรู้ตา่ ง ๆ - รู้จักเสยี สละ รจู้ ักกาลเทศะ - เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ - เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ต่าง ๆ เรยี นรู้ - เอาใจใส่และมีความ - ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรียนรู้ - เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ่าง ๆ -มีการบันทึกความรใู้ นระหว่าง - มกี ารบนั ทกึ ความรู้ในระหวา่ งเรียน เรยี น - จดสรปุ จากท่คี รูเขยี น

3. มคี วาม - เอาใจใส่ต่อการปฏบิ ตั หิ น้าที่ท่ไี ด้รับ - ทมุ่ เท อดทน ไมย่ อ่ ท้อต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่ มงุ่ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน ทำงาน - มีความตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในการ - มีการปรบั ปรงุ และ การทำงาน ทำงานใหส้ ำเรจ็ พัฒนาการทำงานด้วยตนเอง

- ทุม่ เท อดทน ไมย่ ่อท้อตอ่ ปัญหาใน - เอาใจใสต่ ่อการปฏิบตั ิ การทำงาน หนา้ ที่ท่ไี ด้รับมอบหมาย - มกี ารปรบั ปรงุ และพัฒนาการทำงาน ดว้ ยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนมากกว่าหรอื เทา่ กับ 7 คะแนน 9-8 คิดเปน็ ร้อยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนน้อยกวา่ 7 คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน คะแนน 6-5 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3 คะแนน คะแนน 4 คดิ เป็นรอ้ ยละ 2 คะแนน คะแนน 3 คิดเป็นร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 คะแนน ดี 2 คะแนน พอใช้

14

1 คะแนน ปรบั ปร

15

16

17

ตวั อย่างกิจกรรมท่ี 8.1 ตอนที่ 1 เรอ่ื ง โครงสร้างของดอกและชนิดของผล

คำช้แี จง ให้นกั เรยี นเขียนชื่อดอกและทำเครอ่ื งหมาย / ลงในชอ่ งว่างของสว่ นประกอบของดอก

กลมุ่ ของ จำนวนดอกบน ส่วนประกอบท่เี ปน็ โครงสร้างหลกั จำนวนเกสร จำนวนรงั ไข่ ตำแหน่ง ดอก กา้ นดอก ในแตล่ ะ รงั ไข่ กลบี กลีบ เกสร เกสร เพศผู้ เพศเมยี ดอก ดอก ดอก เลยี้ ง ดอก เพศผู้ เพศเมีย เดยี ว ชอ่

...................

...................

..................

..................

..................

...................

...................

...................

...................

..................

18

ใบงาน เร่ือง โครงสรา้ งของดอก

19

เฉลยใบงาน เรอื่ ง โครงสร้างของดอก

20

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั ว 32243 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การสบื พนั ธ์ุของพืชดอก เวลา 10 ชัว่ โมง เร่ือง วฏั จกั รชีวติ แบบสลบั ของพืชดอก เวลา 1 ช่วั โมง ภาคเรียนท่ี 1/2565 ครูผู้สอน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ ตอบสนองของพืช รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้ 2. อธิบายวฏั จักรชวี ติ แบบสลบั ของพชื ดอก

2. สาระสำคัญ พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับประกอบด้วยสปอโรไฟต์และแกมีโทไฟต์ซึ่งสปอโรไฟต์ เป็น

ระยะที่สร้างสปอร์ คือ ไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ท่ีอาจสร้างในดอกเดียวกันหรอื ต่างดอกหรือต่าง ต้น ไมโครสปอรม์ าเทอรเ์ ซลล์แบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ไมโครสปอร์ จากนั้นไมโครสปอร์จะแบ่งเซลล์ แบบไมโทซสิ และพัฒนาไปเปน็ แกมีโทไฟต์เพศผูซ้ ึ่งทำหน้าท่สี รา้ งเซลล์สืบพนั ธเ์ุ พศผู้ สว่ นเมกะสปอร์ มาเทอร์เซลล์แบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิสได้ เมกะสปอรจ์ ากนั้นเมกะสปอร์จะแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ และ พัฒนาไปเป็นแกมโี ทไฟตเ์ พศเมียซึง่ ทำหน้าทีส่ รา้ งเซลล์สืบพนั ธเ์ุ พศเมีย เมอ่ื มีการปฏิสนธขิ องเซลลสืบ พันธุ์เพศผ้แู ละเพศเมยี จะไดไ้ ซโกตและพัฒนาไปเปน็ เอม็ บริโอแล้วเจรญิ เติบโตเป็นสปอโรไฟต์ต่อไป

3. สาระการเรียนรู้ - วฏั จกั รชวี ิตแบบสลบั ของพืชดอก

4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) นกั เรียนอธิบายวฏั จักรชีวิตแบบสลบั ของพชื ดอกได้ 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) นกั เรียนเขยี นแผนภาพวฏั จกั รชวี ิตแบบสลับของพืชดอกได้

21

3. ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) นกั เรียนมคี วามกระตือรอื รน้ และสนใจในงานท่ีได้รับมอบหมาย

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ รูปแบบการสอนท่ใี ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

ช่วั โมงท่ี 1 – 2 1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement)

1.1 นักเรียนดูภาพวัฏจกั รชวี ิตของถ่ัวฝักยาว และวฏั จกั รชวี ติ ของมะพรา้ ว ครูตง้ั คำถาม กระตนุ้ ความคดิ วา่ “นักเรียนคิดวา่ ภาพสองภาพนี้กำลังบง่ บอกอะไร ?”

วัฏจักรชีวิตของถั่วฝกั ยาว วัฏจักรชวี ิตของมะพร้าว

(แนวคำตอบ พืชทกุ ชนิดในโลกนี้มีจุดเร่ิมต้นมาจากเมล็ด และเมลด็ ก็เจริญเตบิ โต กลายเปน็ ตน้ พืชทสี่ มบรู ณ์ และต้นพชื ก็จะมเี มล็ด และเมลด็ นนั้ เม่ือเกดิ การงอกกจ็ ะกล่ายเป็นต้นพืชที่

เจรญิ ซ่ึงมนั เป็นวฏั จักรต่อ ๆ ไป)

1.2 นกั เรียนตอบคำถามท่ีครถู ามเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของพืชดอก ดังน้ี “โครงสรา้ งพชื ตา่ ง ๆ ทพ่ี บในวัฏจกั รชวี ติ ของพชื ดอก โครงสร้างใดเปน็ สปอโรไฟตแ์ ละ

โครงสรา้ งใดเปน็ แกมโี ทไฟต์” (แนวคำตอบ ต้นไม้ทเี่ หน็ น้นั คือสปอโรไฟต์ สว่ นแกมีโทไฟตเ์ พศผู้และแกมโี ทไฟตเ์ พศเมยี

นกั เรยี นอาจจะไมเ่ คยเห็น เน่อื งจากมขี นาดเลก็ และอย่ภู ายในดอก) “นกั เรยี นเคยเห็นสปอโรไฟตแ์ ละแกมโี ทไฟตข์ องเฟริ น์ หรอื ไม่ อย่างไร” (แนวคำตอบ สปอโรไฟต์ของเฟิรน์ คลา้ ยรปู หวั ใจ สามารถเจอในที่ทีม่ คี วามช้ืน ตน้ ทเ่ี หน็

เป็นสปอโรไฟต์ เมื่อสปอโรไฟต์โตเต็มที่ สปอร์มาเทอร์เซลล์ในอับสปอร์จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้

สปอร์ซึ่งมีโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง เมื่อมีการกระจายสปอร์ สปอร์จะหลุดจาก สปอโรไฟต์และถ้า สปอร์อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่มี คี วามช้ืนเหมาะสม สปอร์จะงอกแลว้ แบง่ เซลล์แบบไมโทซิสเจริญเป็นแก

มีโทไฟต์ ซึง่ จะมีโครงสรา้ งท่ีสรา้ งเซลล์สบื พันธุต์ อ่ ไป)

22

2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นักเรียนศึกษารปู วฏั จักรชีวติ แบบสลบั ของพชื ดอก ทคี่ รูเตรยี มมาแลว้ ครูให้ขอ้ มูล

นักเรียนว่า วัฏจักรชีวิตของพืชทุกกลุ่มทั้งพืชดอกและพืชไร้ดอกเป็นวัฏจักรชีวิตแบบสลับ ประกอบดว้ ยระยะท่สี รา้ งสปอร์เรยี กวา่ สปอโรไฟต์และระยะทีส่ ร้างเซลล์สบื พนั ธเ์ุ รียกว่า แกมโี ทไฟต์

วัฏจักรชีวิตแบบสลบั ของพืชดอก

2.2 นักเรียนศึกษารูปที่ 8.10 วฏั จักรชีวติ ของเฟิร์นและพชื ดอก ในหนงั สือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 โดยศึกษาวัฏจักรชีวิตของเฟิร์นซึง่ เป็นพืชมีท่อลำเลียงที่ไร้เมล็ดก่อน ซึ่งแกมีโทไฟต์แยก ออกจากสปอโรไฟต์ เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่างของสปอโรไฟตแ์ ละแกมีโทไฟต์ได้ชัดเจนมาก ขึ้น จากนัน้ นักเรยี นอภิปรายร่วมกับครูโดยอาจใช้คำถามดงั น้ี

- นักเรียนเคยเห็นสปอโรไฟตแ์ ละแกมีโทไฟตข์ องเฟริ น์ หรอื ไม่อย่างไร - แกมีโทไฟต์ของเฟริ น์ อยบู่ นสปอโรไฟต์หรือไม่ อยา่ งไร - สปอร์สรา้ งมาจากโครงสร้างใด และมจี ำนวนชุดของโครโมโซมเปน็ ดพิ ลอยด์หรอื แฮพลอยด์ - เซลลส์ ืบพนั ธุ์ของเฟริ น์ สร้างมาจากโครงสรา้ งใด

2.3 นักเรียนทำใบงาน เร่ือง วฏั จักรชวี ติ แบบสลบั ของพืช และเขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิต แบบสลบั ของพชื ดอก ตกแต่งใหส้ วยงาม

23

ชว่ั โมงที่ 3

3. ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 3.1 นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ จากการศกึ ษารปู วัฏจกั รชวี ิตของเฟิรน์ ได้วา่ ต้นทเี่ หน็ เปน็

สปอโรไฟต์เมื่อสปอโรไฟต์โตเต็มที่สปอร์มาเทอร์เซลล์ในอับสปอร์จะแบ่งเซลล์แบบ ไมโอซิสได้ สปอรซ์ งึ่ มโี ครโมโซมลดลงคร่ึงหนง่ึ เมอ่ื มีการกระจายสปอร์ สปอร์จะหลดุ จากสปอโรไฟต์และถ้าสปอร์ อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นเหมาะสมสปอร์จะงอกแล้วแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเจริญเป็นแกมโี ท ไฟต์ซึ่งจะมีโครงสร้างท่สี ร้างเซลลส์ ืบพันธุต์ อ่ ไป

3.2 จากนั้นร่วมกนั อภิปรายความเหมือนและความแตกต่างกันของวฏั จักรชีวติ ของเฟริ น์ และพืชดอก

(แนวคำตอบ พืชจะมีช่วงชวี ิตเปน็ 2 ระยะสลับกนั คือ สปอโรไฟต์และแกมีโทไฟต์ ในพชื ดอกนัน้ แกมีโทไฟตซ์ ่งึ ทำหน้าทส่ี ร้างเซลลส์ ืบพันธ์ุนน้ั เกิดข้ึนทด่ี อก ทัง้ เซลล์สบื พันธุ์เพศผู้ (สเปิร์ม) และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย (เซลล์ไข่) เมื่อสเปิร์มและเซลล์ไข่ปฏิสนธิจะได้เป็นไซโกตซึ่งมีการพัฒนา และเจรญิ เตบิ โตตอ่ ไปจนเปน็ ผลและเมล็ด เมอ่ื เมลด็ งอกเปน็ ตน้ อ่อนและมีการเจริญเติบโตระยะน้ีจะ เรยี กว่า สปอโรไฟต)์

4. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายเก่ียวกับโครงสร้างของสปอโรไฟต์ได้ว่า ประกอบขึ้น

จากเซลล์ที่มีจำนวนโครโมโซม 2 ชุดหรือเซลลท์ ี่อยู่ในสภาพดิพลอยด์ (diploid;2n) ส่วนแกมีโทไฟต์ ประกอบขึ้นจากเซลล์ท่ีมีจำนวนโครโมโซม 1 ชดุ หรือเซลล์ทอี่ ยใู่ นสภาพ แฮพลอยด์ (haploid;n) จากนั้นครูเชื่อมโยงเรื่องการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสและไมโทซิสเพื่ออธิบายว่า สปอร์มาเทอร์เซลล์ แบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ ได้สปอรซ์ ่งึ โครโมโซมลดลงครง่ึ หน่ึงจากนนั้ สปอร์จะแบง่ เซลล์แบบไมโทซิสเพื่อ เจริญและพัฒนาเป็นแกมีโทไฟต์และทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ต่อมาจะมีการปฏิสนธิของเซลล์ สืบพันธุ์เพศผแู้ ละเพศเมยี ไดเ้ ปน็ ไซโกตซ่งึ มโี ครโมโซม 2 ชุด

5. ขั้นประเมนิ (Evaluation) ครูตรวจสอบผลการทำกจิ กรรม โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน การแสดงความ

คดิ เห็น การตอบคำถาม โดยนกั เรยี นรว่ มกันตอบคำถามที่ครถู ามเพอ่ื ประเมินความรู้ว่า ความแตกต่าง กนั ของการกระจายสปอร์ของเฟริ น์ และพืชดอกเปน็ อยา่ งไร

(แนวคำตอบ ความแตกตา่ งกนั ของการกระจายสปอรข์ องเฟิร์นและพืชดอกคอื ในพืชดอก นั้นสปอร์ไม่ได้หลุดออกจากสปอโรไฟต์ เมื่อสปอร์พัฒนาเป็นแกมีโทไฟต์แกมีโทไฟต์ของพืชดอกจึง ไมไ่ ด้อยอู่ ย่างอิสระ แตม่ ีขนาดเลก็ และเปน็ สว่ นท่ีอยู่ในดอกโดยท่ัวไปจึงจะมองไม่เห็นแกมีโทไฟต์ของ พืชดอกด้วยตาเปล่าซึ่งต่างจากเฟิร์นที่สปอร์หลุดจากสปอโรไฟต์และงอกเป็นแกมีโทไฟต์ที่สามารถ มองเหน็ ได้เป็นแผน่ สเี ขียวบางๆ)

24

6. สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตรช์ ีววิทยา เลม่ 3 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 สสวท. 2. เพาเวอรพ์ อยต์ เรอ่ื ง วฏั จักรชวี ิตแบบสลับของพชื ดอก

7. ช้นิ งาน/ภาระงาน 1. ใบงาน เรื่อง วัฏจักรชีวติ แบบสลบั ของพืช 2. เขียนแผนภาพวฏั จักรชีวติ แบบสลับของพชื ดอก

25

8. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีวดั ผล เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การผา่ น จดุ ประสงค์ ดา้ นความรู้ (K) ใบงาน เร่อื ง ระดบั คณุ ภาพพอใช้ วฏั จกั รชวี ิตแบบ ขนึ้ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์ อธิบายวัฏจักรชวี ติ แบบสลับของพืชดอก ตรวจใบงาน สลบั ของพืช ระดับคณุ ภาพพอใช้ เรื่อง วัฏจกั ร ขึ้นไปถือว่าผา่ นเกณฑ์ แผนภาพวฏั จักร ชวี ติ แบบสลบั ชีวิตแบบสลับของ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70 พืชดอก ขึ้นไป ของพืช แบบประเมิน ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เขียนแผนภาพวัฏจักรชีวิตแบบสลับของ ตรวจ

พชื ดอก แผนภาพวฏั

จักรชวี ิตแบบ

สลบั ของพืช

ดอก

ดา้ นคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (A)

ความกระตือรือร้นและสนใจในงานที่ ประเมนิ

ได้รบั มอบหมาย คุณลกั ษณะอนั

พงึ ประสงค์

26

27

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ทำใบงานถูกตอ้ ง ความถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถกู ตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50 ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 ทำใบงานเปน็ ทำใบงานมคี วามเป็น ทำใบงานมีความเปน็ ทำใบงานเปน็ ระเบียบ สะอาด เรยี บร้อยพอใช้ ความเปน็ ระเบียบ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ส่งใบงานล่าชา้ กว่า ความตรงตอ่ เวลา เวลาท่ีกำหนด เรยี บร้อยดมี าก เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกว่า 3 วัน

ส่งใบงานทันตาม ส่งใบงานลา่ ชา้ กว่า ส่งใบงานล่าชา้ กว่า

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาที่กำหนดไป 3

วนั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ 0-4 5-6 ควรปรับปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดีมาก

เกณฑ์การผ่าน ระดบั คุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

28

29

เกณฑก์ ารประเมินผลการทำแผนภาพ

ประเดน็ การประเมิน คําอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ความถูกต้อง ทำแผนภาพถูกตอ้ ง ทำแผนภาพถกู ตอ้ ง ทำแผนภาพถกู ตอ้ ง ทำแผนภาพถกู ตอ้ ง ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50

ทำแผนภาพมีความ ทำแผนภาพมีความ ทำแผนภาพเปน็ ทำแผนภาพเปน็ เปน็ ระเบียบ สะอาด ความเปน็ ระเบียบ เรยี บรอ้ ยดีมาก เปน็ ระเบยี บ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ความตรงตอ่ เวลา สง่ แผนภาพทันตาม เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง เรยี บร้อยพอใช้ เวลาท่ีกำหนด ส่งแผนภาพล่าช้ากว่า สง่ แผนภาพลา่ ช้ากวา่ สง่ แผนภาพลา่ ช้ากว่า

เวลาที่กำหนดไป 1 วัน เวลาท่ีกำหนดไป 3 เวลาท่ีกำหนด

วัน มากกวา่ 3 วนั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ควรปรบั ปรงุ อยา่ งยง่ิ 0-4 5-6 ควรปรบั ปรงุ 7-8 พอใช้ 9 – 10 ดี 11 - 12 ดมี าก

เกณฑ์การผา่ น ระดับคณุ ภาพพอใช้ข้นึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์