78 ม.5 ต.ท บสะแก อ.ท บสะแก จ.ประจวบค ร ข นธ

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทบั สะแก สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานเพื่อการวางแผน ขอ้ มูลพนื้ ฐานของอาเภอทับสะแก อาเภอทับสะแกต้ังอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 41 กิโลเมตร ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธประมาณ 95 % ศาสนาอ่ืน ๆ ประมาณ 5 % มีสถาบันหรือองค์กรทางศาสนา ดังนี้ วดั จานวน 21 แห่ง มสั ยิด จานวน 1 แหง่ โบสถค์ รสิ ต์ จานวน 2 แห่ง มลู นธิ ิ จานวน 1 แห่ง เนื้อที่ อาเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ มเี นอื้ ที่ 518 ตารางกิโลเมตร หรือ 325,750 ไร่ อาณาเขตที่ต้งั : อาเภอทบั สะแกต้ังอยู่ทางตอนใตข้ องจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการ ปกครองข้างเคียงดังตอ่ ไปนี้ ทศิ เหนอื ติดต่อกับอาเภอเมอื งประจวบคีรีขนั ธ์ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั อาเภอบางสะพาน ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั ทะเลอ่าวไทย ทศิ ตะวันตก ติดต่อกบั เทอื กเขาตะนาวศร(ี สหภาพเมียนมาร์ ) แผนท่ีอาเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ ขอ้ มูลด้านประชากร

จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพืน้ ที่อาเภอทบั สะแก ท่ี ตาบล จานวน จานวนประชากร(คน) จานวนครัวเรอื นในพน้ื ที่ ครวั เรือน ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 หว้ ยยาง 3,779 4,435 4,626 9,061 3,779 - 2 แสงอรณุ 1,348 1,854 2,100 3,954 1,348 - 3 ทบั สะแก 4,412 2,861 3,072 5,933 1,396 3,016 4 เขาลา้ น 2,591 3,957 3,967 7,924 2,256 335 5 นาหกู วาง 2,648 4,312 4,346 8,658 2,648 - 6 อ่างทอง 2,810 4,617 4,630 9,247 2,810 - รวม 17,588 22,036 22,741 44,777 14,237 3,351 อาเภอทับสะแก มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จานวน 17,588 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครองเทศบาลตาบล ท้ังหมดมีประชากรท้ังสิ้น 3,351 คนแยกเป็นประชากรชาย จานวน 22,036 คนคิดเป็นร้อยละ และ ประชากรหญิง จานวน 22,741 คน คดิ เปน็ ร้อยละ ความหนาแน่นเฉล่ยี 96 คน/ตารางกิโลเมตร จานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ ชว่ งอายุ (ปี) จานวน (คน) รอ้ ยละของประชากรทง้ั หมด (คน) 6.14 0 - 5 2,751 10.86 35.18 6 - 14 4,863 28.96 10.83 15 - 39 15,752 4.84 2.73 40 - 59 12,968 0.47 100.00 60 - 69 4,849 70 - 79 2,166 80 - 89 1,222 90 ปขี ้นึ ไป 206 รวม 44,777 ข้อมูลด้านสงั คม ด้านสงั คมและประเพณีวัฒนธรรมของคนในชุมชน สภาพทางสังคมของประชากรส่วนใหญ่อยู่เป็นครอบครัว ใหญ่มีวงศาคณาญาติปลูกบ้านเรือนอยู่ในละแวกเดียวกัน นับถือบรรพบุรุษ มีสัมมาคารวะต่อผู้มีอายุมากกว่า ชาวบา้ นสว่ นใหญ่ร้อยละ 90 นับถอื ศาสนาพุทธ มีวัดประจาหมู่บ้านเป็นสถานท่ีทาพิธีกรรมทางศาสนา และเป็นศูนย์ รวมจิตใจของชาวบ้านซงึ่ ทาให้เกิดประเพณแี ละวัฒนธรรมต่างๆทสี่ าคัญดงั น้ี 1. ประเพณีการทาบุญตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ซ่ึงตรงกับวันที่ 1 มกราคม ของทุกปีโดยใน วันขึ้นปีใหม่ ประชาชนในตาบลทับสะแกจะมกี ารตกั บาตรทาบุญตอ้ นรับปีใหมเ่ พอ่ื ความเปน็ สิริมงคลถือว่า เริ่มต้นปีด้วยการทาบุญ ตกั บาตรและสวัสดีปใี หม่ขอพรจากผ้อู าวุโส 2. ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งตรงกับวนั ท่ี 13 - 16 เมษายนของทุกปี คือวันที่ 13 เมษายน จะมีการรดน้าดาหัวผู้ เฒ่าผู้แก่ เพื่อขอขมาลาโทษในสิ่งที่เคยล่วงเกินและเป็นการแสดงเคารพนับถือ ต่อบุพการี และบรรพบุรุษเพ่ือความ เป็นสิริมงคลของลูกหลาน และมีประเพณีอ่ืน ๆ อีกมากมาย เช่น มีการ ทาบุญตักบาตร ก่อเจดีย์ทราย มีการสรงน้า พระการเลน่ นา้ สงกรานต์ เปน็ ต้น 3. ประเพณีหลอ่ เทยี นและแห่เทยี นพรรษาจะตรงกบั เดอื นกรกฎาคม 4. ประเพณีลอยกระทงจะตรงกบั เดือนพฤศจิกายน

ปจั จบุ ันนส้ี ภาพสังคมในอาเภอทับสะแก ยังคงยดึ ถือและปฏิบตั ิตามประเพณที ่ีเคยทากันมา แม้ว่าวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมบางอย่างที่เกิดข้ึนมาใหม่จากความทันสมัยของเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต สังคมออนไลน์ต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีชีวิตด้ังเดิม อย่างไรก็ ตาม ความทันสมัยของ เทคโนโลยีที่เข้ามามีทั้งข้อดีและข้อเสีย ท่ีจะทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆในสังคมมากมาย โดยเฉพาะปัญหาเด็ก เยาวชน วัยรุ่น มีบุตรโดยไม่อยู่ในวัยอันควร เรียนไม่จบ ติดยาเสพติด ติดเกม หนี เรียน อันเน่ืองมาจากการขาดการเอาใจใส่ จากผู้ปกครอง ขาดความอบอุ่นจากครอบครัวหรือครอบครัว แตกแยกการเล้ียงดูบุตรแบบวัตถุนิยมเป็นต้น การ ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันจึงถือเป็นเรื่องที่ จาเป็นที่จะต้องให้ประชาชนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ยอมรับ และเรียนรทู้ ี่จะเลือกสง่ิ ทด่ี เี ขา้ มาในชวี ิต และ รกั ษาไวซ้ ง่ึ ประเพณวี ัฒนธรรมท่ดี ีงามให้คงอยู่สบื ต่อถึงลูกหลาน ศาสนาและศิลปวฒั นธรรม ประชาชนส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพุทธประมาณ 95 % ศาสนาอน่ื ๆ 5 % - มีวัดในพระพทุ ธศาสนา 21 วัด - สานกั สงฆ์ 2 แห่ง - มัสยดิ อสิ ลาม 1 แหง่ - โบสถ์ครสิ ต์ 2 แห่ง - มูลนธิ ิ 1 แห่ง - สภาวัฒนธรรมอาเภอ 1 แห่ง ความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สนิ - สถานตี ารวจภธู รทับสะแก 1 แหง่ - สถานีตารวจภธู รห้วยยาง 1 แหง่ - ตยู้ ามบริการประชาชน 4 แหง่ ต้นกระโดน,เขาล้าน,นาหกู วาง,อ่างทอง การสาธารณสุข โรงพยาบาล 1 แหง่ - โรงพยาบาลทบั สะแก สถานพยาบาลประเภทสถานีอนามัย 10 แหง่ - สถานอี นามัยห้วยยาง หมทู่ ี่ 1 - สถานีอนามัยเนนิ ดินแดง หม่ทู ี่ 6 - สถานีอนามัยหินเทนิ หมู่ที่ 5 - สถานีอนามัยทุง่ ประดู่ หมู่ท่ี 1 - สถานอี นามัยดอนใจดี หมู่ท่ี 8 - สถานอี นามัยมะเดื่อทอง หมู่ท่ี 5 - สถานอี นามัยนาหกู วาง หมทู่ ี่ 5 - สถานีอนามัยเหมืองแร่ หมูท่ ่ี 4 - สถานีอนามัยหนองหอย หมู่ท่ี 6 - สถานอี นามยั อ่างทอง หมทู่ ี่ 4 สถานพยาบาลประเภทคลนิ ิก 4 แหง่ - คลนิ กิ รกั ษ์ประชา หมู่ที่ 1 - คลินกิ แสงอรณุ การพยาบาล หมทู่ ี่ 4 - คลนิ กิ สภุ าภรณ์ หมู่ท่ี 4 - คลินิกอุทยั การพยาบาล หมทู่ ี่ 5

ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกจิ อาชพี ของประชาชนในอาเภอทบั สะแก ลักษณะหรือประเภทของการประกอบอาชีพของประชากร ในเขตชุมชนจะประกอบอาชีพด้านการ พณิชยกรรมและการบริการ คือค้าขายและเปิดร้านอาหาร ส่วนนอกเขตชุมชนจะประกอบอาชีพ เกษตรกรรมและ การประมง โดยประชากรภายในอาเภอทบั สะแกมีรายไดเ้ ฉลี่ยประมาณ 35,000-40,000 บาท/คน/ปี จานวนหนว่ ยธรุ กิจท่สี าคญั ของอาเภอทบั สะแก - สถานีบรกิ ารนา้ มัน จานวน 5 แหง่ - รา้ นจาหนา่ ยแลกเปลย่ี นทองรูปพรรณ จานวน 7 แหง่ - ตลาดสดเอกชน จานวน 1 แห่ง - กิจการที่เก่ยี วกบั อาหาร เครอ่ื งด่ืม น้าด่ืม จานวน 70 แหง่ - รา้ นค้าทวั่ ไป จานวน 250 แห่ง - โรงฆา่ สตั ว์ จานวน 1 แห่ง - ธนาคาร จานวน 4 แห่ง ได้แก่ 1. ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จากัด 2. ธนาคารออมสิน จากัด 3. ธนาคารกสกิ รไทย จากดั (มหาชน) 4. ธนาคารกรงุ เทพ จากดั (มหาชน) กลมุ่ อาชีพเศรษฐกจิ พ้ืนทแ่ี ละการใชป้ ระโยชนใ์ นที่ดินของอาเภอทับสะแก 323,750 ไร่ เปน็ ทดี่ ินทใี่ ช้เป็นพ้ืนทท่ี าการเกษตร ประมาณ 200,956 ไร่ ประชากรประมาณ 80 % ประกอบอาชพี ด้านการเกษตรกรรม คือ ปลกู มะพรา้ ว สบั ปะรด และอ่นื ๆ ประกอบอาชีพคาขายประมาณ 15 % และอาชพี อ่นื ๆ 5 % โรงงานอตุ สาหกรรมที่สาคญั ได้แก่ 1. โรงงานแปรรปู ใยมะพรา้ ว จานวน 10 โรง 2. โรงงานผลิตนา้ แข็ง จานวน 1 โรง 3. โรงงานผลิตน้าปลา จานวน 2 โรง 4. โรงงานทอผา้ จานวน 1 โรง 5. โรงงานผลติ เฟอรน์ ิเจอร์ จานวน 1 โรง 6. โรงงานผลิตไฟเบอรก์ ลาส จานวน 3 โรง ดา้ นการเกษตร และอตุ สาหกรรม 1. ด้านกสิกรรม เปน็ การปลกู ไมผ้ ลและไมย้ นื ต้นโดยเฉพาะมะพรา้ ว รอ้ ยละ 98 ของพ้นื ท่ี 2. ด้านปศุสัตว์ มีการเล้ียงโค กระบือ สุกรและไก่ ซึ่งเป็นการเล้ียงในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมควบคู่กับ การทาสวนมะพร้าว ชือ่ แหล่งนา้ ที่สาคัญได้แก่ คลองทบั สะแก การพาณชิ ย์ มธี นาคารจานวน 4 แห่งได้แก่ 1. ธนาคารกรุงเทพ จากัด โทร. 0-3267-1198 , 0-3267-1393 2. ธนาคารออมสิน โทร. 0-3267-1024 , 0-3267-1996 3. ธนาคารกสกิ รไทย โทร. 0-3267-1192 , 0-3267-1213

4. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โทร. 0-3267-1605 การทอ่ งเท่ียว มสี ถานทท่ี ่องเทีย่ วท่ีสาคัญได้แก่ อุทยานแห่งชาตินา้ ตกหว้ ยยาง อทุ ยานแหง่ ชาติหาดวนกร น้าตก บวั สวรรค์ อา่ งเกบ็ น้าเขื่อนช่องลม เกาะล่าร่า และถา้ ค้างคาววดั เขาไมร้ วก ฯลฯ ข้อมูลด้านการศึกษา อาเภอทับสะแก มีสถานศกึ ษารวมทง้ั หมด 27 แห่ง มคี รจู านวน 443 คน และมนี ักเรียนจานวน6,573 คน ในแตล่ ะสถานศกึ ษาท่ีอยูใ่ นเขตอาเภอทับสะแก มจี านวนนักเรยี น นกั ศึกษา ดังน้ี 1) โรงเรียนวดั ทงุ่ กลาง จานวนนกั เรยี น 83 คน 2) โรงเรียนบา้ นดอนใจดี จานวนนักเรยี น 132 คน 3) โรงเรยี นบา้ นมะเด่ือทอง จานวนนกั เรยี น 429 คน 4) โรงเรียนวัดนาหกู วาง จานวนนกั เรยี น 109 คน 5) โรงเรยี นวัดนาลอ้ ม จานวนนักเรยี น 66 คน 6) โรงเรยี นวดั ทุง่ ประดู่ จานวนนักเรียน 67 คน 7) โรงเรียนอนุบาลทบั สะแก จานวนนกั เรยี น 583 คน 8) โรงเรยี นบา้ นดอนทราย จานวนนกั เรยี น 103 คน 9) โรงเรียนประชาราษฎร์บารุง จานวนนักเรียน 71 คน 10) โรงเรียนสมาคมเลขานกุ ารสตรี 2 จานวนนักเรยี น 185 คน 11) โรงเรยี นบา้ นเหมืองแร่ จานวนนกั เรียน 64 คน 12) โรงเรยี นบ้านทุ่งตาแกว้ จานวนนกั เรยี น 151 คน 13) โรงเรยี นอา่ งทองพัฒนา จานวนนักเรยี น 65 คน 14) โรงเรียนบ้านไรใ่ น จานวนนักเรียน 70 คน 15) โรงเรียนบ้านหินเทนิ จานวนนกั เรยี น 96 คน 16) โรงเรียนบา้ นเนนิ ดนิ แดง จานวนนกั เรยี น 104 คน 17) โรงเรียนประชาพิทักษ์ จานวนนกั เรยี น 149 คน 18) โรงเรยี นบา้ นหว้ ยยางมติ รภาพท่ี 35 จานวนนกั เรยี น 414 คน 19) โรงเรียนบา้ นทุ่งยาว จานวนนักเรียน 118 คน 20) โรงเรียนบา้ นอา่ งทอง จานวนนกั เรยี น 231 คน 21) โรงเรยี นบ้านสีดางาม จานวนนักเรยี น 42 คน 22) โรงเรียนบ้านวงั ยาว จานวนนักเรียน 138 คน 23) โรงเรยี นวดั หนองหอย จานวนนักเรยี น 304 คน 24) โรงเรยี นบ้านหนองมะค่า จานวนนกั เรยี น 163 คน 25) โรงเรยี นอรุณวทิ ยา จานวนนกั เรยี น 1,824 คน 26) โรงเรยี นทับสะแกวิทยา จานวนนักเรียน 657 คน 27) โรงเรียนสหมิตรวิทยาคม จานวนนักเรียน 155 คน 28) ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก 16 แหง่ จานวนนกั เรียน 609 คน 29) กศน.ตาบล 6 แห่ง จานวนนกั ศกึ ษา 443 คน 30) กศน.อาเภอ 1 แหง่ จานวนนกั ศกึ ษา 443 คน

7 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน กศน.อาเภอ ประวัติความเป็นมาของ กศน.อาเภอทับสะแก ประวัติสถานศึกษา : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อาเภอ มีสภาพเป็นสถานศึกษา ในสมัย ดร.รุ่ง แก้วแดง เป็นอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียน ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอทับสะแก เป็นสถานศึกษาในสังกัดบริหารราชการส่วนกลาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดต้ังเม่ือวันท่ี 27 สิงหาคม 2537 โดยมีนายทวศี กั ดิ์ แย้มพราย เปน็ หวั หน้าศูนย์บรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอทับสะแกคนแรก มี ท่ีต้ังสานักงานอยู่ท่ีห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก และในปี พ.ศ.2538 นางสาวขวัญจิตต์ ศรี จนั ทนากุล เป็นหัวหน้าศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอทับสะแก ต่อมาเม่ือปี พ.ศ.2544 ได้ ย้ายออกจากห้องสมุดประชาชนอาเภอ ทับสะแกมาอยู่ท่ีอาคารโรงเรียนบ้านพุตะแบก หมู่ที่ 7 ตาบลเขา ล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และวันท่ี 6 มิถุนายน 2548 นายสากล ประมงค์ ได้ย้าย มาปฏิบัติหน้าท่ผี ้อู านวยศูนย์บรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนอาเภอทับสะแก ในวันที่ 10 มีนาคม 2551 มี ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง บัญชีรายช่ือสถานศึกษาในสังกัดสานักบริหารงานการศึกษานอก โรงเรียน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่มีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษาตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ได้ประกาศใช้ชื่อ หน่วยงานการศึกษาหรือสถานศึกษาใหม่จากเดิมชื่อศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอทับสะแก เปลี่ยนเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ต้ังแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2551 ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2551 กศน.อาเภอทับสะแก ได้ย้ายสานักงานมาอยู่ท่ีอาคารพาณิชย์ อุดมนันท์พลาซ่า เลขท่ี 111 / 2 หมู่ 6 ตาบลทับสะแก อาเภอทับสะแก และในวันที่ 15 ตุลาคม 2554 นายนิคม ฝอยทอง ได้ย้ายมาเป็นผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอทับสะแก ในวันที่ 1 ตุลาคม 2557 นางโกศล หลักเมือง รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้มารักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก และในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2557 นางจิดาภา บัวทอง ได้ย้าย มาปฏิบัติหน้าท่ี ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ใน วนั ท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2558 นางบุญมา ม่วงศรี ได้ย้ายมาปฏิบัติหน้าที่ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ในวันที่ 9 มกราคม 2559 นางสาวนภาพร สิงห์ จันทร์ ครูผู้ช่วยรักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอทับสะแก มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดบริการส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแล ติดตามผลการ ดาเนินงานกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนในพื้นท่ีอาเภอทับสะแก และในวันที่ 30 ตุลาคม 2560 นาง มณีรัตน์ อัจฉริยพันธกุล ได้มาปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อาเภอทับสะแก มีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบในการจัดบริการสง่ เสริม สนับสนุน กากับดูแล ติดตามผลการ ดาเนินงานกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรยี นในพื้นท่ีอาเภอทับสะแก สถานท่ตี ัง้ ช่อื สถานศึกษา : ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอทบั สะแก ทอ่ี ยู่ : 126/4-5 หมูท่ ี่ 4 ตาบลทับสะแก อาเภอทับสะแก จังหวดั : ประจวบครี ีขนั ธ์ เบอร์โทรศัพท์ : 0 3254 6102 เบอรโ์ ทรสาร : 0 3267 1669

8 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] / http://prachuap.nfe.go.th/thapsakae/index.php สงั กัด : สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบครี ีขันธ์ โครงสร้างการดาเนนิ งานใน กศน.อาเภอ ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอ คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลุ่มงานอานวยการ กลุม่ ภาคีเครอื ขา่ ยและ กศน.ตาบล กิจการพิเศษ กลุ่มส่งเสรมิ ปฏบิ ัติการ 1. งานธรุ การและสารบรรณ 1. งานจดั การศึกษานอกระบบ 1. งานสง่ เสรมิ สนับสนุนภาคี ตาบลห้วยยาง นางสาวสมิตา 2. งานการเงนิ และบญั ชี - สง่ เสรมิ การร้หู นงั สอื เครอื ขา่ ย โชตดิ าว / นางสมุ ติ รา สขุ อวบอ่อง 3. งานพสั ดุ - การศกึ ษาพน้ื ฐานนอกระบบ 2. งานกจิ การพเิ ศษ 4. งานอาคารสถานท่ี 2. งานจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ตาบลแสงอรุณ งานพาหนะ - การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ - โครงการอนั เนอ่ื งมาจาก นางสมุ ติ รา สุขอวบอ่อง 5. งานงบประมาณและระดม - การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวติ พระราชดาริ ทรัพยากร - การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและ ตาบลเขาล้าน นางนิยะดา อนิ ไชยยา/ 6. งานแผนงานและโครงการ ชุมชน - การปอู งกัน แก้ไขปญั หา นางสมุ ิตรา สขุ อวบอ่อง 7. งานขอ้ มูลสารสนเทศและ - การจัดกระบวนการเรยี นร้ตู าม ยาเสพติด/ โรคเอดส์ ตาบลทบั สะแก นางสาวภณั ฑิรา การรายงาน หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง - การส่งเสรมิ กจิ กรรม งิว้ งาม / นางสาวยุพเยาว์ เยาวหลี 8. งานเลขานกุ าร - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ประชาธิปไตย ตาบลนาหูกวาง นางสาวพรพมิ ล คณะกรรมการสถานศกึ ษา 3. งานการศึกษาตามอธั ยาศยั - การสนบั สนนุ ส่งเสรมิ เยาวมาลย์ /นางสาวยุพเยาว์ เยาวหลี 9. งานบุคลากร - งานห้องสมุดประชาชน 11ง1ป1ภ1า10543ราน.....ยะคงงศงงเใมาาาานวนู นนนนินบยปสนปผค์รวิเรรลาุมทสัะะชภมป(ศดชกกกาากินัาาลยตรสารคตใดิัะัมรใดนุณตสรพทสาภกาันมะราธรแอพว11์ ลาพะง24ดะ.ศทระึกรรษวใาาหงชธศ้มบกิ ึ4แสีสกัญา.ล่ือรา-ษงะสญา.นภา2งงงนารตัมูาาาักท5มธนนนิปิสะงว5ิกจกญักง่ลเาัด1าาบญชเารรนยี:สนพศศารนสร2ทึกึกัฒแมิษษ่อ้ง2นลเงาาเก-าะรถเทส2แวคานิ่ีายหดัร5ลรงผลือ่ิมก)ศล่งนกเโกึ ทรดาียษ่ี นรยารศนู้ยึกอ่อษกวาร่านะ“บอนยสวุบโ-กยกาแรบงงงานาาาชาะลนนนยาับะกกกดกจกจิิจองับงหกกงาาแทวารรรดัรุนนลศมน/กะลกักึู้ยกอกูศกมืษาเกึ เศาสเพาษภือร่ือตนาอแศาล.ึกะม”ษอโดัธายตยาามศมีอยั อาัธพนย.ศาานตศ.จาางบั2ยหสล5านอขว5่าย้ึ้นา1งพุ ททใเกอยนี่ดางาสวันงห์ าาตเนนยย่อบาดักวญุ ไไหงวทปลา้ใิพี นนนย์้ี สอนง่าย/ 1. เป็นห5.นง่วายนวงจิายั นแกละลพาัฒงนใานหกลักาสรูตดราเนินกากรารสศ่งกึ เษสาริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอก ระบบและ การศึกษสอ่ืาตนวาัตมกอรรธั มยาแศละัยเทแคลโนะโลรยบั ี ผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ 2. จัดทาข้อเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ต่อคณะกรรมการ 3. ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัย การพัฒนา หลักสูตร และ นวตั กรรมทางการศกึ ษา บุคลากรและระบบขอ้ มลู ขา่ วสารสนเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอัธยาศยั

9 4. ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ และการเทียบระดับการศึกษา 5. สง่ เสรมิ สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครวั ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วน ท้องถ่ิน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืนรวมตัวกัน เป็นภาคี เครอื ขา่ ย เพอื่ เสริมสรา้ งความเข้มแข็งในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 6. จัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถานี วิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พพิ ิธภณั ฑ์ ศนู ย์การเรยี นชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อ่ืน เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอยา่ งตอ่ เนื่องของ ประชาชน 7. ดาเนินการเก่ยี วกับการตดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 8. ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนที่บัญญัติให้เป็นอานาจหน้าท่ีของ สานกั งาน หรือตามทร่ี ฐั มนตรีมอบหมาย อานาจและหนา้ ที่ของสถานศึกษาสงั กัดสานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยต่อไปนี้(ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ.2551:2-37) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอ/เขต มี อานาจหน้าที่ ดังตอ่ ไปน้ี (ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551:2-37) 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. สง่ เสรมิ สนบั สนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศัย 3. ดาเนินการตามนโยบายพิเศษของรฐั บาลและงานเสริมสรา้ งความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ในพนื้ ท่ี 5. จัด ส่งเสริม สนบั สนนุ พัฒนาแหลง่ เรียนรู้และภมู ิปัญญาท้องถิน่ 6. วิจัยและพัฒนาคณุ ภาพหลกั สตู ร สอ่ื กระบวนการเรยี นรู้ และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์ 8. กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 9. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 10. ระดมทรพั ยากรเพอ่ื ใชใ้ นการจดั และพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 11. ดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายใน ให้สอดคลอ้ งกบั ระบบหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีกาหนด 12. ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย 1.5 คณะกรรมการ กศน.อาเภอ คณะกรรมการสถานศึกษา กศน.อาเภอทับสะแก ไดแ้ ก่ 1. นายคารณ หว้ ยหงษ์ทอง ประธานกรรมการ 2. นายสรุ พศั ต้งั เขาทอง กรรมการ 3. พ.ต.ท.สมมาต สงั ข์ทอง กรรมการ 4. นายสรุ สิทธ์ิ เปยี สงั ข์ กรรมการ

10 5. นายบุญสม สีเหลอื ง กรรมการ 6. นายเชดิ ชาย สุธรรมารกั ษ์ กรรมการ 7. นายโกมล หอมท่ัว กรรมการ 8. นางสุพิมล วทิ ยสมทิ ธิ์ กรรมการ 9. นางมณีรัตน์ อัจฉริยพนั ธกลุ กรรมการและเลขานกุ าร 10. นายสรุ พงษ์ อนันตธ์ นสาร ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร โดยใหค้ ณะกรรมการสถานศกึ ษาดังกลา่ วมีอานาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปน้ี 1. ให้คาปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะแผนพัฒนา /แผนปฏิบัติการการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยและให้ความเห็นชอบหลักสตู รของสถานศกึ ษา 2. ส่งเสริมให้มีการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากรจากชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ิน องคก์ รอ่ืนทง้ั ภาครฐั และเอกชน ให้มสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั 3. ติดตามและเสนอแนะผลการดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของสถานศึกษา 4. ปฏิบัตงิ านอืน่ ตามทค่ี ณะกรรมการสง่ เสริม สนับสนุนและประสานความร่วมมือการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กาหนด ข้อมูลบคุ ลากร กศน.อาเภอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก มีครูและบุคลากรจานวน ทัง้ ส้ิน 13 คน ดังนี้ ประเภท ช่ือ -สกลุ วฒุ ิการศึกษา 1. ขา้ ราชการ นางมณรี ัตน์ อัจฉริยพันธกุล ครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) บริหารการศึกษา 2. พนักงานราชการ นายสุรพงษ์ อนันตธ์ นสาร ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) ครูอาสาสมัครฯ กศน. นางสาวภชิ ชากร ชูรัตน์ วิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) ครู กศน.ตาบล 1. นางสมุ ติ รา สขุ อวบอ่อง คบ.สังคมศึกษา นกั จดั การงานทั่วไป 2. นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี คบ.เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษา 3. อตั ราจ้าง 1. นางสาวสมติ า โชติดาว ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ 2. นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ศศบ.การจดั การท่ัวไป 3. นางนยิ ะดา อินไชยยา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต 4. นางสาวภณั ฑริ า งิ้วงาม ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ 5. นายบญุ ทิพย์ สอนง่าย กศบ.ศลิ ปศึกษา 6. นางสาวรัตนาวลี สงิ ห์คาร บธบ.การจดั การทั่วไป 1. นางสาวเกษร ฤทธกิ ลู ศศบ.บรรณารกั ษ์ 2. นายสมชาย วงั ชัยศรี ม.ปลาย

11 ทาเนียบผู้บรหิ าร ลาดบั ท่ี ชอื่ -สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลา ท่ีดารงตาแหน่ง 1 นายทวีศกั ดิ์ แย้มพราย หัวหน้าศนู ย์ ฯ พ.ศ. 2537 - พ.ศ.2538 2 นางสาวขวัญจิตต์ ศรจี นั ทนากลุ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ พ.ศ. 2538 - พ.ศ.2548 3 นายสากล ประมงค์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ พ.ศ. 2548 - พ.ศ.2552 4 นายนิคม ฝอยทอง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ พ.ศ. 2552 - พ.ศ.2556 5 นางโกศล หลกั เมือง รองผ้อู านวยการ สนง.กศน.จงั หวดั พ.ศ. 2556 - พ.ศ.2557 ประจวบครี ขี นั ธ์ รักษาการใน 6 นางจิดาภา บัวทอง ตาแหน่งผอู้ านวยการ พ.ศ.2557 - พ.ศ.2558 7 นางบญุ มา ม่วงศรี ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอ พ.ศ.2558 - พ.ศ.2559 8 นางสาวนภาพร สิงห์จนั ทร์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ พ.ศ.2559 - พ.ศ.2560 ครูผู้ช่วยรกั ษาการในตาแหน่ง 9 นางมณรี ตั น์ อัจฉริยพนั ธกุล ผู้อานวยการ พ.ศ.2560 - ปัจจบุ ัน ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ รางวลั เกยี รตบิ ตั ร และผลงานดเี ด่นของสถานศึกษา ดา้ นสถานศกึ ษา ปี พ.ศ. 2563 กศน.อาเภอทับสะแก เกียรติบัตรรางวัลชมเชย การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สาหรับ นักศกึ ษา กศน.ระดับพื้นท่ี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ 2563 จากอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ฯ ณ หว้ากอ กศน.ตาบลทับสะแก ได้รับการประเมินคัดเลือก กศน.ตาบล 5 ดีพรีเมี่ยม อันดับท่ี 2 ระดับ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และได้รับเกียรติบัตร จากสานักงาน กศน. ให้เป็น กศน.ตาบล ตน้ แบบ 5 ดีพรเี มีย่ ม ระดับอาเภอประจาปี 2563 ปี พ.ศ. 2562 กศน.อาเภอทบั สะแก ไดร้ ับโล่เกยี รติคุณผา่ เกณฑม์ าตรฐาน สานักงานไรถ้ งั ขยะ ดีเด่น ประจาปี 2562 ตามโครงการลดปริมาณขยะและเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการขยะและชองเสียอนั ตราย กศน.อาเภอทับสะแก รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 คลิปวีดีโอผู้ประสบความสาเร็จ โครงการ สร้างเครอื ขา่ ยดจิ ทิ ลั ระดับตาบล กศน.อาเภอทับสะแก เปน็ สถานศกึ ษาทีม่ ีการบรหิ ารจัดการจานวนผเู้ ข้าสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ปลาย ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลาดบั ที่ 2 กศน.อาเภอทับสะแก เป็นสถานศึกษาท่ีมีการบริหารจัดการจานวนผู้เข้าสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ปลายภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 รอ้ ยละ 90.37

12 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก กศน.อาเภอทับสะแก ผ่านการประเมินเพ่ือคัดเลือกห้องสมุด ประชาชนดีเด่น ระดบั จังหวดั ประจาปีงบประมาณ 2562 ระดบั ชมเชย ปี พ.ศ. 2560 1. ไดร้ บั รางวัลรองชมเชย การประกวดโครงการงานวิทยาศาสตร์ ระดบั ประเทศ สาหรับ นักศึกษา กศน.ประจาปีงบประมาณ 2560 ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน จากกระทรวงศึกษาธิการ 2. ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดบั 1 การประกวดโครงการงานวทิ ยาศาสตรส์ าหรบั นกั ศกึ ษา กศน.ประจาปีงบประมาณ 2560 ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน จาก อุทยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ ปี พ.ศ. 2559 1. กศน.อาเภอทับสะแก ได้รับรางวัลที่ 3 การเข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ สงู สุดทกุ ระดับ จากสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ 2. กศน.ตาบลเขาล้าน ได้รับรางวัล กศน.ตาบลดีเด่น ระดับอาเภอ จากสานักงาน กศน. จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ 3. กศน.อาเภอทบั สะแก ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศอนั ดบั 1 เว็บไซต์ กศน.อาเภอดีเด่น ระดับ จาก สานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 4. กศน.ตาบลเขาล้าน ได้รับรางวัลท่ี 1 เว็บไซต์ กศน.ตาบลดีเด่น ระดับ จากสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ 5. กศน.ตาบลทับสะแก ได้รับรางวัลท่ี 2 เว็บไซต์ กศน.ตาบลดีเด่น ระดับ จากสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ 6. กศน.ตาบลอ่างทอง ไดร้ ับรางวัลท่ี 3 เว็บไซต์ กศน.ตาบลดเี ด่น ระดับ จากสานักงาน กศน. จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ ปี พ.ศ. 2558 1. ได้รบั รางวลั หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ ระดับดี จากสานกั งานกศน. จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ 2. กศน.เทศบาลตาบลทบั สะแก ได้รับรางวัลดเี ดน่ ระดบั อาเภอ จากสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ ปี พ.ศ. 2557 1. ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศโครงการประกวดผลิตภณั ฑ์ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนระดบั จงั หวดั 2. ได้รบั รางวัลชมเชย การประกวดเทียนพรรษา ประเภทความคดิ สรา้ งสรรค์ โครงการสบื สาน วฒั นธรรมประเพณแี ห่เทยี นพรรษา อาเภอทับสะแก ประจาปี 2557 ปี พ.ศ. 2556 ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตรจากสานักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ประจาจงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ ดังน้ี 1. รว่ มรณรงคใ์ หอ้ งค์การบรหิ ารสว่ นตาบลห้วยยางมีผู้มาใช้สิทธเิ์ ลอื กตั้งมากทส่ี ุด เป็น อนั ดับ 3 2. รว่ มรณรงคใ์ หอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลห้วยยาง นาหกู วาง อ่างทอง มบี ตั รเสยี น้อยที่สุด อันดบั 1 - 3

13 ปี พ.ศ. 2554 1. ไดร้ ับเกยี รติบตั รจากสานักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั ประจาจงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ได้รว่ มรณรงค์ส่งเสริมกระบวนการเรยี นรตู้ ามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เ์ ปน็ ประมขุ 2. กศน.ตาบลหว้ ยยาง ไดร้ บั คดั เลือกใหเ้ ป็น กศน.ตาบลดีเด่นระดับตาบล จากสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ 3. กศน.เทศบาลตาบลทับสะแก ไดร้ บั คดั เลอื กใหเ้ ป็น กศน.ตาบลดีเด่นระดบั จังหวดั จาก สานกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ ปี พ.ศ. 2550 1. ไดร้ ับเกียรตบิ ัตรจากสานักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ ประจาจงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 2. ร่วมปฏบิ ตั งิ านการจดั การเลอื กต้งั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ในปี 2550 3. โครงการหม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง กศน. บ้านหนองมะคา่ 4. โครงการหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง กศน. บา้ นหนองพิกุล 5. ไดร้ บั ประกาศเกียรติคุณจากสานกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ในการจัดกิจกรรม วันรักการอา่ น ด้านครูและบุคลากร ปี พ.ศ. 25563 นางมณีรัตน์ อัจฉริยพันธกุล ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ ผู้ให้การส่งเสริมและสนับสนุน งาน ประชาสมั พันธผ์ ่านเว็ปไซดแ์ ละสื่อโซเซียล ประจาปีงบประมาณ 2563 นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบลนาหูกวาง ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษาเข้าสอบปลาย ภาคเรยี นท่ี 2/2563 ในระดบั รอ้ ยละ 75 ข้ึนไป นางนิยะดา อินไชยยา ครู กศน.ตาบลเขาล้าน ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษาเข้าสอบปลายภาค เรียนที่ 2/2563 ในระดบั ร้อยละ 75 ขนึ้ ไป นางสาวภัณฑิรา งิ้วงาม ครู กศน.ตาบลทับสะแก ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษาเข้าสอบปลายภาค เรียนที่ 2/2563 ในระดบั รอ้ ยละ 75 ขน้ึ ไป นางสาวสมิตา โชติดาว ครู กศน.ตาบลห้วยยาง ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษาเข้าสอบปลายภาค เรยี นที่ 2/2563 ในระดับรอ้ ยละ 75 ขนึ้ ไป นางสุมิตรา สุขอวบอ่อง ครู อาสาสมัคร กศน. ได้รับเกียรติบัตรนักศึกษาเข้าสอบปลายภาค เรียนท่ี 2/2563 ในระดบั รอ้ ยละ 75 ขนึ้ ไป ปี พ.ศ. 2562 นางมณีรัตน์ อัจฉริยพันธกุล ผู้อานวยการ กศน.อาเภอผู้ให้การส่งเสริมและสนับสนุน งาน ประชาสัมพันธ์กจิ กรรม /ข่าวสาร กศน.อาเภอ ประจาปีงบประมาณ 2562 นายสรุ พงษ์ อนนั ต์ธนสาร ครู ผ้ชู ว่ ย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแขง่ ขันเขยี นข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ประจาปงี บประมาณ 2562

14 นายบุญทิพย์ สอนงา่ ย ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจาปีงบประมาณ 2562 นางนยิ ะดา อินไชยยา ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวภัณฑิรา ง้ิวงาม ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจาปงี บประมาณ 2562 นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวสมติ า โชติดาว ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ประจาปงี บประมาณ 2562 นางสาวจิราพร ยอดแก้ว ครู กศน.ตาบล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวยุพเยาว์ เยาวหลี ครู อาสาสมัคร กศน. รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียน ข่าวประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษาน อกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประจาปงี บประมาณ 2562 นางสุมิตรา สขุ อวบออ่ ง ครู อาสาสมัคร กศน. รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 1 การแข่งขันเขียนข่าว ประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวรัตนาวลี สิงห์คาร นักจัดการงานท่ัวไป รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันเขียน ข่าวประชาสัมพันธ์ โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประชาสัมพันธ์งานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวรัตนาวลี สิงห์คาร นักจัดการงานท่ัวไป รางวัลชนะเลิศงานประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ผ่านเวบ็ ไซตแ์ ละสือ่ โซเชยี ล นางสาวรัตนาวลี สิงห์คาร นักจัดการงานทั่วไป เป็นวิทยากรครู ข ผู้ประสบความสาเร็จ โครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ทิ ลั ระดบั ตาบล ประจาปงี บประมาณ 2562 นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล เป็นวทิ ยากรครู ค ผู้ประสบความสาเร็จ โครงการ สรา้ งเครอื ขา่ ยดิจิทลั ระดับตาบล ประจาปีงบประมาณ 2562 นางสาวรัตนาวลี สิงห์คาร นักจัดการงานท่ัวไป รางวัลชนะเลิศอันดับท่ี 1 งานประชาสัมพันธ์ กิจกรรม /ขา่ วสาร กศน.อาเภอ ประจาปีงบประมาณ 2562 ปี พ.ศ. 2561 นางศันสุนีย์ ศรีพรหมทอง ครู กศน.ตาบลทับสะแก ได้รับการคัดเลือกเป็นครูผู้ขับเคลื่อนการ ดาเนินโครงการยอดเยีย่ มในโครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชุมชน ระดบั จงั หวดั

15 ปี พ.ศ. 2559 1. นางศนั สนุ ีย์ ศรีพรหมทอง ได้รับรางวัลประเภท ครู กศน.ตาบลและบุคลากรใน สถานศกึ ษาดเี ด่น ประจาปี 2559 จากสานกั งานกศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2. นางสาวนภาพร สงิ หจ์ ันทร์ ไดร้ บั รางวัลครู ผนู้ าดา้ นการศึกษาขนั้ พื้นฐานดีเด่น ประจาปี 2559 จากสานักงานกศน.จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ ปี พ.ศ. 2558 1. นางนิยะดา อนิ ไชยยา ครูกศน. ตาบลเขาล้าน ได้รับรางวลั ประเภท ครู กศน.ตาบลแล บุคลากรในสถานศึกษาดเี ดน่ ประจาปี 2558 จากสานักงานกศน.จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ 2. นางศนั สุนยี ์ ศรีพรมทอง ครูกศน. เทศบาลตาบลทบั สะแก ได้รับ รางวัลที่ 3 ประเภท ผลงานการจัดทาแผนจัดการเรียนรู้และคลิปวีดีโอดีเด่น หลักสูตร การพัฒนาศักยภาพครูในการจัด กระบวนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ่อื ETV จากสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ 3. นางสาววนฤดี สขุ สวสั ด์ิ ได้รับรางวลั ประเภท ศิษยเ์ กา่ ดีเด่น จาก สานักงาน กศน จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ ด้านเครอื ข่าย / แหล่งการเรียนรู้ ปี พ.ศ. 2563 นางสาวจริยา ปัจฉิมเพ็ชร ได้รับการคัดเลือกผลิตภัณฑ์/สินค้า กศน.พรีเมี่ยม ระดับจังหวัด ลาดับที่ 3 ปี พ.ศ. 2562 1. นางนิยะดา อินไชยยา ชุมชนบ้านทุ่งกลาง ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตาม โครงการไทยนยิ ม ยงั่ ยนื ระดับอาเภอ ของสานักงาน กศน. 2. นางสาวจิราพร ยอดแก้ว ชุมชนบ้านยุบหวาย ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตาม โครงการไทยนยิ ม ยง่ั ยนื ระดบั ตาบล ของสานักงาน กศน. 3. นางสาวภัณฑิรา ง้ิวงาม ชุมชนบ้านช่องขวาง ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตาม โครงการไทยนยิ ม ยั่งยนื ระดบั ตาบล ของสานักงาน กศน. 4. นางสาวสมิตา โชติดาว ชุมชนบ้านน้าตก ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตาม โครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตาบล ของสานักงาน กศน. 5. นางสาวพรพิมล เยาวมาลย์ ชุมชนบ้านทุ่งตาแก้ว ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบ ตามโครงการไทยนิยม ยงั่ ยืน ระดับตาบล ของสานกั งาน กศน. 6. นายบุญทิพย์ สอนง่าย ชุมชนบ้านเกาะสีดา ได้รับรางวัลประกาศเป็นชุมชนต้นแบบตาม โครงการไทยนิยม ยัง่ ยนื ระดบั ตาบล ของสานกั งาน กศน. ปี พ.ศ. 2561 1. ชุมชนบา้ นหินเทนิ หมทู่ ี่ 5 ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับสะแก จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ ได้รับรางวัลชุมชนต้นแบบการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ประจาปี 2561 ระดับสานักงาน กศน. กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปี 2561 2. บา้ นหนังสอื ชุมชนบ้านห้วยแหง้ ตาบลเขาล้าน อาเภอทบั สะแก จงั หวัด

16 ประจวบครี ีขนั ธไ์ ด้รับการคัดเลือกเป็นบา้ นหนังสือชุมชนต้นแบบ ระดับจังหวัด และระดับกลุ่มสานักงาน กศน.จงั หวดั “สมุทรครี ี” 3. นางอวยพร ครี ีวเิ ชียร ไดร้ บั มอบโล่เชดิ ชเู กียรติในการร่วมดาเนินโครงการ “หอ้ งสมุด เคล่อื นที่สาหรบั ชาวตลาด” ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี วันท่ี 2 เมษายน 2561 4. ตาบลแสงอรุณ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ีขนั ธ์ ไดร้ ับรางวลั ศนู ย์สง่ เสริมพฒั นา ประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) ดีเดน่ ระดบั จงั หวัด ด้านผเู้ รยี น กศน.ตาบลนาหกู วาง ปี พ.ศ. 2563 กลมุ่ ร่งุ ตะวนั กศน.ตาบลทบั สะแก รางวัลเรยี นดี กลุ่มแสงทอง ระดบั ประถมศึกษา 1. นายภา ปานดี กศน.ตาบลแสงอรณุ 2. นางสาวปารณยี ์ ศรีโพธ์ชิ ้าง กศน.ตาบลนาหูกวาง 3. นางสาวอารีวรรณ กลอ่ มเสียง กศน.ตาบลเขาล้าน 4. นางสาวสายหยุด แนวดี กศน.ตาบลอา่ งทอง ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กลมุ่ แสงทอง 1. นายวฒุ ชิ ัย กนั กลับ กลมุ่ รุ่งตะวัน 2. นางสาวดวงจันทร์ ทองลบ กศน.ตาบลหว้ ยยาง 3. นายจกั รกฤษณ์ พฒุ วิ ัฒนสถาพร กศน.ตาบลทบั สะแก 4. นางสาวเดอื น เชียงโชค 5. นางสาวชตุ ิมา โรจนพิทยากลุ กศน.ตาบลแสงอรณุ 6. นายจักรกฤษ ผ่องใส กศน.ตาบลนาหกู วาง 7. นายกนกพล คาทอง กศน.ตาบลเขาลา้ น 8. นางสาวสาวิตรี วรรณประไพ กศน.ตาบลอ่างทอง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กลมุ่ แสงทอง 1. นางสาวธันยก์ นก พมิ พา กลุม่ รงุ่ ตะวนั 2. นางสาวนฤชล พง่ึ พินจิ กศน.ตาบลหว้ ยยาง 3. นางสาวขวญั ดวงสม กศน.ตาบลทบั สะแก 4. นางสาวจนั ทร์จิรา วงศเ์ ณร 5. นางสาวสวุ รรณ สอนสุข กศน.ตาบลหว้ ยยาง 6. นายพสิ ิทธิ์ สูงสถิตตานนท์ กศน.ตาบลห้วยยาง 7. นางสาวสุรยี ์ รนุ รพี นั ธ์ กศน.ตาบลแสงอรณุ 8. นางสาวปาลติ า ผ่องใส กศน.ตาบลแสงอรณุ รางวัลประพฤติดี 1. นางสาวดวงพร เลือดแดง 2. นางสาวศิรยิ า มง่ิ ใหญ่ 3. นายวรนั ทร ทบั สขุ 4. นางสาวณฐั ยาน์ จีนพกุ

17 5. นางสาวณฐั ฎรยี ์ กลดั เขม็ ทอง กศน.ตาบลทับสะแก 6. นางสาวรมย์รวี เขาทอง กศน.ตาบลทบั สะแก 7. นางสาวยุภาพร ยพุ จันทร์ กศน.ตาบลทับสะแก 8. นางสาวศิริวรรณ อนิ ทรกูล กศน.ตาบลนาหูกวาง 9. นางสาวศุภสตุ า อดั แสง กศน.ตาบลนาหูกวาง 10.นางสาวกนกอร ชจู ติ ต์ กศน.ตาบลนาหูกวาง 11.นางสาวฐิตญิ า พุกล้ิม กลุ่มแสงทอง 12.นางสาวพรภิมน ปมุ เพชร กลมุ่ แสงทอง 13.นางสาวจันทรจ์ ิรา วงศเ์ ณร กศน.ตาบลอา่ งทอง 14.นางสาวฮามดี ้ะ ย่ายอด กศน.ตาบลเขาล้าน 15.นางสาวณฐั วรรณ ชนะภัย กศน.ตาบลเขาล้าน 16.นางสาวปาวณีย์ ศรโี พธิ์ชา้ ง กลุ่มรุ่งตะวนั 17.นายจักรกฤษ ผ่องใส กลมุ่ ร่งุ ตะวัน 18.นางสาวสธุ ินี ดวงจันทร์ กล่มุ รุง่ ตะวัน ปี พ.ศ. 2562 กศน.ตาบลนาหูกวาง รางวัลเรียนดี กลุ่มแสงทอง 1. นางสาวชฏาพร จันทรฉ์ าย กศน.ตาบลหว้ ยยาง 2. นายจกั รพงษ์ พลายบัว กศน.ตาบลแสงอรุณ 3. นางปราณี ปานปลอด กศน.ตาบลเขาลา้ น 4. นางสาวสภุ าพร ไกรศริ ิ กศน.ตาบลเขาลา้ น 5. นางสาวภิญญดา จงลือชา กศน.ตาบลเขาลา้ น 6. นางสาวเยาวเรศ เปรียบปราง 7. นางธดิ ารตั น์ ชดู อกไม้ กศน.ตาบลอ่างทอง รางวลั ความประพฤตดิ ี กศน.ตาบลอา่ งทอง 1. นางสาวเดอื น ชูชีพ กศน.ตาบลนาหูกวาง 2. นายชาคริต แย้มนาม กศน.ตาบลนาหกู วาง 3. นายภา ปานดี กศน.ตาบลนาหูกวาง 4. นายสุรชยั มะวี กศน.ตาบลทบั สะแก 5. นางสาวนฤชล พ่งึ พนิ ิจ กศน.ตาบลทบั สะแก 6. นางสาวอารวี รรณ กล่อมเสยี ง กศน.ตาบลเขาล้าน 7. นางสาวปารฉิ ัตร บญุ มา กศน.ตาบลเขาลา้ น 8. นางสาวลดั ดาวลั ย์ บัวงาม กศน.ตาบลแสงอรณุ 9. นางสาวณัฐวรรณ ชนะภัย กศน.ตาบลแสงอรณุ 10. นายสุรศกั ดิ์ เปรมปรี กศน.ตาบลห้วยยาง 11. นายขวญั ชัย สวุ รรณเสน กศน.ตาบลหว้ ยยาง 12. นางสาวปู แสงเลศิ กลมุ่ แสงทอง 13. นางสาวอภิญญา ขวัญออ่ น 14. นางสาวนนั ทยิ า เกตุประยรู

18 15. นางสาวพิไลพร ดเี ลศิ กลุม่ แสงทอง 16. นางกฤษณี ธรรมา กลมุ่ ร่งุ ตะวนั 17. นายจักรกฤษ ผอ่ งใส กลมุ่ รุ่งตะวนั 18. นายพสิ ิทธิ์ สูงสถติ ตานนท์ กลมุ่ รุ่งตะวัน 19. นางสาวชลดา เถอ่ื นบญุ กศน.ตาบลเขาลา้ น ปี พ.ศ. 2561 1. นางกาญจนา ศุภานุสนธิ์ ได้รับรางวัลตามโครงการดิจิทัลชุมชนระดับจังหวัด เป็นผู้ประสบ ความสาเร็จยอดเย่ียมจากโครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน ในการจาหน่ายสินค้าผ่านออนไลน์ คือ มะพร้าว เคลือบช็อคโกแลต 2. นายวินัย เทศแย้ม ได้รับรางวัลชมเชยเข้าประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา กศน. ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ณ อทุ ยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ 3. นางสาวยุพา ชมบารงุ ได้รับรางวัลชมเชยเข้าประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา กศน. ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ณ อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ 4. นายวันเฉลิม ชัยชนะ ได้รับรางวัลชมเชยเข้าประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สาหรับนักศึกษา กศน. ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ณ อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์พระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ปี พ.ศ. 2560 1. ได้รับรางวัลรองชมเชย การประกวดโครงการงานวิทยาศาสตร์ ระดับประเทศ สาหรับ นักศกึ ษา กศน. ประจาปีงบประมาณ 2560 ด้านการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน จาก กระทรวงศึกษาธิการ 2. ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดโครงการงานวิทยาศาสตร์สาหรับนักศึกษา กศน. ประจาปงี บประมาณ 2560ด้านการใช้และการอนรุ กั ษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวัน จากอุทยาน วิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ ปี พ.ศ. 2559 1. ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวดโครงการงานสาหรับนักศกึ ษา กศน. โครงการ วนั ที่ระลกึ สากลแห่งการรู้หนงั สือ ประจาปี 2559 จากสานกั งาน กศน. จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ 2. ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศ อนั ดับ 1 การตอบปญั หาชงิ รางวลั โดย นางสาวเพยี งใจ เขม็ กลดั นักศึกษา กศน.ตาบลทับสะแก โครงการวันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ ประจาปี 2559 จาก สานกั งาน กศน. จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ 3. ได้รับรางวัลชนะเลิศ อนั ดับ 1 การข่างขนั เล่านทิ าน โดย นางสาวเกษราภรณ์ ภรู่ ะหงษ์ นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลเขาลา้ น โครงการวันที่ระลกึ สากลแหง่ การรู้หนังสือ ประจาปี 2559 จากสานักงาน กศน. จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

19 4. ได้รับรางวัลชมเชย การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สาหรบั นักศกึ ษา กศน. ประจาปี 2559 ด้านการใช้และอนุรักษ์พลังงานไฟฟูาในชีวิตประจาวันจากสานักงาน กศน. จังหวัด ประจวบคีรขี ันธ์ ปี พ.ศ. 2558 1. ไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ การประกวดคลิปวดิ โี อโครงการประกวดคา่ นิยมหลกั 12 ประการของ คนไทย ระดบั จงั หวดั จากสานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 2. ไดร้ ับรางวัล ชนะเลิศ การประกวดการพูด (Talk show) โครงการประกวดค่านยิ มหลกั 12 ประการของคนไทย ระดับจังหวัดจาก สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ 3. ได้รับรางวลั ชนะเลศิ การประกวดประเภท (Talk show)โครงการประกวดค่านยิ มหลัก 12 ประการของคนไทยระดบั ภาค จากสถาบนั กศน.ภาคกลาง 4. ไดร้ บั รางวลั ชนะเลิศ การแขง่ ขนั การพูด( Talk show) โครงการวนั ทร่ี ะลึกสากลแหง่ การรู้ หนงั สือระดับจงั หวดั จากสานกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ 5. ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขนั การทาอาหารทม่ี สี ว่ นประกอบของมะพรา้ วและสับปะรด ประเภทอาหารคาว โครงการวันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ ประจาปี 2558 จาก สานักงาน กศน. จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ์ 6. ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 การแข่งขันการทาอาหารท่ีมีส่วนประกอบของมะพรา้ ว และสับปะรด ประเภทอาหารหวาน โครงการวันท่ีระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือประจาปี 2558 จาก สานักงาน กศน.ประจวบครี ีขนั ธ์ 7. ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 1 ประกวดโครงการงานสาหรบั นกั ศึกษา กศน. โครงการ วนั ที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนงั สือ ประจาปี 2558 จากสานกั งาน กศน. จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 8. ได้รับรางวลั รองชนะเลศิ ลาดับที่ 2 การแข่งขนั การเขียนเรียงความ โครงการวันทีร่ ะลึก สากลแห่งการรู้หนังสือ ประจาปี 2558 จากสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ ปี พ.ศ. 2557 1. นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลทบั สะแก ไดร้ ับรางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 2 การประกวดโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ “โครงงานเร่ืองโคมไฟจากเส้นด้าย” งานมหกรรมวทิ ยาศาสตรส์ ญั จร 2. นักศกึ ษา กศน.อาเภอทบั สะแก ได้รบั รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2 โครงการประกวดสุด ยอด กศน. ระดบั จงั หวัด

20 กศน.ตาบลในสังกัด สถานทต่ี ้ัง ผู้รับผิดชอบ หมู่ 5 บา้ นทุ่งกว้าง ต.หว้ ยยาง นางสาวสมติ า โชตดิ าว กศน.ตาบล หมู่ 2 บ้านแสงทอง ต.แสงอรุณ นางสุมิตรา สขุ อวบอ่อง 1. กศน.ตาบลห้วยยาง หมู่ 4 บา้ นตลาดทับสะแก เทศบาลตาบลทบั สะแก นางสาวภณั ฑริ า ง้วิ งาม 2. กศน.ตาบลแสงอรุณ หมู่ 4 บา้ นพตุ ะแบก ต.เขาล้าน นางนยิ ะดา อนิ ไชยยา 3. กศน.ตาบลทบั สะแก หมู่ 3 บ้านโปุงแดง ต.นาหกู วาง น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์ 4. กศน.ตาบลเขาล้าน หมู่ 3 บา้ นสีดางาม ต.อ่างทอง นายบุญทิพย์ สอนง่าย 5. กศน.ตาบลนาหูกวาง 6. กศน.ตาบลอา่ งทอง 6 แห่ง 6 คน รวมจานวน ขอ้ มลู หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทบั สะแก ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก ได้จัดสร้างข้ึน เม่ือปี 18 ธันวาคม พ.ศ. 2528 โดยเงิน งบประมาณจากทางราชการจานวน 500,000 บาท (ห้าแสนบาท) และสมทบด้วยเงินงบพัฒนาชนบท ของสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร จานวน 220,000 บาท (สองแสนสองหมื่นบาท) รวม 855,550 บาท ต่อมา ใน ปีงบประมาณ 2532 อาเภอทบั สะแกได้ร่วมกบั ศนู ย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พฒั นาหอ้ งสมดุ แห่งน้โี ดยหาเงนิ บริจาค มาไว้ใชใ้ นกจิ กรรมของหอ้ งสมุด โดยได้นาเงินส่วนหน่ึงมาสร้างรั้ว และโรงรถให้กับผู้เข้าใช้บริการ พร้อมทั้งได้แต่งตั้งคณะกรรมการห้องสมุด จานวน 10 ท่าน เพื่อ บริหารงานของหอ้ งสมดุ ใหก้ ้าวหน้าย่งิ ขึน้ ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก ได้ทาพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เม่ือวันท่ี 8 กันยายน 2532 และเปิดให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนจนถึงปจั จบุ นั นี้ ขอ้ มูลแหลง่ การเรยี นรู้หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก สถานทต่ี ง้ั หมู่ท่ี 4 ตาบลทบั สะแก อาเภอทบั สะแก จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ 77130 หมายเลขโทรศพั ท์โทรศัพท์ 0 3267 1990 หมายเลขโทรสาร 0 3267 1990 บา้ นหนังสือชุมชน ชอ่ื บ้านหนังสือชุมชน ทต่ี ้งั ผูร้ ับผดิ ชอบ บา้ นทุง่ ยาว หมู่ 3 ตาบลห้วยยาง นางสาวมาณิตา กลิ่นชมภู บ้านแสงทอง หมู่ 2 ตาบลแสงอรณุ นายไพรนิ ทร์ นนั ทจินดา บา้ นชอ่ งขวาง หมู่ 3 ตาบลทับสะแก นายวทิ ยา สนั ตสิ ขุ ไพบูลย์ บ้านสุขสาราญ หมู่ 5 ตาบลทับสะแก นางสาวมณฑา กล่ินช่ืน บา้ นหว้ ยแหง้ หมู่ 1 ตาบลเขาล้าน นายสวาท ชนะภยั บ้านโปุงแดง หมู่ 3 ตาบลนาหูกวาง นายสมชาย รกั ซอ่ื บ้านวงั ยาง หมู่ 4 ตาบลอ่างทอง นางอรอุมา สะอาดศรี รวมจานวน 7 แห่ง

21 แหล่งเรยี นรู้ในชุมชนและทนุ ด้านงบประมาณทส่ี ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในการจดั การศกึ ษา 1. แหล่งเรยี นรู้ประเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ความรคู้ วามสามารถ ทอ่ี ยู่ 1. นายอดิศักดิ์ พิณสวุ รรณ การวาดภาพศิลปกรรมไทย ลายไทย 14/2 หมู่ 1 ต.นาหูกวาง การแกะโฟม รปู ลายตา่ ง ๆ ประดับ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ ตกแตง่ งานศลิ ปกรรม 2. นางสาวเกษราวรรณ จันทร์ เป็นผู้มีความคิดริเร่ิมฟ้นื ฟูระบากะลา 31/1 หมู่ 5 ต.แสงอรุณ ฉาย ซ่งึ เปน็ ศลิ ปะการแสดงพ้นื บา้ นของ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ อาเภอทบั สะแก สร้างวฒั นธรรม ท้องถ่ินโดยใชร้ ะบากะลาเปน็ สอ่ื ใน การถ่ายทอดวถิ ีชวี ิตของท้องถิ่น 3. นายสัญชีพ สายทองสขุ รักษาคนทีถ่ ูกงกู ัดโดยสมนุ ไพรไทย 1 หมู่ 10 ต.เขาล้าน อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 4. นายชยั ศรี ตนประเสรฐิ ทานา้ ส้มควนั ไม้จากการเผาถ่าน 141 หมู่ 5 ต.แสงอรุณ กะลามะพรา้ ว อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 5. นางสุภาพร เนนิ ผล แพทย์แผนไทยประยกุ ตห์ ัตถบาบัด โรงพยาบาลทับสะแก ต.นาหูกวาง อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ีขนั ธ์ 6. นายสพุ จน์ แก้ววิเชียร พิธกี รในงานพธิ ีกรรมต่าง ๆ 127/2 หมู่ 1 ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ีขันธ์ 7. นายวทิ ยา สนั ติสุขไพบูลย์ การเกษตรกรรมแบบนวเกษตร 100/2 หมู่ 3 ต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ีขนั ธ์ 8. คณุ ดา ย่ีแพร ช่างไม้/เฟอร์นิเจอร์ 70 หมู่ 9 ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ 9. คุณสิรริ ดา วฒุ ิสาร แปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากมะพร้าว 220 หมู่ 4 ต.ทับสะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรขี ันธ์ 10. คณุ สมเกยี รติ วิทยาปญั ญา น้ามนั มะพรา้ วบริสทุ ธิ์ 57/10 หมู่ 6 ต.ทับสะแก นนท์ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 11. คุณอัญญพชิ า พิทยประภา เม่ียงคาทับสะแกถัว่ ลิสง 68/15 หมู่ 6 ต.ทับสะแก พันธ์ อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 12. อาจารยเ์ กษม กลุ กาเนดิ สขุ แปลงสาธติ เกษตรทฤษฎใี หม่ 310/13 หมู่.10 ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ีขันธ์ 13. คุณววิ ฒั น์ โชคกิจการ สถานีวิทยชุ ุมชน 95 FM / 105 FM หมู่ 4 ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรขี ันธ์ 14. นางกาญจนา ศภุ านุสนธ์ิ แปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากมะพรา้ ว 4 หมู่ 9 ต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์

3. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ไดแ้ ก่ 22 แหล่งเรียนรู้อนื่ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทตี่ ั้ง 1. แหล่งการเรียนรตู้ าบลห้วยยาง หมทู่ ่ี 5 หมู่ที่ 5 1.1. กศน.ตาบลหว้ ยยาง กศน.ตาบล หมู่ท่ี 9 หมู่ท่ี 11 1.2. ห้องสมุดประชาชนตาบลหว้ ยยาง ห้องสมุดประชาชน หม่ทู ี่ 7 1.3. กล่มุ กล้วยอบ / มะพรา้ วอบ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ หมู่ท่ี 2 หมทู่ ี่ 3 1.4. อทุ ยานแหง่ ชาติน้าตกห้วยยาง แหล่งเรียนรตู้ ามธรรมชาติ หมทู่ ี่ 3 หมทู่ ่ี 4 1.5. อุทยานแหง่ ชาตหิ าดวนกร แหล่งเรยี นรู้ตามธรรมชาติ หมทู่ ่ี 6 หมู่ท่ี 5 2. แหลง่ การเรยี นรตู้ าบลแสงอรุณ หมู่ท่ี 4 2.1 กศน.ตาบลแสงอรุณ กศน.ตาบล หมู่ที่ 3 หมู่ท่ี 4 2.2 กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนนา้ มนั มะพรา้ ว ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ หมู่ที่ 9 หมู่ท่ี 6 2.3 กลุ่มทองม้วน ภมู ิปัญญาท้องถิ่น หมทู่ ่ี 4 หมทู่ ี่ 1 2.4 กลมุ่ ประดิษฐด์ อกไม้ในงานพธิ ตี ่าง ๆ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ หมทู่ ี่ 2 2.5 กลุ่มทาไมก้ วาดจากก้านมะพร้าว ภูมิปัญญาท้องถ่ิน หมทู่ ี่ 7 หมทู่ ี่ 5 2.6 การทานา้ สม้ ควนั ไม้ (วดู๊ เวเนการ)์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่ที่ 3 3. แหล่งการเรียนรูเ้ ทศบาลตาบลทบั สะแก หมทู่ ี่ 4 หมทู่ ี่ 9 3.1 กศน.เทศบาลตาบลทับสะแก กศน.ตาบล หมู่ท่ี 4 หมู่ที่ 8 3.2 วัดทับสะแก ศาสนา วฒั นธรรม หมทู่ ี่ 1 3.3 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก ห้องสมดุ ประชาชน หมู่ที่ 3 3.4 กลุ่มแปรรูปมะพร้าว ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ 3.5 กลมุ่ เมี่ยงคาทับสะแก ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ 3.6 สภาวฒั นธรรมอาเภอทับสะแก ศาสนา วฒั นธรรม 3.7 วัดท่งุ ประดู่ ศาสนา วัฒนธรรม 4. แหล่งการเรียนรู้ตาบลทับสะแก 4.1 กศน.ตาบลทบั สะแก กศน.ตาบล 4.2 วดั หนองพิกุล ศาสนา วัฒนธรรม 4.3 กลุ่มถา่ นกะลามะพร้าวอัดแท่ง ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ 4.4 ผักปลอดสารพิษ ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ 5. แหล่งการเรียนรตู้ าบลเขาลา้ น 5.1 กศน.ตาบลเขาลา้ น กศน.ตาบล 5.2 อุทยานแหง่ ชาติน้าตกเขาล้าน แหล่งเรียนรตู้ ามธรรมชาติ 5.3 โรงทอผา้ กีก่ ระตุก ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น 5.4 วดั ดอนใจดี ศาสนา วัฒนธรรม 5.5 วดั นาลอ้ ม ศาสนา วัฒนธรรม 6. แหลง่ การเรยี นร้ตู าบลนาหูกวาง 6.1 กศน.ตาบลนาหูกวาง กศน.ตาบล

23 แหล่งเรียนรอู้ ่นื ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตัง้ 6.2 วัดทุ่งเคท็ เจริญธรรม ศาสนา วัฒนธรรม หมทู่ ี่ 3 6.3 วัดนาหกู วาง ศาสนา วฒั นธรรม หมู่ที่ 4 6.4 วัดเขาบ้านกลาง ศาสนา วัฒนธรรม หมูท่ ี่ 1 7. แหลง่ การเรยี นร้ตู าบลอ่างทอง 7.1 กศน.ตาบลอา่ งทอง กศน.ตาบล หมู่ท่ี 3 7.2 วดั อ่างสุวรรณ ศาสนา วฒั นธรรม หม่ทู ่ี 6 7.3 ฟาร์ม S.M ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ หมทู่ ี่ 8 7.4 กลมุ่ ทานา้ ตาลมะพร้าว ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ หมู่ท่ี 8 7.5 กล่มุ ทานา้ มันมะพรา้ ว ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น หมทู่ ่ี 5 7.6 กลมุ่ ทาไวน์ ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ หมู่ที่ 6 7.7 หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ( กศน. ) ภูมิปัญญาท้องถิ่น หม่ทู ่ี 5 บ้านหนังสือชุมชน ท่ีตง้ั ผูร้ ับผดิ ชอบ ชือ่ บ้านหนังสือชุมชน หมู่ 3 ตาบลหว้ ยยาง นางสาวมาณติ า กล่นิ ชมภู บา้ นชายทะเล หมู่ 2 ตาบลแสงอรุณ นายไพรนิ ทร์ นนั ทจินดา บา้ นแสงทอง หมู่ 3 ตาบลทบั สะแก นายวทิ ยา สนั ตสิ ุขไพบูลย์ บ้านชอ่ งขวาง หมู่ 5 ตาบลทบั สะแก นางสาวมณฑา กลน่ิ ชืน่ บา้ นสขุ สาราญ หมู่ 1 ตาบลเขาล้าน นายสวาท ชนะภยั บา้ นห้วยแห้ง หมู่ 3 ตาบลนาหูกวาง นายสมชาย รกั ซื่อ บ้านโปรง่ แดง หมู่ 4 ตาบลอ่างทอง นางอรอุมา สะอาดศรี บา้ นวงั ยาง 7 แห่ง รวมจานวน 3. แหล่งสนับสนนุ ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ไดแ้ ก่ ภาคีเครอื ขา่ ย ที่อยู่/ที่ตง้ั 1. สหกรณเ์ ครดติ ยูเนย่ี นพัฒนาชมุ ชน บา้ นพุตะแบก ม.4 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 2. สหกรณ์เครดิตยเู น่ยี นพัฒนาชมุ ชนบา้ นแสงอรุณ ม.4 ต.แสงอรุณ อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ 3. สหกรณเ์ ครดิตยูเน่ียนพฒั นาชุมชน บ้านหินเทิน ม.5 ต.แสงอรณุ อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 4. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลห้วยยาง ม.5 ต.หว้ ยยาง อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 5. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลแสงอรณุ ม.4 ต.แสงอรณุ อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 6. องค์การบริหารสว่ นตาบลทับสะแก ม.1 ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ 7. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลเขาล้าน ม.4 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 8. องค์การบริหารสว่ นตาบลนาหูกวาง ม.5 ต.นาหกู วาง อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 9. องคก์ ารบริหารส่วนตาบลอ่างทอง ม.3 ต.อา่ งทอง อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ขี นั ธ์ 10. เทศบาลตาบลทบั สะแก ม.6 เทศบาลต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 11. สานักงานเกษตรอาเภอทับสะแก ม.5 ต.ทับสะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 12. สานักงานปศุสัตว์อาเภอทบั สะแก ม.4 เทศบาลต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

24 ภาคเี ครอื ข่าย ทีอ่ ยู่/ทตี่ ้งั 13. กล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชนอาเภอทบั สะแก ม.1 ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 14. สถานตี ารวจภูธรทบั สะแก ม. 4 เทศบาล ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ีขันธ์ 15. โรงพยาบาลทบั สะแก ม.1 ต.นาหูกวาง อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 16. ทว่ี ่าการอาเภอทบั สะแก ม. 4 เทศบาลต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 17. สภาวฒั นธรรมอาเภอทับสะแก ม. 4 เทศบาลต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 18. กลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนจั่นมะพรา้ ว ม.9 ต.ทบั สะแก อ.ทบั สะแก จ.ประจวบครี ขี ันธ์ 19. กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนไม้กวาดก้านมะพร้าว ม.5 ต.ทบั สะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

25 ส่วนท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษา นโยบายและจุดเน้นที่เกี่ยวข้องกบั การดาเนนิ งานของกระทรวงศึกษาธกิ ารปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้การดาเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุเปูาหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จงึ ประกาศนโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพือ่ ให้สว่ นราชการในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทาแผนและ งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมทั้งขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการศึกษาให้ มีคณุ ภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า เพ่ือเปูาหมาย คือ ผู้เรียนทุกช่วงวัย ดังน้ี หลกั การตามนโยบาย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดาเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ในฐานะหน่วยงานเจา้ ภาพขบั เคลือ่ นทกุ แผนยอ่ ยในประเดน็ 12 การพัฒนาการเรียนรู้ และแผนย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมท้ังแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และนโยบาลรัฐบาลในส่วนด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วง วยั และนโยบายเรง่ ด่วน เรื่องการเตรยี มคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 นอกจากนีย้ งั สนับสนนุ การขับเคลื่อนแผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2562-2565) นโยบายและแผนระดบั ชาตวิ า่ ด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562-2565) รวมท้ังนโยบาย และแผนตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง โดยคาดหวงั วา่ ผเู้ รยี นทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน ดังน้ัน ใน การเร่งรดั การทางานภาพรวมกระทรวงให้เกดิ ผลสมั ฤทธ์เิ พือ่ สร้างความเชือ่ มน่ั ให้กบั สังคม และผลักดันให้ การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้ 1. ปรบั รอ้ื และเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพ่ือหลอมรวมภารกิจ และบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ ที่ สามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมท้ังการนาเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามาช่วยทัง้ การบริหารงานและการจัดการศกึ ษารองรบั ความเปน็ รัฐบาลดจิ ิทลั 2. ปรับรื้อและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผนงาน/ โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ที่สามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืน รวมทั้ง กระบวนการจดั ทางบประมาณท่มี ีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอยา่ งคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เชือ่ ม่นั และรว่ มสนบั สนุนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษามากย่งิ ข้ึน 3.ปรบั ร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการบรหิ ารจดั การและพฒั นากาลงั คนของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมุง่ บริหารจดั การอตั รากาลังใหส้ อดคล้องกบั การปฏิรูปองค์การ รวมทัง้ พฒั นา

26 สมรรถนะและความรู้ความสามารถของบคุ ลากรภาครัฐ ให้มีความพร้อมในการปฏบิ ตั งิ านรองรบั ความ เป็นรฐั บาลดจิ ทิ ัล 4.ปรับร้ือและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด การศึกษาเพื่อคณุ วฒุ ิ และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ทส่ี ามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 5. ดาเนินการปลดล็อก ปรับเปล่ียน เปิดกว้าง ที่เป็นเง่ือนไขต่าง ๆ เพ่ือให้บรรลุผลตามนโยบาย “การศึกษายกกาลังสอง (Thailand Education Eco - System : ) การศึกษาที่เข้าใจ Supply และ ตอบสนองโจทย์ Demand” โดย -ปลดล็อก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนสังคมให้สามารถดาเนินการท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาได้อย่าง รวดเร็ว รวมถงึ การบริหารการศึกษาของประเทศใหค้ รอบคลมุ ทกุ พื้นที่ -ปรบั เปล่ียน หลกั สตู รการเรียนการสอนทีม่ ่งุ เน้นการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพให้ทัน ต่อการเปล่ียนแปลงของโลก ปรับเปล่ียนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาผ่านศูนย์พัฒนา ศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพ่ือให้ครู Up Skill และ Re – Skill ของตนเองได้ตลอดเวลา ท้ังนี้ เพ่ือสง่ ต่อความรู้ไปยังผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง และคนที่ มีคณุ ภาพ -เปิดกว้าง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนท่ีมีคุณภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา รว่ มประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผ้เู รียนผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) ใหค้ รอบคลุมผเู้ รยี นท่ัวประเทศ ทั้งนี้ เพื่อนาไปสู่นักเรียนยกกาลังสอง ที่เน้นเรียนเพ่ือรู้ พัฒนาทักษะเพ่ือทา ครูยกกาลังสองท่ี เน้นเพิ่มคนเก่งมาเป็นครู พัฒนาครูทั้งระบบ ห้องเรียนยกกาลังสองท่ีเน้นเรียนที่บ้าน ถามที่โรงเรียน หลักสูตรยกกาลังสองท่ีเน้นลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ สื่อการเรียนรู้ยกกาลังสองที่เน้นเรียนผ่านสื่อ ผสมผสานผ่านช่องทางท่ีหลากหลาย ได้แก่ On – Site เรียนที่โรงเรียน Online เรียนออนไลน์ผ่าน แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ที่มี เนื้อหามาตรฐานจากผู้ผลิตที่เป็นภาคเอกชน On-Air เรียนผ่านโทรทัศน์ DLTV มูลนิธิการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม โดยเนื้อหามาตรฐานจากผู้ผลิตท่ีเป็นภาคเอกชน และ On-Demand ซ่ึงสามารถเรียนได้ ทุกที่ ทุกเวลา ท่ีมีอินเทอร์เน็ตและอุปกรณ์เช่ือมต่อ โรงเรียนยกกาลังสองท่ีมุ่งเน้นคุณภาพในโรงเรียน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อความเป็นเลิศทางภูมิปัญญาท้องถิ่นและ วิสาหกิจชุมชนที่เน้นคุณภาพของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศและความเชี่ยวชาญท่ีสามารถ ตอบโจทยท์ กั ษะและความรูท้ ี่เพิม่ ความเช่ยี วชาญในการปฏบิ ตั งิ าน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”

27 ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี (1) ยุทธศาสตร์ดา้ นความมนั่ คง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตรท์ ี่ (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ยทุ ธศาสตร์ที่ (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั ทางสงั คม ยุทธศาสตร์ท่ี (5) ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ (6) ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 2560 - 2579 วสิ ยั ทศั น์ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การผลติ และพฒั นากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อสรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 1.1 การจดั การศึกษาเพอ่ื คณุ วฒุ ิ -จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการ จดั การเรียนรู้เชิงรกุ และการวัดประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนาผเู้ รียน ท่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ -ส่งเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สตู รระดบั ทอ้ งถ่นิ และหลักสูตรสถานศึกษา ตามความต้องการ จาเปน็ ของกลมุ่ เปาู หมายและแตกต่างหลากหลายตามบริบทของพน้ื ที่ -พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์ จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปิดโลกทัศน์ มมุ มองรว่ มกนั ของผเู้ รียนและครูให้มากข้นึ -พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตและสร้าง อาชพี อาทิ การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั สุขภาวะและทัศนคตทิ ่ีดีต่อการดแู ลสุขภาพ

28 1.2 การเรียนรู้ตลอดชวี ิต -จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับทักษะ ภาษาองั กฤษ (English for All) -ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพท่ีเหมาะสม รองรับสงั คมสูงวัย หลกั สูตรการพฒั นาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร BUDDY โดย เน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพ่ือส่งเสริม ประชาสัมพันธ์สินค้าออนไลน์ระดบั ตาบล -ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทา ในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ (พ้ืนที่สูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บ ชายแดน และพื้นท่ี เกาะแกง่ ชายฝ่ังทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงานต่าง ดา้ ว) -พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมี เหตุผลเป็นขั้นตอน -พัฒนาครูอาชีวศึกษาท่ีมีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on Experience) เพ่อื ให้มที ักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาช้ันนาของ ประเทศจดั หลักสูตรการพัฒนาแบบเข้มข้นระยะเวลาอยา่ งน้อย 1 ปี -พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความ พร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์พัฒนา สมรรถนะบคุ ลากรระดับจังหวดั ทัว่ ประเทศ 2. การพัฒนาการศกึ ษาเพอื่ ความมนั่ คง -พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา” เปน็ หลักในการดาเนนิ การ -เฝูาระวังภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะภัยจากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์ -สง่ เสริมให้ใช้ภาษาทอ้ งถิ่นร่วมกับภาษาไทย เปน็ ส่อื จัดการเรียนการสอนในพื้นท่ีท่ีใช้ภาษาอย่าง หลากหลาย เพ่ือวางรากฐานให้ผู้เรยี นมพี ัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะการส่ือสารและใช้ ภาษาท่ีสามในการต่อยอดการเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ -ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง วินัย สจุ ริต จิตอาสา โดยใช้กระบวนการลูกเสือ และยวุ ะกาชาด 3. การสร้างความสามารถในการแข่งขนั -สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกาลังแรงงานที่มีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศของแต่ละ สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและ อนาคต -สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาอาชวี ศึกษาบริหารจดั การอยา่ งมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนด้วย เคร่ืองมือปฏิบัติที่ทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) และทักษะการสอื่ สารภาษาตา่ งประเทศ

29 4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา -พฒั นาแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพ่อื การเรียนรู้ และใช้ดิจทิ ลั เป็นเครือ่ งมอื การเรียนรู้ -ศกึ ษาและปรบั ปรุงอัตราเงินอุดหนนุ คา่ ใช้จ่ายตอ่ หวั ในการจัดการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคล้อง กับสภาพเศรษฐกจิ และบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนูญ -ระดมสรรพกาลังเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนาร่องพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา เพ่ือลดความ เหล่อื มลา้ ทางการศกึ ษาให้สอดคล้องพระราชบัญญัติพนื้ ทีน่ วตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 5. การจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม -เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึง ประสงคด์ ้านส่ิงแวดลอ้ ม -ส่งเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็นอาชีพ และสร้างรายได้ 6. การปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ -ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของหน่วยงานที่มี ภารกจิ ใกลเ้ คียงกัน เช่น ดา้ นประชาสัมพนั ธ์ ด้านต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย เปน็ ต้น -ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เป็นอุปสรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน โดยคานึงถึง ประโยชน์ของผเู้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม -สนับสนุนกจิ กรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ -พฒั นาระบบฐานข้อมูลดา้ นการศกึ ษา (Big Data) -พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดคล้องกับ การปฏิรูปองคก์ าร -สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพได้อย่าง อสิ ระและมปี ระสทิ ธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธิการ -จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต บคุ ลากรของกระทรวงศกึ ษาธิการ -ส่งเสริมโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและ ภายนอกบรเิ วณโรงเรียนให้เออ้ื ต่อการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ จุดเนน้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (เพ่มิ เติม) -พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จาเป็น เพื่อทาหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) -จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้ ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพ่ือให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือกในการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ ( Digital Education Excellence Platform : DEEP) -ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคลสู้ความ เป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) -จดั ทา “ค่มู อื มาตรฐานโรงเรียน” เพ่ือกาหนดใหท้ ุกโรงเรียนตอ้ งมีพนื้ ฐานทจ่ี าเป็น

30 การขบั เคลื่อนนโยบายและจุดเนน้ สู่การปฏิบตั ิ 1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น เป็นกรอบ แนวทางมาใชใ้ นการวางแผนและจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคานึงถึง มาตรการ 4 ข้อ ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้ ดังนี้ (1) งดดูงานตา่ งประเทศ 1 ปี ยกเวน้ กรณีท่มี ีความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อกระทรวงศึกษาธิการ (2) ลดการจัดอบรมสัมมนาท่ีมีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน Event และ (4) ทบทวนงบประมาณทม่ี ีความซ้าซอ้ น 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นสู่การ ปฏบิ ตั ริ ะดับพ้ืนที่ โดยใหผ้ ตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สานักงานศึกษาธิการภาคและ สานักตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผล สป. เป็นฝุายเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามลาดับ โดยมี บทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดับ 3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและ ดาเนนิ การแก้ไขปญั หาในระดบั พื้นท่กี ่อน โดยใช้ภาคีเครอื ขา่ ยในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อ คณะกรรมการติดตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตามลาดบั อน่ึง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหน้าที่ (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดาเนินการอยู่ก่อนเมื่อ รัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจากที่ กาหนด หากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการ หลักและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จและมี ประสทิ ธภิ าพอยา่ งเป็นรูปธรรมด้วยเช่นกัน 12 ภารกจิ “เร่งดว่ น” ท่จี ะตอ้ ง “จับตอ้ งได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเร็จ” ในการประชมุ มอบนโยบาย และภารกิจเร่งด่วน ของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด อาเภอ และสถานศึกษาขึ้นตรงท่ัวประเทศเข้าร่วม ประชมุ ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวดั เชียงใหม่ ดร.วรัท พฤกษาทวกี ลุ เลขาธิการ กศน. มอบ 12 ภารกิจ เร่งด่วนขับเคลื่อนงาน กศน. โดยทุกภารกิจทุกคนต้องดาเนินงานให้เกิดผลงานท่ีสามารถจับต้องได้ ตาม ค่านยิ มหลัก (Core value) “คนสาราญ งานสาเร็จ” สาหรบั ภารกจิ ท่ีสาคญั ประกอบดว้ ย 1. น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถ่ินไทย งาม” เพ่ือความกินดีอยู่ดี มีงานทา เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้าใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย)์ ,จิตอาสาพฒั นาชุมชน 2. ขับเคล่ือนนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) และ รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วลิ าวลั ย์) ใหเ้ กิดผลเปน็ รูปธรรม

31 3. เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้างการ บริหารและอัตรากาลังให้สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลง เร่ง “การสรรหา บรรจุ แต่งตั้งที่มี ประสทิ ธภิ าพ” 4. ปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรทุกระดบั ทกุ ประเภท ให้ทันสมัย สอดคล้องกับบริบทสภาวะปัจจุบัน และความต้องการของผู้เรียน Credit Bank System / E-exam รวมท้ังส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนา ผเู้ รียนด้วยกระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด เพ่ือสรา้ งคนดี มรี ะเบียบวินยั และมีทศั นคตทิ ่ีดีตอ่ บ้านเมอื ง 5. พัฒนา Bigdata ของ กศน. ที่ทันสมัย รวดเร็ว และทันที “ข้อมูลและสารสนเทศ กศน. ที่ ทันสมัย จะปรากฏบนหน้าจอมอื ถอื ทนั ที เมื่อคุณตอ้ งการ” รวมท้ังการส่ือสารและประชาสัมพันธ์งานของ กศน. ต้องมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล “ตีฆอ้ งรอ้ งปาุ ว ข่าวชาว กศน.” 6. พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform รองรับ DEEP และ Digital Science Museum ,ศนู ย์เรยี นรทู้ กุ ช่วงวยั รวมท้งั สอ่ื การเรยี นการสอน แหลง่ เรยี นรู้ ในทุกกลุ่มเปูาหมาย “เรยี นร้ไู ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา” 7. ส่งเสริมการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทลั Digital Literacy ให้กบั บคุ ลากร กศน. ทุกระดบั และกลุ่มเปูาหมายทุกกลุ่ม 8. ส่งเสริม สนับสนุนการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทา “Re-Skill Up-Skill และออกใบรับรอง ความรคู้ วามสามารถ” 9. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับทุกภาคีเครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชีพและส่งเสริม การตลาด เพอ่ื ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ/์ สนิ ค้า กศน. ขยายชอ่ งทางการจาหนา่ ย 10. ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคาร สถานที่ ส่ิงแวดล้อมของสานักงานทุกแห่ง และแหล่งเรียนรู้ทุกแห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ ริการด้วย มิตรไมตรี “กศน.งามตา ประชาช่ืนใจ” กศน.งานเรามีคือความ ผาสุขของประชาชน เราใกล้ชิดชุมชนทุกหมู่บ้าน ทุกตาบล ทุกอาเภอ ทุกจังหวัด ในท่ามกลางที่ งบประมาณประเทศมีจากัด เราต้อง “ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด” ไม่จาเป็นต้องสร้างอาคาร ใหญ่โต เลขาธิการ กศน. จึงให้นโยบาย “กศน. งามตา ประชาชื่นใจ” โดยเชิญชวนพ่ีน้องชาวกศน. ซ่อมแซม ฟื้นฟู อาคาร สถานท่ีทุกแห่ง เช่น ทาสี ปัดเช็ดกวาด ทาความสะอาด ถางหญ้า ตกแต่ง ให้ สวยงาม สะอาดตา ปลอดภัย (โดยเฉพาะ ศรช.หลายแห่งเสื่อมโทรมมาก) ร่วมมือกันทา หากไม่ไหวชวน เครอื ขา่ ยชมุ ชน มาลงแรมชว่ ยกนั 11. จัดกิจกรรมส่งเสริมความสัมพันธ์ของชาว กศน. “กศน.เกมส์” และกิจกรรมเชื่อม ความสัมพันธ์ของพ่ีนอ้ งชาว กศน. 12. บูรณการร่วมกบั หน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค “ทมี กศน.” “ทมี กระทรวงศึกษาธิการ”

32 เพิ่มเติม 1) ในปีงบประมาณ 2564 ขอให้ สานักงาน กศน.จังหวัด เตรียมการกับ “โครงการ 1 ตาบล 1 อาชีพ” ที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง โดยสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาค สว่ นอนื่ ๆ และเพม่ิ ชอ่ งทางการจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ให้มากขนึ้ ตลอดจนประชาสมั พันธ์ผ่านส่ือต่าง ๆ อย่าง เข้มข้น เปูาหมาย คือ การสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในการกินดีอยู่ดี ธารงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ และภูมิ ปัญญาของชุมชน 2) การจัดการแข่งขันกีฬา \"กศน.เกมส์ คร้ังท่ี 6\" เบื้องต้นงาน \"กศน.เกมส์ คร้ังท่ี 6\" จะจัดขึ้น ระหวา่ งวนั ที่ 24 - 26 กมุ ภาพันธ์ 2564 ณ สนามกฬี าจังหวดั กาญจนบรุ ี (กลีบบัว) ในระดับประเทศ ส่วน ในระดับภาคกลางจะจดั ขนึ้ ระหว่างวนั ที่ 24 - 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี 3) สารวจ (สแกน) ในหมู่บ้าน เด็ก ผู้ใหญ่ คนพิการ เด็กออทิสติก ที่พลาดโอกาสการศึกษาข้ัน พื้นฐาน. ชกั ชวนมาเรยี นกบั กศน. 4) โครงการ หน่ึงชุมชน หนึ่งนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถ่ินไทยงาม” เพ่ือการมีงานทา ไม่ทิ้งถิ่น ฐาน เช่น ฝึกอาชีพตามบริบทของชุมชน ,สอนการทา solarcell พลังงานแสงอาทิตย์ (คนตกงานจากใน เมือง ชาวบ้านอยากมีอาชีพ ,คนพิการ เด็กเร่ร่อน ฯลฯ สร้างรายได้ ขายผลิตภัณฑ์) ทาเป็น shot course) 5) ส่งเสริม สนับสนุน “โคก หนอง นา” พัฒนาชีวิต (รวบรวมองค์ความรู้ เผยแพร่ให้ความรู้ที่ ถูกต้อง หา best practices แล้วยกย่องบอกต่อคนท่ีประสบความสาเร็จ จัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ หรือ หน่วยงาน กศน. เรามีความพร้อมสามารถทาเป็นตัวอย่างได้ยิ่งดี เช่น กศน.จังหวัดหนองบัวลาภู ,ศฝช. เปน็ ต้น 6) จัดงานกิจกรรม “รวมพลศิษย์เก่าชาว กศน. ที่ประสบความสาเร็จ” ปลุกกระแส เรียน กศน. เก่ง ดี มงี านทา 7) พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (Big data) One ONIE แผนและงบประมาณ บุคคล ติดตามรายงานผล. สารสนเทศและสถิติทางการศึกษา ผลการเรียน portfolio ทุกกลุ่มเปูาหมาย. สามารถดูใด้ผ่าน Application บนมือถือ รวมทั้งการรับสมัครเรียน รับสมัครฝึกอบรม. ผ่านระบบ ออนไลน์ การรายงานผลการเรียน การนัดหมายการพบกลุ่ม ผ่านระบบ Aplication (ส่วนกลาง รบั ผิดชอบ จงั หวดั entry data) 8) สาหรับการจัดกลุ่มภารกิจของสานักงาน กศน. ซึ่งได้จัดไว้ 5 กลุ่มภารกิจ เพื่อใช้พัฒนางาน และเช่อื มโยงงานให้เป็นระบบในภาพรวม ท้ังต้นน้า กลางน้า และปลายนา้ ดงั นี้ กล่มุ G1 : ดจิ ิทลั เทคโนโลยี -Online learning /Distances learning -Media -Information / Big data -Social media

33 -Digital content กล่มุ G2 : คณุ ภาพการศกึ ษา -Curriculum -Testing -Measurement -Assessment -Compare education level กลุ่ม G3: กิจการพิเศษ -Special Affairs -Disadvantaged -Disabled -Street children -Special area กลุ่ม G4 : บริการความรู้และประสบการณ์ -Learning resources -Library -Professional training กลุ่ม G5 : กลุ่มบรหิ ารจัดการ -Administration (4M) โดยมีกรอบแนวทางการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมในปี 2564 และ 2565 (คดิ ใหม่ ทาใหม่) -สว่ นกลาง (ไมค่ วรทาเองทัง้ หมด /กระจายงานและความรับผิดชอบ) โดยมีบทบาท ดงั น้ี -Policy กาหนดนโยบาย แนวทาง มาตรฐาน -Regulator กากบั ดูแล คู่มือ ติดตามประเมนิ ผล -Facilitator สนบั สนนุ ทรพั ยากร. อานวยความสะดวก -ภาค/สถาบัน/ศูนย/์ จังหวดั /อาเภอ มีบทบาท ดงั น้ี -Operation ปฏิบัติการในพ้ืนที่และภารกิจที่รับผิดชอบ และรายงานผลการปฏิบัติงานไปยัง ส่วนกลาง 9) ในปีงบประมาณ 2564 ขอให้ สานักงาน กศน.จังหวัด เตรียมการกับ “โครงการ 1 ตาบล 1 อาชีพ” ที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง โดยสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาค สว่ นอนื่ ๆ และเพมิ่ ชอ่ งทางการจาหน่ายผลติ ภัณฑใ์ ห้มากขน้ึ ตลอดจนประชาสมั พนั ธ์ผ่านส่ือต่าง ๆ อย่าง เข้มข้น เปูาหมายคือ การสร้างความยั่งยืนให้กับชุมชนในการกินดีอยู่ดี ธารงไว้ซ่ึงอัตลักษณ์ และภูมิ ปญั ญาของชมุ ชน

34 ปรบั บทบาท กศน. ลดเหล่ือมลา้ ทางานใกลช้ ิดชุมชน กศน. นาศาสตร์พระราชาสู่การปฏบิ ัติ เกบ็ เด็ก ตกหล่น สง่ เสริมอาชีพ “ก า ร ศึ ก ษ า คื อ ป ร ะ ตู สู่ โ อ ก า ส ” ซ่ึ ง ส า ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย น อ ก จ า ก ภ า ค รั ฐ โดย กระทรวงศึกษาธิการ จะรับผิดชอบ “การศึกษาในระบบ” ท้ังสายสามัญ (ปฐมวัย-ม.6) และสาย อาชพี (ปวช.-ปวส.) แลว้ ยังมี “การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)” หรือช่ือเดิมคือ การศึกษานอกโรงเรียนด้วย ซ่ึงมีบทบาท “เก็บตก” คนทุกช่วงวัยที่หลุดออกจากการศึกษาในระบบไป ได้แก่ 1) ว่าดว้ ยการขับเคลอื่ นงาน กศน. : แนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินการหลักๆ อยู่ 12 เร่ืองแต่ สรุปส้ันๆ เร่ืองแรกคือการขับเคล่ือนนโยบายของท่านรัฐมนตรีว่าการ (ณัฏฐพลทีปสุวรรณ) ท่านให้ แนวทางวา่ กศน. นา่ จะเป็นส่วนสาคัญในการไปลดความเหลอื่ มลา้ เพอ่ื ท่จี ะให้คนทข่ี าดโอกาสด้อยโอกาส ทม่ี ีอยู่ในขณะน้ีเขา้ มาสรู่ ะบบการศึกษามากขนึ้ โดย กศน. เปน็ ผูจ้ ดั ให้ 2) รัฐมนตรีช่วยว่าการ ท่านกนกวรรณ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) ให้แนวทางของการฝึกอาชีพ ต่าง ๆ ให้กับประชาชนในชุมชนหมู่บ้านให้นโยบายหลายเร่ืองเลย เรื่อง 1 อาเภอ1 อาชีพ แล้วก็การ ยกระดบั สินคา้ ทีเ่ กิดจากการฝึกอาชพี เปน็ พรเี มยี ม (Premium) ขึ้นมา 3) การทางานเชิงรกุ เขา้ ไปสแกน (Scan-ค้นหา) ดูวา่ ในหมู่บา้ นจะมีใครทต่ี กหลน่ บ้าง มีคนพิการ ท่ีรอความช่วยเหลือท่ีออกไปไหน เข้าสู่ระบบไม่ได้ เด็กเร่ร่อนต่าง ๆ ไปสแกนแล้วก็ดึงเข้ามาเข้าสู่การ ให้บริการของ กศน. รวมถึงการน้อมนาศาสตร์พระราชาที่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 และรัชกาลท่ี 10 ที่ทรงให้ แนวทางไวส้ ู่การปฏิบัติ ก็ได้มอบหมายเร่ืองโคกหนองนาโมเดล ให้ไปศึกษาความรู้เร่ืองน้ีอย่างถ่องแท้ ไป ให้ความรกู้ ับประชาชน รวมถึงอาจจะมีตวั อยา่ งทด่ี ี ๆ ก็ไปเผยแพร่ในส่งิ เหลา่ น้ี 4) มอบหมายให้จังหวัดไปหา Best Practice (แนวปฏิบัติที่โดดเด่น) ต่าง ๆ ท่ีดี ๆ มาสู่ขยายผล อกี ประเดน็ หน่งึ คอื การปรบั ปรุงหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานของ กศน. เองให้มีความยืดหยุ่นมากย่ิงข้ึน เพราะได้รบั เสียงมาจากข้างนอกเยอะแยะเลย เร่ืองของหลกั สูตร กศน. อาจต้องมีการทบทวนเพราะเยอะ มาก แล้วก็มกี ารเรียนท่ีคอ่ นข้างเยอะพอสมควร แต่ว่าคงไม่ปรับทั้งหมด คงจะดูว่าตรงไหนท่ีมันเยอะไปก็ จะปรบั เพือ่ ใหค้ นไดเ้ ขา้ มาในระบบมากยิง่ ข้ึน แตค่ งคุณภาพมาตรฐานไว้ ไมไ่ ด้ลดมาตรฐานคุณภาพ 5) เรื่องการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งเน้นมากเรื่องน้ีเพราะ กศน. เราดูแลคนหลายล้านคนที่ เป็นลูกค้าแล้วก็มีอัตรากาลังคนหลายหมื่นคน มีข้อมูลเยอะมาก ขณะน้ีกระจายกันอยู่ คงจะมีหน่วยงาน ขนึ้ มาจดั การเร่ือง เมอ่ื อยากรู้ข้อมูล กศน. ยกมือถือขึ้นมามันจะมาปรากฏที่หน้ามือถือ รวมถึงการพัฒนา Content (เน้ือหา) ต่าง ๆ ของ กศน. ให้เป็นระบบท่ีมันเช่ือมโยงกัน แล้วไป Plug-in (เช่ือมต่อ) กับทาง DEEP ของท่านรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการที่ทาอยู่ พัฒนาแพลตฟอร์มต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการ จดั การศกึ ษา ซึง่ กศน. มีหลายหน่วยงานที่จัดการศึกษา เช่น สถาบันทางไกลต่าง ๆ จะต้องมาร่วมกันให้ หมด เพราะแยกๆ กันอยู่ขณะน้ี แล้วก็เรื่องของการให้กาลังใจพี่น้อง กศน. เรามีสโลแกน (Slogan-คา ขวญั ) วา่ “คนสาราญงานสาเร็จ” และจะมีการจดั กีฬา “กศน. เกมส์” เหมือนเดิม ปีน้เี ราจัดทีภ่ าคกลาง

35 6) กศน. ในการทางานกับผู้ด้อยโอกาส : มีครูดูแลเด็กเร่ร่อน 28 คน ครูดูแลเด็กพิการ 500 คน แตเ่ ป็นอตั ราจ้างหมด ก็จะชว่ ยเขาใหไ้ ด้เป็นพนกั งานราชการ ก็คงจะผลักดันเร่ืองนี้ อาจจะต้องเสนอเร่ือง ไปยัง ครม. (คณะรัฐมนตรี) เพ่ือท่ีจะมีค่าใช้จ่ายรายหัวของคนพิการ ตอนน้ีเรายังไม่มี อันนี้กาลังผลักดัน เรื่องน้ีอยู่ ส่วนการชว่ ยให้ไดเ้ ปน็ พนกั งานราชการ อัตราทมี่ อี ยูแ่ ล้ว แต่เราจัดสรรให้กลุ่มนี้ ที่ผ่านมา กศน. ขอมาเพียบเลย ตง้ั แต่ครบู รรณารักษ์ ครูตาบล ครูอาสา อันน้ีจะเอาไปให้ตรงนี้ก่อน เพราะมีอัตรารองรับ อย่แู ล้ว ไม่ไดเ้ พ่ิมใหม่ เรามีพนักงานราชการประมาณ 14,000 อัตรา ว่างอยู่ส่วนหนึ่ง ก็จะเกลี่ยไว้ให้ตรง นี้ 7) ข้อร้องเรียนหรือเสียงสะท้อนเกี่ยวกับหลักสูตร กศน.ในช่วงเดือนเศษ ๆ ที่ผ่านมาและแนว ทางการปรับปรุง : เรื่องของคุณภาพหลักสูตรมันมีวิธีการอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าหลายเรื่องท่ีรับ Feedback (ความคิดเห็น-ข้อแนะนา) มา เช่น วิชาเลือกต่าง ๆ เยอะมาก แล้วมีเวลาเรียน มีการพบกลุ่มต่าง ๆ บาง คนเขาไม่มีเวลาสะดวกมา ก็คงต้องมีการมาดูท้ังหมด จะต้องตั้งคณะทางานข้ึนมาชุดหนึ่งเพื่อมาดูเร่ืองนี้ ท้งั ระบบ และข้อร้องเรียน เช่น จานวนชั่วโมงจาก 200 เหลือ 100 ได้ไหม แล้วบางคนที่เขาไม่สะดวกจะ มาเรยี นกับ กศน. เขาบอกวา่ เขามาเรียนพบกลุ่มไมส่ ะดวก เปน็ ต้น 8) ระยะหลังๆ พบเยาวชนหลายคนไม่ขอเรียนในระบบ แต่ตัดสินใจย้ายมาใช้บริการ กศน. แทน มากขึน้ ดว้ ยเห็นวา่ อยากเรียนจบไวๆ จะได้ไปต่อในระดบั มหาวิทยาลัยและสาเร็จการศึกษาออกไปทางาน ได้เร็วๆ กศน. จะปรับหลักสูตรรับตรงน้ีอย่างไรเพื่อให้ทันสมัยขึ้น : ตอนน้ีหลักสูตรท่ีผมจะปรับปรุงคือ ไม่ใช่จะเลิกทั้งหมด แต่เยอะไปก็ปรับให้มันน้อยลง อันไหนกระชับได้ก็กระชับ แต่ยังคงคุณภาพอยู่ วิชา ไหนทม่ี นั ล้าสมยั กจ็ ะตอ้ งปรบั ใหม้ นั ทันสมยั มากขึน้ แตห่ ลักการคือจบเรว็ อยู่แลว้ ไม่ตอ้ งหว่ ง 9) การเชื่อมโยงระหว่าง กศน. กับมหาวิทยาลัย : เร่ืองนี้อยู่ในแผน ตอนน้ีท่ีคุยกันคือคุยกับทาง มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ตอนน้ีกาลังจะเช่ือมโยงกันเรื่อง “เครดิตแบงก์ (Credit Bank)” กาลังคุย กันอยู่ ยังไม่ตกผลึกเท่าไร มีสภาการศึกษา มี กศน. แล้วก็มีมหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี 3 ส่วนน้ีจะคุย กัน กาลงั ให้ทีมงานคยุ อยู่ ที่ราชมงคลธัญบุรีเขามี Project (โครงการ) อยแู่ ลว้ เพียงแตเ่ ราไปชว่ ย หมายเหตุ : เครดิตแบงก์ (Credit Bank) หรือธนาคารหน่วยกติ หมายถงึ การเรียนในระดับมหาวิทยาลัยท่ี ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเรียนให้จบครั้งเดียว 4-5 ปีเหมือนหลักสูตรปกติ แต่เป็นการเรียนเป็นรายวิชาหรือ กลุ่มวิชา (Module) โดยเมื่อสาเร็จวิชาเหล่าน้ีทางมหาวิทยาลัยจะเก็บหน่วยกิตไว้ให้ และเมื่อผู้เรียน สะสมรายวิชาหรอื กลมุ่ วชิ าไดค้ รบถ้วนตามหลกั สูตรก็จะได้รับวุฒิปริญญาตรี ซึ่งปัจจุบันการเรียนลักษณะ นี้กาลังได้รับความนิยมมากขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มคนวัยทางานท่ีต้องการเพ่ิมพูนทักษะหรือ ปรับทักษะใหม่ (Upskill, Reskill) ให้เข้ากับรูปแบบการทางานที่เปลี่ยนไปรวมถงึ ผู้ท่ีเพ่ิงมาค้นพบว่าตนเองชอบอะไรแล้ว ต้องการเปล่ียนอาชีพไปทางานสายน้ัน ๆ ขณะท่ี DEEP (Digital Education Excellence Platform) เป็นแพลตฟอร์มที่ดาเนินการโดยกระทรวงศึกษาธิการ เป็นฐานข้อมูลวิชาความรู้ต่าง ๆ สาหรับให้คนทุก ช่วงวยั เข้ามาเรียนผา่ นระบบออนไลน์เพอื่ เพมิ่ พนู ทักษะของตนเองได้

36 ภารกจิ ต่อเน่ือง 1. ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และคา่ จัดการเรียนการสอนอยา่ งท่วั ถงึ และเพียงพอ เพื่อเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มี คุณภาพโดยไม่เสียค่าใชจ้ ่าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานใหก้ บั กลมุ่ เปูาหมายผู้ด้อย พลาด และ ขาดโอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และ การจัดการศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี น และระบบการใหบ้ ริการนักศึกษาในรูปแบบอ่นื ๆ 4) จดั ใหม้ ีการประเมนิ เพื่อเทียบระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรู้และ ประสบการณ์ทม่ี ีความโปรง่ ใส ยตุ ธิ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามทีก่ าหนด และสามารถตอบสนอง ความต้องการของกลมุ่ เปาู หมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนท่ีมีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรมเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับ การปูองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุว กาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการ บาเพญ็ ประโยชนอ์ ่นื ๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพมิ่ ช่วั โมงกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นจบตามหลกั สูตรได้ 1.2 การส่งเสริมการรหู้ นังสอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบ เดียวกันทงั้ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค 2) พฒั นาหลักสูตร สือ่ แบบเรยี น เครอ่ื งมือวัดผลและเครอ่ื งมอื การดาเนนิ งานการสง่ เสริม การร้หู นังสอื ทสี่ อดคล้องกบั สภาพแตล่ ะกลมุ่ เปูาหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัคร ส่งเสริมการรหู้ นังสือในพ้นื ทีท่ ม่ี คี วามต้องการจาเป็นเป็นพเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้ หนังสือ การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่าง ต่อเนอื่ งตลอดชวี ิตของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเนือ่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา อาชพี เพอื่ การมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะ ทางหรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการ และศักยภาพของแต่ละพื้นท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของ

37 ตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มี หน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ี สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชวี ิต การจัดต้งั ชมรม/ชุมนุม การสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัด กิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย และบริบท ของชุมชนแต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและ อุดมการณ์ รวมทั้งสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ใน ชุมชน การบริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั ในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมกี ารบรหิ ารจดั การความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดุลและย่ังยนื 1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่ายสง่ เสริมการอา่ น จดั หน่วยบรกิ ารเคลือ่ นทพี่ ร้อมอปุ กรณเ์ พื่อจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและการ เรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความ พร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่าง หลากหลาย 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตลอดชีวิตของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะ วิทยาการประจาท้องถน่ิ โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้าง ความรู้ และสรา้ งแรงบันดาลใจด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง บรบิ ทของของชมุ ชน และประเทศ รวมทั้งระดับภมู ภิ าคและระดับโลก เพอื่ ให้ประชาชนมีความรู้

38 และความสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษา ส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและปูองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change) ได้อย่าง มีประสอทธภิ าพ 1.5 ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่างๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เพ่ือ ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ี หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของ ประชาชน เช่น พพิ ิธภัณฑ์ ศูนย์เรยี นรู้ แหลง่ โบราณคดี หอ้ งสมุด เปน็ ตน้ 2. ดา้ นหลกั สูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสริมการพัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรม เพอื่ ส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถ่ินที่ สอดคล้องกับสภาพบรบิ ทของพนื้ ท่ี และความตอ้ งการของกลุม่ เปูาหมายและชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ของผเู้ รียนกลุ่มเปูาหมายท่วั ไปและกลุ่มเปูาหมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการ ควบคุมการสอบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเปูาหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมทงั้ มีการประชาสมั พันธ์ใหส้ าธารณชนได้รบั ร้แู ละสามารถเขา้ ถึงระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสตู ร โดยเฉพาะ หลักสตู รในระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้ เหมาะสมกบั บริบทอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการ ประเมนิ คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบ การประกันคณุ ภาพ และสามารถดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้ การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับ สถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้ คณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าหนด

39 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพ่ือให้เช่ือมโยงและ ตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อ กระจายโอกาสทางการศึกษาสาหรับกลุ่มเปูาหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมี คุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการ พัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานี วิทยุโทรทศั น์เพอื่ การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ น็ต 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อนื่ ๆ เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ ครู กศน. นาเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยศุ ึกษา และสถานโี ทรทศั นเ์ พื่อการศกึ ษา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเปูาหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอด ชวี ติ โดยขยายเครอื ขา่ ยการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั่วประเทศ และเพ่ิม ช่องทางให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band , C – Band Digital TV และทาง อนิ เทอร์เนต็ พรอ้ มทจ่ี ะรองรับการพัฒนาเป็นสถานีวิทยโุ ทรทัศน์เพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ได้หลายช่องทางท้ังทาง อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืน ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet, รวมท้ังสื่อ Offline ในรปู แบบต่าง ๆ เพือ่ ให้กลุม่ เปาู หมายสามารถเลือกใชบ้ ริการเพอ่ื เขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาและ การเรยี นรู้ไดต้ ามความต้องการ 3.5 สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนาผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตของประชาชนไดอ้ ย่างแทจ้ ริง 4. ดา้ นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เกย่ี วเนือ่ งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หรือ โครงการอันเกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริหรือโครงการอันเกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ เพอื่ นาไปใชใ้ นการวางแผน การติดตามประเมินผล และการพฒั นางานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงาน เพ่ือสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเข้มแข็งในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าทีท่ ก่ี าหนดไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถ่นิ ทรุ กันดาร และพื้นทช่ี ายขอบ

40 5. ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนท่ีบริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลกั สตู ร และกิจกรรมสง่ เสริมการศกึ ษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความต้องการของกลุม่ เปาู หมาย รวมท้ังอัตลักษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพื้นที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้รับไปใช้ประโยชน์ไดจ้ รงิ 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นกั ศกึ ษา กศน. ตลอดจนผ้มู าใช้บริการอยา่ งทว่ั ถึง 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตาม ยุทธศาสตรแ์ ละบรบิ ทของแตล่ ะจงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของ ตลาด ให้เกดิ การพฒั นาอาชีพไดต้ รงตามความต้องการของพน้ื ที่ 5.3 จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและ สาธิตการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 2) มงุ่ จดั และพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วธิ ีการหลากหลาย ใช้รปู แบบเชิงรุก เพื่อการ เขา้ ถึงกลุ่มเปาู หมาย เช่น การจดั มหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมอื กบั เครือข่าย การจัดอบรมแกน นาด้านอาชีพ ท่ีเน้นเร่ืองเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตาม แนวชายแดน 6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อน และระหว่างการดารงตาแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดาเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการใน สังกัดพฒั นาตนเองเพอื่ เลื่อนตาแหนง่ หรอื เล่ือนวทิ ยฐานะ โดยเนน้ การประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยในสถานศึกษา 2) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตาบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการ ความร้แู ละผอู้ านวยความสะดวกในการเรียนรเู้ พ่อื ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรทู้ ม่ี ีประสทิ ธิภาพอย่างแทจ้ ริง

41 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการ เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัด กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล และการวจิ ัยเบื้องตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเปน็ มอื อาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชน 6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมใน การบริหารการดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าท่ีสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสรมิ สร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายท้ังใน และตา่ งประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ทางานรว่ มกันในรปู แบบทหี่ ลากหลายอย่างต่อเนื่อง อาทิ การแขง่ ขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ประสิทธภิ าพในการทางาน 6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและอัตรากาลงั 1) จดั ทาแผนการพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและดาเนนิ การปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ์ ใหม้ ีความพร้อมในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 2) บริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ ท้ังในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้ เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุดในการปฏบิ ตั ิงาน 3) แสวงหาความรว่ มมือจากภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคสว่ นในการระดมทรพั ยากรเพื่อนามาใช้ใน การปรับปรงุ โครงสรา้ งพื้นฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการสง่ เสริมการเรยี นรสู้ าหรับประชาชน 6.3 การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 1) พฒั นาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ อย่างเป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนา ไปใช้เป็นเคร่ืองมือสา คัญในการ บริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรง่ รดั การเบิกจ่ายงบประมาณใหเ้ ปน็ ตามเปาู หมายท่ีกาหนดไว้ 3) พฒั นาระบบฐานข้อมลู รวมของนักศกึ ษา กศน. ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัด การศกึ ษาใหก้ บั ผเู้ รยี นและการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษา วิจัยเพ่ือสามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชนและชมุ ชนพร้อมทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและ ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ

42 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็น ตน้ 6.4 การกากบั นเิ ทศติดตามประเมนิ และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้เชื่อมโยงกับหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ข่ายทงั้ ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละ เรื่องได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออื่นๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการ กากับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการ ประจาปีของสานกั งาน กศน.ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ กาหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ส่วนกลาง ภมู ิภาค กลุ่มจังหวดั จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการ ใช้ข้อมลู และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทศิ ทางการดาเนนิ งานสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้ ประชุมบุคลากรเพ่ือร่วมกันประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและ ศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน รวมทั้ง โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานซ่ึงเป็นจุดยืนหรือจุดเริ่มต้นของการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์อันเป็นปัจจัยต่อการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของสถานศกึ ษาในสังกัด เพ่อื นาผลไปใชใ้ นการกาหนด ทิศทางการดาเนินงานของหน่วยงาน ซ่ึงได้ผลการ ประเมนิ สถานการณข์ องหน่วยงาน ดงั น้ี จุดแขง็ (Strengths) 1. บคุ ลากรได้รับการสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง 2. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ ตามโครงสรา้ งของสานักงาน กศน.จังหวัด 3. บุคลากรมมี นุษย์สัมพนั ธ์ท่ีดกี ับสถานศึกษาในสงั กดั 4. บคุ ลากรมีความมงุ่ มนั่ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ 5. การบรหิ ารงบประมาณเป็นไปตามเปูาหมายและมาตรการแนวทางท่ีกาหนด 6. การจัดสรรงบประมาณให้สถานศกึ ษาในสังกัดอยา่ งเพียงพอและทั่วถึง 7. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้สถานศึกษาในสงั กัดจัดทาและพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาอยา่ ง ต่อเน่ือง 8. อาคาร สถานท่ี พรอ้ มให้บริการแกผ่ ูร้ ับบริการและผู้มาติดต่อ

43 9. มสี ่งิ อานวยความสะดวกอย่างเพียงพอไว้ให้บรกิ ารในการดาเนนิ งานของสถานศึกษา เชน่ ยานพาหนะ บุคลากร 10. มกี ารกากับตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติงานอย่างตอ่ เน่ือง จุดออ่ น (Weaknesses) 1. สานักงาน กศน.จังหวัด ขาดข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบัติหน้าท่ีทา ใหก้ ารบรหิ ารงานของหนว่ ยงานไมต่ อ่ เนอ่ื ง 2. ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ ขาดประสทิ ธิภาพ เนอ่ื งจากสถานศกึ ษาส่วนหนง่ึ ยังไมน่ าผลการประกันคณุ ภาพมาเป็นแนวทางการ พฒั นา 3. โครงสร้างของสถานศกึ ษายังขาดขา้ ราชการในการปฏิบัตงิ านในพื้นท่ี เชน่ ข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา 4. อาคารสถานท่ขี องสถานศึกษาในสงั กดั มีสภาพชารุด ทรุดโทรม เช่น ห้องสมดุ ประชาชน กศน. อาเภอ เป็นตน้ 5. ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณไมเ่ พยี งพอในการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคารสถานที่ของ สถานศึกษาในสงั กดั และหน่วยงาน โอกาส (Opportunities) 1. มียุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี เป็นแผน แม่บทท่เี ปน็ ต้นแบบในการดาเนนิ งาน 2. นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. มีความชัดเจนสามารถนาไปสู่การ ปฏิบัติได้ 3. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และนโยบายของรัฐบาลให้ความสาคัญกับ การศกึ ษาซึ่งเอื้อตอ่ การพฒั นาการบริหารจดั การศึกษามากขนึ้ 4. จังหวัดประจวบครี ขี ันธม์ พี ื้นทีต่ ิดชายแดนทัง้ 8 อาเภอ และเป็นจังหวัดเดียวใน 27 จังหวัดที่มี พนื้ ทีต่ ดิ ชายแดน 5. มแี หล่งเรยี นร้/ู ภูมิปัญญาท้องถิ่น/แหล่งประวัติศาสตร์จานวนมาก ท่ีสามารถใช้ประโยชน์เพื่อ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 6. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เช่น บันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) 7. การกระจายอานาจให้กับสถานศกึ ษาบริหารจัดการได้ เชน่ การจัดซอ้ื จดั จ้าง 8. ความกา้ วหนา้ ของสื่อเทคโนโลยี ชว่ ยใหค้ ร/ู อาจารย์ ผูเ้ รยี นและประชาชนสามารถใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองได้อยา่ งกว้างขวาง 9. มกี ารบรหิ ารจดั การด้านสิ่งแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ รปู ธรรม เช่น กศน.ไร้ถัง

44 อปุ สรรค (Threats) 1. สถานศึกษาบางแห่งมีระยะทางไกล ทาให้การติดต่อประสานงานในภารกิจเร่งด่วนเกิดความ ลา่ ช้า 2. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีหนังสือจาแนกประเภทวัสดุสานักงาน และยกเลิก การจดั ซอื้ ครุภณั ฑ์ต่ากว่าเกณฑ์ ทาใหไ้ ม่เอื้อต่อการดาเนินงาน 3. การกาหนดแนวทางในการดาเนินงานตามนโยบายมีความลา่ ช้า ทาใหไ้ มส่ ามารถปฏิบัติงานได้ ตามกาหนดเวลา 4. สถานศกึ ษาบางแหง่ เกดิ อุทกภยั ทาให้อาคารสถานท่ไี ด้รับความเสยี หายและส่งผลเสียต่อทาง ราชการ จากผลการประเมินสถานการณ์ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของหน่วยงานดังกล่าวข้างต้น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์สามารถนามากาหนดทิศทางการดาเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ เปูาประสงค์ ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ และกลยุทธ์ ดังนี้ ปรัชญา “ปรัชญาคิดเป็น และ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ “ม่งุ สร้างโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ เท่าเทียมทุกช่วงวัย ภายใตห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที กั ษะท่จี าเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21” พันธกจิ 1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครู บุคลากรทุกตาแหน่งให้มีความรู้ มีทักษะในการจัด กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การจัดการเรยี นการสอน และการปฏิบัติหนา้ ทีใ่ ห้มีประสทิ ธภิ าพ 2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพและการ เรยี นรู้ตลอดชีวติ ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 3. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษาจดั ทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวิจยั การวดั ผลและประเมินผล ให้สอดคลอ้ งกับบริบทในพืน้ ท่ี 4. ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เพ่ือส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามหลกั ธรรมาภิบาล

45 เปา้ ประสงค์และตัวช้ีวดั ความสาเร็จ ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ เปา้ ประสงค์ 1. รอ้ ยละของครู และบุคลากรมคี วามรู้ มีทักษะใน การจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียน 1. ครู และบคุ ลากรมีความรู้ มีทักษะในการจดั การสอน และการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีได้อย่างมี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรยี นการ ประสทิ ธภิ าพ สอน และการปฏิบัตหิ น้าท่ีได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. ร้อยละของประชาชนจดั การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีมีคณุ ภาพและการ 2. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม เรียนรูต้ ลอดชีวิตภายใต้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ อัธยาศยั ท่ีมีคณุ ภาพและการเรยี นรู้ตลอดชีวิต พอเพยี ง และมีทักษะทจ่ี าเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมี 3. รอ้ ยละของสถานศกึ ษามีหลักสตู ร รปู แบบการ ทักษะท่ีจาเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 จัดการเรียนรู้ ส่อื และนวตั กรรม การวจิ ยั การ 3. หนว่ ยงานและสถานศึกษาจัดทาหลักสตู ร วดั ผลและประเมนิ ผล ใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทในแต่ รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ส่ือและนวตั กรรม การ ละพนื้ ท่ี วจิ ัย การวดั ผลและประเมินผล ใหส้ อดคลอ้ งกับ บรบิ ทในแต่ละพ้ืนที่ เพื่อสรา้ งความมนั่ คง มง่ั คง่ั 4. ร้อยละของสถานศึกษาและประชาชนนา ของประชาชน เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมา 4. สง่ เสรมิ สนับสนนุ สถานศึกษานาเทคโนโลยี ใช้ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ทางการศึกษาและเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ในการจัด ตามอัธยาศัยได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใช้ 5. ร้อยละของภาคีเครอื ข่ายมีส่วนร่วมในการจัด เทคโนโลยีดิจิทัล สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบ 5. ประสานความรว่ มมือกบั ภาคีเครือข่ายจัด และการศึกษาตามอัธยาศยั สง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ 6. รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั การบริหารจัดการ เพื่อสง่ เสริมการจัดการศึกษา 6. มรี ะบบการบรหิ ารจัดการ เพ่ือส่งเสรมิ การจดั นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ี การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยให้ ประสิทธภิ าพ ตามหลักธรรมาภบิ าล มีประสทิ ธิภาพ ตามหลกั ธรรมาภิบาล กลยุทธ์ 1. พัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพและจัดกิจกรรมเสริมทักษะพัฒนาผู้เรียนใน รปู แบบทหี่ ลากหลายเสรมิ สร้างความม่ันคงของสถาบันหลกั และมีความสามารถในการแขง่ ขนั 2. พฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ มีทกั ษะในการจดั กระบวนการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าที่ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 3. พัฒนาและนาระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อการศึกษาและการบรหิ ารจดั การท่ที นั สมยั 4. สร้างโอกาสทางการศึกษาใหก้ บั ประชาชนเกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตภายใต้หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

46 5. ประสานความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่ายจดั สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 6. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสิทธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล 3. เปา้ หมายหลักของการบริหารและจัดการศกึ ษาของหน่วยงาน 1. กลมุ่ เปาู หมายมีความรพู้ นื้ ฐาน เพ่ือการศึกษาต่อ พัฒนาอาชีพ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 2. กลุ่มเปูาหมายมีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และ สามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ิต 3. กลมุ่ เปาู หมายมีสมรรถนะและทักษะในการดารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 4. กลุ่มเปูาหมายหรือผูเ้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพ่ิมรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือเพ่มิ มูลค่าของสนิ คา้ หรือบรกิ าร 5. กลุ่มเปูาหมายหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และ สามารถนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดารงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้ 6. ภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา่ งตอ่ เน่ือง 7. ระบบบริหารจดั การมปี ระสทิ ธิภาพเป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล ทศิ ทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอทบั สะแก การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน.อาเภอทับสะแก (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จดุ แขง็ ของ กศน.อาเภอ (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อาเภอ คณะกรรมการ กศน.อาเภอ) ด้านงบประมาณ ด้าน อาคารสถานท่ี ส่อื วัสดอุ ุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบรหิ ารจัดการ คา่ นยิ มองค์กร 1. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา มคี วามร้คู วามสามารถ 2. บุคลากรของสถานศึกษา มปี ระสบการณ์การทางานในพนื้ ท่อี ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. บุคลากรของสถานศึกษา มกี ระบวนการทางานเป็นทีม 4. บคุ ลากรของสถานศกึ ษา สว่ นใหญเ่ ป็นคนในพ้ืนท่ี 5. กศน.ตาบลทุกตาบลมีสือ่ การเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย 6. สถานศกึ ษามีโครงสร้างการบรหิ ารงานทช่ี ดั เจน 7. สถานศกึ ษาผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม ในระดบั ดี 8. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ของ กศน.อาเภอทับสะแก ได้รับการส่งเสริมและ สนับสนนุ ให้พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง 9. กศน.อาเภอทบั สะแก ได้รบั ความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาในการบริหาร จัดการและการกากับติดตาม

47 1.2 จดุ ออ่ นของ กศน.อาเภอ (Weaknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.อาเภอ คณะกรรมการ กศน.อาเภอ) ดา้ นงบประมาณ ด้านอาคาร สถานที่ สือ่ วสั ดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสรา้ งองคก์ ร/การบริหารจดั การ คา่ นยิ มองค์กร 1. ผู้เรียนของ กศน.อาเภอทับสะแก มีผลสัมฤทธ์ิต่ากว่ามาตรฐาน มีผลคะแนนเฉล่ียใน การสอบ N-net ตา่ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 2. ผเู้ รยี นของ กศน.อาเภอทบั สะแก มรี ะดบั ความรพู้ น้ื ฐานแตกต่างกัน 3. ผู้เรยี นของ กศน.อาเภอทับสะแก มีภาระในครอบครวั หรอื ภาระงานรบั ผดิ ชอบมาก 4. สถานท่จี ัดการเรยี นการสอนบางแหง่ ยังไม่เปน็ เอกเทศ 5. มีข้อจากัดในการเบิกจ่ายงบประมาณในการจัดกิจกรรมบางกิจกรรมท่ีแตกต่างจาก หนว่ ยงานอื่น 6. ครู กศน. ต้องรับผิดชอบภาระงานหลายด้านหลายกิจกรรม 2. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ดา้ นนโยบาย กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ดา้ นความปลอดภยั ในพื้นท่ี ด้านสงั คม-วัฒนธรรม ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ต่อสอื่ สาร และดา้ นสิง่ แวดล้อม 1. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อหนังสือเรียนและการจัด กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 2. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนด้านเทคโนโลยีและเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการจัด การศึกษาครอบคลมุ ทุกตาบล 3. สถานศกึ ษาได้รบั การยอมรบั จากชมุ ชนและหนว่ ยงาน 4. สถานศกึ ษามแี หล่งเรียนรแู้ ละมีภูมปิ ญั ญาที่หลากหลาย 5. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งให้ความร่วมมือและสนับสนุนในการจัด การศกึ ษา 6. สถานศึกษามีชุมชนท่ีเป็นต้นแบบที่ได้รับรางวัลและการยอมรับจากชุมชนและ หน่วยงานภายนอก 7. ชุมชนบ้านหินเทิน ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับสะแก เป็นมรดกภูมิปัญญาประเภท ช่างฝีมือดั้งเดิม งานหัตถกรรมจากกะลามะพร้าวบ้านหินเทียน เป็นช่างฝีมือที่สร้างสรรค์ งานหัตถกรรม จากกะลามะพร้าวหลากหลายรูปแบบมีความสวยงามแปลกตาและเพ่ิมมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น เปน็ รายได้ให้กับชุมชน 2.2 อปุ สรรค/ความเสย่ี ง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นท่ี ด้านสังคม-วัฒนธรรม ดา้ น เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อสอื่ สาร และด้านสิ่งแวดล้อม 1. ประชาชนในอาเภอทับสะแกมกี ารย้ายถิ่นท่อี ย่เู นื่องจากการประกอบอาชีพทาใหเ้ กิด ปัญหาผูเ้ รียนขาดสอบ 2. ประชาชนในอาเภอทบั สะแกไมเ่ ห็นความสาคัญในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

48 แนวทางการพัฒนา กศน.อาเภอทบั สะแก จากผลการประเมินสถานการณ์ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ทับสะแก โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของหน่วยงานดังกล่าว ข้างต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก สามารถนามากาหนดทิศ ทางการ ดาเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์ ตัวช้ีวัดความสาเร็จ และกลยทุ ธ์ ดังน้ี ปรชั ญา คิดเปน็ อยู่อย่างพอเพยี ง วิสยั ทศั น์ “ประชาชนอาเภอทับสะแก ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ สามารถ ดารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีทักษะท่ีจาเป็นใน โลกศตวรรษท2ี่ 1” อตั ลักษณ์ มีจติ อาสา ทาความดดี ้วยหวั ใจ ใฝเุ รยี นรู้ เอกลกั ษณ์ สถานศึกษาพอเพยี ง พนั ธกจิ 1. จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหผ้ เู้ รยี น/ผู้รับบรกิ าร ทุกกล่มุ ทกุ ช่วงวยั มีโอกาสการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งอย่างท่วั ถงึ และมีคณุ ภาพ 2. จดั กิจกรรมและสง่ เสริมให้ผูเ้ รียน/ผู้รบั บรกิ าร มีทกั ษะในการแสวงหาความร้ตู ามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการเปล่ียนแปลง ของโลกในศตวรรษที่ 21 4. จัดกิจกรรมและสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาคณุ ธรรมมีการจดั กจิ กรรมครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน ศาสนา ดา้ นวิถีไทย ด้านคุณธรรมอตั ลักษณ์ และกิจกรรมจิตอาสาทาความดีดว้ ยหวั ใจ 5. สถานศึกษาส่งเสรมิ และพฒั นาแหลง่ เรียนรูท้ ี่หลากหลาย 6. สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมท่ี สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของชมุ ชน 7. พัฒนาสมรรถนะของบคุ ลากรด้านการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่ี 8. ส่งเสริมและสนับสนนุ ภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอก ระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 9. สง่ เสริม สนับสนุน ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 10. นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านตอ่ เนื่องสม่าเสมอ

49 เปา้ ประสงค์และตัวชวี้ ดั ตามความสาเร็จ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ 1.จดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา 1.ผู้เรียน/ผูร้ บั บริการ การศึกษานอกระบบและ ตามอัธยาศยั ให้ผเู้ รยี น/ผรู้ ับบริการ ทุกกลุ่ม ทุก การศึกษาตามอธั ยาศยั มโี อกาสเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ชว่ งวัย อยา่ งทัว่ ถึงและมีคุณภาพ มโี อกาสเรยี นรู้อยา่ งต่อเนือ่ งอย่างทัว่ ถึงและมี คุณภาพ 2.จดั กจิ กรรมและส่งเสริมให้ผู้เรยี น/ผรู้ บั บริการ 2. ผ้เู รยี น/ผู้รบั บริการ มที ักษะในการแสวงหา มที กั ษะในการแสวงหาความรูต้ ามหลักปรชั ญาของ ความร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง 3.จดั กจิ กรรมและสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ าร มี 3. ผู้เรยี น/ผู้รบั บรกิ าร มีทักษะการเรยี นรู้พร้อมรบั ทักษะการเรยี นรู้พรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลงของโลก การเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 ในศตวรรษที่ 21 4.จัดกจิ กรรมและส่งเสริมสถานศกึ ษาคุณธรรม มี 4. สถานศกึ ษามกี ารจดั กิจกรรมครอบคลุม 4 ด้าน การจัดกจิ กรรมครอบคลมุ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้าน ได้แก่ ดา้ นศาสนา ด้านวิถีไทย ด้านคุณธรรม ศาสนา ด้านวิถไี ทย ด้านคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ และ อัตลักษณ์ และกิจกรรมจิตอาสาทาความดดี ้วย กิจกรรมจติ อาสาทาความดีดว้ ยหวั ใจ หวั ใจ 5.สถานศกึ ษาส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ท่ี 5. สถานศึกษามีแหลง่ เรยี นรู้ท่หี ลากหลาย หลากหลาย 6.สถานศกึ ษาพัฒนาหลักสตู รและรูปแบบการจดั 6. สถานศกึ ษามหี ลักสตู รและรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรมทีส่ อดคล้อง กิจกรรม กบั บรบิ ทของชมุ ชน การเรียนรู้ สือ่ และนวตั กรรมทีส่ อดคล้องกบั บริบท ของชมุ ชน 7.พัฒนาสมรรถนะของบคุ ลากรด้านการปฏิบัตงิ าน 7. บุคลากรไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะในการ ตามบทบาทหนา้ ที่ ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่ 8.ส่งเสริมและสนับสนนุ ภาคีเครือขา่ ยทุกภาคส่วนมี 8. ภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการจดั สว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม และ การศึกษาตามอัธยาศยั อธั ยาศยั 9.ส่งเสริม สนบั สนุน ระบบประกันคุณภาพภายใน 9. สถานศึกษามรี ะบบประกันคณุ ภาพภายใน สถานศึกษา 10.นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏบิ ัติงาน 10. สถานศกึ ษามีการนิเทศ ติดตาม และ ตอ่ เนื่องสม่าเสมอ ประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานตอ่ เน่อื งสมา่ เสมอ

50 เปา้ ประสงค์และตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ 1. ผู้เรยี น/ผูร้ ับบรกิ าร การศึกษานอกระบบและ 1. รอ้ ยละของผ้เู รียน/ผูร้ บั บรกิ าร การศึกษานอก การศึกษาตามอัธยาศัยมีโอกาสเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มีโอกาสเรียนรู้ อย่างท่วั ถึงและมคี ณุ ภาพ อย่างต่อเน่อื งอยา่ งท่วั ถงึ และมคี ุณภาพ 2. ผู้เรียน/ผู้รบั บริการ มีทกั ษะในการแสวงหา 2. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ าร มีทักษะในการ ความรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสวงหาความรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ผเู้ รยี น/ผู้รับบริการ มีทกั ษะการเรียนรู้พร้อมรบั 3. ร้อยละของผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ มที กั ษะการ การเปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 เรยี นรู้พรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ศตวรรษท่ี 21 4. สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรมครอบคลมุ 4 ด้าน 4. สถานศึกษาจัดกิจกรรมครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่ ได้แก่ ดา้ นศาสนา ดา้ นวถิ ีไทย ดา้ นคุณธรรมอัต ด้านศาสนา ด้านวิถีไทย ด้านคุณธรรมอัตลักษณ์ ลกั ษณ์ และกิจกรรมจิตอาสาทาความดีด้วยหัวใจ และกิจกรรมจิตอาสาทาความดีด้วยหัวใจ อย่าง น้อย 3 กิจกรรมตอ่ ภาคเรยี น 5. สถานศึกษามแี หลง่ เรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย 5. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนา อย่างนอ้ ย 6 แหล่ง/ปี 6. สถานศกึ ษามีหลักสตู รและรูปแบบการจดั 6. จานวนหลักสตู รและรูปแบบการจัดกิจกรรมการ กจิ กรรม เรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของ การเรยี นรู้ สอ่ื และนวตั กรรมทส่ี อดคล้องกบั บริบท ชุมชนทไ่ี ดร้ ับการพฒั นา ของชุมชน 7. บคุ ลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะในการ 7. ร้อยละของบคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะ ปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่ ในการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา้ ท่ี 8. ภาคีเครอื ข่ายทุกภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจัด 8. จานวนภาคเี ครอื ขา่ ยทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มใน กิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม การจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา อธั ยาศยั ตามอัธยาศัย 9. สถานศึกษามรี ะบบประกันคุณภาพภายใน 9. สถานศึกษามผี ลการประเมินตนเองผ่านเกณฑ์ มาตรฐานในระดับทีก่ าหนด 10. สถานศึกษามีการนิเทศ ติดตาม และ 10. สถานศกึ ษาสามารถจัดกิจกรรมเป็นตาม ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตอ่ เน่อื งสม่าเสมอ นโยบายของสานักงาน กศน.และสามารถนา ข้อเสนอแนะไปใชใ้ นการพฒั นาและปรบั ปรงุ การ ดาเนนิ งาน กลยุทธ์ กลยุทธ์ท่ี 1 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น/ผู้รบั บริการ กลยทุ ธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาหลกั สูตรหลากหลาย กลยทุ ธท์ ี่ 4 พฒั นาคณุ ภาพบคุ ลากร

51 กลยทุ ธท์ ่ี 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการ กลยุทธ์ที่ 6 สง่ เสริมและพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ให้หลากหลาย กลยุทธ์ที่ 7 ส่งเสรมิ สนับสนุนประสานความร่วมมอื กับภาคเี ครือข่ายจดั การศึกษา เปา้ ประสงคแ์ ละกลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ 1.ผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ าร การศกึ ษานอกระบบและ กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน/ผูร้ บั บริการ การศึกษาตามอธั ยาศัยมีโอกาสเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนือ่ ง อยา่ งท่วั ถึงและมคี ุณภาพ 2. ผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ มีทกั ษะในการแสวงหา กลยุทธท์ ี่ 1 พฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน/ผู้รบั บริการ ความรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสรมิ การจดั กระบวนการเรียนรู้ 3. ผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ มีทกั ษะการเรียนรู้พรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 4. สถานศึกษามีการจัดกจิ กรรมครอบคลมุ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นศาสนา ด้านวิถีไทย ดา้ นคุณธรรม อตั ลกั ษณ์ และกจิ กรรมจิตอาสา 5. สถานศกึ ษามีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย กลยทุ ธท์ ี่ 6 ส่งเสรมิ และพฒั นาแหล่งเรียนรู้ให้ หลากหลาย 6. สถานศกึ ษามหี ลักสูตรและรปู แบบการจัด กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรมท่สี อดคลอ้ ง กลยทุ ธ์ที่ 3 พฒั นาหลักสตู รหลากหลาย กบั บริบทของชุมชน 7. บุคลากรได้รบั การพฒั นาสมรรถนะในการ กลยุทธท์ ่ี 4 พฒั นาคุณภาพบุคลากร ปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนา้ ท่ี 8. ภาคีเครอื ข่ายทกุ ภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการจัด กลยทุ ธ์ท่ี 7 ส่งเสริมสนับสนุนประสานความรว่ มมือ กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตาม กบั ภาคีเครือขา่ ยจัดการศึกษา อัธยาศยั 9. สถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายใน กลยุทธท์ ี่ 5 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ 10. สถานศึกษามีการนิเทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านต่อเนือ่ งสม่าเสมอ

52 สรปุ ผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของ สถานศกึ ษา ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดังนี้ คะแนนจากผลการประเมินคณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา ด้านที่ 2 ดา้ นท่ี 3 คุณภาพ รวม แตล่ ะประเภท ด้านที่ 1 คุณภาพการจัด การบริหารจัดการ คะแนนทไี่ ด้ ระดับ คุณภาพของ คุณภาพ การศึกษา ของสถานศึกษา ผู้เรียน คะแนนเตม็ 50 คะแนน 20 คะแนน 30 คะแนน 100 คะแนน มาตรฐานการศึกษา นอกระบบ ระดบั 47.27 15.00 26.40 88.67 ยอดเย่ียม การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน มาตรฐานการศึกษา 46.00 14.80 26.40 87.20 ยอดเยี่ยม ต่อเน่อื ง มาตรฐานการศึกษา 40.91 15.75 26.40 83.06 ดเี ลิศ ตามอัธยาศยั คะแนนเฉล่ีย จากผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา 86.31 ดเี ลศิ หมายเหตุ สาหรับคะแนนท่ีจะกรอกลงในช่อง “คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของ สถานศึกษา” ให้นาคะแนนจากผลการประเมินคุณภาพด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา ท่ีประเมินไว้ใน บทที่ 2 ไปใส่ในช่อง “คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา” ในมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท (ใช้คะแนนเดียวกัน) เนื่องจากเป็นมาตรฐานที่ใช้ประเด็นการพิจารณา ร่วมกันในทุกประเภทการศึกษา ทัง้ น้ี จากการสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เม่ือ นาคะแนนเฉล่ียจากทุกมาตรฐานท่ีได้ในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ พบว่า สถานศึกษามี ผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวมเท่ากับ 86.31 คะแนน และเมื่อ พิจารณาผล การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท สามารถสรุปผลการประเมิน ตนเอง ไดด้ ังน้ี สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ระดับคณุ ภาพจากผลการประเมินคณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปไดว้ ่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน อยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม ผลการดาเนนิ งาน รอ่ งรอย และหลักฐานทีส่ นบั สนุนผลการประเมินคุณภาพ ด้านคุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากผลการ จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL การเรยี นรู้แบบโครงงาน และจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นทหี่ ลากหลาย พบว่า ผู้เรียนการศึกษานอก ระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานมีความรู้ความสามารถ หรือทักษะตามจุดมุ่งหมายการจัดการเรียนรู้ของ

53 หลักสตู ร สามารถผ่านกระบวนการวดั และประเมินผล ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะท่ีดีตามที่สถานศึกษา กาหนด มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปล่ียนความคิดเห็นร่วมกับ ผู้อ่ืน มีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ช้ินงาน หรือนวัตกรรม มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล มีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ มีความสามารถในการอ่าน การเขียน และจากการติดตามผู้ จบการศึกษาตามหลักสูตร พบว่า ผู้จบหลักสูตรทุกคนสามารถนาความรู้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการ ดาเนนิ ชีวิต การประกอบอาชพี หรือเพื่อการศึกษาตอ่ ในระดับที่สูงขึ้น โดยมีร่องรอยหลักฐานท่ีสาคัญ คือ ตารางสรุปข้อมูลคะแนนเฉล่ียผลการสอบปลายภาครายวชิ าบงั คับ รายงานสรุปผลการเรียนปลายภาคทุก ระดบั การศกึ ษาในรายวิชาบงั คบั ผลงาน ชนิ้ งาน โครงงานของนกั ศกึ ษา ฯลฯ ดา้ นคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน สถานศกึ ษามีการ จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่น รายวิชาเลือก อช13410 มะพร้าวทับสะแก1 ระดับ ประถมศึกษา รายวิชาเลือก อช23731 มะพร้าวทับสะแก2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และรายวิชา อช 331106 มะพร้าวทับสะแก3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ขึ้นอย่างเป็นระบบ มีความสอดคล้องกับ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีความเหมาะสม สอดคล้อง กับสภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ชุมชน ท้องถิ่น สถานศึกษาดาเนินการพัฒนา จัดหาส่ือการเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรและวิธีการเรียนรู้ เช่น หนังสือเรียน สื่อเสริม ความรู้ คมู่ ือนกั ศึกษา แนวการสอบ N-NET เป็นตน้ ซง่ึ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในรายวิชา ท่ีลงทะเบียนในแต่ละภาคเรียน มีการส่งเสริมและพัฒนาครูการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างต่อเนื่อง ทาให้ครู การศึกษาข้ันพื้นฐานมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี ต่าง ๆ เช่น รายการ ETV การแสวงหาความรู้จากส่ืออินเทอร์เน็ตผ่าน YouTube Google Facebook Line เป็นต้น โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และจัดสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการ จัดการเรยี นรู้ รวมถึงให้คาแนะนา คาปรกึ ษา และแกไ้ ขปญั หาของผู้เรียนอย่างทั่วถึง และมีการวัดผลและ ประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน ตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อย่างเป็นระบบ ด้วยแบบทดสอบ ช้ินงาน โครงงาน โดยมีหลักฐานที่สาคัญ คือ แฟูม สะสมผลงาน ใบงาน ชนิ้ งาน สิง่ ประดษิ ฐ์ ฯลฯ ด้านคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การเรยี นสถานศกึ ษา สถานศึกษามีการกาหนดเปูาหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 ท่ีสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ท่ีเน้น การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงาน ราชการ ลูกจ้างช่ัวคราว และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได้มีการเสนอ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 แก่คณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือพิจารณา และให้ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนาไปใช้ต่อไป สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรของสถานศึกษาให้ ได้รับการพัฒนาจนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเปูาหมาย หรือการ ปฏิบัติงาน สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการที่รวดเร็วถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในรูปแบบของกศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม การส่งเสริมการอ่าน มีการใช้ QR Code เพื่อการเข้าถึงข้อมูลด้วย Smart phone ทาให้ การศึกษาค้นคว้า หรือการหาความรู้ในห้องสมุดเพื่อการศึกษา หรือเพ่ือความบันเทิง เป็นไปด้วยความ

54 สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย ท้ังน้ีในการดาเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดาเนนิ งานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีทก่ี าหนด โดยการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้ มกี ารกากบั นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนินงานภายในสถานศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีหลักฐาน ที่สาคัญ คือ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และ แผนปฏิบตั ิการประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผลการดาเนินงานของสถานศึกษาประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผล โครงการนเิ ทศตดิ ตามผลการจัดการศกึ ษา ประจาปี พ.ศ.2563 ฯลฯ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ประเดน็ ทค่ี วรพัฒนา แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 1. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาควรมีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนาผลไปใช้ในการปรับปรุง หรือพัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกบั ความต้องการของผเู้ รียน 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษา 1. สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครูได้รบั การ นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีค่าสูงกว่า พัฒนาความรู้ ความสามารถในการออกแบบการจัด คา่ เปาู หมายที่กาหนด แต่ไม่ครบทกุ รายวิชา กระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือให้ สามารถจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าบังคับ 2. สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านวิชาการท่ีหลากหลาย เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง ก า ร เ รี ย น ข อ ง ผู้ เ รี ย น ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานใหม้ ผี ลสมั ฤทธ์ิสูงข้ึน 3. การนาส่ือเทคโนโลยีไปใช้ในการจัดการเรียน สถานศึกษาควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูนา ส่ือ การสอนยงั ไมค่ ลอบคลมุ ทกุ รายวิชา เทคโนโลยี ที่หลากหลายไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ให้ เหมาะสม กับผู้เรียน และเอ้ือต่อการเรียนรู้ เพื่อให้ ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต การทางาน หรือ การประกอบอาชีพได้ และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ตนเอง 4. การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อสื่อการ สถานศึกษาควรมีการประเมินความพึงพอใจของ เรียนรู้ ผู้เรียนต่อสื่อการเรียนรู้ และนาผลการประเมินไปใช้ใน การพัฒนา หรือจัดหาสื่อการเรียนรู้ให้เป็นไปตามความ ต้องการ

55 ความต้องการการส่งเสริม สนับสนุนจากหนว่ ยงานตน้ สังกดั 1. ควรส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครู เร่ือง การทาวิจัยของสถานศึกษา เพื่อการจัดการเรียนการ สอน 2. ควรส่งเสริมสนับสนุนสื่อการเรียนรู้สาเร็จรูปให้กับครู กศน. นาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้ ผู้เรยี นตรงตามรายวิชาแต่ละภาคเรยี น สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ระดับคุณภาพจากผลการประเมนิ คณุ ภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาตอ่ เนื่อง อย่ใู นระดบั ยอดเยย่ี ม ผลการดาเนนิ งาน ร่องรอย และหลักฐานทสี่ นบั สนุนผลการประเมนิ คุณภาพ ด้านคุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง จากผลการจัดการศึกษาตามหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่องของสถานศึกษา พบว่า ผู้เรียนการศึกษาต่อเน่ือง สามารถเข้าร่วมกระบวนการจัดการ เรียนรู้ท่ีเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละหลักสูตรได้ สามารถผ่านกระบวนการวัดและ ประเมินผล จนมีคุณสมบัติครบถ้วน สามารถจบการศึกษาตามหลักสูตรในแต่ละหลักสูตร และจากการ ติดตามผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง พบว่า มีผู้จบการศึกษาต่อเน่ืองสามารถนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน พัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน สาหรับการศึกษาต่อเน่ืองด้านการ พัฒนาอาชีพ พบว่า มีผู้เรียนบางส่วนที่สามารถนาความรู้ไปใช้ในการต่อยอดอาชีพเดิม หรือสร้างรายได้ เสริม หรือสร้างอาชีพใหม่ ส่วนใหญ่สามารถนาความรู้ไปใช้พัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยมี หลักฐานที่สาคัญ คอื รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศกึ ษาต่อเน่ือง สรุปผลการดาเนินงานโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ปีงบประมาณ 2563 ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ (DMIS63) ฯลฯ ดา้ นคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีการจัดหา และพัฒนา หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่มีความหลากหลายเป็นไปตามบริบท และความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ได้แก่ หลักสูตรพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ช่ัวโมง) เช่น หลักสูตรการทาข้าวเหนียว หน้าต่าง ๆ หลักสูตรการจักสานจากผลิตภัณฑ์มะพร้าว หลักสูตรการทามะพร้าวบอนไซสร้างอาชีพ หลักสูตรการทาน้ามันมะพร้าว หลักสูตรการทาพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้า หลักสูตรผลิตภัณฑ์จาก กะลามะพรา้ ว เป็นตน้ หลกั สูตรช้นั เรยี นวิชาชีพ (31 ช่วั โมง ขึ้นไป) หลักสูตรการทาน้าพริกแกง หลักสูตร ผลติ ภณั ฑ์จากน้ามนั มะพร้าวและการพฒั นาผลิตภัณฑ์ หลักสูตรผลิตภัณฑ์จากน้ามันมะพร้าว เป็นต้น ซึ่ง สถานศึกษาสามารถนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองแต่ละหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ กลุ่มเปูาหมายได้ โดยใช้วิทยากรหรือผู้จัดการเรียนรู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถตรงตามหลักสูตร และ สามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพ และความพร้อมของผู้เรียน ความหลากหลายตามความ แตกต่างของกลุ่มเปาู หมาย รวมท้ังบูรณาการหลักปรัชญาคิดเป็น และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ส่งผลให้ ผู้เรยี นการศึกษาต่อเน่ืองจบการศึกษาตามหลักสูตรในแต่ละหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวน ผู้เรียน โดยมีหลักฐานที่สาคัญ คือ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษา ต่อเน่อื งของสถานศึกษา รายงานผลการดาเนินงานการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง ฯลฯ

56 ด้านคุณภาพการบรหิ ารจดั การเรียนสถานศึกษา สถานศึกษามีการกาหนดเปูาหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 ท่ีสอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้น การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงาน ราชการ ลูกจ้างช่ัวคราว และคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได้มีการเสนอ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 แก่คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณา และให้ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนาไปใช้ต่อไป สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรของสถานศึกษาให้ ได้รับการพัฒนาจนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเปูาหมาย หรือการ ปฏิบัติงาน สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการท่ีรวดเร็วถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในรูปแบบของกศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม การส่งเสริมการอ่าน มีการใช้ QR Code เพื่อการเข้าถึงข้อมูลด้วย Smart phone ทาให้ การศึกษาค้นคว้า หรือการหาความรู้ในห้องสมุดเพื่อการศึกษา หรือเพื่อความบันเทิง เป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย ท้ังนี้ในการดาเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดาเนินงานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจาปีทีก่ าหนด โดยการมสี ่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้ มีการกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานภายในสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง โดยมีหลักฐาน ท่ีสาคัญ คือ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และ แผนปฏบิ ัติการประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผลการดาเนินงานของสถานศึกษาประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผล โครงการนเิ ทศติดตามผลการจดั การศึกษา ประจาปี พ.ศ.2563 ฯลฯ แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพ ประเด็นทีค่ วรพฒั นา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. การนาผลการวัดและประเมินผลผู้เรียนไปใช้ สถานศกึ ษาควรนาผลการวดั และประเมินผลผู้เรียนไปใช้ใน ในการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อสะท้อนความ ต้องการของผเู้ รียนไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ 2. การนาผลการทบทวน ตรวจสอบ หรือ สถานศึกษาควรมีการประเมินสื่อการสอนท่ีใช้ในการจัด ประเมินคุณภาพส่ือมาใชใ้ นการพฒั นาสอ่ื กระบวนการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง เพื่อกาหนด แนวทางในการพัฒนา ปรับปรุงส่ือการสอนให้ทันสมัย เพียงพอ และตรงกับความต้องการของผู้เรยี น 3. การนาผลการทบทวน ตรวจสอบ ประเมิน สถานศึกษาควรมีการประเมินหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องใน หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง มาใช้ปรับปรุง ทุกหลักสูตร เพื่อกาหนดแนวทางในการพัฒนา ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร หรือกาหนดแนวทางในการ หลกั สตู รให้ทันสมัยและตรงกบั ความต้องการของผู้เรียน ปรับปรงุ หลกั สตู ร 4. การพัฒนาศักยภาพของวิทยากรหรือผู้จัดการ สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนให้วิทยากร ได้รับการ เรียนรกู้ ารศกึ ษาต่อเนอ่ื ง พัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง โดยอาจจัดโครงการฝึกอบรมวิทยากร หรือเข้าร่วม กิจกรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับหน่วยงานต้นสังกัด หรือ นอกสังกัดสานักงาน กศน. เพ่ือให้วิทยากร หรือผู้จัดการ

57 ประเด็นทคี่ วรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา เรียนร้กู ารศึกษาตอ่ เนอื่ งได้รับการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง 5. ก า ร ติ ด ต า มก า ร น า ค ว า มรู้ ไ ป ใ ช้ ห รื อ สถานศึกษาควรจัดให้มีการติดตามการนาความรู้ไปใช้ ประยุกต์ใช้ของผู้จบการศกึ ษาต่อเนอื่ ง หรือประยุกต์ใช้ของผู้จบการศึกษาต่อเน่ือง ให้ครอบคลุม หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ งมากขึ้น 6. ผู้เรียน/ผู้รับบริการที่จบหลักสูตรการศึกษา ควรพัฒนากิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ โดย เพื่อพฒั นาอาชพี นาความรู้ ทกั ษะท่ีได้รับไปใช้ใน ส่งเสริมการเรียนรู้อาชีพใหม่ ๆ ให้เป็นทางเลือกเพ่ือ การเพ่ิมรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนา กระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับ ต่อยอดอาชีพ หรอื เพิ่มมลู คา่ ของสินคา้ ไดน้ อ้ ย ผู้เรียน เพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์ได้อย่างแพร่หลาย และ สง่ เสริมสนบั สนนุ ตอ่ ยอดใหผ้ เู้ รยี นท่ีจบหลักสูตรการศึกษา เพ่ือพัฒนาอาชีพ ให้มีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กค่ รอบครัว ความตอ้ งการการส่งเสรมิ สนบั สนุนจากหน่วยงานตน้ สงั กัด 1. ควรส่งเสริมสนับสนนุ พัฒนาครู กศน. ตาบล เร่อื ง การประเมินโครงการ 2. ควรจัดอบรมวิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง ให้มีความรู้ในการจัดทาหลักสูตร การจัด กระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ และการวัดผลและประเมินผล ให้สามารถจัดการศึกษา ต่อเนื่อง ได้อยา่ งมีคุณภาพเพ่มิ มากขน้ึ เปน็ ประจาทุกปีงบประมาณ สรปุ ผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตามอัธยาศยั ระดับคุณภาพจากผลการประเมนิ คุณภาพ จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา ตามอธั ยาศยั อยใู่ นระดับ ดีเลิศ ผลการดาเนินงาน ร่องรอย และหลกั ฐานทส่ี นับสนุนผลการประเมินคณุ ภาพ ด้านคุณภาพของผ้รู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย จากผลการจัดกิจกรรมการศึกษา ตามอธั ยาศยั พบว่า ผ้รู ับบรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศยั มคี วามรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของโครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย คือ โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการวันเด็กแห่งชาติ โครงการ 2 เมษายน วันรักการอ่าน โครงการ หอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ีหนงั สือดสี ชู่ ุมชน กศน.ตาบล และบา้ นหนงั สือชุมชน โครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนที่สาหรับชาว ตลาด ตามพระราชดาริ และโครงการส่งเสริมการอ่าน กศน.อาเภอทับสะแก ทาให้ผู้รับบริการมีนิสัยรัก การอ่าน อ่านได้คล่อง เข้าใจความ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สามารถรับรู้ข่าวสารที่ถูกต้อง และทัน เหตุการณ์ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทางาน และชีวิตประจาวันได้ โดยมี หลักฐานที่สาคัญ คือ สรปุ รายงานผลโครงการ ผลงาน ใบงาน/ช้นิ งาน ฯลฯ ด้านคุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีการกาหนด และ จดั โครงการการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่สอดคลอ้ งกับสภาพบรบิ ท หรอื ความต้องการ หรือความจาเป็นของ กลุ่มเปูาหมายในชุมชน สังคม และเป็นไปตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด มีการออกแบบการจัด กิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และกลุ่มเปูาหมายของโครงการ โดยผู้จัด กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศยั มีความรคู้ วามสามารถในการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และมีการพัฒนา

58 ตนเองอย่างต่อเน่ือง พัฒนา หรือจัดหาสื่อ และจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีการประเมินผู้รับบริการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ และจัดทารายงานสรุปผลการจัด โครงการ ส่งผลให้ผู้รับบริการมีนิสัยรักการอ่าน อ่านได้คล่อง เข้าใจความ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สามารถรับรู้ข่าวสารที่ถูกต้อง และทันเหตุการณ์ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการ ทางานและชวี ิตประจาวันได้ โดยมีหลักฐานที่สาคัญ คือ สรุปรายงานผลโครงการ ผลงาน ใบงาน/ชิ้นงาน ฯลฯ ดา้ นคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการเรยี นสถานศกึ ษา สถานศึกษามีการกาหนดเปาู หมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 ที่สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้น การมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงาน ราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งได้มีการเสนอ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และแผนปฏิบัติการประจาปี พ.ศ. 2563 แก่คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณา และให้ข้อเสนอแนะก่อนท่ีจะนาไปใช้ต่อไป สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรของสถานศึกษาให้ ได้รับการพัฒนาจนมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเปูาหมาย หรือการ ปฏิบัติงาน สถานศึกษานาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการที่รวดเร็วถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ในรูปแบบของกศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม การส่งเสริมการอ่าน มีการใช้ QR Code เพ่ือการเข้าถึงข้อมูลด้วย Smart phone ทาให้ การศึกษาค้นคว้า หรือการหาความรู้ในห้องสมุดเพ่ือการศึกษา หรือเพื่อความบันเทิง เป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็ว เข้าถึงได้ง่าย ท้ังนี้ในการดาเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถ ดาเนนิ งานไดเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีทก่ี าหนด โดยการมสี ่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้ มีการกากับ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนนิ งานภายในสถานศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง โดยมีหลักฐาน ที่สาคัญ คือ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563-2565 และ แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผลการดาเนินงานของสถานศึกษาประจาปี พ.ศ. 2563 สรุปผล โครงการนเิ ทศตดิ ตามผลการจดั การศกึ ษา ประจาปี พ.ศ.2563 ฯลฯ แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพ ประเด็นทคี่ วรพฒั นา แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1. ควรจัดใหม้ กี ารประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับการ 1. สถานศึกษาควรให้บรรณารักษ์ และครู กศน. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิ ตาบล ดาเนินการจัดทาและให้ผู้รับบริการประเมิน ปัญญาท้องถ่ิน และนาผลการประเมินความพึงพอใจ ความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยี มาพัฒนาหรือจัดหาส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญา สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ ทอ้ งถ่นิ นาผลการประเมินความพงึ พอใจมาพัฒนาหรือจัดหา สื่อ แหลง่ เรียนรูห้ รอื ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ 2. ควรจัดให้มีการทาแบบประเมินความพึงพอใจ 2. สถานศึกษาควรให้บรรณารักษ์ และ ครู กศน. โครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และนาผล ตาบลทาแบบประเมินความพึงพอใจโครงการ ท่ไี ด้จากการประเมินความพึงพอใจมาปรบั ปรุงสถานท่ี กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และนาผลที่ได้จาก การให้บริการ และพัฒนาการจัดและดาเนิน การประเมินความพึงพอใจมาปรับปรุงสถานท่ี

59 ประเดน็ ที่ควรพฒั นา แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษา โครงการของสถานท่ีเพื่อให้มีผลการประเมินใน การให้บริการ และพัฒนาการจัดและดาเนิน ระดับดขี นึ้ ไปเพมิ่ มากขึน้ โครงการของสถานท่ี เพื่อให้มีผลการประเมินใน ระดับดีขนึ้ ไปเพม่ิ มากขึน้ 3. งบประมาณไม่เพียงพอในการปรับปรุง พัฒนา 3. สถานศึกษาควรขอรับการจัดสรรงบประมาณใน จัดหาเทคโนโลยที ่ีทันสมัยให้กบั ห้องสมุด ทาให้ขาด การปรับปรุง พัฒนา จัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัย แรงจูงใจในการมาใช้บริการ และส่งผลต่อการ ให้กบั ห้องสมุดประชาชนเพม่ิ ขนึ้ ประเมนิ ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริการ 4. ควรนาผลการประเมินความพึงพอใจจาก 4. สถานศึกษาประเมินความพึงพอใจจาก ผ้รู บั บรกิ ารมาปรับปรงุ ในการการพฒั นา หรือจัดหา ผูร้ บั บรกิ ารและนาผลการประเมินมาปรับปรุงในการ ส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในการ การพัฒนา จัดหาส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญา ดาเนนิ งานครั้งตอ่ ไป ท้องถ่ิน ในการดาเนินงานคร้ังต่อไป เพ่ือให้ได้สื่อ แหลง่ เรียนรหู้ รอื ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินที่มคี ณุ ภาพ ความต้องการการส่งเสริม สนบั สนุนจากหนว่ ยงานต้นสงั กดั 1. จัดสรรเงินงบประมาณในการจัดซื้อส่ือ หนังสือ และวัสดุในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ใหก้ ับบา้ นหนังสือชุมชน 2. จัดสรรเงินงบประมาณให้เพียงพอในการปรับปรุง พัฒนา จัดหาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยให้ ห้องสมุด 3. ควรสนบั สนุน ส่งเสริมพัฒนาผู้จดั การศึกษาตามอธั ยาศัย เรอื่ ง การประเมินโครงการ การใช้ เทคโนโลยีในการจัดทา หรอื พัฒนานวัตกรรมในการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั บทสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ต้ังอยู่เลขที่ 126/4-5 หมู่ 4 ตาบลทับสะแก อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัด การศกึ ษา 3 ประเภท ประกอบด้วย การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพ การศึกษาตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ตั้งแตว่ ันท่ี 14 ถงึ วันที่ 17 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งจากการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษา สามารถสรุป ได้ดังน้ี สถานศึกษามีผลการประเมิน ตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวมเทากับ 86.31 คะแนน และเมื่อพิจารณาผลการ ประเมินตนเองตามประเภทการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา พบว่า 1. มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเย่ียม มีคะแนนรวมเทา่ กับ 88.67 คะแนน 2. มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มี คะแนนรวมเทา่ กับ 87.20 คะแนน

60 3. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ มี คะแนน รวมเทา่ กบั 83.06 คะแนน ทงั้ นี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยภาพรวมของสถานศึกษา จึงได้มีการกาหนดแนวทางเพ่ือรักษาคุณภาพ หรอื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ท่สี ถานศกึ ษาคาดว่าจะนาไปดาเนินการในปีงบประมาณถดั ไป ดงั น้ี 1) สถานศึกษาควรสงเสริม สนับสนุน การพัฒนาครู เรื่องการทาวิจัย การใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน การจัดทาและพัฒนาส่ือการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ ผู้เรียน โดย จดั โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ านด้านการจดั ทาวจิ ัย 2) สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินหลักสูตร เพ่ือกาหนดแนวทางในการพัฒนา ปรบั ปรุงหลักสูตร สื่อการสอนให้ทันสมัย เพียงพอ และตรงกับความตองการของผู้เรียน โดยจัดโครงการ ประเมินหลกั สตู รของสถานศึกษา รายวชิ าเลือก มะพราวทับสะแก ทัง้ 3 ระดบั 3) สถานศึกษาควรจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านวิชาการที่มีความหลากหลาย เพ่ือพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้น โดยจัดโครงการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านวิชาการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน กศน. อาเภอทับสะแก 4) สถานศึกษาควรสงเสรมิ สนบั สนุนผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานให้มีความสามารถในการ คิด วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเป็นร่วมกับผู้อื่น โดยเน้นการจัด กระบวนการเรียนรู้ ด้วยโครงงานและเอ้ือต่อการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในการดารงชีวิต การ ทางาน หรือการประกอบ อาชีพได้ และยกระดับคุณภาพชีวิตของตนเอง โดยจัดโครงการประกวด โครงงานของนักศึกษา กศน.อาเภอ ทับสะแก 5) สถานศึกษาควรสงเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยสงเสริมการ เรียนรู้ อาชีพใหม่ ๆ ให้เป็นทางเลือกเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับผู้เรียน เพือ่ จาหน่าย ผลิตภัณฑ์ไดอ้ ย่างแพร่หลาย และส่งเสริมสนบั สนุนต่อยอดให้ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษา เพ่ือพัฒนาอาชีพ ให้มีทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว และจัดให้มีการ ตดิ ตามการนาความรู้ไป ใช้ หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ของผู้จบการศึกษาต่อเน่ือง ให้ครอบคลุมทุกหลักสูตร โดยจัด โครงการ/กิจกรรมการศึกษา เพ่ือพัฒนาอาชีพ ด้วยรูปแบบการค้าออนไลน์ หรือ ประสานงานภาคีเครือ ขายในการวางจาหน่ายสินค้าทไี่ ดร้ ับ การส่งเสริมอาชพี เพอ่ื เพ่ิมช่องทางการตลาดให้กับผู้เรียน 6) สถานศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุนการจัดหาหรือพัฒนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยให้กับ ห้องสมุด ประชาชน เพ่ือเพ่ิมแรงจูงใจ ในการมาใช้บริการ และจัดให้มีการประเมินความพึงพอใจจาก ผู้รับบริการเพ่ิมมากขึ้น เพื่อนาผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนา ด้านส่ือ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญา ท้องถ่ิน โดยประสานงานกับภาคี เครือข่ายในการจัดหาหรือพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้กับห้องสมุด ประชาชน

61 ส่วนที่ 3 รายละเอียดแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย 3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม 3.2 ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 3.3 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สตู ร เปาู หมาย ร โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ (คน) โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับ - กจิ กรรมจัดการเรยี นการ 10 คน พ การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั สอนผู้ไม่รหู้ นงั สือ ก การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั -จดั ซื้อหนงั สือเรียน 374 คน พ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น) ก -จดั การเรยี นการสอน 374 คน พ ก -โครงการนวตั กรรมการ 374 คน พ จัดการ ก -โครงการพัฒนาความรู้ ความสามารถด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ -โครงการเรียนรศู้ าสตร์ พระราชาสูก่ ารพัฒนาท่ี ยั่งยืน(ผลติ สร้างคลังอาหาร) - โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น และพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ใหก้ ับนกั ศกึ ษา กศน.

62 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ ระยะเวลา พนื้ ท่ดี าเนนิ การ งบประมาณ ผ้รู บั ผิดชอบ (บาท) นางสมุ ิตรา สขุ อวบอ่อง นางยพุ เยาว์ เยาวหลี พ.ย2563 – กศน.อาเภอทบั สะแก 5,500 บาท นางสุมิตรา สขุ อวบอ่อง ก.ย.2564 นางสมุ ติ รา สุขอวบอ่อง พ.ย2563 – กศน.อาเภอทับสะแก 282,540 บาท นางสุมิตรา สุขอวบอ่อง ก.ย.2564 พ.ย2563 – กศน.อาเภอทบั สะแก 676,200 บาท ก.ย.2564 พ.ย2563 – กศน.อาเภอทบั สะแก 210,020 บาท ก.ย.2564

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลักสตู ร เปูาหมาย(คน) ร โครงการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นา - โครงการอบรมคุณธรรม ทกั ษะชีวิต ปีงบประมาณ 2564 จรยิ ธรรมเพือ่ พัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ให้กับนักศึกษา กศน. - โครงการเสรมิ สร้างทักษะ การเรียนรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ นกั ศกึ ษา กศน -หลกั สตู รโภชนาการเพอ่ื 288 คน ม สขุ ภาพคีโต ก -หลกั สูตรการดแู ลสขุ ภาพ ผูส้ งู อายดุ ้านการพลัดตกหก ลม้ -หลกั สตู รสุขภาพดี ชวี มี สี ุข -หลักสตู รสุขภาพดชี วี ิตมสี ขุ -หลกั สตู รการกาจัดลูกน้า ยงุ ลาย -หลกั สูตร ผสู้ งู อายไุ ม่ลม้ กิน ขา้ วอร่อย

ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 63 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ งบประมาณ ม.ค.2564- กศน.ตาบล ท้ัง 6 ตาบล 33,120 บาท นายบญุ ทิพย์ สอนงา่ ย ก.ค.2564 น.ส.ภัณฑิรา ง้วิ งาม นางนยิ ะดา อนิ ไชยา นางสาวสมติ า โชติดาว น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์

โครงการ 3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ กิจกรรม/หลกั สูตร เปาู หมาย(คน) ร -หลักสูตรการกาจัดลกู น้า ยุงลาย -หลกั สูตรอาหารผสู้ งู อายุ -หลักสูตรการดแู ลสุขภาพกาย และจติ -หลักสตู รฝกึ ทกั ษะอาชพี สาหรับผสู้ ูงอายุ -หลกั สูตรปอู งกันภาวะหกลม้ ในผู้สงู อายุ -หลกั สตู ร เตรียมความพร้อม กาย จิต สงั คม ก่อนวยั ผ้สู งู อายุ

ผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 64 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ผรู้ ับผิดชอบ ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ งบประมาณ

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สูตร เปาู หมาย(คน) ร โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อ -หลกั สูตรโคกหนองนาพัฒนาชวี ิต 168 คน ม พฒั นาสงั คมและชมุ ชน ปงี บประมาณ 2564 -หลักสูตรการบริหารจัดการขยะ ก -หลกั สูตรการบริหารจัดการขยะ -หลักสตู รบอนไซสร้างอาชีพ -หลกั สตู รการโบกาฉิ -หลกั สตู ร เยาวชนรกั แผน่ ดนิ -หลักสูตรมะพรา้ วบอนไซสรา้ ง อาชพี -หลักสตู รโคกหนองนาพฒั นา คุณภาพชีวติ -หลกั สตู รประชารว่ มใจและ ควบคมุ ลกู น้ายงุ ลาย -หลักสตู รบอนไซสร้างอาชีพ -หลักสูตรการบรหิ ารจัดการขยะ -หลักสูตร อนรุ กั ษ์พันธุกรรมพชื ของชมุ ชน

65 ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ระยะเวลา พื้นทีด่ าเนินการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 67,200 บาท น.ส.ภัณฑริ า งิว้ งาม ม.ค.2564- กศน.ตาบล ทั้ง 6 ตาบล ก.ค.2564

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปาู หมาย(คน) ร โครงการการเรยี นรู้หลักปรชั ญา -หลักสูตรการเรยี นรูศ้ าสตร์ 156 คน ม ของเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปี งบประมาณ 2564 พระราชาสู่ความพอเพยี ง ก -หลักสูตรศาสตรพ์ ระราชาสู่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยนื -หลักสูตรเกษตรอินทรีและ การสรา้ งชีวิตทีย่ ัง่ ยืน -หลกั สูตรเกษตรทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่โคกหนองนาโมเดล -หลักสตู รโคกหนองนาพัฒนา ชวี ติ -หลกั สูตรโคกหนองนาโมเดล

66 ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ระยะเวลา พื้นทีด่ าเนินการ งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ 62,400 บาท นายบุญทพิ ย์ สอนงา่ ย ม.ค.2564- กศน.ตาบล ทั้ง 6 ตาบล ก.ค.2564

โครงการ 3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ กจิ กรรม/หลักสูตร เปาู หมาย(คน) ร -หลกั สูตรโคกหนองนาพัฒนา ชีวิต -หลกั สตู รผลผลติ ทาง การเกษตร(การทาเช้ือไตโค โดมา่ ) -หลกั สูตรเกษตรอินทรยี ว์ ิถี ธรรมชาติ -หลกั สตู รเกษตรทฤษฏีใหม่ สู่ โคกหนองนาโมเดล -หลักสตู รการทาปุ฻ยไสเ้ ดอื น -หลกั สูตร ถนนแบ่งปั่น

ผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 67 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ผรู้ ับผิดชอบ ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ งบประมาณ

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลักสูตร เปาู หมาย(คน) ร โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยดจิ ิทัล ชุมชนระดับตาบล ปีงบประมาณ -หลักสูตร Digital literacy 150 คน ต พ.ศ. 2564 จานวน 12 ช่วั โมง ก โครงการจดั และส่งเสริมการจัด การศกึ ษาตลอดชีวิตเพ่ือคง -หลักสูตรการค้าออนไลน์ พัฒนาการทางกายจติ สมองของ ผู้สงู อายุ ประจาปงี บประมาณ จานวน 12 ชั่วโมง 2564 หลกั สูตรการปูองกนั ภาวะ 90 คน เม ซมึ เศร้าคงสมรรถนะทางกาย ม จติ และสมองของผ้สู ูงอายุ จานวน 3 ชว่ั โมง

68 ผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ระยะเวลา พนื้ ทด่ี าเนนิ การ งบประมาณ(บาท) ผ้รู ับผิดชอบ น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์ ต.ค. 2563- กศน.ตาบล ทง้ั 6 ตาบล 39,600 บาท ก.ย. 2564 ม.ย.2564- กศน.ตาบล ท้ัง 6 ตาบล 9,000 บาท น.ส.พรพิมล เยาวมาลย์ มิ.ย.2564

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สูตร เปาู หมาย โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน หลกั สูตร 31 ชั่วโมงขนึ้ ไป 120 คน ก ประจาปงี บประมาณ 2564 (ชน้ั เรียนวชิ าชีพ) -หลักสตู รการแปรรูปผลติ ภัณฑ์ จากมะพรา้ วจานวน 35 ช่วั โมง -หลักสตู รการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ ทางการเกษตร จานวน 35 ชั่วโมง -หลักสตู รการขยายพนั ธุ์พชื เพ่ือ การคา้ 31 ชั่วโมง -หลกั สูตรการจักสานผลิตภัณฑ์ จากก้านมะพร้าว -หลักสูตรผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว จานวน 31 ชว่ั โมง -หลกั สตู รการถกั กระเป฻าจากไหม พรม จานวน 35 ช่ัวโมง

69 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ ระยะเวลา พื้นทดี่ าเนนิ การ งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ (บาท) นายบุญทิพย์ สอนงา่ ย น.ส.ภณั ฑริ า ง้วิ งาม ก.พ. 2564 – กศน.ตาบล ทง้ั 6 ตาบล 108,000 บาท นางนยิ ะดา อนิ ไชยา นางสาวสมิตา โชติดาว ก.ค. 2564 92,400 บาท น.ส.พรพิมล เยาวมาลย์ 43,200 บาท รวม 243,600.-

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย หลักสูตร 31 ชว่ั โมงข้นึ ไป (ชัน้ เรยี นวชิ าชีพ) -หลกั สตู รการแปรรูปผลิตภณั ฑ์ จากมะพรา้ ว จานวน 35 ชวั่ โมง -หลกั สตู รการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ จากน้ามันมะพร้าว จานวน 35 ชั่วโมง -หลักสูตรการแปรรูปผลติ ภัณฑ์ จากมะพรา้ ว 31 ชม -หลักสตู รการแปรรปู ผลิตภัณฑ์ จากมะพร้าว 31 ช่ัวโมง -หลกั สตู รการจกั สานผลิตภณั ฑ์ จากกา้ นมะพรา้ ว 31 ช่วั โมง -หลักสูตรการทาผ้าบาติก จานวน 35 ชว่ั โมง

ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 70 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผู้รบั ผิดชอบ ระยะเวลา พน้ื ทดี่ าเนนิ การ งบประมาณ (บาท)

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย หลกั สูตรไมเ่ กิน 30 ชว่ั โมง 132 คน (กล่มุ สนใจ) -หลกั สตู รการทาสบู่จากสมนุ ไพร พื้นบา้ น จานวน 16 ชว่ั โมง -หลกั สูตรการทานา้ มันมะพร้าว สกดั เยน็ จานวน 13 ช่วั โมง -หลกั สูตรการทาขนมไทย (เม็ด ขนนุ และลูกชบุ ) 16 ชม -หลักสตู รการทานา้ พรกิ แกง จานวน 15 ชว่ั โมง -หลักสูตรการจักสานใบมะพร้าว 6ชม. -หลกั สูตรวุ้นแฟนซี 3 ชม. -หลักสตู รจักสานมะพรา้ วสรา้ ง อาชพี จานวน 9 ชว่ั โมง

ผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 71 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผรู้ บั ผิดชอบ ระยะเวลา พน้ื ทดี่ าเนินการ งบประมาณ (บาท)

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สตู ร เปูาหมาย -หลักสตู ร การทาไม้ กวาดก้านมะพร้าว จานวน 9 ชัว่ โมง -หลักสูตรการทาเตา้ หู้ นมสด จานวน 6 ชัว่ โมง - หลักสูตรการทาขนม กยุ ช่าย จานวน 6 ช่วั โมง -หลกั สตู รการพับเหรยี ญ โปรยทาน จานวน 13 ชัว่ โมง

ผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 72 จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ผรู้ บั ผิดชอบ ระยะเวลา พ้นื ท่ีดาเนินการ งบประมาณ (บาท)

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลกั สตู ร เปาู หมาย หลักสูตรไม่เกนิ 30 ชั่วโมง (กลุ่มสนใจ) -หลกั สูตรการเกษตร ธรรมชาติ จานวน 16 ชัว่ โมง -หลกั สูตรการทาน้าพรกิ แกง จานวน 13 ชัว่ โมง -หลักสูตรการจักสาน ตอกไม้ไผ่ จานวน 16 ชว่ั โมง -หลกั สูตรผลติ ภณั ฑ์จาก น้ามันมะพร้าว จานวน 15 ชวั่ โมง -การจัดดอกไม้ในงานพธิ ี 9 ชม. -หลกั สูตรบัวลอย มะพร้าวออ่ น 3ชม.

ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 73 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผู้รบั ผิดชอบ ระยะเวลา พน้ื ทดี่ าเนนิ การ งบประมาณ (บาท)

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย -หลักสตู รการจักสานใบ มะพรา้ วสร้างอาชีพ จานวน 9 ชวั่ โมง -หลกั สตู รการทาไม้กวาด กา้ นมะพรา้ ว จานวน 9 ช่ัวโมง - หลักการทาขนมบวั ลอยญวน จานวน 6 ชว่ั โมง -หลักสูตรมะพรา้ วบอน ไซสรา้ งอาชพี 13 ชว่ั โมง

ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 74 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผู้รบั ผิดชอบ ระยะเวลา พน้ื ทดี่ าเนนิ การ งบประมาณ (บาท)

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย 48 คน โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ หลักสตู ร 1อาเภอ 1 อาชพี -หลักสูตรการแปรรปู รวม 300 คน ผลติ ภัณฑ์วัสดุทาง การเกษตร จานวน 35 ชม -หลกั สตู รการจกั สาน ผลิตภณั ฑ์จากกา้ นมะพร้าว จานวน 35 ชม. -หลักสตู รการแปรรูป ผลิตภัณฑจ์ ากนา้ มนั มะพร้าว จานวน 35 ชม -หลกั สตู รการจักสาน ผลิตภณั ฑจ์ ากผักตบชวา จานวน 35 ชม.

ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 75 จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ผู้รบั ผิดชอบ ระยะเวลา พน้ื ทดี่ าเนนิ การ งบประมาณ (บาท)

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลกั สตู ร เปูาหมาย โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการ กิจกรรมโครงการอบรม 24 คน สื่อสารดา้ นอาชีพ ประจาปี ภาษาองั กฤษเพ่ือการ งบประมาณ 2564 สือ่ สารด้านอาชีพ โครงการนิเทศติดตามผลการจัด 1. นิเทศการจัด บคุ ลากร การศึกษานอกระบบและการศึกษา กิจกรรมการศึกษาขั้น กศน.อาเภอทบั สะแก ตามอัธยาศัยประจาปีงบประมาณ พื้ น ฐ า น / ก า ร ศึ ก ษ า พ.ศ.2564 ต่อเน่ือง/การศึกษาตาม อธั ยาศัย 2. ประชมุ สรุปผลการ ดาเนนิ งานและการ นาเสนอผลการนเิ ทศการ จัดกจิ กรรมต่อคณะ นิเทศระดับจังหวัด โครงการประกันคุณภาพภายใน ประชุมบุคลากรจัดทา บคุ ลากร กศน.อาเภอ ต ของสถานศึกษาเพ่ือรองรับการ รายงานการประเมิน ประเมินคณุ ภาพภายนอก ประจาปี ตนเองของสถานศึกษา งบประมาณ พ.ศ.2564 ปีงบประมาณ 2564

76 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระยะเวลา พ้ืนทด่ี าเนินการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ (บาท) นางสมุ ติ รา สขุ อวบอ่อง เม.ย.-มิ.ย. หว้ ยยาง 2564 28,800 บาท ตุลาคม - กศน.ตาบล ท้ัง 6 แห่ง 5,000 บาท นายสุรพงษ์ อนนั ตธ์ นสาร 2563 - หอ้ งสมุดประชาชน ถงึ กนั ยายน 2564 ตุลาคม 2563 กศน.อาเภอทับสะแก 8,000.- บาท นายสุรพงษ์ อนนั ตธ์ นสาร ถงึ กันยายน 2564

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สูตร เปูาหมาย โครงการประชุมคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการ สถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ สถานศึกษา สถานศกึ ษา พ.ศ.2564 และ บุคลากร กศน.อาเภอทบั สะแก โครงการประเมินเทียบระดับ 1. โครงการปฐมนิเทศ - บคุ ลากร กศน.อาเภอ ทบั สะแก การศึกษา ประจาปีงบประมาณ นักศึกษาเทยี บระดบั - ผู้เรียนเทียบระดบั การศึกษา พ.ศ.2564 การศกึ ษา 2. การประเมินมติ ิ ประสบการณ์ 3. การประเมนิ มติ ิ ความรู้ ความคดิ 4. โครงการสมั มนาก่อน จบตามหลักสตู รการ ประเมินเทยี บระดบั การศกึ ษา

77 ผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ ระยะเวลา พ้นื ทด่ี าเนนิ การ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กศน.อาเภอทบั สะแก ครง้ั ท่ี 1 (บาท) มกราคม 2564 6,000.- บาท นายสุรพงษ์ อนันต์ธนสาร ครั้งท่ี 2 มถิ นุ ายน กศน.อาเภอทับสะแก - นายสรุ พงษ์ อนันต์ธนสาร 2564 ตลุ าคม 2563 ถึง กนั ยายน 2564

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย 5. โครงการพัฒนาศักยภาพ 5.1 กิจกรรมการพฒั นา บุคลากร กศน.อาเภอทบั สะแก ครู แล ะบุ คล า กร เพ่ื อเ พิ่ ม ศักยภาพบุคลากรดา้ นทักษะ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร กฬี าเพื่อประสิทธภิ าพในการ ปฏิบัติงานด้านการศึกษานอก จัดการศกึ ษานอกระบบและ ระบบและการศึกษาตาม การศึกษาตามอัธยาศัยตาม อธั ยาศยั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 กศน.อาเภอทับ สะแก (ระดบั ภาค) 5.2 กจิ กรรมการพัฒนา ศกั ยภาพบุคลากรด้านทกั ษะ กฬี าเพ่อื ประสิทธิภาพในการ จดั การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตาม หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน.อาเภอ ทับสะแก (ระดับประเทศ)

78 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ระยะเวลา พน้ื ท่ดี าเนนิ การ งบประมาณ (บาท) ผู้รับผิดชอบ จงั หวดั กาญจนบรุ ี มกราคม 45,000.- น.ส.รตั นาวลี สิงห์คาร 2564 ถึง กมุ ภาพันธ์ 2564 พฤษภาคม จังหวดั กาญจนบุรี 60,000.- น.ส.รัตนาวลี สิงห์คาร 2564 ถงึ กนั ยายน 2564

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลักสูตร เปูาหมาย 5.3 กจิ กรรมการพฒั นา ศักยภาพครูและบุคลากรเพ่ือ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการ ปฏิบตั งิ านด้านการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย 5.4 กจิ กรรมการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเพื่อสง่ เสริมการจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ที่ ทันสมัยและมีประสทิ ธิภาพ

79 ผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ระยะเวลา พน้ื ทีด่ าเนินการ งบประมาณ (บาท) ผ้รู บั ผดิ ชอบ พฤษภาคม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 55,000.- น.ส.รัตนาวลี สิงหค์ าร 2564 กศน.อาเภอทับสะแก ถงึ 30,000.- น.ส.รัตนาวลี สงิ หค์ าร กันยายน 8,000.- น.ส.รัตนาวลี สงิ ห์คาร 2564 พฤษภาคม 2564 ถงึ กันยายน 2564

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กจิ กรรม/หลกั สตู ร เปูาหมาย โครงการจิตอาสา “เราทา กจิ กรรมพัฒนา กศน.งามตา กศน.ตาบล ทงั้ 6 แหง่ ความดีเพื่อชาติ ศาสน์ ประชาชื่นใจ กศน.อาเภอทับสะแก กษัตรยิ ์ ”กศน.อาเภอทบั หอ้ งสมดุ ประชาชน สะแก งามตา ประชาชนื่ ใจ

80 ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ ระยะเวลา พ้ืนทีด่ าเนินการ งบประมาณ (บาท) ผ้รู บั ผดิ ชอบ ต.ค.2563- กศน.ตาบล ท้งั 6 แห่ง 3,900.- น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์ ม.ี ค.2564 กศน.อาเภอทบั สะแก หอ้ งสมุดประชาชน

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทับสะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลกั สูตร เปูาหมาย(คน) ร 6 แหง่ พ โครงการจดั สรา้ งแหลง่ เรยี นรู้ชุมชน -กิจกรรมจดั ซื้อหนงั สือพมิ พ์ ก 15,000 คน ในตาบล ประจาปงี บประมาณ สาหรบั กศน.ตาบล พ ก 2564 -กิจกรรมจัดซื้อสื่อ สาหรบั กศน.ตาบลสรา้ งใหม่ -จดั กิจกรรมสาหรับ กศน. ตาบลสร้างใหม่ -ค่าสาธารณูปโภคสาหรบั กศน.ตาบลสร้างใหม่ โครงการพฒั นาห้องสมดุ ให้เป็น โครงการพัฒนาห้องสมุดให้ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ประจาปี เปน็ แหลง่ เรียนร้ตู ลอดชีวติ งบประมาณ 2564 ประจาปีงบประมาณ 2564

81 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ ระยะเวลา พื้นท่ีดาเนินการ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ กศน.ตาบล ท้ัง 6 ตาบล 14,280 บาท พ.ย2563 – นายบุญทพิ ย์ สอนงา่ ย ก.ย.2564 น.ส.ภัณฑิรา ง้ิวงาม นางนิยะดา อนิ ไชยา นางสาวสมติ า โชติดาว น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์ พ.ย2563 – กศน.ตาบล ทง้ั 6 ตาบล - นางสาวเกษร ฤทธกิ ลู ก.ย.2564

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ กศน.อาเภอทบั สะแก จ โครงการ กิจกรรม/หลกั สตู ร เปาู หมาย (คน) ร 600 คน โครงการสง่ เสริมการอา่ น -กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น 600 คน พ ประจาปงี บประมาณ 2564 บ้านหนงั สอื ชมุ ชน ก (กศน.ตาบล) -กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน 550 คน หน่วยบรกิ ารเคล่ือนที่ 50 คน (รถโมบาย) รวม 1,800 คน -กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน -กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น หอ้ งสมุดเคล่ือนทสี่ าหรบั ชาวตลาด

82 ผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระยะเวลา พืน้ ทีด่ าเนนิ การ งบประมาณ (บาท) ผู้รับผดิ ชอบ กศน.ตาบล ทั้ง 6 ตาบล - พ.ย2563 – นายบุญทิพย์ สอนงา่ ย ก.ย.2564 น.ส.ภัณฑริ า ง้วิ งาม นางนยิ ะดา อนิ ไชยา นางสาวสมิตา โชติดาว น.ส.พรพมิ ล เยาวมาลย์

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กจิ กรรม กจิ กรรมหลกั แผนสง่ เสริม โครงการพฒั นาห้องสมดุ ประชาชนให้ - กิจกรรมรบั สมคั รสมาชิกหอ้ งสมุด การจัด เป็นแหล่งการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ - กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านจาก QR- กิจกรรม code การศึกษา - กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ นในหอ้ งสมุด ตามอธั ยาศัย ประชาชน - นิทรรศการวนั สาคญั - กจิ กรรมมุมกาแฟ - กิจกรรมพฒั นาบรรยากาศเพื่อ ส่งเสริมการอา่ นภายใน-ภายนอก หอ้ งสมุด - กิจกรรมพัฒนาระบบการให้บริการ และระบบเช่ือมโยงหอ้ งสมุดประชาชน - กิจกรรมจดั ซื้อหนังสอื ดีและวารสาร

83 ผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทับสะแก จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ เปาู หมาย/กลมุ่ เปูาหมาย งบประมาณ ห้วงระยะเวลา (บาท) ดาเนินงาน (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน) พืน้ ทดี่ าเนินการ - ตลุ าคม 63 – จานวน(คน/เล่ม/แห่ง) กนั ยายน 64 15,000 คน ห้องสมดุ ประชาชน อาเภอทับสะแก ด น ร

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กิจกรรม กิจกรรมหลัก แผนส่งเสรมิ โครงการเสาร์ที่ 2 มกราคม สานฝันวันเดก็ แห่งชาติ -กิจกรรมบอกใบ้ทายคา การจดั 2564 สภุ าษิตคาพังเพย กิจกรรม -กจิ กรรมประกวดวาดภาพ การศกึ ษา ระบายสี ตามอธั ยาศยั -กิจกรรมประกวดคดั ลายม -กิจกรรมนนั ทนาการ เหยยี บลูกโปุง,เก้าอีด้ นตรี , การโยนห่วง -กจิ กรามตอบดีมรี างวลั -กิจกรรมจับฉลากรับรางวลั

84 ผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ เปาู หมาย/กลุ่มเปูาหมาย พ้นื ที่ดาเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา (ครอบครัว/เยาวชน/ (บาท) ดาเนนิ งาน ประชาชน) หอ้ งสมดุ ประชาชน จานวน(คน/เลม่ /แห่ง) อาเภอทบั สะแก 5,000.- 9 มกราคม 64 100 คน มือ , ล

3.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กจิ กรรม กิจกรรมหลัก แผนสง่ เสรมิ โครงการ 2 เมษายน “วันรักการอา่ น” 1. กิจกรรมจดั นทิ รรศการ การจัด เทดิ พระเกียรติ สมเด็จพระกนิษฐาธ กจิ กรรม ราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพ การศกึ ษา รัตนราชสดุ า เจ้าฟูามหาจกั รีสริ ินธร ตามอธั ยาศยั 2. จัดแสดง โชว์ผลงานพระราช นิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจ ฟาู มหาจักรีสิรินธรฯ 3. กิจกรรมฐานการเรยี นรู้สง่ เสรมิ การอา่ น 4.กิจกรรมประกวดวาดภาพระบายส 5.กจิ กรรมประกวดคดั ลายมือ 6.กจิ กรรมการทาปฺอบอัพ

85 ผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทบั สะแก จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ เปูาหมาย/กลุม่ เปูาหมาย งบประมาณ ห้วงระยะเวลา (บาท) ดาเนนิ งาน (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน พ้ืนท่ีดาเนนิ การ 3,000.- 2 เมษายน 64 จานวน(คน/เลม่ /แห่ง เดก็ เยาวชน นักศึกษา กศน. ห้องสมดุ ธิ และประชาชนท่ัวไป ประชาชนอาเภอ จานวน 50 คน ทับสะแก รฯ า จา้ สี

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรมหลกั (ค แผนส่งเสริม โครงการ กศน.รับบรจิ าคหนังสือเพื่อนอ้ ง - กจิ กรรมเดนิ รณรงคร์ ับ -น การจัด เน่ืองในวนั คล้ายวนั พระราชสมภพ บริจาคหนงั สือ ปร กิจกรรม สมเดจ็ ยา่ ครบรอบ 120 ปี - กิจกรรมคัดเลือกหนังสือ จา การศึกษา - กิจกรรมนาหนังสอื บรจิ าค ตามอัธยาศยั มอบให้โรงเรียนในถ่ิน เดก็ ทรุ กันดาร ปร โครงการหอ้ งสมดุ เดนิ ไดใ้ นอาเภอ จา ทบั สะแก -กิจกรรมวาดภาพระบายสี -กิจกรรมหมุนเวยี นเปลี่ยนสอ่ื -จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ผา่ น QR-code -กิจกรรมประชาสัมพนั ธ์งาน ห้องสมดุ - ฝกึ สอนการประดษิ ฐต์ ่างๆ - จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น

86 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ เปูาหมาย/กล่มุ เปูาหมาย พืน้ ทดี่ าเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน) (บาท) ดาเนนิ งาน ร.ร.ทงุ่ ตาแก้ว จานวน(คน/เลม่ /แหง่ ) ร.ร.บา้ นเหมอื งแร่ 1,898.- 15 – 31 ตลุ าคม ร.ร.หว้ ยยางวิทยา 2563 นักเรยี น นักศกึ ษา กศน. และ ระชาชนทวั่ ไป านวน 800 เล่ม ก เยาวชน นักศกึ ษา กศน.และ หอ้ งสมดุ - ตุลาคม 63- ระชาชนทวั่ ไป ประชาชนอาเภอ กันยายน 64 านวน 100 คน ทบั สะแก โรงเรียนในอาเภอ ทับสะแก, ชุมชน ตา่ งๆในอาเภอ ทบั สะแกและบ้าน หนังสอื ชมุ ชน 7 แห่ง

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรมหลัก (ค แผนส่งเสรมิ โครงการยอดนักอา่ น - กิจกรรมบนั ทึกการอา่ น -เ การจัด - กิจกรรมตอบดีดมี ีรางวลั กศ กิจกรรม -การทาหนังสือมะเฟือง จา การศกึ ษา -การทาปอฺ บอัพหรอื การ ตามอัธยาศัย ประดษิ ฐก์ าร์ด -ประกวดการเล่านิทาน -กิจกรรมอ่านแลกแตม้ แถมมี รางวัล

87 ผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ เปาู หมาย/กลุ่มเปูาหมาย พืน้ ท่ดี าเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา ครอบครวั /เยาวชน/ประชาชน) (บาท) ดาเนนิ งาน หอ้ งสมุด จานวน(คน/เลม่ /แห่ง) ประชาชนอาเภอ - ตุลาคม 63- ทบั สะแก กนั ยายน 64 เด็ก เยาวชน นกั เรียน นกั ศกึ ษา ศน. และประชาชนทว่ั ไป านวน 100 คน

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก อา แผน โครงการ/กจิ กรรม กิจกรรมหลัก ( แผนส่งเสริม โครงการหอ้ งสมุดเคลื่อนทีส่ าหรับ -กจิ กรรมหมนุ เวียนเปลี่ยนสอื่ - เ การจดั ชาวตลาด ตามพระราชดาริ กจิ กรรม -กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน กศ การศกึ ษา ตามอัธยาศยั ผา่ น QR-code 10 -กิจกรรมกระเช้าหนงั สือ สญั จร - ประชาสมั พนั ธง์ านห้องสมุด - ฝึกสอนการประดษิ ฐต์ ่างๆ

88 ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 าเภอทบั สะแก จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ เปูาหมาย/กลุม่ เปูาหมาย งบประมาณ หว้ งระยะเวลา (ครอบครัว/เยาวชน/ประชาชน พ้นื ทด่ี าเนินการ (บาท) ดาเนนิ งาน จานวน(คน/เล่ม/แห่ง - ตุลาคม 63- กนั ยายน 64 เดก็ เยาวชน นกั เรียน นักศึกษา ตลาดอดุ มสขุ ศน. และประชาชนทัว่ ไป จานวน 00 คน ตลาดสดจานวน 1 แห่ง

3.2 ตารางวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของแผน โครงการ/กจิ กรรม ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนการศึกษา (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี โครงการจัดสร้างแหล่งเรยี นรู้ในตาบล (พ.ศ. 2560-2579) จดั ซ้ือหนังสอื พิมพ์ และสื่อ สาหรับ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 กศน.ตาบล) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ชีวิต โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 และชมุ ชน

นปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 89 นโยบายและจดุ เน้นการ พันธกจิ ของสานักงาน พันธกิจของ มาตรฐาน ดาเนินงานสานักงาน กศน. กศน.จงั หวดั กศน.อาเภอ การศึกษา ประจาปงี บประมาณ 2564 ประจวบคีรีขนั ธ์ ทบั สะแก การศกึ ษา ภารกจิ เร่งด่วน ขอ้ 6 พันธกจิ ท่ี 3 พันธกิจที่ 1 ตามอธั ยาศัย ศนู ยเ์ รียนรทู้ ุกชว่ งวัย การ พันธกจิ ที่ 5 พันธกจิ ท่ี 3 พัฒนาระบบการเรียนรู้ พนั ธกจิ ที่ 2 พันธกิจท่ี 5 การศึกษา “เรยี นรู้ทกุ ท่ีทกุ เวลา” พันธกจิ ท่ี 8 ขน้ั พืน้ ฐาน พนั ธกจิ ท่ี 1 การศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนา ตอ่ เน่อื ง และเสรมิ สร้างทรัพยากร พนั ธกจิ ที่ 1 พันธกจิ ท่ี 3 การศกึ ษา มนษุ ย์ พันธกจิ ท่ี 4 ต่อเน่อื ง พันธกิจที่ 8 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา พนั ธกิจที่ 1 พนั ธกจิ ที่ 3 และเสรมิ สร้างทรัพยากร พันธกจิ ที่ 4 พนั ธกจิ ที่ 8 มนุษย์ ภารกิจเร่งด่วน ขอ้ 1 พนั ธกิจที่ 2 การน้อมนาพระบรมรา โชบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ “หนงึ่ ชมุ ชน หนง่ึ นวัตกรรมการ

โครงการ/กิจกรรม 3.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคล้องของ ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนการศึกษา (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 และชมุ ชน โครงการเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของ ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 เศรษฐกจิ พอเพยี ง

งแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 พันธกิจของ 90 กศน.อาเภอ 3.3 ทบั สะแก มาตรฐาน การศึกษา นโยบายและจุดเนน้ การ พนั ธกจิ ของสานกั งาน ดาเนนิ งานสานักงาน กศน. กศน.จงั หวัด การศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2564 ประจวบครี ขี ันธ์ ต่อเนอ่ื ง พฒั นาชุมชนถิ่นไทยงามเพ่ือ การศึกษา ความกนิ ดี อยู่ดี มงี านทท” ต่อเนื่อง ภารกิจเร่งดว่ น ขอ้ 1 พนั ธกจิ ท่ี 2 พนั ธกจิ ท่ี 1 พนั ธกิจท่ี 2 พนั ธกจิ ที่ 3 การน้อมนาพระบรมรา พนั ธกิจที่ 4 พนั ธกิจที่ 8 โชบายส่กู ารปฏบิ ัติ “หนงึ่ พันธกิจท่ี 1 ชุมชน หนง่ึ นวัตกรรมการ พันธกิจที่ 2 พันธกิจท่ี 3 พฒั นาชมุ ชนถิ่นไทยงามเพื่อ พนั ธกิจท่ี 4 พนั ธกจิ ท่ี 8 ความกนิ ดี อยู่ดี มงี านทา” ภารกจิ เร่งด่วน ขอ้ 1 การนอ้ มนาพระบรมรา โชบายสู่การปฏิบัติ

3.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคล้องของแผน โครงการ/กิจกรรม ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนการศกึ ษา (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี โครงการสรา้ งเครือขา่ ยดิจิทัลชุมชน (พ.ศ. 2560-2579) ระดับตาบล ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 โครงการจดั และส่งเสริมการจัด ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การศกึ ษาตลอดชีวติ เพอ่ื คงพฒั นาการ ทางกายจติ สมองของผสู้ ูงอายุ

นปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 91 นโยบายและจดุ เน้นการ พนั ธกิจของสานักงาน พนั ธกิจของ มาตรฐาน ดาเนนิ งานสานักงาน กศน. กศน.จงั หวัด กศน.อาเภอ การศึกษา ประจาปงี บประมาณ 2564 ประจวบคีรีขนั ธ์ ทบั สะแก การศึกษา ต่อเนอ่ื ง ภารกิจเร่งด่วน ข้อ 7 พันธกจิ ท่ี 4 พันธกิจที่ 1 สง่ เสริมและพฒั นา พนั ธกจิ ที่ 2 การศึกษา พันธกจิ ท่ี 3 ต่อเนื่อง ความสามารถ พนั ธกิจที่ 8 ดา้ นดิจิทลั พนั ธกจิ ที่ 1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพฒั นา พันธกจิ ท่ี 2 พนั ธกิจท่ี 6 และเสรมิ สร้างทรัพยากร พันธกจิ ท่ี 8 มนุษย์ ข้อ 1.2 การเรียนร้ตู ลอด ชวี ติ สาหรับประชาชนทุก ชว่ งวยั

3.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของแผน โครงการ/กิจกรรม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษา โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3

นปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 92 นโยบายและจุดเนน้ การ พันธกิจของสานกั งาน พนั ธกิจของ มาตรฐาน ดาเนินงานสานักงาน กศน. กศน.จังหวดั กศน.อาเภอ การศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2564 ประจวบคีรขี นั ธ์ ทบั สะแก การศึกษา ตอ่ เนอื่ ง ภารกิจเรง่ ดว่ น ข้อ 8 พนั ธกจิ ที่ 2 พนั ธกิจที่ 1 สง่ เสรมิ สนับสนุนการฝกึ พนั ธกิจท่ี 3 พนั ธกิจท่ี 3 อาชีพเพอ่ื การมงี านทา พนั ธกิจที่ 5 พนั ธกจิ ท่ี 5 “Re-Skill Up-Skill และ พนั ธกจิ ที่ 6 พันธกิจท่ี 8 ออกใบรบั รอง ความรู้ความสามารถ” ภารกิจเรง่ ดว่ น ขอ้ 9 ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มกบั ทุก ภาคีเครอื ขา่ ยและ ภาคเอกชนในการฝึกอาชีพ และสง่ เสริม การตลาด เพื่อยกระดับ ผลิตภัณฑ์/สนิ ค้า กศน. ขยายชอ่ งทางการจาหน่าย

3.2 ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผน ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศึกษาแห่งชาติ น โครงการ/กิจกรรม (พ.ศ. 2561-2580) 20 ปี ดา โครงการ 1 อาเภอ 1 อาชีพ (พ.ศ. 2560-2579) ปร ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ส “R สง่ ภา ก ขย

93 นปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจดุ เน้นการ พนั ธกจิ ของสานกั งาน พนั ธกจิ ของ กศน. มาตรฐาน อาเภอทบั สะแก การศึกษา าเนินงานสานักงาน กศน. กศน.จงั หวดั ระจาปงี บประมาณ 2564 ประจวบครี ขี ันธ์ พนั ธกจิ ที่ 1 การศกึ ษาต่อเน่อื ง พันธกจิ ที่ 3 ภารกจิ เรง่ ด่วน ข้อ 8 พนั ธกิจท่ี 2 พนั ธกจิ ท่ี 5 ส่งเสริม สนับสนุนการฝกึ พันธกจิ ท่ี 3 พันธกิจท่ี 6 พนั ธกจิ ที่ 8 อาชพี เพอ่ื การมีงานทา พันธกจิ ที่ 5 Re-Skill Up-Skill และ ออกใบรบั รอง ความรคู้ วามสามารถ” ภารกิจเร่งดว่ น ข้อ 9 งเสริมการมสี ว่ นร่วมกบั ทุก ภาคเี ครือขา่ ยและ าคเอกชนในการฝึกอาชพี และสง่ เสริม การตลาด เพื่อยกระดบั ผลิตภัณฑ์/สินค้า กศน. ยายช่องทางการจาหนา่ ย

3.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคล้องของแผน ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. แผนการศกึ ษา โครงการ/กิจกรรม 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ (3) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การสอื่ สารดา้ นอาชพี โครงการนิเทศติดตามผลการจัด ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ การศึกษาตามอัธยาศัยประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564

94 นปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจดุ เนน้ การ พนั ธกจิ ของ พนั ธกิจของ กศน. มาตรฐาน อาเภอทบั สะแก การศึกษา ดาเนินงานสานักงาน กศน. สานักงาน กศน. พันธกจิ ที่ 1 การศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ 2564 จงั หวัด พนั ธกจิ ที่ 2 ตอ่ เน่ือง ประจวบคีรขี นั ธ์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พนั ธกิจที่ 4 (English for All) พนั ธกจิ ที่ 5 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พันธกิจท่ี 5 1.การศกึ ษา ยุทธศาสตร์ที่ 6 พนั ธกิจท่ี ขน้ั พนื้ ฐาน 2. การศกึ ษา ต่อเนอ่ื ง 3. การศึกษา ตามอธั ยาศัย

3.2 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคล้องของแผน ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. แผนการศึกษา โครงการ/กจิ กรรม 2561-2580) แห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โครงการประกันคุณภาพภายใน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ของสถานศึกษาเพ่ือรองรับการ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ภ า ย น อ ก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 โครงการประชุมคณะกรรมการ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 6 สถานศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564

95 นปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจุดเน้นการ พนั ธกจิ ของสานักงาน พันธกจิ ของ กศน. มาตรฐาน อาเภอทบั สะแก การศึกษา ดาเนนิ งานสานักงาน กศน. กศน.จงั หวัด พนั ธกจิ ที่ 1 1. การศึกษา ประจาปงี บประมาณ 2564 ประจวบครี ขี นั ธ์ พันธกจิ ที่ 5 ข้ันพน้ื ฐาน 2. การศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 1 พนั ธกจิ ท่ี 5 ตอ่ เนอื่ ง 3. การศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พันธกจิ ที่ 7 ตามอัธยาศัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 พนั ธกจิ ท่ี 5 พนั ธกจิ ข้อที่ 1 1. การศึกษา พนั ธกิจ ขอ้ ท่ี 7 ขน้ั พ้นื ฐาน 2. การศึกษา ตอ่ เนอ่ื ง 3. การศกึ ษา ตามอธั ยาศัย

3.2 ตารางวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของแผน ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศกึ ษา โครงการ/กจิ กรรม (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) โครงการประเมินเทียบระดับการศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ปีงบประมาณ 2564 โครงการพัฒนาบุคลากรเพอื่ เพิม่ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 โครงการจดั สรา้ งแหลง่ เรียนรู้ชมุ ชนใน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ตาบล โครงการส่งเสริมการอ่าน ประจาปี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 งบประมาณ 2564 (กศน.ตาบล)

96 นปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจุดเนน้ การ พันธกจิ ของสานกั งาน พันธกจิ ของ กศน. มาตรฐาน อาเภอทบั สะแก การศึกษา ดาเนินงานสานกั งาน กศน. กศน.จงั หวัด พันธกิจท่ี 1 การศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ 2564 ประจวบครี ขี ันธ์ ขั้นพนื้ ฐาน 1. การศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พันธกิจท่ี 5 ขั้นพืน้ ฐาน 2. การศึกษา ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พนั ธกจิ ที่ 1 พนั ธกิจ ข้อที่ 1 ตอ่ เน่อื ง ยุทธศาสตร์ท่ี 6 พนั ธกิจ ขอ้ ที่ 7 3. การศกึ ษา ตามอธั ยาศัย ภารกิจเร่งดว่ น ข้อ 6 พนั ธกิจที่ 3 พันธกจิ ที่ 1 การศกึ ษา การพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ พนั ธกจิ ท่ี 3 ตามอัธยาศัย พันธกิจท่ี 5 ภารกจิ เร่งด่วน ขอ้ 6 พันธกจิ ที่ 3,4 พนั ธกจิ ที่ 8 การศกึ ษา การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ตามอธั ยาศัย พันธกจิ ท่ี 1 พนั ธกจิ ท่ี 3 พนั ธกิจท่ี 5 พนั ธกิจที่ 8

โครงการ/กิจกรรม 3.2 ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผน โครงการยอดนักอ่าน ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนการศกึ ษา (พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3,4 โครงการหอ้ งสมุดเคล่ือนที่สาหรบั ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3,4 ชาวตลาด ตามพระราชดาริ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3,4 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3,4 โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนให้ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3,4 เป็นแหลง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ โครงการเสาร์ท่ี 2 มกราคม สานฝนั วนั เด็กแห่งชาติ 2564 โครงการ 2 เมษายน “วนั รักการอ่าน” โครงการ กศน.รับบรจิ าคหนังสือเพ่ือ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3,4 นอ้ ง เนื่องในวันคลา้ ยวันพระราชสมภพ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3,4 สมเด็จย่า ครบรอบ 120 ปี โครงการห้องสมดุ เดินไดใ้ นอาเภอ ทบั สะแก

97 นปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นโยบายและจุดเนน้ การ พนั ธกจิ ของสานักงาน พนั ธกิจของ กศน. มาตรฐาน อาเภอทับสะแก การศกึ ษา ดาเนินงานสานักงาน กศน. กศน.จังหวัด พนั ธกิจท่ี การศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2564 ประจวบครี ีขันธ์ ข้อ 5,8 ตามอัธยาศยั ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พนั ธกจิ ที่ 1 การศึกษา ตามอัธยาศยั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 พันธกจิ ที่ 1 พนั ธกจิ ท่ี ข้อ 5,8 การศึกษา ตามอธั ยาศัย ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พันธกจิ ที่ 1 พันธกจิ ที่ ขอ้ 5,8 การศกึ ษา ตามอัธยาศัย ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พนั ธกิจที่ 1 พันธกิจที่ ข้อ 5,8 การศกึ ษา ตามอัธยาศยั ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พันธกิจที่ 1 พนั ธกิจท่ี ขอ้ 5,8 การศกึ ษา ตามอธั ยาศัย ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 พันธกจิ ท่ี 1 พันธกิจที่ ขอ้ 5,8 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พันธกิจท่ี 1 พนั ธกจิ ที่ การศึกษา ขอ้ 5,8 ตามอัธยาศัย

3.3 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบ แผนงาน/ผลผลิต/งาน/ งบประมาณท้ังหมด ไตรมาส 1 โครงการ แผน ร้อยละ แผน รอ้ ยละ โครงการสง่ เสรมิ การรู้ หนงั สือ 5,500 100 2,750 50 โครงการจดั การศึกษานอก 282,540 100 141,270 50 ระบบระดบั การศกึ ษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 676,200 100 141,270 50 (จดั ซ้อื หนังสอื เรยี น) 210,020 100 105,010 50 โครงการจดั การศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาขน้ั 33,120 100 - - พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (จัดการเรียนการสอน) โครงการจดั การศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(กิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผูเ้ รียน) โครงการจดั การศึกษาเพื่อ พฒั นาทกั ษะชวี ิต ปีงบประมาณ 2564

บประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามไตรมาส 98 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 แผน ร้อยละ แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ - - 2,750 50 - - 141,270 50 - - 141,270 50 - - - - 105,010 50 - - 16,560 50 16,560 50 - -

3.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบ แผนงาน/ผลผลิต/งาน/ งบประมาณทั้งหมด ไตรมาส 1 โครงการ แผน รอ้ ยละ แผน ร้อยละ โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 67,200 100 - - ปีงบประมาณ 2563 62,400 100 - - โครงการเรียนรู้หลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 108,000 100 54,000 50 ประจาปีงบประมาณ 2563 92,400 100 46,200 50 โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน ปีงบประมาณ 2564 (ชนั้ เรยี นวชิ าชพี ) กลมุ่ สนใจ ไม่เกิน 30 ชม 1 อาเภอ 1 อาชีพ 43,200 100 21,600 50 28,800 100 - - โครงกาภาษาต่างประเทศ เพอื่ การสอื่ สารด้านอาชีพ ปงี บประมาณ 2564

บประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามไตรมาส 99 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ แผน รอ้ ยละ 33,600 50 33,600 50 31,200 50 31,200 50 - - 54,000 50 - - 46,200 50 - - 21,600 50 - - 28,800 100

3.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบ แผนงาน/ผลผลิต/งาน/ งบประมาณทง้ั หมด ไตรมาส 1 โครงการ แผน รอ้ ยละ แผน ร้อยละ โครงการนเิ ทศตดิ ตามผล การจัดการศกึ ษานอก 5,000 100 - - ระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัย ปงี บประมาณ 8,000 100 - - พ.ศ.2564 6,000.- 100 3,000.- 50 โครงการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา เพือ่ รองรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 โครงการประชมุ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564

บประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามไตรมาส 100 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ 5,000 100 - - -- - - - - 8,000 100 - - - - 3,000.- 50

3.3 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ประจาปงี บ แผนงาน/ผลผลติ /งาน/ งบประมาณทงั้ หมด ไตรมาส 1 โครงการ แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ โครงการประเมินเทียบ ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า - - -- ป ร ะ จ า ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ.ศ.2564 190,000 105,000 55 โครงการพฒั นาบุคลากร 1,800 100 2,640 25 เพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ - - 450 25 การจดั การศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2551 โครงการจดั สร้างแหล่ง เรยี นรู้ชุมชนในตาบล ประจาปงี บประมาณ 2564 โครงการสง่ เสริมการอา่ น ประจาปีงบประมาณ 2564 (กศน.ตาบล)

บประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามไตรมาส 101 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ - - - - 85,000 45 - - 3,840 25 3,900 25 4,020 25 450 25 450 25 450 25

3.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบ แผนงาน/ผลผลิต/งาน/ งบประมาณท้งั หมด ไตรมาส 1 โครงการ แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ โครงการพฒั นาห้องสมุด ประชาชนใหเ้ ป็นแหลง่ การ - - เรยี นร้ตู ลอดชวี ิต 5,000 100 - - โครงการเสาร์ที่ 2 มกราคม สานฝนั วนั เดก็ แห่งชาติ 3,000 100 - 2564 1,898 100 1,898 100 โครงการ 2 เมษายน “วัน รักการอ่าน” - - โครงการ กศน.รบั บริจาค - - หนงั สือเพ่ือนอ้ ง เน่อื งในวนั - - คล้ายวันพระราชสมภพ สมเดจ็ ยา่ ครบรอบ 120 ปี โครงการห้องสมดุ เดนิ ได้ใน อาเภอทบั สะแก โครงการยอดนักอา่ น โครงการหอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี สาหรับชาวตลาด ตาม พระราชดาริ

บประมาณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามไตรมาส 102 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ - - 5,000 100 - - - - 5,000 100 - - - - - - - -

103 สว่ นท่ี 4 รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบดว้ ย 4.1 โครงการ ตามแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

104 1. โครงการสง่ เสริมการรู้หนังสือไทย 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกันทางสงั คม 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 2.3 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีพ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ พนั ธกจิ ที่ 5 จัดและสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อสร้าง สงั คมแหง่ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต 2.5 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจท่ี 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชน กลมุ่ เปูาหมายทุกกลุ่ม ทุกช่วงวยั มโี อกาสการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่อื ง 2.6 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ในการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานท่เี นน้ ผ้เู รยี น เปน็ สาคญั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยพุทธศักราช 2551 กาหนด หลกั การส่งเสรมิ และสนบั สนุนการศึกษานอกระบบไว้ประการหน่ึงคือส่งเสริมการจัดการศึกษาอย่างเสมอภาค เป็นธรรม ในการเข้าถึงการศึกษาอย่างกว้างขวางและมีความเหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชนซึ่งอัตรา การรู้หนังสือของผู้ใหญ่แสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิท่ีเพิ่มขึ้นของการศึกษาในระดับประถมศึกษาและผลสัมฤทธิ์ ของการศึกษาผู้ใหญ่ในการเพิ่มทักษะการรู้หนังสือขั้นพื้นฐานให้กับประชากร ดังน้ันจึงจาเป็นต้องช่วยให้ ประชาชนได้นาทักษะเหล่าน้ีไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และสามารถใช้ภาษา เขียนในการส่อื สารได้ การรหู้ นงั สือคือสามารถเขยี นและเขา้ ใจประโยคง่ายๆส้ันๆที่ใช้ในชีวิตประจาวันได้ การ รหู้ นังสือแสดงให้เหน็ ถงึ ศกั ยภาพของการเพ่ิมสติปัญญาให้กับบุคคลและการรู้หนังสือยังมีส่วนสนับสนุนในการ พฒั นาสงั คมเศรษฐกจิ และวัฒนธรรมอกี ด้วย ตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทาง การศึกษาในสังคมไทย โดยคานึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดข้ึนแก่ประชากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ท่ีบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยสนับสนุนการจัดการศึกษาตามวัยและ

105 พัฒนาการอยา่ งมคี ุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการจัดการศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้ เกิดสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละการศกึ ษาตลอดชวี ิตน้ัน จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ได้เล็งเห็นความสาคัญ จงึ ได้จัดโครงการนี้ข้ึน เพื่อเป็นการส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ให้สามารถอ่านออก เขียน ได้ และมีพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดจนความรู้ท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวนั ได้ดียิง่ ข้นึ 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพอ่ื ส่งเสรมิ การอา่ น การเขียนภาษาไทย การคิดเลขแก่ประชาชนให้สามารถอา่ นออกเขียนได้ 4.2 เพ่ือส่งเสริมให้เกิดทักษะการอา่ น การเขียนภาษาไทย การคดิ เลขแก่ประชาชน 5. เปา้ หมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ เชิงปรมิ าณ ผไู้ มร่ ู้หนงั สือไทย/ผู้ลมื หนงั สือ ในพื้นที่อาเภอทับสะแก จานวน 10 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ เชิงคุณภาพ ผไู้ มร่ ูห้ นงั สือไทย/ผู้ลมื หนงั สือ มที ักษะในการอ่าน การเขยี นภาษาไทยและการคิดเลขเป็น สามารถพัฒนาตนเอง นาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ได้ 6. วิธกี ารดาเนินงาน กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ขั้นวางแผน เพ่อื ใหก้ าร - ผอ.กศน. 1 คน ตาบลทบั สะแก ต.ค.63 - อาเภอ ตาบลนาหกู วาง (Plan) ดาเนนิ งาน ทบั สะแก ตาบลอา่ งทอง พ.ย.63 5,500.- -ครูผู้ชว่ ย - 1.1 วางแผน เปน็ ไปอย่างมี -ครู 1 คน ตาบลเขาลา้ น อาสาสมัครฯ 2 คน ตาบลแสงอรุณ ก.ย.64 ปฏบิ ัติงาน ประสทิ ธภิ าพ ตาบลหว้ ยยาง 1.2 แต่งต้งั และเกิด จานวน กศน.อาเภอ คณะทางาน ประสทิ ธผิ ล 10 คน ทบั สะแก 1.3 จัดทาและขอ อนุมัตโิ ครงการ 1.4 ประชา สัมพันธ์โครงการฯ 2. ดาเนนิ การ 1.เพื่อส่งเสริม -กลมุ่ ผู้ไม่รู้ ตามแผน (DO) การอ่าน การ หนงั สือไทย/ 2.1 สารวจและ เขียนภาษาไทย ลืมหนังสอื ข้นึ ทะเบยี นผู้ไมร่ ู้ การคิดเลขแก่ หนงั สือในเขต ปร ะ ช า ช น ใ ห้ พื้นทรี่ ับผิดชอบ ส า ม า ร ถ อ่ า น

106 กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้นื ทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 2.2 จัดกจิ กรรม ออกเขียนได้ กศน.อาเภอ พ.ย.63 ทับสะแก - ส่งเสริมการรู้ 2.เพื่อส่งเสริม กศน.อาเภอ ก.ย.64 หนงั สอื โดยครู ใ ห้ เ กิ ด ทั ก ษ ะ ทับสะแก ก.ย.64 - อาสา/อาสาสมัคร การอ่าน การ ชว่ ยสอน เขียนภาษาไทย 2.3 ประเมนิ ผล การคิดเลขแก่ การเรียน ประชาชน 2.4 ออกหลกั ฐาน การจบ / มอบวุฒบิ ตั ร 3. ขั้นตรวจสอบ เพอ่ื ติดตามและ คณะกรรมการ 3 คน 3 คน (Check) ประเมนิ ผลท่ี ที่รับผิดชอบ 3.1 การประเมิน สอดคล้องกบั ฝุายวดั ผลและ ผลกอ่ นดาเนนิ วัตถปุ ระสงค์ ประเมนิ ผล โครงการ 3.2 การประเมนิ ระหว่างดาเนิน โครงการ 3.3 การประเมนิ เมอื่ เสร็จสิ้น โครงการ 4. ข้ันปรบั ปรุง 1. เพอ่ื สรุป คณะกรรมการ แก้ไข (Action) จดั ทาเป็น ที่รบั ผดิ ชอบ 4.1 รวบรวม รายงาน ฝาุ ยรายงาน ขอ้ มูล วเิ คราะห์ เผยแพร่ตอ่ ตน้ ผล ขอ้ มลู สรปุ และ สงั กดั และ จดั ทารายงานการ สาธารณะ ประเมินโครงการ 2. เพื่อนาผล 4.2 ประชุม การประเมินไป คณะทางานเพ่อื พฒั นาโครงการ นาข้อมลู จากการ ต่อไป ประเมินโครงการ ไปใชป้ รบั ปรงุ แก้ไข และพฒั นา ดาเนนิ โครงการ ต่อไป

107 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณจากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ ผลผลิตท่ี 4 : ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน เพ่ือส่งเสริมการรู้หนังสือ จานวนเงนิ 5,500 บาท (หา้ พันหา้ รอ้ ยบาทถ้วน) 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ม.ค.-ม.ี ค. (เม.ย.-ม.ิ ย. (ก.ค.-ก.ย. กิจกรรมหลัก (ต.ค.-ธ.ค. พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2563) 2,750.- 2,750.- - 1. สารวจและข้นึ ทะเบียนผู้ไม่รหู้ นังสอื - ในเขตพื้นทร่ี บั ผิดชอบ 2. พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผไู้ ม่รู้หนงั สือ 3. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการรูห้ นงั สอื โดย ครูอาสาสมัคร กศน./อาสาสมัครชว่ ยสอน 4. ประเมินผลการเรียน 5. ออกหลักฐานการจบ / มอบวฒุ ิบตั ร 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี ครอู าสาสมัคร กศน. 10. เครือขา่ ย 10.1 องค์การบรหิ ารส่วนตาบล 1 ตาบล 10.2 ผู้นาชุมชน 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง 11.1 โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการการจดั กระบวนการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง 11.3 โครงการการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้ไม่รู้หนังสือไทย/ผู้ลืมหนังสือ มีทักษะในการอ่าน การเขียนภาษาไทยและการคิดเลขเป็นสามารถ พฒั นาตนเอง นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ 13. ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปาู หมายผู้ไมร่ ู้หนังสือไทย/ผู้ลืมหนังสอื รับการสง่ เสริมการอา่ น การเขียนภาษาไทยและการคิดเลข 13.1.2 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปาู หมายผู้ไม่ร้หู นังสือไทย/ผู้ลืมหนังสอื มีความพงึ พอใจต่อการ จัดการเรียนการสอนของครใู นระดับมากขนึ้ ไป

108 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปูาหมายผู้ไม่รู้หนังสือไทย/ผู้ลืมหนังสือ มีทักษะในการอ่าน การเขียนภาษาไทยและการคิดเลขเป็นสามารถพฒั นาตนเอง นาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันได้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศตดิ ตามผล 14.2 แบบทดสอบ 14.3 แบบสารวจความพงึ พอใจของผเู้ รียน

109 1. ชอ่ื โครงการ : โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทาง สงั คม 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนนิ งานสานกั งาน กศน.ประจาปีพ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและการเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 2.4 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ พันธกิจที่ 5 จัดและส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อสรา้ ง สงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.5 สอดคล้องกับพนั ธกจิ ของกศน.อาเภอทบั สะแก พันธกจิ ที่ 1 จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหป้ ระชาชน กลมุ่ เปา้ หมายทุกกลุ่ม ทกุ ช่วงวัย มีโอกาสการเรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื ง 2.6 สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในการประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา 3. หลักการและเหตผุ ล พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้ บคุ คลได้รับการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยให้บุคคลมีสิทธิได้รับ การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยตามความสนใจหรือความต้องการ ตลอดจนการให้การสนับสนุนการศึกษาในระบบในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนการศึกษาเป็น รากฐานท่ีสาคัญของการพัฒนาประเทศโดยเหตุที่การศึกษาเป็นกลไกสาคัญท่ีสุดในการพัฒนาคนซึ่งเป็น ทรัพยากรที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการศึกษานอกระบบก็เป็นกระบวนการการศึกษาตลอดชีวิตมีภารกิจ สาคญั ทจ่ี ะต้องให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างสม่าเสมอภาคกันโดยเฉพาะการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อ การดารงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซ่ึงเป็นสิทธิท่ีทุกคนพึงได้รับการศึกษาและนอกจากน้ันยังต้องได้รับ การศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื งเพือ่ นาความรู้ไปพัฒนาอาชพี และคณุ ภาพชวี ติ การศึกษานอกระบบจึงเป็นการศึกษาอีก รปู แบบหนึ่งทีม่ ีบทบาทในการพฒั นาคนเพือ่ เปน็ กาลังสาคัญในการพฒั นาประเทศ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา 22 และมาตรา 23 การจัดการศึกษาเน้นความสาคัญ ท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และสังคม ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม กีฬา ฝึกทักษะกระบวนการคิดเป็น ทาเป็น ปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สานักงานส่งเสริม

110 การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มุ่งเน้นจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนและปรบั พืน้ ฐานการศึกษาของผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ กิจกรรมเรียนปรับพ้ืนฐาน กิจกรรม เพือ่ พฒั นาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีและการสอ่ื สาร กิจกรรมพฒั นาทักษะชีวิต กจิ กรรมเพื่อเตรียม ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนาและสถาบัน พระมหากษัตริย์ กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลูกเสือและกิจกรรมอาสายุวกาชาด กิจกรรมดา้ นกฬี าและสง่ เสริมสุขภาพ และกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ รวมทั้งสร้างโอกาสในการ ส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทับสะแก เปน็ สถานศึกษาทีม่ ี หน้าท่ีดูแลรับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนอกระบบให้กับกลุ่มเปูาหมายท่ีพลาดโอกาสในระบบซึ่ง เป็นผู้ใหญ่มีคุณลักษณะความต้องการในการศึกษาแตกต่างจากกลุ่มเปูาหมายเด็กในระบบโรงเรียนทั้งน้ียังมีผู้ ขาดโอกาสทางการศึกษาที่มีอายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับอีกจานวนมากท่ียังไม่จบการศึกษาภาคบังคับ โดยเฉพาะในกลมุ่ ผ้ทู อ่ี ยูใ่ นวัยแรงงานที่เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติดังน้ันจึงมีความจาเป็นท่ีต้อง จดั การศกึ ษาเพอ่ื ยกระดบั การศึกษาให้กบั กลุ่มเปาู หมายดังกล่าว 4. วตั ถุประสงค์ เพอ่ื จดั การศึกษาสาหรับกลมุ่ เปูาหมายประชากรวัยแรงงานท่อี ยู่นอกระบบโรงเรียนในพ้ืนท่ีอาเภอ ทบั สะแกได้รับโอกาสทางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานนอกระบบท้ังระดับประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายให้สามารถพัฒนาตนเองและเรยี นร้ไู ด้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ 5.เปา้ หมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ เชิงปรมิ าณ กลุ่มเปาู หมาย ประชากรวยั แรงงานทอ่ี ยู่นอกระบบโรงเรยี น จานวน 354 คน ระดบั ประถมศึกษา จานวน 23 คน ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น จานวน 146 คน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 206 คน รวม จานวน 375 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ ประชากรวัยแรงงานที่อยู่นอกระบบโรงเรียนในพ้ืนท่ีอาเภอทับสะแก ท่ีได้รับโอกาสใน การศึกษาต่อตามความต้องการจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทาให้มีความรู้มีวุฒิการศึกษาท่ีสูงข้ึน สามารถ นาไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตใหด้ ีข้ึน

111 6. วธิ กี ารดาเนนิ งาน กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ขนั้ วางแผน เพ่อื ให้การดาเนิน - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอทบั สะแก ต.ค.63 - อาเภอ 1 คน กศน.ตาบลห้วยยาง - - (Plan) งานตามโครงการมี ทับสะแก 2 คน กศน.ตาบลแสงอรณุ - -ครผู ู้ช่วย 6 คน กศน.ตาบลเขาลา้ น พ.ย.64 1.1 วางแผน ประสทิ ธิภาพ -ครอู าสาสมัครฯ กศน.ตาบลทบั สะแก -ครูกศน.ตาบล 13 คน กศน.ตาบลนาหกู วาง พ.ย.63 ปฏิบตั งิ าน 40 คน กศน.ตาบลอ่างทอง - - บคุ ลากร กศน.กล่มุ แสงทอง 1.2 แต่งตง้ั กศน.อาเภอทับ 3 คน กศน.กลุ่มร่งุ ตะวนั ก.ย.64 สะแก คณะทางาน -ประชาชนใน กศน.ตาบลห้วยยาง พ.ย.63 อาเภอทบั สะแก กศน.ตาบลแสงอรณุ - 1.3 จดั ทาโครงการ กศน.ตาบลเขาลา้ น คณะกรรมการ กศน.ตาบลทบั สะแก ก.ย.64 และขออนุมตั ิ ทร่ี บั ผดิ ชอบ กศน.ตาบลนาหูกวาง ฝาุ ยวัดผลและ กศน.ตาบลอ่างทอง โครงการ ประเมินผล กศน.กลมุ่ แสงทอง กศน.กลุ่มรุ่งตะวัน 1.4 ประชาสัมพนั ธ์ กศน.ตาบลทับสะแก โครงการฯ 2. ดาเนินการ เพือ่ จดั การ ตามแผน(DO) ศึกษาสาหรับ 2.1 จัดการเรยี นการ กล่มุ เปูาหมาย สอนตามหลักสตู ร ประชากรวัย การศึกษานอกระบบ แรงงานท่ีอยูน่ อก ระดับการศกึ ษา ระบบโรงเรียนใน ขนั้ พืน้ ฐานพ.ศ. 2551 พ้ืนที่อาเภอ 2.2 จัดกจิ กรรม ทบั สะแกไดร้ ับ พฒั นาคณุ ภาพ โอกาสทาง ผเู้ รยี น 3. ขน้ั ตรวจสอบ เพ่อื ติดตามและ (Check) ประเมนิ ผลท่ี 3.1 การประเมนิ ผล สอดคลอ้ งกบั กอ่ นดาเนินโครงการ วตั ถุประสงค์ 3.2 การประเมิน ระหว่างดาเนนิ โครงการ 3.3 การประเมนิ เม่ือเสรจ็ สน้ิ โครงการ

112 กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พื้นทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 4. ขั้นปรบั ปรุง 1. เพ่อื สรปุ จัดทา คณะกรรมการที่ 3 คน กศน.อาเภอ ก.ย.64 - แก้ไข (Action) เปน็ รายงาน รบั ผิดชอบฝุาย ทบั สะแก 4.1 รวบรวมขอ้ มูล เผยแพร่ต่อตน้ รายงานผล วเิ คราะหข์ ้อมลู สงั กัด และ สรปุ และจัดทา สาธารณะ รายงานการประเมนิ 2. เพ่อื นาผลการ โครงการ ประเมนิ ไปพฒั นา 4.2 ประชมุ โครงการต่อไป คณะทางานเพ่อื นาข้อมลู จากการ ประเมนิ โครงการไป ใช้ปรับปรงุ แก้ไข และพัฒนาดาเนิน โครงการต่อไป 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณจากแผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โครงการ สนบั สนุนค่าใช้จา่ ยการจดั การศึกษาต้งั แต่อนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน งบเงินอดุ หนุน เพื่อเปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ข้ันพ้นื ฐาน ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าจดั การเรียนการสอน จานวน ...................-................บาท ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กจิ กรรมหลกั (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-ม.ี ค. (เม.ย.-มิ.ย. (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ.2563) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) จัดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรการ - - - - ศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 -ประชาสมั พันธก์ ารรับสมัครนกั ศึกษา -แนะแนวทางการศึกษา -รับสมัครนักศึกษาใหม่ -ลงทะเบียนเรียนนักศกึ ษาใหมแ่ ละเกา่ -จดั ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา -จัดทาแผนการเรียนรู้ -จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน -ทดสอบกลางภาค -ทดสอบ N-NET -สอบวดั ผลปลายภาคเรยี น

113 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสุมติ รา สขุ อวบอ่อง ครู อาสาสมคั รฯกศน. 9.2 ครอู าสาสมัครฯ และครู กศน.ตาบล 10. เครือขา่ ย 10.1 องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลท้ัง 6 แหง่ 10.2 ผูน้ าชมุ ชน 11. โครงการท่เี กย่ี วข้อง 11.1 โครงการการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการการจัดกระบวนการเรียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียง 11.3 โครงการการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ประชากรวัยแรงงานท่ีอยู่นอกระบบโรงเรียนในพ้ืนที่อาเภอทับสะแกท่ีได้รับโอกาสในการศึกษาต่อ ตามความต้องการจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทาให้มีความรู้มีวุฒิการศึกษาท่ีสูงขึ้น สามารถนาไปใช้ในการ พฒั นาคุณภาพชีวติ ใหด้ ขี ้นึ 13. ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1. ตัวช้ีวัดผลผลติ (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ผู้เรียนเข้าศึกษาต่อในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 13.1.2 รอ้ ยละ 80 ผู้เรยี นมีความพึงพอใจในการจดั การศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551อยูใ่ นระดบั มากขน้ึ ไป 13.2. ตวั ชีว้ ดั ผลลพั ธ(์ Outcome) ร้อยละ 80 ของประชากรวยั แรงงานทอ่ี ยู่นอกระบบโรงเรียนในพื้นท่ีตาบลห้วยยาง แสงอรุณ ที่ได้รับโอกาสในการศึกษาต่อตามความต้องการจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทาให้มีความรู้มีวุฒิการศึกษาท่ี สูงขน้ึ สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหด้ ขี นึ้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศติดตามผล 14.2 แบบทดสอบย่อย 14.3 แบบทดสอบกลางภาคเรียน 14.4 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ปลายภาคเรียน 14.5 แบบสารวจความพึงพอใจของผู้เรยี น

114 1. ชื่อโครงการ : จดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 1.3 การศกึ ษาต่อเนอื่ ง ข้อ 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ี สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เตรยี มพรอ้ มสาหรบั การปรับตวั ใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดย จัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม การส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ 2.4 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ 5. ประสานความร่วมมอื กบั ภาคีเครือขา่ ยจดั สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 2.5 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก 1. จดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการทุก กลมุ่ ทกุ ชว่ งวยั มโี อกาสการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ งอย่างทัว่ ถึงและมีคณุ ภาพ 2. จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.6 สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน กศน. : มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3. หลักการและเหตผุ ล ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเน้นไปทางด้านวัตถุมากกว่าทางจิตใจ จึงทาให้เกิดปัญหาขึ้นในสังคมไทย เช่น ปัญหา อาชญากรรม ปัญหายาเสพตดิ ปญั หาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาวัยรุ่น ปัญหาโสเภณี ปัญหาโรคเอดส์

115 และปญั หาอ่ืนๆซ่งึ ปญั หาดงั กล่าวสามารถแก้ปัญหาและปอู งกนั ได้หากประชาชนและเยาวชนรู้และเข้าใจ รู้เท่า ทันเหตุการณ์ มีความพร้อมในการปรับตัวท่ีจะกาหนดวิธีการดาเนินชีวิต ได้อย่างเหมาะสม การส่งเสริมและ พฒั นาทกั ษะชีวิตจึงเป็นหนทางหน่งึ ท่มี ีความสาคัญยงิ่ ท่จี ะลดสภาพปัญหาและความรุนแรงต่างๆให้ลดน้อยลง และหมดไปได้ ประเทศไทยในยุคปฏิรูปการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้บุคคลเรียนรู้คู่คุณธรรม และเป็นคนดีมี ความสามารถ ซ่ึงต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีความฉลาดทั้งด้านสติปัญญา และความฉลาดทางด้านอารมณ์ท่า เรียกว่าทักษะชีวิต การจัดการศึกษาดังกล่าวจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องดาเนินการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชวี ติ ใหก้ ับประชาชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตขึ้น เพ่ือให้ประชาชนและนักศึกษามีทักษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชีวิตในสังคม ปัจจบุ นั ได้อยา่ งมคี วามสุข ในการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจมีเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับด้านหลักประชาธิปไตย ด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง ด้านการปูองกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการดูแลสุขภาพ อนามยั ดา้ นดนตรีและการกีฬา ด้านการปูองกันอันตรายในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านคุณธรรมจริยธรรมและสืบ สานประเพณีวัฒนาธรรมอันดีงาม ด้านครอบครัวศึกษา เพื่อสามารถนาความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อยา่ งเหมาะสมตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล 4. วัตถุประสงค์ 4.1. เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติที่ถูกต้องเก่ียวกับการด้านการดูแลสุขภาพด้วย วิธีการออกกาลังกาย ด้านหลักประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมทางการเมืองด้านครอบครัวศึกษา ด้าน คุณธรรมจริยธรรมและการสืบสานประเพณีท่ีดีงาม ด้านการปูองกันความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้าน ดนตรี ไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละ บคุ คล 4.2. เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นมีทักษะที่จาเปน็ ในการดาเนินชวี ติ ในสงั คมปัจจุบัน 5. เปา้ หมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนทั่วไป จานวน 288 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชีวิต มีเจต คตทิ ่ีถกู ตอ้ ง สามารถดูแลสขุ ภาพและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 6. วธิ กี ารดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นทด่ี าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ขั้นวางแผน (Plan) เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ งาน - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ พ.ย. 63 – - 1.1 วางแผนปฏบิ ตั ิงาน ตามโครงการมี อาเภอ ทับสะแก ธ.ค. 63 1.2 แตง่ ตัง้ คณะทางาน ประสทิ ธิภาพ - บุคลากร 1.3 จดั ทาโครงการและขอ กศน.อาเภอ 13 คน อนมุ ัติโครงการ ทบั สะแก 1.4 ประชาสัมพันธ์ - คณะกรรม 8 คน โครงการฯ การ

116 กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้นื ทด่ี าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ สถานศึกษา 2. ขน้ั ดาเนนิ งาน (Do) 1.เพ่อื ให้ผเู้ รยี น ประชาชน 288 คน ตาบลห้วยยาง ม.ค. - 33,120.- 1. จัดซ้อื วัสดุและอุปกรณ์ 2 คน ตาบลแสงอรณุ ก.ค. 64 ในการจดั กิจกรรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทว่ั ไป ตาบลเขาลา้ น 2. ดาเนนิ การจดั โครงการ ตาบลทบั สะแก ม.ค. - การศกึ ษาเพ่อื พัฒนา และมีเจตคตทิ ่ีถูกต้อง ตาบลนาหูกวาง ก.ค. 64 ทกั ษะชวี ิต ตาบลอ่างทอง 3. ดาเนินการตามแผน เกี่ยวกบั การด้านการ 4.ประเมนิ ตดิ ตามผล ตาบลหว้ ยยาง และสรปุ รายงาน ดูแลสุขภาพดว้ ย ตาบลแสงอรณุ ตาบลเขาลา้ น 3. ขั้นตรวจสอบ วิธีการออกกาลงั กาย ตาบลทับสะแก (Check) ตาบลนาหูกวาง 3.1 การประเมนิ ผลก่อน ดา้ นหลกั ประชาธิปไตย ตาบลอ่างทอง ดาเนินโครงการ 3.2 การประเมนิ ระหวา่ ง และการมีสว่ นรว่ ม ดาเนนิ โครงการ ทางการเมอื งดา้ น ครอบครวั ศึกษา ดา้ น คุณธรรมจรยิ ธรรมและ การสืบสานประเพณีท่ี ดงี าม ด้านการปอู งกนั ความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สิน ดา้ น ดนตรี ไปปรบั ปรงุ พัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนเองในชีวติ ประจาวันได้อยา่ ง เหมาะสมตามศักยภาพ ของแตล่ ะบุคคล 2.เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีทกั ษะ ทีจ่ าเป็นในการดาเนนิ ชีวิตในสงั คมปจั จบุ นั เพือ่ ติดตามและ คณะกรรมการ ประเมินผลทส่ี อดคล้อง ทรี่ ับผดิ ชอบ กับวตั ถปุ ระสงค์ ฝาุ ยวดั ผลและ ประเมนิ ผล

117 กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 3.3 การประเมินเมื่อเสรจ็ สน้ิ โครงการ 4. ข้ันปรับปรุงแกไ้ ข 1. เพือ่ สรปุ จัดทาเปน็ คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ ส.ค. 64 (Action) รายงาน เผยแพรต่ ่อต้น ทรี่ ับผดิ ชอบ ทบั สะแก 4.1 รวบรวมข้อมลู สังกดั และสาธารณะ ฝุายรายงาน วเิ คราะห์ข้อมลู สรุป และ 2. เพ่อื นาผลการ ผล จดั ทารายงานการประเมนิ ประเมินไปพัฒนา โครงการ โครงการต่อไป 4.2 ประชมุ คณะทางาน เพอื่ นาขอ้ มูลจากการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ปรบั ปรุง แกไ้ ข และ พฒั นาดาเนนิ โครงการ ต่อไป 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณจาก แผนงาน : พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน จานวนเงิน 33,120.- บาท (สามหม่ืนสามพันหน่ึงร้อย ยส่ี บิ บาทถว้ น) 8 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-มี.ค. (เม.ย.-ม.ิ ย. (ก.ค.-ก.ย. กิจกรรมหลกั พ.ศ 2563) พ.ศ 2564 ) พ.ศ 2564 ) พ.ศ 2564) 1. จัดซื้อวัสดุ และอุปกรณ์ ในการจัด - 16,560.- 16,560.- - กจิ กรรม 2. ดาเนินการจัดโครงการการศึกษาเพ่ือ พัฒนาทักษะชีวติ 3 ดาเนินการตามแผน 4.ประเมนิ ติดตามผล และสรุปรายงาน 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 ครู กศน.ตาบล 9.2 กศน.อาเภอทับสะแก

118 10. เครือข่าย 10.1 ผู้นาชมุ ชนอาเภอทับสะแก 10.2 ท่วี ่าการอาเภอทับสะแก 10.3 สภาวัฒนธรรมอาเภอทับสะแก 10.4 องค์การบริหารตาบลทกุ ตาบล 10.5 โรงพยาบาลทบั สะแก 10.6 ชมรมทอ่ งเทย่ี วอาเภอทบั สะแก 10.7 โรงพยาบาลทับสะแก 10.8 สถานตี ารวจภธู รทบั สะแก 11. โครงการท่เี กย่ี วขอ้ ง 11.1 โครงการการเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ 11.2 โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 11.3 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะท่ีจาเป็นในการดาเนินชีวิต มีเจตคติที่ ถกู ต้อง สามารถดแู ลสุขภาพและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสม 13. ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียน ที่เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรมตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียน เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตมีความ พงึ พอใจในระดับมากขึน้ ไป 13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต มเี จตคตทิ ีถ่ ูกตอ้ ง สามารถดูแลสขุ ภาพและพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศติดตามผล 14.2 แบบสารวจความพงึ พอใจ 14.3 แบบตดิ ตามผเู้ รยี น 14.4 แบบทดสอบ

119 1. ชอื่ โครงการ : โครงการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้อ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการในรปู แบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชมุ ชนนักปฏิบตั ิ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละ พื้นท่ี เคารพความคดิ ของผู้อื่น ยอมรบั ความแตกตา่ งและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิต สาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็น พลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้า การรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนา สงั คมและชมุ ชนอย่างยงั่ ยืน 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกจิ ของสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ พันธกจิ ท่ี 4 ส่งเสรมิ สนบั สนุน สถานศกึ ษาให้ดาเนนิ งานอยา่ งมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคม แห่งการเรียนรตู้ ลอดชีวิต 2.5 สอดคล้องกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก พันธกิจท1่ี จดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ผูเ้ รียน/ ผู้รับบรกิ าร ทุกกลุม่ ทกุ ชว่ งวัย มโี อกาสการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่องอย่างท่ัวถึงและมคี ณุ ภาพ พนั ธกจิ ที่ 2 จดั กิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกิจท่ี 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการมีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 4 จดั กจิ กรรมและส่งเสริมสถานศกึ ษาคุณธรรมมีการจัดกิจกรรมครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่ ดา้ นศาสนา ด้านวิถีไทย ดา้ นคุณธรรมอตั ลักษณ์ และกจิ กรรมจิตอาสาทาความดดี ้วยหัวใจ พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวัตกรรมท่ีสอดคลอ้ งกบั บริบทของชมุ ชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.6 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง

120 มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตุผล การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนเป็นการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มุ่งเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กลุ่มเปูาหมายนอกระบบซ่ึงได้แก่ผู้เรียนท่ัวไปได้มีการพัฒนา ความรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ในการเติมเต็มปัญญาให้กับสังคมท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา เพื่อ สร้างเสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาชุมชน การจัดการความรู้ การ วิจยั ชุมชน ซง่ึ เป็นพ้ืนฐานของการนาความรใู้ นการแก้ไขปญั หาของชุมชน การพฒั นาสงั คม ซ่งึ การจัดการศึกษา เพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชนมีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นหลักสูตรระยะสั้นที่ตอบสนองความต้องการ ของชุมชน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานของการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชน การระดมทุนของชุมชนเป็น เคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสังคมและชุมชนของ ตนเอง โดยเน้นการจัดเวทีชาวบ้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเป็นการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ของคนในชุมชน ในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชนเนื้อหาสาระมุ่งเน้นในเร่ืองเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม และชุมชน เช่นการอบรมเข้าค่ายประชาธิปไตย การอบรมให้ความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจดั กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน เป็นต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ได้ตระหนักถึงความสาคัญของ การศกึ ษาดังกลา่ ว จงึ ไดด้ าเนินการจดั โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชนขึ้น เพ่ือเป็นการศึกษา ที่บูรณาการความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชน คนในชุมชนเกิดทักษะความรู้ และนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชมุ ชนของแต่ละชุมชน/อาเภอได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ ร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหาและ ความต้องการของชมุ ชน รว่ มทาและสร้างประสบการณใ์ นการแก้ไขปญั หาของชมุ ชน 4.2 เพอื่ ให้ผเู้ รยี น มีทักษะในการวิเคราะห์สภาพปญั หาและความต้องการของชุมชน 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนท่ัวไป จานวน 168 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ ผเู้ รียน ท่เี ข้าอบรมมีความร้แู ละทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของ ชมุ ชน มีสว่ นร่วมในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชนของตนเองได้ 6. วธิ ีการดาเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้ืนที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ

121 กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ท่ีดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ข้ันวางแผน (Plan) เพอื่ ใหก้ ารดาเนินงาน - ผอ.กศน. อาเภอ พ.ย.2563 - 1.1 วางแผนปฏบิ ัติงาน ตามโครงการมี อาเภอทบั สะแก 1 คน ทบั สะแก – 1.2 แตง่ ต้ังคณะทางาน ประสทิ ธภิ าพ - ครูผูช้ ่วย 1.3 จัดทาโครงการและขอ - ครูอาสาสมัคร 2 คน ธ.ค. 2563 อนุมัตโิ ครงการ กศน. 2 คน 1.4 ประชาสมั พันธโ์ ครงการฯ - ครู กศน. ตาบล 6 คน 2. ขนั้ ดาเนินงาน (Do) 1. เพื่อจัดกระบวนการ ประชาชนทว่ั ไป 168 คน อ.ทับสะแก ม.ค. – 67,200.- เรียนรใู้ ห้กับผ้เู รียนมี จ.ประจวบ ฯ ก.ค. 64 ดาเนินการตาม ความรู้ ร่วมวเิ คราะห์ แผนโครงการการ สภาพปัญหาและความ ศกึ ษาเพื่อพัฒนา ต้องการของชุมชน สังคมและชุมชน ร่วมทาและสรา้ ง ประสบการณ์ในการ แก้ไขปญั หาของชมุ ชน 2. เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นมี ทกั ษะในการวเิ คราะห์ สภาพปัญหาและความ ต้องการของชมุ ชน 3. ข้ันตรวจสอบ -เพ่ือติดตามและ - ผอ.กศน. 1 คน อาเภอ ม.ค. – - ก.ค. 64 - (Check) ประเมินผลที่สอดคลอ้ ง อาเภอทบั สะแก ทับสะแก ม.ค. – 3.1 การประเมนิ ผลกอ่ น กบั วตั ถุประสงค์ - ครูผชู้ ว่ ย ก.ค. 64 ดาเนินโครงการ - ครอู าสาสมคั ร 2 คน 3.2 การประเมินระหวา่ ง กศน. 2 คน ดาเนินโครงการ 3.3 การประเมนิ เม่อื เสร็จ สิน้ โครงการ 4. ขน้ั ปรับปรุงแกไ้ ข 1. เพอื่ สรุปจดั ทาเป็น - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ (Action) รายงาน เผยแพรต่ ่อตน้ อาเภอทับสะแก ทบั สะแก 4.1 รวบรวมข้อมูล สังกดั และสาธารณะ - ครผู ชู้ ่วย 2 คน วเิ คราะหข์ ้อมลู สรุป และ 2. เพือ่ นาผลการ - ครอู าสาสมัคร 2 คน จดั ทารายงานการประเมนิ ประเมินไปพัฒนา - ครู กศน. 6 คน

122 กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ทีด่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ โครงการ โครงการต่อไป อาเภอ 4.2 ประชุมคณะทางาน เพ่ือนาขอ้ มูลจากการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ปรบั ปรุง แก้ไข และ พัฒนาดาเนินโครงการ ตอ่ ไป 7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณจากแผนงาน : พืน้ ฐานดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ผลผลิตท่ี4 งบดาเนนิ งาน จานวนเงิน 67,200.- บาท (หกหมื่นเจด็ พันสองร้อยบาทถว้ น) 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กจิ กรรมหลกั (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-มี.ค. (เม.ย.-ม.ิ ย. (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ.2563) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) 1. ดาเนินการจดั โครงการ จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคม - 33,600.- 33,600.- - และชุมชน 2. ตดิ ตามผลและประเมินผล 3. การรายงานผล 9. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ - บคุ ลากรครู กศน.อาเภอทับสะแก 10. เครอื ข่าย 10.1 ผ้นู าชุมชน 10.2 สภาวัฒนธรรมอาเภอ 10.3 องค์การบริหารอาเภอ 11. โครงการท่เี ก่ียวขอ้ ง 11.1 โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน 11.2 โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 11.3 โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพียง 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผเู้ รียนท่ีเขา้ อบรมมีความร้แู ละทักษะสามารถวิเคราะหส์ ภาพปญั หาและความต้องการของชมุ ชน มี สว่ นรว่ มในการพฒั นาสงั คมและชุมชนของตนเองได้

123 13. ตัวช้วี ัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผ้เู รยี นที่เข้ารว่ มโครงการจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชนผา่ น การอบรม 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผูเ้ รยี นที่เข้ารว่ มโครงการการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชนมีความ พึงพอใจในระดับมากขนึ้ ไป 13.2 ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนทเ่ี ข้าร่วมโครงการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน มี ความรแู้ ละทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชมุ ชน มสี ่วนร่วมในการพฒั นาสงั คม และชมุ ชนของตนเองได้ 14. การติดตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศติดตามผล 14.2 แบบสารวจความพงึ พอใจ

124 1. ชือ่ โครงการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการส้รางสังคมแหง่ การเรียนรู้ 2.3 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นรกู้ ารใช้ดิจทิ ัล เพือ่ ใชเ้ ป็นเครอื่ งมือสาาหรบั หาชอ่ งทางในการสรา้ งอาชีพ 2. จัดทาหลกั สตู รพฒั นาอาชีพทเ่ี หมาะสมสาหรับผู้ท่ีเขา้ สูส่ ังคมสูงวัย 2.4 สอดคล้องกบั 12 นโยบายเรง่ ดว่ นภารกิจตอ่ เนื่อง พ.ศ. 2564 12 ภารกจิ “เรง่ ด่วน” ท่ีจะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดอื น ของเลขาธิการ กศน. (นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเร็จ” ข้อ 8 ส่งเสริม สนับสนุนการฝึกอาชีพเพ่ือการมีงานทา “Re-Skill Up-Skill และออก ใบรบั รอง ความรู้ความสามารถ” ข้อ 9 สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มกับทกุ ภาคเี ครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชีพและสง่ เสริม การตลาด เพ่ือยกระดับผลติ ภัณฑ/์ สินค้า กศน. ขยายชอ่ งทางการจาหน่าย ภารกจิ ต่อเนื่อง 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนื่อง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพ ของแต่ละพื้นท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการ พัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มี การกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทาอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่ือง 2.5 สอดคล้องกับพันธกจิ ของสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบครี ีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลก ศตวรรษท่ี 21 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ และนวตั กรรม การวจิ ยั การวดั ผลและประเมนิ ผล ใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทในพ้นื ที่ พันธกิจท่ี 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใชใ้ นการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ พนั ธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมอื กบั ภาคีเครอื ข่ายจัดส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2.6 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก พนั ธกจิ ที่ 1 จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผเู้ รยี น/ ผรู้ ับบรกิ าร ทุกกลุ่ม ทกุ ช่วงวัย มโี อกาสการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งอย่างทว่ั ถึงและมีคณุ ภาพ

125 พันธกิจท่ี 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พันธกิจท่ี 5 สถานศกึ ษาส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรยี นรูท้ ห่ี ลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวตั กรรมทีส่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชน พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 2.7 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษา ตอ่ เน่อื ง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียนการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรูก้ ารศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตุผล หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิน ไปในทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ดาเนินการทุกข้ันตอน ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และมีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ได้เปน็ อย่างดี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ได้เล็งเห็นความสาคัญของเร่ือง ดงั กลา่ ว จึงไดโ้ ครงการการเรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปีงบประมาณ 2564 ขนึ้ 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมีความรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2 เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นมที ักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5.เป้าหมาย 5.1 เปาู หมายเชงิ ปริมาณ ประชาชนท่วั ไป จานวน 156 คน 5.2 เปาู หมายเชงิ คณุ ภาพ ผเู้ รียนมคี วามรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามา ประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ และพฒั นาสังคมได้

126 6. วธิ กี ารดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปูาหมาย เป้าหมาย พื้นทดี่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ เพ่อื ให้การดาเนินงาน 1. ข้ันวางแผน(Plan) ตามโครงการมี - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ พ.ย. 63 - 1.1 ประชุมวางแผน ประสทิ ธิภาพ ปฏิบัตงิ าน อาเภอทับ ทบั สะแก - 1.2 แต่งตง้ั คณะทางาน 1. เพ่อื ให้ผู้เรียนมี 1.3 จัดทาโครงการและ ความรตู้ ามหลกั สะแก 13 คน ธ.ค. 63 ขออนมุ ตั โิ ครงการ ปรัชญาของเศรษฐกจิ 1.4 ประชาสมั พันธ์ พอเพยี ง - บุคลากร โครงการฯ 2. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมี 2.ขน้ั ดาเนนิ งาน ทกั ษะกระบวนการคิด กศน.อาเภอ (Do) ตามหลกั ปรัชญาของ -อบรมใหค้ วามรู้ทกั ษะ เศรษฐกิจพอเพยี ง ทับสะแก และกระบวนการคิด - ประชาชน 156 คน ตาบลห้วยยาง ม.ค. 64 62,400.- ท่วั ไป ตาบลแสงอรุณ - ตามหลักปรชั ญาของ ตาบลเขาล้าน ก.ค. 64 ตาบลทับสะแก เศรษฐกิจพอเพียง ตาบลนาหกู วาง ตาบลอา่ งทอง กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบ คณะกรรมการท่ี 4 คน กศน.อาเภอทบั ม.ค. 64 ประมาณ 3. ข้นั ตรวจสอบ(Check) 1.เพื่อประเมินความ รบั ผดิ ชอบฝาุ ย 3.1 การประเมินผลก่อน เปน็ ไปได้ของโครงการ 4 คน สะแก - - ดาเนนิ โครงการ 2.เพอ่ื ประเมิน วดั ผลและ ก.ค. 64 3.2 การประเมนิ ระหว่าง ความกา้ วหน้าของ ประเมนิ ผล กศน.อาเภอทบั - ดาเนนิ การ โครงการ สะแก ม.ค. 64 3.3 การประเมนิ เม่ือเสรจ็ 3.เพอื่ ประเมนิ คณะกรรมการที่ - สิ้นโครงการ ผลสาเรจ็ ของโครงการ รับผิดชอบฝาุ ย 4. ขนั้ ปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือปรับปรุงแก้ไขและ รายงานผล ก.ค. 64 (Action) พัฒนาการดาเนิน 4.1 รวบรวมขอ้ มูล โครงการ วิเคราะหข์ ้อมลู สรุปและ จัดทารายงานการประเมนิ โครงการ 4.2 ประชุมคณะทางาน เพอ่ื นาข้อมลู จากการ

127 ประเมินโครงการไปใช้ ปรบั ปรุงแก้ไข และพัฒนา ดาเนินโครงการต่อไป 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ ง ศักยภาพมนษุ ย์ ผลผลติ ที่ 4 ผู้รับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ จานวนเงนิ 62,400.- บาท (หกหมื่นสองพนั ส่ี ร้อยบาทถ้วน) 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. 63) (ม.ค.-ม.ี ค. 64) (เม.ย.-ม.ิ ย. 64) (ก.ค.-ก.ย. 64) 1. จัดอบรมให้ความรู้ทักษะ และกระบวนการ คิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - 31,200.- 31,200.- - 2. การติดตามและประเมนิ ผล 3. การรายงานและพฒั นาการจดั กิจกรรม รวม 62,400.- 9. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ กลุ่มงานการศึกษาต่อเน่อื ง กศน.อาเภอทบั สะแก 10. เครือข่าย 10.1 องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ 10.2 ผูน้ าชมุ ชน 10.3 ปราชญ/์ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ 11. โครงการทเี่ กีย่ วขอ้ ง 11.1 โครงการจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 11.3 โครงการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามา ประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ และพัฒนาสงั คมได้ 13. ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1. ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ผู้เรียนมีความรู้ และทกั ษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

128 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นมีความพึงพอใจในระดับมากข้นึ ไป 13.2. ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผูเ้ รยี นสามารถนาความรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตและพฒั นาสงั คมได้ 14. การติดตามและประเมินผลการสงั เกต 14.1 แบบสงั เกต 14.2 แบบนเิ ทศตดิ ตามผล 14.3 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

129 1. ชื่อโครงการ : โครงการสรา้ งเครือขา่ ยดิจทิ ลั ชุมชนระดับตาบล 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้ างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรียนรู้การใช้ดิจทิ ัล เพ่ือใช้เปน็ เคร่ืองมือสาาหรับหาชอ่ งทางในการสร้างอาชพี 2.4 สอดคล้องกบั 12 นโยบายเร่งด่วนภารกิจตอ่ เน่อื ง พ.ศ. 2564 12 ภารกิจ “เร่งด่วน” ท่ีจะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรทั พฤกษาทวกี ุล) “คนสาราญ งานสาเร็จ” ข้อ 6. พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform รองรับ DEEP และ Digital Science Museum ศูนย์เรียนรู้ทุกช่วงวัย รวมท้ังส่ือการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ ในทุก กล่มุ เปูาหมาย “เรียนรู้ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา” ข้อ 7. ส่งเสริมการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล Digital Literacy ให้กับบุคลากร กศน. ทกุ ระดับ และกลุ่มเปูาหมายทกุ กลุ่ม 2.5 ภารกิจตอ่ เน่ือง 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผา่ นระบบเทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพ่ือส่งเสริมให้ ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้ง ทางอินเทอร์เน็ต และรปู แบบอนื่ ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Tablet, รวมทั้งส่ือ Offline ในรปู แบบตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหก้ ลุ่มเปาู หมายสามารถเลือกใชบ้ ริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ ตามความต้องการ 2.6 สอดคล้องกับพันธกจิ ของสานกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลก ศตวรรษท่ี 21 พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั มาใช้ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ พนั ธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมอื กบั ภาคเี ครือขา่ ยจดั สง่ เสริมและสนบั สนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2.7 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก

130 พันธกจิ ท่ี 1 จดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้ผเู้ รียน/ ผู้รับบริการ ทกุ กลุ่ม ทกุ ช่วงวยั มโี อกาสการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนือ่ งอยา่ งทวั่ ถงึ และมีคณุ ภาพ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 2.8 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รียนการศกึ ษาต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรียนร้กู ารศึกษาต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล ตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล เพ่ือให้เกิดการพัฒนาสังคมและคุณภาพ ชีวิตของประชาชนด้านนวัตกรรม การพัฒนาคน การให้บริการต่าง ๆ ของภาครัฐ รวมถึงการพัฒนาด้าน เศรษฐกจิ การศกึ ษาสรา้ งสารสนเทศและองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือของ 4 กระทรวงหลัก คอื กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลี กระทรวงสาธารณสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก ในฐานะเป็น หน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีส่งเสริมสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเป็น ภาพรวมของการศึกษาตลอดชีวิต จึงเป็นหน่วยงานท่ีได้รับมอบหมายให้ดาเนินงานในด้านของการ สร้าง เครือข่ายดจิ ทิ ัลชุมชนระดับตาบล เพ่ือสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ด้าน Digital เพ่ือให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐาน ดา้ นDigital และความรู้เรื่องกฎหมายวา่ ด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ ในชวี ติ ประจาวัน รวมทงั้ การพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพการค้าออนไลน์ เน้นการตลาด การสร้างมูลค่าและการ โปรโมทสินค้าในการน้ี เพ่ือเป็นการส่งเสริมและดาเนินงานในเร่ืองการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล ให้บรรลุตามนโยบาย และวัตถุประสงค์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก โดย กศน.ตาบลนาหกู วาง เห็นควรจัดโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล เพื่อพัฒนาประชาชน ให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่ีมีทักษะด้านดิจิทัลเพ่ือรองรับการพัฒนาประเทศ และสามารถ นาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้พ้ืนฐานด้าน Digital และความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิด เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน รวมทง้ั การพัฒนาและการเขา้ สอู่ าชพี 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เรื่องการพัฒนาและการเข้าสู่อาชีพ หลักสูตรการค้าออนไลน์ เน้น การตลาด การสรา้ งมลู ค่าและการโปรโมทสินค้า 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ประชาชนทัว่ ไป จานวน 150 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

131 ผู้เรียนอาเภอทับสะแกได้รับความรู้และมีทักษะพื้นฐานด้าน Digital และความรู้เร่ือง กฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทัง้ การพัฒนาและการเข้าสู่อาชพี ได้อยา่ งเหมาะสม 6. วธิ กี ารดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะ งบประมาณ ดาเนินการ เวลา 1. ขน้ั วางแผน (Plan) เพอ่ื ให้การ - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ ต.ค. 63 - 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน ดาเนนิ งานตาม อาเภอทบั สะแก ทับสะแก - 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน โครงการม - ครผู ชู้ ่วย 1 คน ก.ย. 64 1.3 จัดทาโครงการและ ประสทิ ธิภาพ - ครอู าสาสมคั ร 2 คน ขออนุมัติโครงการ กศน. 1.4 ประชาสมั พนั ธ์ - ครู กศน. 6 คน โครงการฯ ตาบล 2. ขั้นดาเนนิ งาน (Do) 1. เพ่ือให้ ประชาชนท่วั ไป 150 - ตาบล ม.ค. 64 39,600.- ดาเนินการตามแผน ประชาชนตาบล คน ห้วยยาง - ดาเนนิ การจัดโครงการ นาหกู วาง - ตาบล ม.ิ ย. 64 สร้างเครือข่ายดิจิทัล มคี วามรู้พนื้ ฐาน แสงอรณุ ชมุ ชนระดับตาบล ดา้ น Digital - ตาบล และความรเู้ รื่อง เขาลา้ น กฎหมายวา่ ดว้ ย - ตาบล การกระทา นาหกู วาง ความผิด - ตาบล เกยี่ วกับ ทบั สะแก คอมพวิ เตอร์ - ตาบล สาหรบั การใช้ อ่างทอง ประโยชน์ใน ชวี ิตประจาวนั รวมท้งั การ พฒั นาและการ เขา้ สู่อาชพี 2. 1. เพอื่ ให้ ประชาชนตาบล นาหูกวางมี ความรู้เรือ่ งการ พัฒนาและการ เขา้ สู่อาชีพ เรือ่ งการค้า

132 กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ี ระยะ งบประมาณ ดาเนนิ การ เวลา ออนไลน์ เนน้ การตลาด การ สรา้ งมลู ค่าและ การโปรโมท สนิ คา้ 3. ข้นั ตรวจสอบ เพอื่ ติดตามและ - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ เม.ย. 64 - (Check) ประเมนิ ผลท่ี อาเภอทับสะแก ทบั สะแก - 3.1 การประเมินผลกอ่ น สอดคล้องกับ - ครูผชู้ ว่ ย 1 คน ก.ย. 64 ดาเนนิ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ - ครอู าสาสมัคร 2 คน 3.2 การประเมิน กศน. ระหว่างดาเนนิ โครงการ 3.3 การประเมินเม่อื เสร็จสิ้นโครงการ 4. ข้ันปรบั ปรุงแกไ้ ข 1. เพอื่ สรปุ - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ เม.ย. 64 - (Action) จัดทาเป็น อาเภอทับสะแก ทับสะแก - 4.1 รวบรวมข้อมลู รายงาน เผย - ครูผชู้ ว่ ย 1 คน ก.ย. 64 วิเคราะหข์ ้อมูล สรุป แพร่ต่อต้นสังกดั - ครอู าสาสมัคร 2 คน และจดั ทารายงานการ และสาธารณะ กศน. ประเมินโครงการ 2. เพื่อนาผล - ครู กศน. 1 คน 4.2 ประชุมคณะทางาน การประเมินไป ตาบล เพ่ือนาข้อมูลจากการ พฒั นาโครงการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ต่อไป ปรบั ปรุง แก้ไข และ พัฒนาดาเนนิ โครงการ ตอ่ ไป 7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณจาก แผนงาน : บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ดิจทิ ัล งบรายจา่ ยอน่ื จานวนเงนิ 49,080 บาท

133 8 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-มี.ค. (เม.ย.-มิ.ย. (ก.ค.-ก.ย. กิจกรรมหลัก พ.ศ.2563) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) 1. วางแผนการจัดโครงการ - - 39,600.- - 2. ดาเนินการตามแผน - ดาเนินการจดั โครงการสรา้ งเครอื ข่าย ดิจทิ ัลชุมชนระดบั ตาบล 3. การตดิ ตามและประเมินผล 4. รายงานผลโครงการฯ 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตาบล 10. เครือขา่ ย 10.1 ผู้นาชุมชน 10.2 เทศบาลตาบล/องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 11. โครงการทเี่ กี่ยวขอ้ ง 11.1 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน 11.2 โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ 11.3 โครงการจดั กระบวนการเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง 11.4 โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผู้เรียนอาเภอทับสะแกได้รับความรู้และมีทักษะพื้นฐานด้าน Digital และความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วย การกระทาความผดิ เกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ สาหรับการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการพัฒนาและการ เข้าสอู่ าชีพไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 13. ตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1. ตัวชี้วัดผลผลติ 13.1.1 ผู้เรียนอาเภอทับสะแก จานวน 150 คน เข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชน ระดบั ตาบล 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนอาเภอทับสะแก มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการสร้าง เครือขา่ ยดิจทิ ลั ชมุ ชนระดับตาบลในระดับมากข้นึ ไป

134 13.2. ตัวช้วี ดั ผลลัพธ์ ร้อยละ 80 ของผู้เรียนอาเภอทับสะแกได้รับความรู้และมีทักษะพ้ืนฐานด้าน Digital และ ความรู้เร่ืองกฎหมายว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์และเร่ืองการค้าออนไลน์ เน้นการตลาด การสร้างมูลค่าและการโปรโมทสินค้า สาหรับการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งการพัฒนาและ การเข้าสูอ่ าชีพได้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบนิเทศติดตามผล 14.1 แบบสารวจความพึงพอใจ

135 1. ช่อื โครงการ :โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพ่ือคงพัฒนาการทางกายจติ สมองของผู้สงู อายุ 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2.2 สอดคล้องกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ขอ้ 1.2 การเรยี นรู้ ตลอดชีวิต 2.4 ภารกจิ ต่อเนอ่ื ง 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุที่ สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการ ดารงชีวติ ตลอดจนสามารถประกอบอาชพี พ่งึ พาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของ ตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหมใ่ นอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสาคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกายและจิต การปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชีวติ การจดั ต้ังชมรม/ชมุ นมุ การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ 2.4 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ 5. ประสานความร่วมมอื กับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2.5 สอดคล้องกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก 1. จดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ผูเ้ รยี น/ผู้รบั บริการทุก กลมุ่ ทุกช่วงวัย มีโอกาสการเรียนร้อู ย่างต่อเนอ่ื งอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 2. จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.6 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน กศน. : มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรียนรู้การศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา

136 3. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเน้นไปทางด้านวัตถุมากกว่าทางจิตใจ จึงทาให้เกิดปัญหาข้ึนในสังคมไทย เช่น ปัญหา อาชญากรรม ปญั หายาเสพติด ปญั หาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาวัยรุ่น ปัญหาโสเภณี ปัญหาโรคเอดส์ และปญั หาอื่นๆซง่ึ ปัญหาดังกล่าวสามารถแกป้ ญั หาและปูองกันได้หากผู้สูงอายุและเยาวชนรู้และเข้าใจ รเู้ ท่า ทันเหตุการณ์ มีความพร้อมในการปรับตัวที่จะกาหนดวิธีการดาเนินชีวิต ได้อย่างเหมาะสม การ สง่ เสรมิ และพัฒนาทกั ษะชีวติ จึงเปน็ หนทางหน่ึงท่ีมีความสาคัญย่ิง ที่จะลดสภาพปัญหาและความรุนแรงต่างๆ ให้ลดน้อยลงและหมดไปได้ ประเทศไทยในยุคปฏิรูปการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้บุคคลเรียนรู้คู่คุณธรรม และเป็นคน ดีมีความสามารถ ซ่ึงต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีความฉลาดทั้งด้านสติปัญญา และความฉลาดทางด้านอารมณ์ท่า เรียกว่าทักษะชีวิต การจัดการศึกษาดังกล่าวจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการจัดการศึกษาเพื่อ พฒั นาทกั ษะชีวติ ให้กบั ผู้สูงอายุ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรม การศึกษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิตขน้ึ เพอ่ื ให้ผสู้ ูงอายมุ ีทักษะท่จี าเปน็ ในการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันได้อย่างมี ความสุข ในการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจมีเจตคติท่ีถูกต้องเก่ียวกับด้านหลักการดูแลสุขภาพอนามัย การ ดูแลสขุ ภาพกายใจของผู้สงู อายุ การใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุได้ อีกทั้งสามารถ นาความร้จู ากการเขา้ รว่ มกิจกรรมการศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะชีวิตไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1. เพ่ือให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมผ่านกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตมีสุขภาพวะทางกายจิตและ สมองท่เี หมาะสมกบั ชว่ งวัย 4.2. เพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายมุ ที ักษาในการปูองกันภาวะซึมเศร้าของสมรรถนะทางกายจติ สมองของผู้สงู อายุ 5.เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ผู้สงู อายุอาเภอทบั สะแก จานวน 90 คน 5.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ผู้สูงอายอุ าเภอทบั สะแก ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะท่ีจาเป็นในการ ดาเนินชีวิต มีเจตคตทิ ถ่ี กู ต้อง สามารถดูแลสขุ ภาพและพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสม

137 6. วธิ กี ารดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ หมาย ดาเนนิ การ 1. ขัน้ วางแผน (Plan) เพือ่ ใหก้ าร - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ สิงหาคม - 1.1 วางแผนปฏบิ ัติงาน ดาเนินงานตาม อาเภอ ทับสะแก 2563 1.2 แตง่ ตง้ั คณะทางาน โครงการมี - บคุ ลากร 13 คน 1.3 จัดทาโครงการและ ประสิทธิภาพ กศน.อาเภอ ขออนุมัตโิ ครงการ ทับสะแก 1.4 ประชาสัมพันธ์ - คณะกรรม 8 คน โครงการฯ การ สถานศึกษา 2. ขัน้ ดาเนินงาน (Do) เพื่อให้ผู้สูงอายุ มี ผู้สูงอายุ 90 คน - ตาบล เมษายน- 9,000.- 1. จดั ซอ้ื วสั ดแุ ละ ความรู้ ความเข้าใจ อาเภอทบั หว้ ยยาง มิถุนายน อปุ กรณ์ ในการจดั แ ล ะ มี เ จ ต ค ติ ท่ี สะแก - ตาบล 2564 กิจกรรม ถูก ต้อ ง เกี่ ยว กั บ แสงอรณุ 2. ดาเนนิ การจัด การด้านการดูแล - ตาบล โครงการจดั และสง่ เสรมิ สุขภาพด้วยวิธีการ เขาล้าน การจัดการศกึ ษาตลอด อ อ ก ก า ลั ง ก า ย - ตาบล ชีวติ เพ่อื คงพฒั นาการ ด้ า น คุ ณ ธ ร ร ม นาหกู วาง ทางกายจิต สมองของ จริยธรรมและการ - ตาบล ผสู้ ูงอายุ สืบสานประเพณีท่ี ทบั สะแก 3. ดาเนนิ การตามแผน ดีงามไปปรับปรุง - ตาบล 4.ประเมิน ติดตามผล พัฒนาคณุ ภาพชีวิต อา่ งทอง และสรปุ รายงาน ของตนเองใน ชีวิตประจาวันได้ อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ตามศักยภาพของ แต่ละบุคคล 2.เพ่ือให้ผ้สู ูงอายุมี ทกั ษะท่ีจาเป็นใน การดาเนินชวี ติ ใน สงั คมปจั จบุ ัน

138 กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้า พ้นื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ หมาย ดาเนนิ การ 3. ขน้ั ตรวจสอบ เพ่ือติดตามและ คณะกรรมการ 2 คน ตาบล เมษายน- - (Check) ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ ที่รบั ผิดชอบ นาหูกวาง มิถุนายน 3.1 การประเมินผลก่อน ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ฝุายวดั ผลและ 2564 ดาเนนิ โครงการ วตั ถุประสงค์ ประเมนิ ผล 3.2 การประเมนิ 1. เพ่ือสรุปจัดทา ระหวา่ งดาเนนิ โครงการ เ ป็ น ร า ย ง า น 3.3 การประเมนิ เมอื่ เ ผ ย แ พ ร่ ต่ อ ต้ น เสรจ็ สิ้นโครงการ สงั กัด และ 4. ขนั้ ปรบั ปรุงแก้ไข สาธารณะ - (Action) 2. เพ่ือนาผลการ 4.1 รวบรวมข้อมูล ประเมินไปพัฒนา คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ กนั ยายน วเิ คราะหข์ ้อมลู สรุป โครงการต่อไป ที่รับผิดช อบ ทบั สะแก 2564 และจัดทารายงานการ ฝุ า ย ร า ย ง า น ประเมนิ โครงการ ผล 4.2 ประชมุ คณะทางาน เพอื่ นาข้อมูลจากการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ปรับปรงุ แก้ไข และ พฒั นาดาเนนิ โครงการ ต่อไป 7. วงเงนิ งบประมาณทง้ั โครงการ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากแผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอ่ืน เพอ่ื เป็นค่าใชจ้ า่ ยโครงการความรว่ มมอื การผลิตผ้ดู ูแลผู้สูงอายุระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง สาธารณสขุ จานวนเงนิ 9,000 บาท (เกา้ พันบาทถ้วน)

139 8 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-ม.ี ค. (เม.ย.-มิ.ย. (ก.ค.-ก.ย. กิจกรรมหลกั พ.ศ.2563) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) 1. จัดซ้ือวัสดุ และอุปกรณ์ ในการจัด - - 9,000.- - กจิ กรรม 2. ดาเนินการจัดโครงการพัฒนาคุณภาพ 9,000.- ชวี ติ ผู้สูงอายุ กศน.ตาบลนาหูกวาง กิจกรรมนันทนาการสาหรบั ผู้สูงอายุ 3. ดาเนินการตามแผน 4.ประเมนิ ติดตามผล และสรปุ รายงาน รวม 9. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ครู กศน.ตาบล 10. เครอื ข่าย 10.1 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล 10.5 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพประจาตาบล 10.6 ศูนยพ์ ฒั นาคุณภาพชีวติ ผู้สงู อายุ 11. โครงการที่เกยี่ วขอ้ ง 11.1 โครงการการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 11.2 โครงการจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชมุ ชน 11.3 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต มีเจตคติท่ี ถูกตอ้ ง สามารถดูแลสขุ ภาพและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 13. ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ ผ่านการอบรมผ่าน กิจกรรมการศึกษาตลอดชวี ติ มสี ขุ ภาพวะทางกายจิตและสมองที่เหมาะสมกบั ช่วงวัย 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุ เข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตมีความ พึงพอใจในระดับมากข้ึนไป 13.2 ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปูองกัน ภาวะซึมเศร้าของสมรรถนะทางกายจติ สมองของผูส้ ูงอายุ

140 14. การตดิ ตามและประเมนิ ผล 14.1 แบบนิเทศตดิ ตามผล 14.2 แบบสารวจความพึงพอใจ

141 1. ชอ่ื โครงการ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน 2.2 สอดคลอ้ งกับแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ 2.3 สอดคลอ้ งกับนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นรู้การใชด้ ิจทิ ัล เพอ่ื ใช้เปน็ เครอ่ื งมือสาหรับหาชอ่ งทางในการสร้างอาชีพ 2. จัดทาหลกั สตู รพฒั นาอาชีพที่เหมาะสมสาหรบั ผ้ทู เี่ ขา้ สู่สังคมสูงวัย 2.4 สอดคลอ้ งกบั 12 นโยบายเรง่ ด่วนภารกจิ ต่อเน่อื ง พ.ศ. 2564 12 ภารกจิ “เรง่ ด่วน” ทจ่ี ะต้อง “จบั ต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรทั พฤกษาทวีกุล) “คนสาราญ งานสาเร็จ” ขอ้ 8 ส่งเสรมิ สนับสนุนการฝกึ อาชีพเพอ่ื การมงี านทา “Re-Skill Up-Skill และออก ใบรับรองความร้คู วามสามารถ” ข้อ 9 ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มกบั ทุกภาคีเครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชีพและสง่ เสรมิ การตลาด เพอื่ ยกระดับผลิตภัณฑ/์ สนิ คา้ กศน. ขยายช่องทางการจาหน่าย ภารกจิ ต่อเนอื่ ง ขอ้ 1.3 การศกึ ษาต่อเนื่อง ข้อ 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพืน้ ที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ การพัฒนาประเทศ ตลอดจนสรา้ งความเข้มแข็งใหก้ บั ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน โดยจัดใหม้ หี นง่ึ อาชีพเด่น รวมท้ังให้ มีการกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2.5 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจท่ี 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ส่ือ และนวัตกรรม การวิจัย การวดั ผลและประเมินผล ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทในพ้นื ท่ี พันธกิจท่ี 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั มาใช้ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พันธกจิ ที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคเี ครอื ขา่ ยจดั สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2.6 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก

142 พันธกิจที่ 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหผ้ ู้เรียน/ ผู้รบั บรกิ าร ทกุ กลมุ่ ทุกชว่ งวัย มโี อกาสการเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื งอย่างทวั่ ถงึ และมีคณุ ภาพ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลีย่ นแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 5 สถานศกึ ษาส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวัตกรรมทสี่ อดคล้องกับบรบิ ทของชุมชน พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั 2.7 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การเรยี นร้กู ารศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตุผล สานกั งาน กศน.ไดด้ าเนินการจดั ให้มโี ครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน โดยใช้สถานศึกษา กศน.และ กศน. ตาบล หรือแขวง เป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเปูาหมายในพ้ืนท่ีบริการ โดยมีความเช่ือมั่นว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากท่ีมีรายได้น้อยและขาดโอกาสในการเพ่ิมรายได้อันเป็น เงื่อนไขสาคัญของการเกิดความเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เข้มแข็ง อยา่ งทเ่ี ปน็ อย่ใู นปจั จบุ ัน การจดั กจิ กรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึงเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชน ที่มีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้และทักษะไปใช้เพ่ื อ สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถ่ิน โดยให้สถานศึกษาใช้ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนท่ีจัดตั้งไว้ หรือ กศน. ตาบล หรือในชุมชน หรือสถานที่ของภาคีเครือข่าย ซึ่งรูปแบบการจัดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบพัฒนาอาชีพ หลักสูตรวิชาชพี ระยะสั้นไมเ่ กนิ 30 ชั่วโมง(กลุ่มสนใจ) และแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 30 ช่ัวโมงข้ึนไป และส่งเสริม การใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อการพฒั นาอาชีพ ในอนั ท่จี ะประกอบอาชพี ที่สร้างรายไดไ้ ด้จรงิ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ปีงบประมาณ 2564 ข้นึ โดยเนน้ ความรู้และทักษะอาชีพในเชิงเศรษฐกิจ ที่สอดคล้องกับสภาพของแต่ ละพน้ื ท่ี ใหผ้ เู้ รยี นมที ักษะความชานาญเฉพาะเร่ือง สามารถเพ่ิมผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และ ทักษะในการจัดการระบบบัญชี การตลาด และการบริหารจัดการ อย่างครบวงจร มองเห็นช่องทางการ ประกอบอาชีพหรือเป็นผู้ประกอบการเองได้ หรือรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพได้ และรู้จักนาเทคโนโลยีมาใช้ เพ่ือพฒั นาอาชีพ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอื่ ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนได้มีโอกาสเลอื กฝกึ ทกั ษะอาชีพและเข้าสู่อาชพี ท่ีตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม

143 4.2 เพอ่ื สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ในการพฒั นาอาชีพและแกไ้ ขปญั หาในกลมุ่ อาชีพของตนเอง 4.3 เพื่อส่งเสรมิ พัฒนาอาชพี ดว้ ยนวัตกรรมเทคโนโลยีทที่ นั สมัย 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จานวน 186 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ 5.2.1 ผู้เรยี นมีโอกาสเลอื กฝึกทักษะอาชีพและเข้าสอู่ าชีพที่ตนเองถนัดได้ อยา่ งเหมาะสม 5.2.2 ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของ ตนเอง 5.2.3 ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาอาชีพดว้ ยนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมยั 6. วิธีการดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบ ดาเนนิ การ ประมาณ ต.ค. 63 1. ข้นั วางแผน(Plan) เพือ่ ใหก้ ารดาเนินงาน - ผอ.กศน. 1 คน กศน.อาเภอ - - 1.1 ประชุมวางแผน ตามโครงการมี อาเภอทบั สะแก ทับสะแก ธ.ค. 63 ปฏบิ ัตงิ าน ประสทิ ธิภาพ - บคุ ลากร 13 คน 1.2 แตง่ ตัง้ คณะทางาน กศน.อาเภอ 1.3 จดั ทาโครงการและขอ ทับสะแก อนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสมั พันธ์ 2.ขนั้ ดาเนนิ งาน 1.เพ่อื ส่งเสริมให้ผเู้ รียน - ประชาชน 186 คน กศน.อาเภอ ม.ค. 64 154,200.- - (Do) ผู้เรยี นได้มโี อกาสเลอื ก ทัว่ ไป ทับสะแก 2.1 รูปแบบกล่มุ สนใจ ฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่ 66 คน ก.ค. 64 46,200.- (ไมเ่ กิน 30 ชม.) อาชีพที่ตนเองถนดั ได้ 2.2 รปู แบบชนั้ เรยี น อยา่ งเหมาะสม 120 คน 108,000.- วิชาชพี (31 ชม.ข้นึ ไป) 2. เพ่อื ส่งเสริม กระบวนการเรยี นรู้ใน การพัฒนาอาชพี และ แก้ไขปญั หาในกล่มุ อาชีพของตนเอง 3. เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นา คณะกรรมการที่ 4 คน กศน.อาเภอ ม.ค. 64 - อาชีพดว้ ยนวัตกรรม เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย 3. ขนั้ ตรวจสอบ(Check) 1.เพ่อื ประเมนิ ความ

144 กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบ ดาเนนิ การ ประมาณ รับผดิ ชอบฝาุ ย - 3.1 การประเมนิ ผลก่อน เป็นไปได้ของโครงการ วัดผลและ ทับสะแก ก.ค. 64 ประเมนิ ผล ดาเนินโครงการ 2.เพอ่ื ประเมิน 3.2 การประเมนิ ระหวา่ ง ความกา้ วหนา้ โครงการ ดาเนินการ 3.เพื่อประเมนิ ผลสาเร็จ 3.3 การประเมนิ เม่ือเสรจ็ ของโครงการ ส้นิ โครงการ 4. ขั้นปรบั ปรุงแก้ไข เพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไขและ คณะกรรมการท่ี 4 คน กศน.อาเภอ ม.ค. 64 - - (Action) พัฒนาการดาเนนิ รบั ผิดชอบฝุาย ทบั สะแก ก.ค. 64 4.1 รวบรวมข้อมูล โครงการ รายงานผล วเิ คราะห์ข้อมลู สรปุ และ จัดทารายงานการประเมนิ โครงการ 4.2 ประชมุ คณะทางาน เพ่อื นาขอ้ มลู จากการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ปรับปรงุ แก้ไข และพัฒนา ดาเนนิ โครงการต่อไป 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพ่ือความยั่งยืน โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอ่ืน จานวน เงนิ 154,200 บาท (หนึง่ แสนหา้ หมนื่ ส่พี นั สองรอ้ ยบาทถ้วน) 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค. 63) (ม.ค.-มี.ค. 64) (เม.ย.-ม.ิ ย. 64) (ก.ค.-ก.ย. 64) 1. จดั กจิ กรรมรปู แบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ/ กจิ กรรมแบบพฒั นาอาชพี ระยะสัน้ ไม่เกิน - 77,100.- 77,100.- - 30 ชั่วโมง (กลมุ่ สนใจ ) 2. จดั 1 อาเภอ 1 อาชีพ 3. การติดตามและประเมนิ ผล 4. การรายงานและพฒั นาการจัดกิจกรรม รวม 154,200.- 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ กลุ่มงานการศกึ ษาต่อเนือ่ ง กศน.อาเภอทบั สะแก

145 10. เครือข่าย 10.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 10.2 ผู้นาชมุ ชน 10.3 ปราชญ์/ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ 11. โครงการท่เี ก่ียวข้อง 11.1 โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.3 โครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพท่ีตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสมมีกระบวนการ เรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และได้พัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี 13. ตัวชี้วดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1. ตัวชี้วัดผลผลิต (Out put) 13.1.3 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมกี ระบวนการเรียนรูใ้ นการพัฒนาอาชีพและแกไ้ ข ปัญหาในกลุ่มอาชพี ของตนเอง 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นมโี อกาสเลือกฝึกทกั ษะอาชีพและเขา้ สู่อาชีพที่ตนเองถนดั ได้ อยา่ งเหมาะสม 13.1.3 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รยี นมคี วามพึงพอใจในระดบั มากขนึ้ ไป 13.2. ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสม มีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของ ตนเอง และได้พัฒนาอาชพี ด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี 14. การติดตามและประเมินผล 14.1 แบบทดสอบ 14.2 แบบนเิ ทศติดตามผล 14.3 แบบประเมินความพงึ พอใจ

146 1. ชื่อโครงการ ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน 1 อาเภอ 1 อาชีพ 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.2 สอดคลอ้ งกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นรูก้ ารใชด้ ิจทิ ลั เพือ่ ใช้เปน็ เครื่องมอื สาหรับหาช่องทางในการสรา้ งอาชพี 2. จัดทาหลกั สูตรพัฒนาอาชพี ทเี่ หมาะสมสาหรับผู้ทเ่ี ขา้ สสู่ ังคมสูงวยั 2.4 สอดคลอ้ งกบั 12 นโยบายเร่งด่วนภารกจิ ต่อเน่อื ง พ.ศ. 2564 12 ภารกจิ “เรง่ ดว่ น” ทีจ่ ะต้อง “จบั ต้องได้” ภายใน 6 เดอื น ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ ) “คนสาราญ งานสาเรจ็ ” ข้อ 8 สง่ เสริม สนบั สนุนการฝกึ อาชพี เพือ่ การมงี านทา “Re-Skill Up-Skill และออก ใบรับรองความรคู้ วามสามารถ” ข้อ 9 ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มกับทุกภาคเี ครอื ข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชพี และสง่ เสรมิ การตลาด เพ่ือยกระดับผลติ ภัณฑ์/สินค้า กศน. ขยายช่องทางการจาหนา่ ย ภารกิจตอ่ เน่อื ง 1.3 การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพ ของแต่ละพ้ืนท่ี มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการ พัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมท้ังให้มี การกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง 2.5 สอดคลอ้ งกบั พันธกจิ ของสานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจท่ี 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ และนวัตกรรม การวิจยั การวดั ผลและประเมนิ ผล ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทในพนื้ ที่ พันธกิจท่ี 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทลั มาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ พนั ธกจิ ท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครอื ขา่ ยจดั ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.6 สอดคล้องกบั พนั ธกจิ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก

147 พนั ธกจิ ท่ี 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ผูเ้ รยี น/ ผรู้ ับบริการ ทกุ กลุ่ม ทกุ ช่วงวยั มโี อกาสการเรียนร้อู ยา่ งต่อเนือ่ งอย่างท่ัวถึงและมีคณุ ภาพ พันธกิจท่ี 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลย่ี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พันธกิจที่ 5 สถานศกึ ษาส่งเสริมและพฒั นาแหลง่ เรยี นรูท้ หี่ ลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวตั กรรมทส่ี อดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 2.7 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศึกษาต่อเนอ่ื ง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรยี นรูก้ ารศึกษาตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3. หลกั การและเหตุผล นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา ได้กาหนดเปูาหมายข้อหน่ึงว่า จะมุ่งเน้นให้คนไทยได้รับโอกาสเท่า เทียมกนั ท่จี ะเรียนรู้และฝกึ อบรมได้ตลอดชีวิตเพื่อ ให้มีปัญญาเป็นทุนไว้สร้างงาน สร้างรายได้ ให้รอดพ้นทาง วิกฤต ท้ังเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. มุ่งจัดการ ศึกษาเพ่ือพัฒนาการงานและอาชีพ โดยในความสาคัญกับการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการงานและอาชีพ ระดับพื้นฐาน ระดับก่ึงฝีมือ และระดับฝีมือ ที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดย มุ่งให้ผู้เรียน สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจาวัน เพ่ือตอบสนองนโยบายดังกล่าว กศน. ได้ดาเนินการจดั ให้มีโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน 1 อาเภอ 1 อาชีพ ขึ้น โดยใช้ กศน.อาเภอ และแหล่ง เรียนรู้ในชุมชน เป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่บริการ โดยมีความเชื่อม่ันว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อยและขาดโอกาส ได้มีรายได้เพ่ิมข้ึนการจัด กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 1 อาเภอ 1 อาชีพ จึงเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่มีอาชีพ อย่แู ลว้ และตอ้ งการตอ่ ยอดอาชพี เดิม เพอื่ ให้มที กั ษะอาชพี สามารถนาความรู้และทักษะไปใช้เพ่ือสร้างรายได้ ใหก้ บั ประชาชนในชุมชนท้องถนิ่ ในรูปแบบชน้ั เรียน เพื่อการพัฒนาอาชีพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน 1 อาเภอ 1 อาชีพ ข้ึนเพื่อใหป้ ระชาชนในตาบลทบั สะแกและตาบลนาหูกวาง/ตาบลห้วยยางและตาบล แสงอรณุ ท่ีเขา้ รว่ มโครงการรว่ มกันฝึกทักษะและนาความรู้ท่ีได้ไปต่อยอดให้ความรู้ในชุมชนหมู่บ้านประกอบ อาชีพไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

148 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอื่ สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นในตาบลทบั สะแกและตาบลนาหูกวาง/ตาบลห้วยยางและตาบล แสงอรุณ ที่เข้าร่วมโครงการไดม้ ีโอกาส ฝกึ ทักษะอาชพี และเข้าสู่อาชพี ทต่ี นเองถนัดไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรใู้ นการพฒั นาอาชพี 5. เปา้ หมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ ผู้เรียนในตาบลทบั สะแกและตาบลนาหูกวาง/ตาบลหว้ ยยางและตาบลแสงอรณุ จานวน 48 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 5.2.1 ผเู้ รียนในตาบลทับสะแกและตาบลนาหูกวาง/ตาบลหว้ ยยางและตาบลแสงอรุณ ที่เข้า รว่ มโครงการไดม้ โี อกาสฝกึ ทักษะอาชพี และเข้าสู่อาชีพทีต่ นเองถนัดได้อยา่ งเหมาะสม 5.2.2 ผู้เรียนในตาบลทับสะแกและตาบลนาหูกวาง/ตาบลห้วยยางและตาบลแสงอรุณ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการมกี ระบวนการเรยี นรใู้ นการพฒั นาอาชพี 6. วิธีการดาเนินงาน กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ พนื้ ทีด่ าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ หมาย - ผอ.กศน. 1. ข้นั วางแผน(Plan) เพอ่ื ให้การ อาเภอทับสะแก 1 คน กศน.อาเภอ ต.ค. 63 - - ครูผ้ชู ว่ ย - 1.1 ประชุมวางแผน ดาเนินงานตาม - ครูอาสา ทบั สะแก สมคั รฯ ธ.ค. 63 ปฏบิ ัติงาน โครงการมี - ครูกศน.ตาบล 2 คน 1.2 แตง่ ตง้ั คณะทางาน ประสทิ ธภิ าพ 2 คน 1.3 จดั ทาโครงการและขอ 6 คน อนมุ ตั ิโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์ฯ 2.ขนั้ ดาเนินงาน(Do) เข้าสอู่ าชีพท่ตี นเอง -ประชาชนตาบล 48 คน ตาบลทับสะแก ม.ค. 64 43,200.- - - ดาเนินการตามแผน ถนัดได้อย่าง ทบั สะแกและ และตาบลนาหู พ.ค. 64 จัดกิจกรรมรูปแบบชั้นเรยี น เหมาะสม ตาบลนาหกู วาง กวาง /ตาบล มิ.ย. 64 2. เพอื่ สง่ เสริม /ตาบลหว้ ยยาง หว้ ยยางและ - กระบวนการเรียนรู้ และตาบลแสง ตาบลแสงอรุณ ก.ค. 64 ในการพฒั นาอาชีพ อรุณ 3. ขั้นตรวจสอบ 1.เพอื่ ประเมิน คณะกรรมการท่ี 4 คน กศน.อาเภอ (Check) ความเปน็ ไปไดข้ อง รับผดิ ชอบฝาุ ย ทับสะแก โครงการ 3.1 การประเมนิ ผลก่อน 2.เพื่อประเมนิ วัดผลและ ดาเนนิ โครงการ ความกา้ วหน้าของ ประเมนิ ผล 3.2 การประเมินระหวา่ ง โครงการ

149 กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ พืน้ ทดี่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ หมาย ดาเนินการ 3.เพ่อื ประเมิน 3.3 การประเมนิ เม่ือเสรจ็ ผลสาเร็จของ โครงการ สนิ้ โครงการ 4. ขัน้ ปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อปรบั ปรุงแก้ไข คณะกรรมการที่ 4 คน กศน.อาเภอ สงิ หาคม - (Action) และพฒั นาการ รับผดิ ชอบฝุาย ทับสะแก 2564 4.1 รวบรวมข้อมลู ดาเนนิ โครงการ รายงานผล วิเคราะหข์ ้อมลู สรุปและ จดั ทารายงานการประเมนิ โครงการ 4.2 ประชมุ คณะทางาน เพ่อื นาขอ้ มูลจากการ ประเมนิ โครงการไปใช้ ปรบั ปรุงแก้ไข และพฒั นา ดาเนนิ โครงการต่อไป 7. วงงบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน : ยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาการศึกษาเพ่ือความยั่งยืน โครงการขับเคลอื่ นการพฒั นาการศึกษาทยี่ ัง่ ยืน กิจกรรมสง่ เสรมิ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน งบรายจ่ายอืน่ เพื่อเปน็ ค่าใชจ้ ่ายโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กิจกรรม 1 อาเภอ 1 อาชพี จานวนเงนิ 43,200 บาท (ส่ีหม่ืนสามพัน สองร้อยบาทถ้วน) 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) 1. วางแผนการจัดโครงการ . รปู แบบชน้ั เรยี น (จานวน 31 ช่วั โมง ขึ้นไป) - 21,600.- 21,600.- - 2. ตดิ ตามผล 3. ประเมินผล 4. การรายงานผล รวม 43,200.-

150 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ 9.1 นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี ครูอาสาสมคั รฯ 9.2 นางสมุ ติ รา สขุ อวบออ่ ง ครูอาสาสมคั รฯ 10. เครือขา่ ย 10.1 องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 10.2 ผ้นู าชุมชน/ภมู ิปญั ญา 11. โครงการท่เี ก่ยี วขอ้ ง 11.1 โครงการการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 11.2 โครงการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 11.3 โครงการการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) ผเู้ รยี นในตาบลทับสะแกและตาบลนาหกู วาง/ตาบลห้วยยางและตาบลแสงอรุณ ทเ่ี ขา้ ฝึกอบรม ได้ฝึก ทกั ษะและนาความรูท้ ่ีได้ไปต่อยอดใหค้ วามรใู้ นชมุ ชนหมบู่ ้านและมองเห็นชอ่ งทางการประกอบอาชีพ หรอื รวมกลมุ่ กนั ประกอบอาชพี ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 13. ตวั ช้วี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนท่ีเข้าอบรม ได้ฝึกทักษะและเข้าสู่อาชีพ ท่ีตนเองถนัดได้อย่าง เหมาะสม 13.1.2 รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ รียน ท่เี ข้าอบรม มีความพงึ พอใจในระดบั มากขนึ้ ไป 13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี นทีเ่ ข้าอบรมไดฝ้ ึกทักษะ และนาความรู้ทไี่ ดไ้ ปต่อยอดใหค้ วามรู้ ในชุมชนมองเหน็ ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ หรอื รวมกลุ่มกนั ประกอบอาชพี ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 14. การติดตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศติดตามผล 14.2 แบบสารวจความพงึ พอใจ

151 1. ช่อื โครงการ : โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวัยและการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ 2.3 สอดคลอ้ งกบั นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. เรยี นร้กู ารใช้ดิจิทัล เพ่อื ใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื สาหรบั หาช่องทางในการสรา้ งอาชีพ 2. จดั ทาหลักสูตรพฒั นาอาชีพที่เหมาะสมสาหรับผูท้ ีเ่ ขา้ สู่สงั คมสูงวยั 2.4 สอดคล้องกับ 12 นโยบายเรง่ ด่วนภารกิจต่อเนอ่ื ง พ.ศ. 2564 12 ภารกิจ “เร่งดว่ น” ทจี่ ะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวกี ุล) “คนสาราญ งานสาเรจ็ ” ข้อ 8 ส่งเสริม สนบั สนุนการฝึกอาชพี เพือ่ การมีงานทา“Re-Skill Up-Skill และออก ใบรับรองความรคู้ วามสามารถ” ข้อ 9 ส่งเสรมิ การมีสว่ นรว่ มกับทุกภาคเี ครือข่ายและภาคเอกชนในการฝึกอาชพี และส่งเสรมิ การตลาด เพ่ือยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์/สินคา้ กศน. ขยายชอ่ งทางการจาหน่าย ภารกิจต่อเน่อื ง 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพ ของแต่ละพ้ืนที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการ พัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มี การกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างเป็นระบบและตอ่ เน่ือง 2.5 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ พันธกิจท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ส่ือ และนวัตกรรม การวจิ ัย การวดั ผลและประเมนิ ผล ให้สอดคล้องกบั บรบิ ทในพนื้ ท่ี พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ พันธกิจที่ 5 ประสานความรว่ มมอื กับภาคีเครือข่ายจดั ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

152 2.6 สอดคลอ้ งกับพันธกจิ ของ กศน.อาเภอทับสะแก พนั ธกจิ ที่ 1 จัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ผเู้ รยี น/ ผู้รบั บริการ ทกุ กลมุ่ ทุกชว่ งวัย มีโอกาสการเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 พนั ธกิจที่ 5 สถานศกึ ษาส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวตั กรรมท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชน พันธกิจท่ี 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 2.7 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานการศึกษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนอื่ ง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจบุ ันภาษาอังกฤษมบี ทบาทสาคัญต่อการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันของมนุษย์มากโดยเฉพาะในปัจจุบัน เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารหรือเรียกว่ายุคโลกาภิวัฒน์การสื่อสารทาให้คนมีความรู้และโลกทัศน์ท่ีกว้างขวาง เพื่อใหค้ นไทยสามารถส่ือสารและเปิดโลกทัศน์การเรียนรู้อย่างกว้างขวางไร้พรมแดน ภาษาอังกฤษเป็นภาษา ที่ใช้ในการทางานของอาเซียนตามท่ีระบุไว้ในกฎบัตรอาเซียนข้อที่ 34 ว่าภาษาท่ีใช้ในการทางานของอาเซียน คือภาษาอังกฤษ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดนโยบายเร่งด่วนในการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ให้แกน่ ักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนท่ัวไปใหส้ ามารถใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพือ่ ส่งเสรมิ สนับสนุนให้คนไทยมคี วามกลา้ และสร้างความคนุ้ เคยในการใช้ภาษาอังกฤษ จากนโยบายดงั กล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัด โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพขึ้น เพ่ือท่ีจะได้นาความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษไปใช้ใน การประกอบอาชพี และใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นได้รับการฝกึ อบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารดา้ นอาชีพ 4.2 เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนมีความรู้พื้นฐานภาษาองั กฤษ มีทกั ษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารด้าน อาชพี และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวติ ได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ ผเู้ รียนในพน้ื ที่อาเภอทับสะแก จานวน 24 คน

153 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ ผเู้ รยี นทเี่ ข้าอบรมได้รับการฝึกและอบรมให้มคี วามรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ และมีทักษะในการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารดา้ นอาชีพ สามารถนาความรูท้ ไี่ ดร้ ับไปประยุกต์ใช้ ในการ ประกอบอาชีพ และดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน 6. วิธีการดาเนินงาน กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พืน้ ที่ ระยะเวลา งบ ดาเนินการ ประมาณ 1. ขน้ั วางแผน - เพื่อขออนุมัตโิ ครงการ - ผ้บู ริหาร 1 เมษายน- (Plan) - เพอ่ื เตรยี มการจดั โครงการ - ครูผชู้ ว่ ย 1 กศน.อาเภอ พฤษภาคม - 1.1 วางแผนปฏบิ ตั งิ าน - เพื่อให้การดาเนนิ งานตาม - ครูอาสาสมัคร 2 ทบั สะแก 1.2 แตง่ ต้งั คณะทางาน โครงการมปี ระสิทธิภาพ - ครู กศน. 6 2563 1.3 จดั ทาโครงการ และขออนุมัตโิ ครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์ โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน - เพอื่ ให้กล่มุ ประชาชนใน 24 คน อบต.หว้ ยยาง เมษายน- 28,800.- พื้นที่ อ.ทับสะแก พฤษภาคม (Do) เปูาหมายมคี วามรู้ ความ อาเภอ จ.ประจวบ 2563 คีรีขันธ์ 2.1 การดาเนินงาน เขา้ ใจเกี่ยวกับภาษาองั กฤษ ทบั สะแก จัดการอบรม เพื่อการส่อื สารดา้ นอาชีพ โครงการ - เพอ่ื ให้กลมุ่ ภาษาอังกฤษเพื่อการ เปูาหมายนาความรู้ในการใช้ สื่อสารด้านอาชีพ ภาษาองั กฤษไปใช้ในการ ให้กับกลุ่มเปูาหมาย ดาเนินชวี ิตประจาวนั ได้ 3. ขั้นตรวจสอบ - ตดิ ตามผลการดาเนินงาน คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ กรกฎาคม - (Check) - รายงานผลการดาเนนิ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ทับสะแก 2564 3.1 การประเมนิ ผล โครงการ ฝุายวัดผลและ ก่อนดาเนินโครงการ ประเมนิ ผล 3.2 การประเมิน ระหว่างดาเนิน โครงการ 3.3 การประเมนิ เมื่อ เสรจ็ ส้นิ โครงการ

154 กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบ ดาเนนิ การ ประมาณ 4. ขน้ั ปรบั ปรุงแกไ้ ข - นาเสนอผลการรายงานต่อ คณะกรรมการ 3 คน ภาคเรียน (Action) ผบู้ ริหาร ทร่ี ับผดิ ชอบ กศน.อาเภอ ถัดไป - 4.1 รวบรวมข้อมลู -นาผลการดาเนนิ งานไป ฝุายรายงานผล ทับสะแก วิเคราะห์ข้อมลู สรุป ปรับปรุงแก้ไขพัฒนา และจัดทารายงานการ ประเมนิ โครงการ 4.2 ประชมุ คณะทางานเพื่อนา ขอ้ มลู จากการประเมิน โครงการไปใชป้ รับปรุง แกไ้ ข และพัฒนา ดาเนนิ โครงการต่อไป 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณจาก แผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตโครงการ ขายโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต กิจกรรมภาองั กฤษเพื่อการส่อื สารด้านอาชีพ งบรายจ่ายอ่ืน โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ จานวนเงิน 28,800 บาท (สองหม่ืนแปดพันแปดร้อยบาท ถว้ น) 8 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กจิ กรรมหลกั (ต.ค.-ธ.ค. (ม.ค.-ม.ี ค. (เม.ย.-ม.ิ ย. (ก.ค.-ก.ย. พ.ศ.2563) พ.ศ. 2564) พ.ศ.2564) พ.ศ.2564) 1. วางแผนการจดั โครงการ 2. ดาเนินการตามแผน อบรมโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการ - - 28,800.- - สื่อสารด้านอาชีพ 3. การติดตามและประเมนิ ผล 4. สรปุ ผลรายงานผลแนวทางการพัฒนา 9. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 9.1 นางสมุ ติ รา สุขอวบอ่อง ตาแหน่ง ครูอาสาสมัคร กศน. 9.2 ครอู าสาสมัครฯ 9.3 ครู กศน.ตาบล 10. เครอื ข่าย 10.1 ผูน้ าชมุ ชนในเขตอาเภอทับสะแก 10.2 องค์การบริหารสว่ นตาบลในเขตอาเภอทับสะแก

155 11. โครงการท่ีเก่ียวข้อง 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ 11.2 โครงการจัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ 12. ผลลัพธ์ (Outcome) ประชาชนท่ีเข้าอบรมได้รบั การฝกึ และอบรมให้มีความรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ และมี ทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ในการ ประกอบอาชีพ และดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ได้ 13. ตวั ชวี้ ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1. ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) 13.1.1 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนท่ีเข้ารว่ มมีความรู้จากการฝกึ อบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ด้านอาชพี 13.1.2 รอ้ ยละ 80 ของผู้เรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากข้ึนไป 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการฝึกและอบรมให้มีความรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือ การสอ่ื สารด้านอาชพี และมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ สามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปประยกุ ตใ์ ช้ ในการประกอบอาชีพ และดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ได้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบนเิ ทศตดิ ตามผล 14..2 แบบสารวจความพงึ พอใจ

156 1. โครงการนิเทศ ติดตามผลการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 2.2 สอดคลอ้ งกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ประจาปีพ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การ 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกิจของสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ พนั ธกิจท่ี 5 จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพ่ือสรา้ งสังคม แหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ พันธกิจท่ี 7 นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานตอ่ เนือ่ งสมา่ เสมอ 2.5 สอดคล้องกบั พนั ธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พนั ธกิจที่ 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้ประชาชน กลุ่มเปาู หมายทกุ กลุ่ม ทุกช่วงวยั มีโอกาสการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื ง พันธกจิ ท่ี 5 พฒั นาสมรรถนะของบุคลากรด้านการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนา้ ที่ 2.6 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ในการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา 1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 2. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง 3. มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. หลักการและเหตผุ ล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ กาหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีนโยบาย ทั้งหมด 6 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาการศึกษาเพ่ือความม่ันคง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม คุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม และยทุ ธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ งานนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอทับสะแก มีภารกิจหลักในการนิเทศติดตามผลประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้สามารถดาเนินงานบรรลุตามนโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน และจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รูปแบบการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู้และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ดังนั้น เพอ่ื ให้การดาเนนิ การนิเทศเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ จึงจัดทาโครงการนิเทศ ติดตามผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข้ึน

157 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่ือนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษาให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงานของสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ปี พ.ศ. 2564 4.2 เพื่อส่งเสรมิ สนับสนุน ให้ครู กศน.และเครอื ขา่ ย จดั การศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานตามระบบ ประกนั คุณภาพ ปรับปรงุ แกไ้ ขการดาเนนิ กจิ กรรม กศน. ให้มปี ระสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน 4.3 เพื่อสรุปผลการนิเทศ ติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษานาเสนอต่อคณะนิเทศ ระดับจงั หวัด นาข้อปรับปรุงแกไ้ ขไปพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็นไป อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ 5.1.1 จานวนหนว่ ยงานท่ไี ดร้ ับการนิเทศ - กศน. ตาบล 6 แหง่ - ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทบั สะแก 1 แห่ง 5.1.2 บคุ ลากร กศน.อาเภอทับสะแก - ผ้บู รหิ าร / ขา้ ราชการครู 2 คน - ครู กศน.ตาบล 6 คน - ครูอาสาสมคั ร กศน. 2 คน - บรรณารกั ษ์อัตราจา้ ง 1 คน - นกั จดั การงานทว่ั ไป 1 คน 5.1.4 เน้อื หาสาระในการนิเทศ ดงั นี้ 1) การจดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 2) การสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ 3) การจัดการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 4) การพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน 5) การประกนั คณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 6) การศึกษาตามอัธยาศยั 7) การสง่ เสริมการเรยี นรู้ของชมุ ชน 8) กิจกรรมโครงการตามนโยบาย 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ สถานศึกษาสามารถดาเนินงานการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายจุดเน้นการ ดาเนินงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรครู กศน. และเครือข่ายจัด การศึกษาเปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ

158 6. วธิ ีดาเนนิ การ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบ กล่มุ เปา้ หมาย (ผลลัพธ)์ ดาเนินการ ประมาณ 11 คน - ศนู ย์ กศน. 1. การวางแผน เพื่อใหก้ าร - ผู้บรหิ าร ตาบล พฤศจิกายน - 11 คน - ห้องสมดุ ดาเนินงาน ดาเนนิ งานเป็นไป - ข้าราชการครู ประชาชน -ธนั วาคม 14 คน - เขยี นโครงการ อยา่ งมี - ครู กศน.ตาบล - กศน.ตาบล 2563 เสนอขออนมุ ัติ ประสิทธิภาพและ - ครอู าสาฯ - ห้องสมดุ - เตรียมข้อมูล เกดิ ประสทิ ธิผล ประชาชน การนเิ ทศ -บรรณารักษ์ - ประสาน กศน. - กศน.อาเภอ เจา้ หน้าทีห่ ้องสมุด ทับสะแก - ห้องสมุด อาเภอเพอื่ ประชาชน - พ้นื ท่ีตาบล กาหนดวนั นิเทศ - จดั ทาหนังสอื แจง้ กาหนดวัน นเิ ทศ 2. ดาเนนิ การ 1. เพ่อื นิเทศ - ผู้บริหาร ไตรมาสท่ี 3,100.- 1-2 นิเทศ ตดิ ตามประเมนิ ผล - ขา้ ราชการครู 2.1 นเิ ทศการจดั รายงานผลการ มกราคม – กิจกรรมการศกึ ษา จัดการ ศกึ ษานอก - ครู กศน.ตาบล มนี าคม ขั้นพนื้ ฐาน / ระบบ และการ - ครอู าสาฯ 2564 การศึกษาต่อเนอ่ื ง ศึกษาตามอัธยาศัย / การศกึ ษาตาม ของสถานศกึ ษาให้ -บรรณารักษ์ ไตรมาสท่ี 3-4 เจา้ หน้าทห่ี ้องสมุด เมษายน – อัธยาศยั เปน็ ไปตาม กันยายน 2564 ยทุ ธศาสตรแ์ ละ มิถนุ ายน 2564 จุดเนน้ การ 2.2 ประชุม ดาเนนิ งานของ - บคุ ลากร กศน. 1,900.- สรปุ ผลการ สานกั งาน กศน. อาเภอทับสะแก ดาเนนิ งานและ ประจาปี 2562 - คณะนิเทศ การนาเสนอผล - เพอื่ รายงานผล สานกั งาน กศน. การนเิ ทศการจัด การนเิ ทศต่อ จงั หวัด กจิ กรรมต่อคณะ สนง. กศน.จงั หวัด ประจวบคีรขี ันธ์ และผ้เู กยี่ วข้อง นิเทศระดับจังหวัด เป็นแนวทางการ พฒั นาและปรับปรุง แก้ไขการ ดาเนนิ งานให้มี ประสทิ ธผิ ลและ ประสทิ ธภิ าพในการ

159 กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบ กลมุ่ เปา้ หมาย (ผลลพั ธ์) ดาเนนิ การ ประมาณ 3. การติดตามและ ปฏบิ ตั ิงาน ประเมินผล - เพ่อื นาผลการ - ผูบ้ ริหาร 11 คน - กศน.ตาบล กรกฎาคม- - นเิ ทศไปใช้ในการ - ขา้ ราชการครู - หอ้ งสมดุ สิงหาคม - สรปุ ผลการ ปรบั ปรุงพฒั นา - ครู กศน.ตาบล ประชาชน 2564 นิเทศและจัดทา คุณภาพกศน. - ครอู าสาฯ เอกสารรายงานผล - เพ่อื นาผลการ -บรรณารักษ์ การนิเทศ นิเทศไปใชใ้ นการ เจา้ หนา้ ทหี่ ้องสมุด ปรับปรงุ และ พัฒนา การนเิ ทศ 7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ แผนงาน : ยุทธศาสตร์สรา้ งความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน งบเงนิ อุดหนุน คา่ ใช้จา่ ยการนิเทศของ กศน.อาเภอ จานวนเงิน 5,000 บาท ( หา้ พันบาทถ้วน ) ดังนี้ 1. คา่ ใชจ้ า่ ยในการนเิ ทศการจดั กจิ กรรม - คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ (เบ้ยี เลยี้ งและคา่ น้ามนั เชือ้ เพลิง) เปน็ เงนิ 2,500 บาท - ค่าถ่ายเอกสาร เข้าเล่มและค่าวสั ดุอื่น ๆ เป็นเงนิ 600 บาท รวมเปน็ เงิน 3,100 บาท 2. ค่าใชจ้ า่ ยการประชุมสรปุ ผลการนิเทศ และนาเสนอผลการนิเทศ - คา่ อาหารกลางวัน 19 คน 1 มอื้ ม้ือละ 80 บาท เปน็ เงิน 1,520 บาท - ค่าอาหารวา่ ง 19 คน 1 ม้ือ ม้ือละ 20 บาท เปน็ เงิน 380 บาท รวมเปน็ เงิน 1,900 บาท รวมท้ังสิน้ 5,000 บาท หมายเหตุ ทกุ รายการถวั เฉล่ยี จา่ ยตามจรงิ

160 8. แผนการเบิกจ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค.-ธ.ค. 63 ม.ค.-มี.ค. 64 เม.ย.-ม.ิ ย. 64 ก.ค.-ก.ย. 64 ที่ กจิ กรรมหลัก - - - - 1 การวางแผนดาเนนิ งาน 2 ดาเนินการนเิ ทศ - - 3,100.- 2.1 นเิ ทศการจดั กิจกรรม 1,900.- การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน / การศึกษาต่อเนือ่ ง / -- การศึกษาตามอธั ยาศยั 2.2 ประชมุ สรปุ ผลการ ดาเนินงานและการนาเสนอ ผลการนเิ ทศการจัดกิจกรรม ต่อคณะนเิ ทศระดบั จังหวดั 3 การติดตามและประเมินผล 9. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ 9.1 นายสุรพงษ์ อนนั ต์ธนสาร ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วย 9.2 นางสาวภิชชากร ชรู ัตน์ ตาแหน่ง ครูผูช้ ่วย 9.3 นางสาวสมุ ติ รา สขุ อวบอ่อง ตาแหนง่ ครูอาสาสมัคร กศน. 9.4 นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี ตาแหน่ง ครูอาสาสมคั ร กศน. 10. เครือข่าย 10.1 หน่วยศึกษานเิ ทศก์ สานกั งาน กศน. 10.2 สานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 10.3 ภาคเี ครือขา่ ย 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง 11.1 โครงการนิเทศภายใน 11.2 โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 12. ผลลพั ธ(์ Outcome) สถานศึกษาสามารถดาเนินงานการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายจุดเน้นการดาเนินงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรครู กศน. และเครือข่ายจัดการศึกษาเป็นไป ตามมาตรฐานการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ 13. ตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต(Output) 13.1.1 กศน.ตาบล จานวน 6 แห่ง ห้องสมดุ ประชาชน 1 แห่ง ไดร้ บั การนเิ ทศ 13.1.2 ครู กศน.ตาบล และครูอาสาสมัคร กศน. ได้รบั การนิเทศในการดาเนนิ งาน

161 13.1.3 ร้อยละ 80 ของผู้รับการนิเทศมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนนิ งานของสานักงาน กศน. ปี 2564 13.1.4 รอ้ ยละ 80 ของผรู้ ับการนิเทศมีความพงึ พอใจต่อการนิเทศในระดับมากขึ้นไป 13.2 ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ(์ Outcome) 13.2.1. ร้อยละ 80 สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นไปตามนโยบายของ สานักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2564 ผู้รับการนิเทศสามารถนาข้อเสนอแนะไปใช้ใน การพัฒนาและปรบั ปรุงการดาเนินงาน ใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 14. การติดตามผลและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 14.1 การรายงานผลการนิเทศ

162 1. โครงการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาเพ่ือรองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 2.2 สอดคล้องกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปพี .ศ.2564 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ 2.4 สอดคล้องกบั พนั ธกจิ ของสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ พนั ธกจิ ท่ี 5 จัดและสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อสร้างสงั คม แห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ พนั ธกิจที่ 7 นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านต่อเน่อื งสมา่ เสมอ 2.5 สอดคล้องกบั พันธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก พันธกจิ ท่ี 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ประชาชน กลุม่ เปาู หมายทกุ กลุ่ม ทุกช่วงวัย มีโอกาสการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง พันธกจิ ที่ 5 พฒั นาสมรรถนะของบุคลากรดา้ นการปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่ 2.6 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในการประเมิน คุณภาพการศกึ ษา 1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 2. มาตรฐานการศึกษาต่อเน่อื ง 3. มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. หลักการและเหตุผล ด้วยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษา มาตรา 48 บัญญตั ิไว้ว่า “ให้หน่วยงานต้นสงั กัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ เก่ียวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ การประกันคุณภาพภายนอก” การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา เพราะเป็นระบบท่ีสร้างความม่ันใจให้ท้ังผู้บริหาร ครูและบุคลากรของสถานศึกษา ตลอดจน ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมเชื่อมั่นได้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพมาตรฐานอย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้สาเร็จการศึกษาต้องมีความรู้ความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตร กาหนดและสังคมต้องการ ดังนั้นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้ จดั ทาโครงการนขี้ น้ึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความต่อเน่ืองและเป็นการสนองนโยบายดังกลา่ ว

163 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพื่อตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษา 4.2 เพื่อนาผลการประเมินมาจัดทาข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และนามาใชใ้ นการตัดสินใจวางแผนพฒั นา และปรบั ปรงุ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 4.3 เพ่ือรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ สาธารณชน 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ 5.1.1 บุคลากร กศน.อาเภอทับสะแก จานวน 14 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้รบั การพฒั นาคุณภาพการศึกษาเต็มตามศักยภาพ 5.2.2 บุคลากร กศน.อาเภอทับสะแก มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติกิจกรรมใน กระบวนการพฒั นาการศกึ ษา ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนด 6. วิธดี าเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ ประเภท เป้าหมาย พ้นื ท่ี ระยะเวลา งบ กลุม่ เป้าหมาย (ผลลัพธ)์ ดาเนนิ การ ประมาณ 1. การวางแผน เพอ่ื ใหก้ าร บุคลากร กศน. 13 คน พฤศจิกายน อาเภอทับสะแก กศน.อาเภอ 2563 - 13 คน ทบั สะแก ดาเนินงาน ดาเนินงานเป็นไป บคุ ลากร กศน. อาเภอทับสะแก 13 คน - เขียนโครงการ อย่างมี บคุ ลากร กศน. เสนอขออนมุ ัติ ประสทิ ธภิ าพและ อาเภอทับสะแก - เตรยี มข้อมูล เกิดประสิทธผิ ล 2. ดาเนินการ เพอ่ื ให้การ กศน.อาเภอ พฤศจิกายน 8,000.- ทบั สะแก 2563 ประชุมบคุ ลากร ดาเนนิ งานการ กนั ยายน 2564 2.1 แต่งตั้ง จดั ทารายงานการ คณะทางานจดั ทา ประเมนิ ตนเองของ รายงานประจาปี สถานศกึ ษาเปน็ ไป 2.2. จดั ทารายงาน อยา่ งมี ประจาปี (SAR) ประสทิ ธภิ าพและ เกิดประสทิ ธิผล 3. การติดตามและ - เพือ่ นาผลการ กศน.อาเภอ กันยายน - ทบั สะแก 2564 ประเมนิ ผล ประเมนิ ตนเองไป - รายงานผลการ ใช้ในการปรับปรุง ประเมนิ ตนเอง พัฒนา SAR คณุ ภาพกศน.

164 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตัง้ แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบ เงินอดุ หนนุ ค่าใชจ้ า่ ยการนเิ ทศของ กศน.อาเภอ จานวนเงนิ 8,000 บาท ( แปดพนั บาทถว้ น ) ดงั น้ี 8. แผนการเบิกจา่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ท่ี กิจกรรมหลัก ต.ค.-ธ.ค. 63 ม.ค.-มี.ค. 64 เม.ย.-มิ.ย. 64 ก.ค.-ก.ย. 64 1 การวางแผนดาเนนิ งาน - - - - 2 2. ดาเนินการประชมุ บุคลากร - - 8,000.- 2.1 แตง่ ตั้งคณะทางานจดั ทา รายงานประจาปี -- 2.2. จัดทารายงานประจาปี (SAR) 3 การติดตามและประเมินผล 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นายสุรพงษ์ อนนั ตธ์ นสาร ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย 10. เครือข่าย 10.1 สานกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ 10.2 ภาคเี ครือข่าย 11. โครงการที่เกีย่ วข้อง 11.1 โครงการนิเทศภายใน 11.2 โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 12. ผลลพั ธ์(Outcome) ผู้เรียน/ผู้รับบริการ ได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเต็มตามศักยภาพ และบุคลากร กศน. อาเภอทับสะแก มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติกิจกรรมในกระบวนการพัฒนาการศึกษา ได้ตามเกณฑ์ มาตรฐานที่กาหนด 13. ตัวช้ีวดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวัดผลผลติ 13.1.1 จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ 13.1.2 บคุ ลากร กศน.อาเภอทบั สะแก รอ้ ยละ 80 ทเี่ ขา้ ร่วมโครงการ มคี วามรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัตกิ จิ กรรมในกระบวนการพฒั นาการศกึ ษา ไดต้ ามเกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนด

165 13.2 ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ์ 13.2.1 รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าโครงการ สามารถปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมในกระบวนการพฒั นา การศกึ ษา ได้ตามเกณฑม์ าตรฐานที่กาหนด 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 การรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

166 1. โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2.2 สอดคล้องกบั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา 2.3 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ประจาปพี .ศ. 2564 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการ 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกิจของสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ พนั ธกจิ ที่ 5 จดั และสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อสรา้ งสงั คม แห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 2.5 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจ ข้อท่ี 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียน/ ผรู้ ับบรกิ ารทุกกลุ่ม ทุกช่วงวยั มีโอกาสการเรียนรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งอยา่ งท่วั ถึงและมีคุณภาพ พันธกิจ ข้อที่ 7 พฒั นาสมรรถนะของบคุ ลากรดา้ นการปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าที่ 2.6 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ในการประเมิน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มาตรฐานการศกึ ษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้เู รียนการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรียนรูก้ ารศึกษาตอ่ เนอื่ ง มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผ้รู บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3. หลกั การและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2545 และแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 มาตราท่ี 8 การจัดการศึกษาการจัดการศึกษาให้ยึดหลัก (1) เป็น การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน (2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา (3) การพัฒนาสาระและ กระบวนการเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ ไปอย่างต่อเน่อื ง ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย พ.ศ.2551 มาตราท่ี 19 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งมีคณะกรรมการสถานศึกษาตามจานวนคุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารไดม้ าของประธานและกรรมการ การดารงตาแหนง่ และการพ้นตาแหน่งตามที่คณะกรรมการ

167 ประกาศกาหนด และอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ตามประกาศคณะกรรมการส งเสริม สนบั สนนุ และประสานความรว่ มมือการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มีหน้าท่ีให้คาปรึกษา และพจิ ารณาให้ขอ้ เสนอแนะแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา, ส่งเสริมให้มีการระดมทุนทางสังคมให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา, ตดิ ตามและเสนอแนะผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา นั้น เพื่อให้การบริหารจัดการศึกษา ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก เป็นไปโดยการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศกึ ษาในการให้คาปรึกษาและรว่ มพจิ ารณา ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัดทาโครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ขนึ้ 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพอ่ื สรา้ งความรว่ มมอื กบั เครอื ข่ายในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4.2 เพ่อื สง่ เสรมิ ให้คณะกรรมการสถานศึกษา มสี ่วนร่วมในการให้คาปรึกษาและพิจารณา แผนปฏิบัติการประจาปี โครงการ/กจิ กรรมของสถานศกึ ษา 5. เป้าหมาย 5.1.เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 บคุ ลากรทีเ่ ข้าร่วมประชมุ จานวน 29 คน ประกอบด้วย - คณะกรรมการสถานศึกษา จานวน 8 คน - ผู้บริหาร/ขา้ ราชการครู จานวน 3 คน - ครูอาสาสมคั ร กศน. จานวน 2 คน - ครู กศน.ตาบล จานวน 6 คน - นักจัดการงานท่ัวไป จานวน 1 คน - บรรณารกั ษ์อัตราจา้ ง จานวน 1 คน - องคก์ รนักศึกษา จานวน 8 คน 5.1.2 จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคเรียนละ 1 ครั้ง จานวน 2 ภาคเรียน 5.2.เชงิ คณุ ภาพ คณะกรรมการสถานศึกษาของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอทับสะแก มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และการดาเนินงานจัดการศึกษาของ สถานศึกษา กศน.อาเภอ ทับสะแก ได้รับข้อเสนอแนะแนวและแนวทางการพัฒนาในการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจากคณะกรรมการสถานศึกษา

168 6. วิธีดาเนนิ การ กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ ประเภท เป้าหมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ กลุ่มเปา้ หมาย (ผลลัพธ)์ ดาเนนิ การ ประมาณ 1. ประชุมวางแผน - เพอ่ื กาหนดวนั เวลาใน บคุ ลากร กศน. 13 คน พฤศจิกายน อาเภอทบั สะแก กศน.อาเภอ 2563 - 13 คน ทบั สะแก การดาเนนิ งาน การจัดประชุม/ประสาน บคุ ลากร กศน. 1 คน อาเภอทบั สะแก คณะกรรมการ 13 คน งานกรรมการ 29 คน สถานศกึ ษาและภาคี สถานศกึ ษา เครอื ข่าย บคุ ลากร กศน. อาเภอทบั สะแก 2. ออกแบบการ -เพอ่ื เตรียมรายละเอียด กศน.อาเภอ ธนั วาคม - คณะกรรมการ ทับสะแก 2563 - จัดทาโครงการ วธิ กี ารในการดาเนินการ สถานศกึ ษา และ บุคลากร กศน. กศน.อาเภอ ธนั วาคม ประชมุ อาเภอทบั สะแก ทบั สะแก 2563 3.จัดทาโครงการ -เพอ่ื กาหนด และเสนอขอ วตั ถปุ ระสงค์,เปาู หมาย, อนมุ ัติ วิธีดาเนนิ การ, งบประมาณ,ประเมินผล 4.ประชมุ -เพอ่ื คณะทางานแตล่ ะ กศน.อาเภอ ธันวาคม - ทับสะแก 2563 คณะทางาน ฝุายเตรียมการในการ จดั ประชมุ 5.โครงการประชุม -เพอ่ื การมสี ่วนร่วมของ กศน.อาเภอ คร้ังท่ี 1 6,000.- ทับสะแก มกราคม คณะกรรมการ คณะกรรมการ 2564 ครงั้ ที่ 2 สถานศึกษา สถานศึกษาและ มถิ ุนายน 2564 บุคลากร กศน.อาเภอ ทบั สะแก ในการจดั การศึกษานอกระบบ กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบ กลุม่ เป้าหมาย (ผลลพั ธ์) ดาเนินการ ประมาณ 13 คน กศน.อาเภอ 25 6.ป ร ะ เ มิ น ผ ล -เพื่อประเมินผลการจัด บุคลากร กศน. มิถนุ ายน - 1 คน ทับสะแก 2563 โครงการ ประชมุ และประเมนิ อาเภอทบั สะแก ความพึงพอใจบคุ ลากร ในการเข้ารว่ มประชมุ 7. ส รุ ป ผ ล แ ล ะ -เพ่อื สรุปผลการจัด ผู้ชว่ ยเลขานุการ กศน.อาเภอ มิถุนายน - ทบั สะแก 2564 รายงานผล อบรมและรายงานผล คณะกรรมการ ผบู้ ังคับบญั ชาตามลาดับ สถานศกึ ษา ขัน้

169 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน งบเงนิ อุดหนนุ จานวนเงนิ 6,000 บาท ( หกพันบาทถ้วน ) มดี งั น้ี 7.1 การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา ครัง้ ท่ี 1/2564 เปน็ เงิน 3,000 บาท 7.2 การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครง้ั ท่ี 2/2564 เป็นเงิน 3,000 บาท รวมทั้งส้นิ 6,000 บาท หมายเหตุ ทกุ รายการถวั เฉล่ียจา่ ยตามจรงิ 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 4 (ม.ค.-ม.ี ค.2564) (เม.ย.-มิ.ย.2564) (ก.ค.-ก.ย.2564) (ต.ค.-ธ.ค.2563) 3,000.- 3,000.- - ประชุมคณะกรรมการ - สถานศึกษาและภาคี เครือข่าย 9. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นายสุรพงษ์ อนนั ต์ธนสาร ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย 10. เครอื ขา่ ย 10.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 10.2 สาธารณสุขอาเภอทับสะแก 10.3 สถานีตารวจภธู รอาเภอทบั สะแก 10.4 สหกรณเ์ ครดิตยูเนย่ี นพุตะแบก 11. โครงการทเี่ กยี่ วข้อง โครงการจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 12. ผลลพั ธ์ คณะกรรมการสถานศึกษาของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทบั สะแก มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีและการดาเนินงานจัดการศึกษาของสถานศึกษา กศน.อาเภอทับสะแก ได้รับข้อเสนอแนะแนวและแนวทางการพัฒนาในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจากคณะกรรมการสถานศึกษา และให้ความเห็นชอบการประเมินความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนเพ่ือ เฝาู ระวังและปูองกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

170 13. ดชั นชี ้วี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 รอ้ ยละ 80 ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา และบุคลากรเข้ารว่ มประชุม คณะกรรมการสถานศึกษา 13.1.2 สถานศกึ ษาจัดประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 คร้งั จานวน 2 คร้งั : ปี 13.1.3 รอ้ ยละ 80 ของคณะกรรมการสถานศึกษาและบุคลากรท่ีเข้าร่วมประชุม มีความพึง พอใจอยูใ่ นระดับดมี ากขึน้ ไป 13.2 ตวั ชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของคณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ี และการดาเนนิ งานจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา มสี ว่ นร่วมในการใหค้ าปรึกษาและให้ความเห็นชอบการจัดทา แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถามความพงึ พอใจ

171 1. โครงการประเมนิ เทียบระดบั การศกึ ษา 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม 2.2 สอดคล้องกบั แผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 2.3 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปพี .ศ.2564 ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2.4 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ พันธกิจที่ 5 จดั และสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพื่อสร้างสงั คม แหง่ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 2.5 สอดคล้องกบั พันธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก พันธกิจท่ี 1 จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ประชาชน กลุม่ เปาู หมายทุกกลุ่ม ทุกช่วงวยั มีโอกาสการเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื ง 2.6 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ในการประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐานทเ่ี นน้ ผ้เู รียน เปน็ สาคัญ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา 3. หลกั การและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายต้องการยกระดับการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่กลุ่ม ประชาชนวัยแรงงานท่ียังไม่จบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงาน กศน.ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ ดังกล่าว จงึ จดั ใหม้ ีการเทียบระดบั การศึกษา ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารเรยี นอกี รปู แบบหนึ่งของ กศน. ท่ีสามารถตอบสนองนโยบาย ไดอ้ ย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ เพราะการดาเนินงานประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นการนาแนวคิด ของการยอมรับความรู้และประสบการณ์ท่ีมีมาก่อนมาประยุกต์ใช้ (Recognition of Prior Learning Assessment) โดยประเมินเพ่ือให้ได้รับการรับรองวุฒิการศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และหรือระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใชว้ ิธกี ารประเมนิ ท่ีหลากหลายประกอบกัน ซ่ึงการให้คุณค่า ของผลการเรยี นรทู้ เ่ี กิดขนึ้ จากวถิ ชี วี ติ จากประสบการณท์ างอาชีพ การฝึกอบรม การทางาน การให้คุณค่าของ ผลการเรียนรู้ดังกล่าวจะกระตุ้นและสนับสนุนให้ประชาชนรักการเรียนรู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเน่ืองซึ่งเป็น คุณลกั ษณะทีส่ าคญั ของประชาชนทีป่ ระเทศต้องการ

172 หลักการของการเทียบระดับการศึกษา คือ เป็นการยกระดับการศึกษาของกลุ่มเปูาหมายที่มีความรู้ และประสบการณ์ในอาชีพให้สูงขึ้น ในขณะเดียวกันยังเป็นการยอมรับคุณค่าของผลการเรียนรู้ที่เกิดจาก การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนการประกอบอาชีพ โดยมุ่งเน้น คุณธรรม จรยิ ธรรมที่เป็นองค์รวมของบุคคล และเป็นการสง่ เสริมใหบ้ คุ คลมีการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต จากรูปแบบเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณธรรม จริยธรรม ได้รับการรับรองคุณวุฒิทางการศึกษา นอกจากนี้การเทียบระดับยังมีขึ้นเพ่ือสร้าง แรงจงู ใจให้บคุ คลทั่วไป มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการท่ีจะแสวงหาความรเู้ พิ่มทักษะและส่ังสมประสบการณ์อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต และสุดท้ายคือ เพื่อตอบสนองความต้องการ การยอมรับความรู้ และประสบการณ์ของผู้ เข้ารบั การประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา ซึง่ จะทาใหค้ วามมนั่ ใจในตนเอง มัน่ ใจในสถานภาพทางสังคม เหตผุ ลดังกลา่ ว ศูนยป์ ระเมินเทียบระดับการศึกษา กศน.อาเภอทับสะแก จึงจัดให้มีโครงการประเมิน เทยี บระดบั การศึกษา เพอื่ ยกระดบั การศึกษาและพฒั นาคุณภาพชีวิตให้แก่กลุ่มประชาชนวัยแรงงานที่ยังไม่จบ ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของตนเองต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่อื เปดิ โอกาสให้ผู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และคุณธรรม จริยธรรม ได้รับการ รับรองคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา 4.2 เพื่อตอบสนองความต้องการ การยอมรับความรู้ และประสบการณ์ของผู้เข้ารับการประเมิน เทียบระดบั การศึกษา 5. เป้าหมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ - ผู้เข้ารบั การประเมนิ เทียบระดบั การศึกษา ภาคเรียนที่ 2/2563 จานวน 2 คน - ผเู้ ข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ภาคเรยี นที่ 1/2564 จานวน 3 คน - คณะทางาน จานวน 7 คน 5.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ผู้เข้ารับการประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา ไดร้ ับการรบั รองคุณวุฒิ การศึกษาและสร้างแรงจูงใจให้มีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ เพ่ิมทักษะและสั่งสมประสบการณ์ อยา่ งตอ่ เน่ือง ได้รับการยอมรับความรูแ้ ละประสบการณ์ ทาให้มนั่ ใจในตนเองและสถานภาพทางสงั คม 6. วธิ ดี าเนินการ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ ประเภท เปูาหมาย พ้ืนที่ ระยะเวลา งบ กลุม่ เปาู หมาย (ผลลัพธ)์ ดาเนินการ ประมาณ 1. เตรยี มการ - เพอ่ื ทราบความ -ผู้บรหิ าร จานวน กศน.อาเภอ พฤศจิกายน - สารวจสภาพ/ ต้องการปัญหา -บคุ ลากร 11 คน ทับสะแก 2563 - ปญั หาความ ความต้องการ ผรู้ บั ผิดชอบ ตอ้ งการพฒั นา พัฒนาและเรียน การประเมนิ

173 กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ ประเภท เปูาหมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบ กลุ่มเปาู หมาย (ผลลพั ธ์) ดาเนนิ การ ประมาณ และเรยี นเรยี นรู้ผู้ เรยี นรผู้ ู้เขา้ รับการ เทยี บระดบั จานวน 11 คน เขา้ รบั การประเมนิ ประเมนิ เทียบระดับ การศึกษา จานวน เทียบระดับ การศกึ ษา 5 คน การศกึ ษา จานวน 5 คน - ประชุมวางแผน - เพอ่ื กาหนด จานวน คณะทางาน ขอบข่ายการทางาน 5 คน นักศึกษา 2. ดาเนนิ การ - เพื่อเชิญชวน - บคุ ลากร จานวน พ้ืนท่ีอาเภอ พฤศจิกายน - 5 คน ทับสะแก 2563 และ - ประชาสัมพันธ์ บคุ คลท่ัวไปทสี่ นใจ กศน.อาเภอ บุคลากรครู เมษายน 7 คน โครงการและรบั สมคั รเข้าโครงการ ทบั สะแก 2564 สมัครนักศึกษา การประเมนิ เทียบ ดาเนนิ การจัด ระดบั การศกึ ษา กิจกรรม 2.1 โครงการ - เพื่อชี้แจงใหผ้ เู้ ข้า - ผู้เรียนเทยี บ กศน.อาเภอ ธนั วาคม - ทับสะแก 2563 และ ปฐมนิเทศ โครงการเข้าใจ ระดบั พฤษภาคม - - นักศกึ ษาเทยี บ ระบบการเรียน การศึกษา 2564 - ระดับการศกึ ษา แบบเทยี บระดับ การศึกษา 2.2 การประเมนิ -เพื่อให้ความรู้แก่ - ผเู้ รยี นเทียบ พืน้ ท่ีอาเภอ มนี าคม ทบั สะแก และ มติ ิประสบการณ์ ผู้เข้ารว่ มโครงการ ระดับ สิงหาคม โรงเรียน 2564 ในด้านมติ ิ การศกึ ษา เทศบาลวัด ธรรมิการาม เมษายน ประสบการณ์ พน้ื ที่อาเภอ และ ทบั สะแก 2.3 การประเมิน -เพ่อื วัดผล - ผูเ้ รยี นเทยี บ กนั ยายน 2564 มิติความรู้ ประเมินผลดา้ นมิติ ระดับ ความคดิ ความรู้ ความคดิ การศกึ ษา 2.4 โครงการ - เพื่อใหผ้ ู้ผา่ นการ ผู้ผ่านการ สมั มนาก่อนจบ ประเมนิ เทยี บระดบั ประเมินเทียบ ตามหลกั สูตรการ การศกึ ษาไดพ้ ัฒนา ระดบั ประเมินเทียบ ศักยภาพของ การศกึ ษา ระดับการศึกษา ตนเอง - เพ่อื ใหผ้ ้ผู า่ นการ ประเมนิ เทยี บระดบั

174 กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ ประเภท เปาู หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบ กลมุ่ เปาู หมาย (ผลลัพธ์) ดาเนินการ ประมาณ การศกึ ษาได้ กศน.อาเภอ ทบั สะแก แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ประสบการณ์และ เสริมสรา้ งความ สัมพันธซ์ ง่ึ กันและ กนั - เพือ่ ให้ผู้เขา้ อบรม สามารถนาความรู้ท่ี ได้รับไปประยุกต์ใช้ แก่ตนเอง และ องค์กร 3.การติดตามและ - เพอ่ื ติดตามและ -ผรู้ ับผดิ ชอบ ผผู้ ่านการ เมษายน - และ ประเมนิ ผล รายงานผลการ โครงการ ประเมินฯ กันยายน ดาเนนิ งาน 2564 4.สรปุ ผลการ - เพื่อสรุปผลการ -ผู้รับ ผิด ช อ บ 2 คน กศน.อาเภอ ตุลาคม - ดาเนินงาน ด า เ นิ น ก า ร ต า ม โครงการ 2 คน ทบั สะแก 2564 - วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ม า 5.รายงานผลการ ปรับปรุงแก้ไขงาน กศน.อาเภอ ตุลาคม ดาเนินการ และพัฒนางานครั้ง ทบั สะแก 2564 ต่อไป - เพ่ือรายงานผล -สนง.กศน. การดาเนินงานให้ จงั หวัด ห น่ ว ย ง า น ท่ี ประจวบฯ เก่ียวข้องทราบและ -กศน.อาเภอ เพ่อื ประชาสมั พนั ธ์ ทับสะแก

175 7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ จากเงินนอกงบประมาณ เงินรายได้สถานศึกษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอทบั สะแก จานวนเงนิ 15,760 ( หน่ึงหม่นื หา้ พันเจ็ดร้อยหกสบิ บาทถ้วน) เปน็ คา่ ใชจ้ ่าย ดงั น้ี 7.1 การประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา ครัง้ ที่ 2/2563 7.1.1 การประเมนิ เทียบระดับการศึกษา (มิติประสบการณ์ : การประเมินเชงิ ประจักษ)์ - คา่ กรรมการประเมนิ แฟมู 3 คน X 550 บาท X 2 คน = 3,300 บาท - ค่าเบ้ยี เลย้ี งบุคลากร กศน. 3 คน X 120 บาท X 1 วนั = 360 บาท - ค่าพาหนะ = 300 บาท รวมเปน็ เงนิ 3,960 บาท 7.1.2 การประเมนิ เทยี บระดบั การศกึ ษา (สัมมนาก่อนจบตามหลกั สูตรการประเมนิ เทียบ ระดับการศกึ ษา) แบ่งเป็นค่าใช้จา่ ยของคณะดาเนนิ งาน - ค่าอาหารกลางวนั จานวน 3 มอื้ ๆ ละ 70 บาท จานวน 7 คน เป็นเงิน 1,470 บาท - ค่าอาหารเย็น จานวน 2 ม้อื ๆ ละ 70 บาท จานวน 7 คน เปน็ เงนิ 980 บาท - ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื จานวน 6 มื้อๆ ละ 35 จานวน 7 คน เป็นเงนิ 1,470 บาท รวมเป็นเงนิ 3,920 บาท 7.2 การประเมินเทียบระดบั การศกึ ษา ครั้งที่ 1/2563 7.2.1 การประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา (มิตปิ ระสบการณ์ : การประเมนิ เชิงประจักษ์) - ค่ากรรมการประเมินแฟมู 3 คน X 550 บาท X 2 คน = 3,300 บาท - คา่ เบี้ยเลย้ี งบคุ ลากร กศน. 3 คน X 120 บาท X 1 วัน = 360 บาท - คา่ พาหนะ = 300 บาท รวมเปน็ เงิน 3,960 บาท 7.2.2 การประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา (สัมมนาก่อนจบตามหลักสตู รการประเมินเทยี บ ระดบั การศกึ ษา) แบ่งเปน็ คา่ ใช้จ่ายของคณะดาเนนิ งาน - ค่าอาหารกลางวัน จานวน 3 มอ้ื ๆ ละ 70 บาท จานวน 7 คน เป็นเงนิ 1,470 บาท - ค่าอาหารเย็น จานวน 2 ม้อื ๆ ละ 70 บาท จานวน 7 คน เป็นเงิน 980 บาท - ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดมื่ จานวน 6 มื้อๆ ละ 35 จานวน 7 คน เป็นเงิน 1,470 บาท รวมเป็นเงิน 3,920 บาท รวมเปน็ เงินทั้งสนิ้ 15,760 บาท หมายเหตุ คา่ ใช้จ่ายทุกรายการขอถัวจา่ ยตามรายการทีจ่ ่ายจริง

176 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ท่ี กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ม.ค.-มี.ค. 63 เม.ย.-ม.ิ ย. 63 ก.ค.-ก.ย. 63 ต.ค.-ธ.ค. 62 - - - 1 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา - เทียบระดับการศึกษา - 7,880.- - 7,880.- 2 โครงการประเมนิ มิติ - - - .- ประสบการณ์และประเมินมิติ ความรู้ ความคิด โครงการสัมมนาก่อนจบตาม 3 หลักสูตรการประเมินเทียบ ระดบั 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นายสุรพงษ์ อนนั ต์ธนสาร ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย นายบุญทิพย์ สอนงา่ ย ตาแหน่ง ครกู ศน.ตาบล 10. เครือขา่ ย 10.1 องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ 10.2 ภูมปิ ญั ญา 11. โครงการทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง 11.1 โครงการจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 11.2 โครงการจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง 12. ผลลัพธ์ ผ้เู ขา้ รบั การประเมนิ เทยี บระดับการศกึ ษา ไดร้ ับการรับรองคุณวุฒิการศึกษาและสร้างแรงจูงใจให้มี ความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ เพิ่มทักษะและส่ังสมประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง ได้รับการยอมรั บ ความรู้และประสบการณ์ ทาใหม้ ่นั ใจในตนเองและสถานภาพทางสงั คม 13. ดัชนีชว้ี ัดความสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชี้วดั ผลผลติ 13.1.1 ผู้เข้ารบั การประเมินเทยี บระดับการศึกษา 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา ผ่านการประเมินเทียบ ระดบั การศึกษา 13.1.3 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษา มีความพึงพอใจต่อ โครงการประเมินเทียบระดับการศกึ ษาอยู่ในระดบั มากขน้ึ ไป

177 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผู้ประเมินเทียบระดับการศึกษา ได้รับการรับรองคุณวุฒิการศึกษา และสร้างแรงจูงใจให้มีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ เพิ่มทักษะและส่ังสมประสบการณ์อย่าง ต่อเนอ่ื ง ได้รับการยอมรับความรแู้ ละประสบการณ์ ทาใหม้ ่นั ใจในตนเองและสถานภาพทางสังคม 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 การเข้าร่วมกจิ กรรมของผู้รับการประเมิน 14.2 แบบสอบสารวจความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม 14.3 สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ ม/การฝกึ ปฏิบัติและเรยี นรสู้ ่งิ ต่างๆ จากกิจกรรม

178 1. โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแหง่ ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.2 การเรียนรู้ตลอดชีวิต : พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากร กระทรวงศึกษาธิการให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีคุณภาพ โดยจัดให้ มศี นู ยพ์ ฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรระดบั จังหวดั ท่ัวประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 ยทุ ธศาสตรก์ ารปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ : พฒั นาระบบ การบริหารจัดการและพฒั นากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการให้สอดคล้องกบั การปฏริ ูป 2.4 สอดคล้องกบั พนั ธกิจของสานักงาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขนั ธ์ พันธกิจท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจัดกระบวนการเรียน การสอน และการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี 2.5 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก พันธกิจ ข้อที่ 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียน/ ผู้รับบรกิ ารทกุ กลุ่ม ทุกช่วงวัย มโี อกาสการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และพันธกิจ ข้อที่ 7 พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรดา้ นการปฏิบัตงิ านตามบทบาทหน้าที่ 2.6 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในการประเมินคณุ ภาพ การศึกษา มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3. หลกั การและเหตุผล ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 มาตรา 15 การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเง่ือนไขสาคัญของการ สาเร็จการศึกษา โดยเน้อื หาและหลกั สตู รจะตอ้ งมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ ของบุคคลแต่ละกลุ่ม ประกอบกับพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรา 7 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบให้ดาเนินการเพ่ือให้ประชาชนได้รับ

179 การศึกษาอยา่ งต่อเนื่องเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพกาลังคนและสังคม ทใี่ ชค้ วามรแู้ ละภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ท้งั ด้านเศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม ความม่ันคงและคุณภาพชวี ติ ตามหลกั การหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็น หลักสูตรท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรียน และการจัดการเรียนรู้โดยเน้นการบูรณาการ เนื้อหาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความแตกต่างของบุคคล ชุมชน และสังคม ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและ เรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ โดยตระหนกั ว่าผู้เรียนมีความสาคญั สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ และภารกิจหลักในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เน้นให้ผู้รับบริการได้รับ ความรู้และทักษะพ้ืนฐานในการแสวงหาความรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต สอดคล้องกับความสนใจและ ความจาเปน็ ในการยกระดับคุณภาพชีวิต และสามารถนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้ น้นั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก มีการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีการส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพ่ือการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยดาเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคง ของชาติจัด ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถ่ิน พัฒนาครู และบุคลากรทางการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยข้ึน เพื่อให้บุคลากร สามารถดาเนนิ การตามเปาู หมายทกี่ าหนดไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากร กศน.อาเภอทบั สะแก เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงานด้านการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีประสิทธิภาพ และนา ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปพัฒนาตนเองและหน่วยงานได้ 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากร กศน.อาเภอทับสะแก นาองค์ความรู้ท่ีได้รับไปปรับเปล่ียน พฤติกรรมในการทางานเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป 5. เป้าหมาย 5.1 เปูาหมายเชิงปริมาณ - บคุ ลากร กศน.อาเภอทบั สะแก จานวน 13 คน 5.2 เปาู หมายเชงิ คณุ ภาพ บุคลากร กศน.อาเภอทับสะแก เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้การปฏิบัติงานด้านการจัด การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีประสิทธิภาพ และนา ความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนา ตนเองและหน่วยงานได้ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการทางานเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพ ของการจัดการศกึ ษานอก ระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานและการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้ 6. วิธีการดาเนนิ งาน กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ ประเภท เปูาหมาย พน้ื ที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา งบ กลุ่มเปูาหมาย (ผลลัพธ)์ ประมาณ 1. ประชมุ วางแผนการ เพ่ื อ กา ห นด วั น บุ ค ล า ก ร 13 คน กศน.อาเภอ พฤศจิกายน - ดาเนินงาน เว ลาในการจัด กศน.อาเภอ ทับสะแก 2563 อบรมและกาหนด ทับสะแก หลักสตู ร

180 กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ ประเภท เปูาหมาย พื้นท่ดี าเนินการ ระยะเวลา งบ กลุ่มเปูาหมาย (ผลลัพธ์) ประมาณ 3 คน กศน.อาเภอ ธันวาคม 2. ออกแบบการจัดทา เพื่อวางแผนและ บุ ค ล า ก ร ทับสะแก 2563 - 13 คน โครงการ กาหนดแนวทาง กศน.อาเภอ ในการจดั กิจกรรม ทบั สะแก ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ งาน 3. จัดกิจกรรมอบรม เพื่อส่งเส ริมให้ บุ ค ล า ก ร มกราคม – 45,000.- กันยายน เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ต า ม บุคลากร กศน. กศน.อาเภอ 2564 โครงการฯ อาเภอทบั สะแก ทบั สะแก 3.1 กจิ กรรมการ เกิดการ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ บุคลากรด้านทักษะ กา ร ปฏิ บั ติง า น กีฬาเพ่ือประสิทธิภาพ ด้ า น ก า ร จั ด ในการจัดการศึกษา กา รศึ กษ าน อ ก น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ร ะ บ บ ร ะ ดั บ การศึกษาตามอัธยาศัย ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น ตามหลักสตู รการศึกษา พื้นฐานและการ น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ จัดการศึกษาตาม การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อั ธ ย า ศั ย ท่ี มี พ . ศ . 2 5 5 1 ก ศ น . ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ อ า เ ภ อ ทั บ ส ะ แ ก และนาความรู้ท่ี (ระดับภาค) ได้รับไปพัฒน า 3.2 กิจกรรมการ 60,000.- ตนเองและ 55,000.- พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ หนว่ ยงานได้ บุ ค ล า ก ร ด้ า น ทั ก ษ ะ กีฬาเพ่ือประสิทธิภาพ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า นอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ตามหลกั สตู รการศึกษา น อ ก ร ะ บ บ ร ะ ดั บ การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน. อ า เ ภ อ ทั บ ส ะ แ ก (ระดบั ประเทศ) 3.3 โครงการพฒั นา ศั ก ย ภ า พ ค รู แ ล ะ

181 กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ ประเภท เปูาหมาย พ้ืนทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา งบ กลุ่มเปาู หมาย (ผลลพั ธ)์ ประมาณ บุ ค ล า ก ร เ พ่ื อ เ พ่ิ ม 14 คน 3 คน ประสิทธิภาพในการ ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ า น การศึกษานอกระบบ แล ะก าร ศึก ษา ตา ม อัธยาศยั 3.4 โครงการประชุม 30,000.- เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร เ พื่ อ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด การศึกษานอกระบบ แล ะก าร ศึก ษา ตา ม อัธยาศัยที่ทันสมัยและ มปี ระสิทธภิ าพ 4. ประเมินผลโครงการ เพ่ือประเมินผล บุคลากร กศน.อาเภอ มกราคม – - ทับสะแก กันยายน การจัดอบรมและ กศน.อาเภอ 2564 ประเมินความพึง ทับสะแก พอใจของ บุ ค ล า ก ร ใ น ก า ร เขา้ รว่ มประชมุ 5. สรุปผลและรายงาน เพ่ือสรุปผลการ บคุ ลากร กศน.อาเภอ กนั ยายน - ทบั สะแก 2564 ผล จั ด อ บ ร ม แ ล ะ กศน.อาเภอ ร า ย ง า น ผ ล ทับสะแก ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ตามลาดับข้ัน 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพ่ือความยั่งยืน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าจัดการเรียนการสอน จานวนเงิน 190,000 บาท (หนึ่งแสนเก้าหม่ืนบาทถ้วน) รายละเอียดดังน้ี 7.1 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านทักษะกีฬาเพ่ือประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน.อาเภอทบั สะแก (ระดบั ภาค) 45,000 บาท

182 7.2 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านทักษะกีฬาเพ่ือประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน.อาเภอทบั สะแก (ระดับประเทศ) 60,000 บาท 7.3 กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้าน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 55,000 บาท 7.4 กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยทที่ ันสมัยและมีประสิทธภิ าพ 30,000 บาท หมายเหตุ ทกุ รายการถัวเฉล่ียตามทีจ่ ่ายจรงิ 8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) (เม.ย.–ม.ิ ย. 2564) (ก.ค.–ก.ย.2564) 1. ประชมุ วางแผนการ - - - - - ดาเนินงาน 45,000.- - - 2. อ อ ก แ บ บ ก า ร จั ด ท า - 60,000.- โครงการ 3. จั ด กิ จ ก ร ร ม ต า ม โครงการฯ 3.1 กิจกรรมการ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร ด้ า น ทั ก ษ ะ กี ฬ า เ พ่ื อ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร จั ด การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตาม ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน. อาเภอทับสะแก (ระดับ ภาค) 3.2 กิจกรรมการ พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ บุ ค ล า ก ร ด้ า น ทั ก ษ ะ กี ฬ า เ พ่ื อ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร จั ด การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยตาม ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กศน.

183 กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) (เม.ย.–มิ.ย. 2564) (ก.ค.–ก.ย.2564) อ า เ ภ อ ทั บ ส ะ แ ก (ระดบั ประเทศ) - - 55,000.- - 3.3 โครงการพฒั นา ศักยภาพครูและบุคลากร 30,000.- เพ่อื เพ่มิ ประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานด้านการศึกษา - นอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย 3.4 โครงการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่ือสง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทท่ี ันสมัยและมี ประสิทธภิ าพ 4. ประเมนิ ผลโครงการ 5. สรปุ ผลและรายงานผล - - - - 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสาวรัตนาวลี สงิ หค์ าร นักจดั การงานทวั่ ไป 9.2 นายสรุ พงษ์ อนนั ต์ธนสาร ครผู ู้ช่วย 10. เครอื ข่าย สานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ 11. โครงการท่ีเก่ยี วข้อง โครงการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 12. ผลลพั ธ์ บุคลากร กศน.อาเภอทับสะแก มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เก่ียวกับการดาเนินงานการศึกษาระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีประสิทธิภาพและนาองค์ความรูท่ีได้รับไปปรับพฤติกรรมในการทางานให้เกิด ประสทิ ธิภาพได้ 13. ตวั ชวี้ ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ 13.1.1 จานวนผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 13.1.2 บคุ ลากร กศน.อาเภอทับสะแก รอ้ ยละ 80 ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ เก่ียวกับการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และการจั ด การศึกษาตามอัธยาศัยที่มีประสิทธิภาพและนาองค์ความรูที่ได้รับไปปรับพฤติกรรมในการทางานให้เกิด ประสทิ ธภิ าพ

184 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 13.2.1 ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้าโครงการ นาความรู้ท่ีไดร้ ับไปพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ 14. การประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบประเมินผลความพึงพอใจ

185 1. โครงการจิตอาสา “เราทาความดเี พอื่ ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ” กศน.อาเภอทบั สะแก งามตา ประชาช่ืนใจ 2. สอดคล้องกับภารกจิ “เร่งดว่ น” ทีจ่ ะต้อง “จับตอ้ งได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. (นายวรทั พฤกษาทวีกลุ ) “ คนสาราญ งานสาเร็จ ” ข้อ 1. น้อมนาพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบัติ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน” ข้อ 10. ซ่อมแซม ฟ้นื ฟูอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดล้อมของสานักงานทุกแหง่ ใหส้ ะอาด ปลอดภยั พรอ้ มให้บริการดว้ ยมิตรไมตรี “ กศน.งามตา ประชาช่นื ใจ” 3. หลกั การและเหตุผล ตามนโยบายเลขาธิการ กศน. ได้มอบแนวทางการดาเนินงานสานักงาน กศน. ปี 64 โดยกาหนด ภารกิจ “เร่งด่วน” ท่ีจะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. ( นายวรัท พฤกษาทวีกุล ) “ คนสาราญ งานสาเรจ็ ”12 ภารกจิ เร่งด่วน ทต่ี ้องพร้อมขับเคลอ่ื นและดาเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการให้เป็นรูปธรรม โดยมีภารกิจท่ีสาคัญเป็นอันดับแรกคือการน้อมนาพระบรมราโชบาย สูก่ ารปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชมุ ชน” และภารกิจ “กศน.งามตา ประชาช่นื ใจ” โดยการซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดล้อมของสานักงาน กศน.ทุกแห่ง และแหล่งเรียนรู้ทุกแห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พร้อม ใหบ้ ริการด้วยมิตรไมตรี “กศน.งามตา ประชาชน่ื ใจ” ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก เห็นถึงความสาคัญของการ น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน” และการฟ้ืนฟูอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดล้อมของ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอทบั สะแกและกศน.ตาบล 6 ตาบล ผนวกกับการทา กจิ กรรมจติ อาสา เพอื่ ปรบั ภมู ิทัศนบ์ ริเวณศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก และกศน.ตาบล 6 ตาบล “กศน.งามตา ประชาชื่นใจ” ซ่งึ งานของ กศน. คือความผาสุกของประชาชน ใกล้ชิด ชุมชน ทุกหมู่บ้าน ทุกตาบล ทุกอาเภอ ทุกจังหวัด ในท่ามกลางงบประมาณท่ีมีจากัด จึงต้องประหยัด เรียบง่ายและมีประโยชน์สูงสุด เพื่อเป็นการสนองนโยบาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงกาหนดจัดโครงการจิตอาสา “เราทาความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ” กศน. อาเภอทับสะแก งามตา ประชาชน่ื ใจ ประจาปีงบประมาณ 2564 ขึน้ 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพอ่ื ใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมโครงการน้อมนาพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบัติ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน” 4.2 เพอ่ื ใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการ ปฏิบัติภารกิจ “เร่งด่วน” ที่จะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของ เลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกลุ )“คนสาราญ งานสาเร็จ ” โดยการฟ้ืนฟูอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม กศน.งามตา ประชาชืน่ ใจ ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอทบั สะแก 5. เป้าหมาย 5.1 เปาู หมายเชงิ ปริมาณ 5.1.1 บุคลากร สานักงาน กศน.อาเภอทับสะแก จานวน 13 คน 5.1.2 กศน.ตาบล จานวน 6 แหง่ 5.1.3 ห้องสมุดประชาชน จานวน 1 แหง่ 5.2 เปาู หมายเชิงคณุ ภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ ในการปฏิบัติ“จิตอาสาพัฒนา ชุมชน”

186 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติภารกิจ “เร่งด่วน” ที่จะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของ เลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกุล) “คนสาราญ งานสาเร็จ ” โดยการฟ้ืนฟูอาคาร สถานท่ี สิ่งแวดล้อม กศน.งามตา ประชาชื่นใจ ของสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ 6. วธิ ีดาเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปาู หมาย/ พื้นทด่ี าเนนิ การ ระยะ งบ จานวน เวลา ประมาณ 1. ขนั้ วางแผน(Plan) เพ่ือให้การดาเนนิ งาน บคุ ลากร กศน.อาเภอ พ.ย. 2563 - - สารวจสภาพปญั หาความ เป็นไปอยา่ งมี กศน.อาเภอ ทบั สะแก ตอ้ งการ และวิเคราะห์ ประสิทธิภาพและ ทับสะแก ความต้องการ เกดิ ประสิทธิผล จานวน - เขยี นโครงการเสนอ ขอ 13 คน อนุมัติ - วางแผนการดาเนนิ งาน โครงการ 2. ข้ันดาเนินงาน(Do) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วม บคุ ลากร - กศน.อาเภอ ไตรมาสละ 3,900.- - จดั โครงการจิตอาสา โครงการน้อมนาพระ กศน.อาเภอ ทับสะแก 1 ครงั้ “เราทาความดีเพื่อชาติ บรมราโชบายสู่การ ทบั สะแก - กศน.ตาบล 6 ไตรมาสท่ี 1 1,950.- ศาสน์ กษตั รยิ ์ ” กศน. ป ฏิ บั ติ “จิ ต อ า ส า จานวน ตาบล ธ.ค. 2563 อาเภอทับสะแก งามตา พัฒนาชุมชน” 13 คน - หอ้ งสมุด ไตรมาสที่ 2 1,950.- ประชาช่ืนใจ ประจาปี 2.เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รว่ ม ประชาชน ม.ค. 2564 งบประมาณ 2564 โครงการปฏบิ ัติ อาเภอทับสะแก ภารกิจ “เรง่ ดว่ น” ท่จี ะต้อง “จับตอ้ ง ได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธกิ าร กศน. ( นายวรัท พฤกษา ทวีกลุ ) “ คนสาราญ งานสาเรจ็ ” โดยการ ฟน้ื ฟูอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม กศน. งามตา ประชาชืน่ ใจ ของ กศน.อาเภอ ทับสะแก 3.ขน้ั ตรวจสอบ(Check) - เพ่ือประเมินความ คณะทางาน - กศน.อาเภอ ธ.ค. 2563 - - - การประเมนิ ผลเมื่อเสร็จ เปน็ ไปได้ของ จานวน 2 คน ทบั สะแก ม.ค. 2564 ส้ินโครงการ โครงการ - กศน.ตาบล 6 - รายงานผลการ -เพอื่ ประเมนิ ตาบล ดาเนินงาน ผลสาเรจ็ ของ - ห้องสมุด

187 กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปูาหมาย/ พืน้ ที่ดาเนนิ การ ระยะ งบ จานวน เวลา ประมาณ 4.ขน้ั ปรับปรุงแก้ไข โครงการ ประชาชน (Action) เพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไข คณะทางาน - กศน.อาเภอ ม.ค. 2564 - รวบรวมขอ้ มลู วิเคราะห์ และพฒั นาการ จานวน 2 คน ทบั สะแก ขอ้ มลู สรุปและ จัดทา ดาเนนิ โครงการ รายงานการประเมิน โครงการ และนาข้อมลู จากการ ประเมินโครงการไปใช้ ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา ดาเนินงานต่อไป 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ ใชเ้ งินงบประมาณ งบอุดหนนุ แผนงานยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการศกึ ษาเพ่ือความย่ังยืนโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนท่ัวไป รายการค่าจัดการเรียนการสอน จานวน 3,900 บาท ( สามพันเกา้ รอ้ ยบาทถว้ น ) แยกเป็นรายละเอยี ดดังนี้ ไตรมาสที่ 1 เป็นเงนิ 1,950 บาท ไตรมาสที่ 2 เป็นเงิน 1,950 บาท - ค่าอาหารกลางวัน คนละ 80 บาท จานวน 13 คน เป็นเงิน 1,040 บาท - คา่ อาหารวา่ งและเครื่องด่มื คนละ35 บาท 2 มอ้ื จานวน 13 คน เปน็ เงิน 910 บาท รวมท้ังส้ินจานวน 3,900 บาท ( สามพันเก้าร้อยบาทถว้ น ) หมายเหตุ ทุกรายการถัวเฉล่ียจ่ายตามเท่าท่ีจ่ายจริง 8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย. – มิ.ย.64) (ก.ค.– ก.ย.64) กจิ กรรมหลกั (ต.ค. – ธ.ค. 63) (ม.ค. – มี.ค.64) 1.จัดโครงการจติ อาสา “เราทาความดี 1,950.- 1,950.- เพอ่ื ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ” กศน.อาเภอ ทับสะแก งามตา ประชาชน่ื ใจ 1,950.- 1,950.- ประจาปงี บประมาณ 2564 2.การประเมนิ ผลโครงการ 3.สรปุ ผลการดาเนินงาน รวม

188 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ เจ้าหนา้ ทง่ี านโครงการพเิ ศษ 9.1 นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล เจ้าหนา้ ทแ่ี ผนงานและโครงการ 9.2 นางสาวสมิตา โชตดิ าว ครู กศน.ตาบล 10. เครือข่าย 10.1 คณะกรรมการสถานศกึ ษา 10.2 องค์กรนกั ศึกษา กศน.อาเภอทบั สะแก 11. โครงการทีเ่ กยี่ วข้อง 11.1 โครงการสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ รว่ มพฒั นาสง่ิ แวดล้อม สร้างความอย่ดู ีมสี ุข และ สง่ เสริมให้บคุ ลากรมจี ติ สาธารณะ 12. ผลลัพธ์ 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ ในการปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนา ชุมชน” 12.2 ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมปฏิบัติภารกิจ “เร่งด่วน” ท่ีจะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของ เลขาธกิ าร กศน. ( นายวรัท พฤกษาทวีกุล )“คนสาราญ งานสาเรจ็ ” โดยการฟนื้ ฟอู าคาร สถานที่ ส่ิงแวดล้อม กศน.งามตา ประชาชน่ื ใจ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก 13. ดชั นีวดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Outputs) 13.1.1 รอ้ ยละ 100 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการได้นอ้ มนาพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบตั ิ ในการปฏบิ ัติ“จติ อาสาพัฒนา ชุมชน” 13.1.2 ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมปฏิบัติภารกิจ“เร่งด่วน” ที่จะต้อง “จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกุล) “ คนสาราญ งานสาเร็จ ” โดยการฟ้ืนฟูอาคาร สถานที่ ส่ิงแวดล้อม กศน.งามตา ประชาชืน่ ใจ ของ กศน.อาเภอทับสะแก 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcomes) 13.2.1 ไดน้ อ้ มนาพระบรมราโชบายส่กู ารปฏบิ ัติ ในการปฏิบตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน” 13.2.2 ได้ร่วมปฏิบัติภารกิจ “เร่งด่วน”ที่จะต้อง“จับต้องได้” ภายใน 6 เดือน ของเลขาธิการ กศน. (นายวรัท พฤกษาทวีกุล) “คนสาราญ งานสาเร็จ” โดยการฟ้ืนฟูอาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดล้อม กศน.งามตา ประชาชน่ื ใจ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก 14. การติดตามและประเมนิ ผล 14.1 จากการสังเกตการเข้าร่วมโครงการจิตอาสา “เราทาความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” กศน. อาเภอทับสะแก งามตา ประชาช่ืนใจ ประจาปีงบประมาณ 2564 14.2. สรุปผลการดาเนินงานโครงการจิตอาสา“เราทาความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” กศน.อาเภอ ทบั สะแก งามตา ประชาชื่นใจ ประจาปีงบประมาณ 2564

189 1 โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวติ 2 ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. .2564 2.1 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ข้อ 4.1 การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง คา่ นยิ ม วฒั นธรรมทีพ่ ึงประสงคโ์ ดยบูรณาการร่วมระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ใน การหลอ่ หลอมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในลกั ษณะท่ีเป็น “วถิ กี ารดาเนนิ ชีวติ ” ขอ้ 4.1.7 การสง่ เสริมให้คนไทยมจี ติ สาธารณะและมคี วามรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้าง ความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าที่ของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็นคุณค่า และความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพึ่งพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อ สังคมและต่อผอู้ ื่น และเป็นพลเมืองท่ีดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพื่อส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปาู หมายของประเทศและยทุ ธศาสตรช์ าติ 2.2 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปา หมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมี ความพรอมท้ังกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รบั ผดิ ชอบตอสังคมและผูอ่ืน มัธยสั ถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลกั คดิ ที่ถกู ตอง มที กั ษะที่จาเปนในศตวรรษท่ี 21 มที ักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษา ท้องถิ่น มีนิสยั รักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนอ่ื งตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยทมี่ ที ักษะสงู เปน นวัตกร นักคดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง นโยบายเรง่ ด่วน 1.จัดหอ้ งสมดุ ประชาชนใหม้ ีบรรยากาศทีด่ อี าคารพรอ้ มเขา้ ใช้บริการ 2.จดั ใหม้ ีวสั ดุอุปกรณ์ท่ีทนั สมัย 3.จัดใหห้ อ้ งสมุดประชาชนมพี ้นื ทีส่ ว่ นตวั ในการใช้บรกิ าร 4.จดั ใหห้ ้องสมุดประชาชนมมี มุ บรกิ ารร้านกาแฟ อาหารวา่ ง 5. จัดหาหนังสอื สอ่ื เทคโนโลยีใหม่ท่ีทันสมัย เป็นปัจจุบนั 6. จัดบรรยากาศภายในหอ้ งสมดุ ประชาชนให้โล่ง กวา้ ง มีมุมบรกิ าร มมุ เด็ก ท่ีแบ่งเป็น สดั ส่วน 7. จัดให้มกี ารสอบถามความคดิ เหน็ แบบออนไลน์ 8. จัดหาหนังสือสาหรบั ผ้พู กิ าร หนงั สอื เสยี ง/หนงั สอื สาหรับคนตาบอด และมพี ้ืนทีอ่ านวย ความสะดวกคนพกิ าร 2.3 สอดคล้องกับพนั ธกิจของสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ พนั ธกจิ ท่ี 1 ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจัดกระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบตั หิ น้าท่ี 2.4 สอดคลอ้ งกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก

190 สอดคล้องพันธกิจ ข้อที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องพนั ธกิจ ข้อที่ 8 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการ จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้รู ับบริการการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายการพัฒนาห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้สามารถเป็นกลไกในการเช่ือมโยงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ จึงจาเป็นจะต้องจัดให้มีระบบการบริหารจัดการรวมท้ังการบริการอย่างมีคุณภาพการเร่งรัดจัดหาโครงสร้าง พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารเพื่อเช่ือมโยงความรู้ทั้งจากภายในและภายนอกห้องสมุด การเข้าถึงชุมชนต่างๆ ในลักษณะของเคล่ือนที่ Mobile Library รวมท้ังการสนับสนุนส่ือการเรียนรู้ท่ีมี คุณภาพ ท้ังนก้ี ารพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เปน็ แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตจาเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากร และเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความสามารถในการให้บริการท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความต้องการ ของผู้รับบริการ และสามารถเป็นนักจัดการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการ ของผู้ใช้บริการและเพ่ือพัฒนาห้องสมุดให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ท่ีสามารถเช่ือมโยงจากความรู้ภายนอก ความร้สู ากลและขอ้ มูลข่าวสารต่างๆทหี่ อ้ งสมดุ จัดไว้ให้บรกิ าร ดังนั้นเพื่อตอบสนองนโยบาย กศน.อาเภอทับสะแก โดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแกจึงได้ จดั ทาโครงการพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทับสะแกให้เป็นแหล่งการเรียนรตู้ ลอดชีวติ 4. วตั ถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่ือพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์กลางในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสารที่หลากหลาย และทนั สมัยอย่เู สมอ 4.2 เพ่อื สนบั สนุนให้ห้องสมุดเปน็ แหลง่ การศึกษาเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ผรู้ ับบรกิ ารมีความรู้ มที ักษะ หรอื ประสบการณ์ 4.3 เพ่ือพัฒนาระบบการให้บริการและสภาพแวดลอ้ มของห้องสมุดประชาชนให้มีชีวิตเพ่ือส่งเสริมให้ ประชาชนทุกเพศทกุ วยั มนี สิ ัยรกั การอา่ นเสริมการเรียนรู้ 5. เป้าหมาย

191 เชิงปริมาณ 5.1 ห้องสมุดประชาชนไดร้ ับการพฒั นาใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ติ จานวน 1 แหง่ 5.2 ผู้ใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ประชาชน จานวน 15,000 คน/ปี เชงิ คุณภาพ ห้องสมุดประชาชนได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถให้บริการกับ กลุ่มเปาู หมายใชเ้ ป็นแหล่งศกึ ษาคน้ คว้า หาความรู้ และผรู้ บั บริการมีความรู้ มีทักษะ หรือประสบการณ์เรียนรู้ ดว้ ยด้วยตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องและมปี ระสิทธิภาพ ผู้รบั บริการมีความพงึ พอใจในระดับดขี ้ึนไป 6.วิธกี ารดาเนนิ งาน กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนนิ การ 1. วางแผนการจดั โครงการ - เพอ่ื ให้การ - ผูบ้ ริหาร 1 คน - กศน.อาเภอ 1 ต.ค. - กศน.อาเภอ 2563 - ประชุม ดาเนนิ งานตาม - บุคลากร ทบั สะแก กศน.อาเภอ - เขียนโครงการ/อนุมตั ิ โครงการมี ทบั สะแก - หอ้ งสมุด - แต่งต้ังมอบหมายหน้าที่ ประสทิ ธิภาพและ 12 คน ประชาชน อาเภอ บคุ ลากร กศน.อาเภอ และบรรลุตาม - จดั ซื้อวสั ดุ และอุปกรณ์ วัตถปุ ระสงค์ ทบั สะแก 2. ดาเนินการตามแผน 3.1 เพอื่ พัฒนา - เดก็ เยาวชน 15,000 - ห้องสมุด 1 ตลุ าคม. - 2.1 พฒั นาบรรยากาศเพื่อ ห้องสมุดประชาชน นักเรียน คน ประชาชน 2563 - สง่ เสริมการอ่านภายใน- ให้เป็นศนู ย์กลางใน นกั ศึกษาและ อาเภอ 30 ก.ย. ภายนอกหอ้ งสมุด เพื่อเออ้ื การศกึ ษาคน้ ควา้ ประชาชน กศน.ตาบล 2564 ต่อการอา่ น มมี ุมต่างๆตาม ข้อมูลข่าวสารที่ อาเภอทบั สะแก 7 แหง่ ตลาด นโยบายเร่งด่วน 8 ข้อ หลากหลายและ อุดมสุข1 แหง่ 2.2 พัฒนาระบบการ ทันสมยั อยู่เสมอ - บ้านหนังสอื ใหบ้ รกิ าร 3.2 เพือ่ สนับสนุน ชมุ ชน 2.3 จัดหาสมาชกิ หอ้ งสมุด ใหห้ ้องสมดุ เป็น - ชมุ ชน 2.4 จัดซื้อหนังสอื ดแี ละ แหลง่ การศึกษา ในอาเภอ วารสารเพอื่ บริการ เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ทับสะแก - โครงการส่งเสริมการอา่ น ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามรู้ โรงเรียนใน เชน่ กิจกรรมส่งเสริมการ มที กั ษะ หรอื อาเภอทบั อ่าน, โครงการ กศน.รบั ประสบการณ์ สะแก บริจาคหนงั สอื เพอ่ื น้อง 3.3 เพอื่ พฒั นา เนอ่ื งในวนั คลา้ ยวันพระราช ระบบการให้บริการ สมภพสมเดจ็ ยา่ ครบรอบ และสภาพแวดลอ้ ม 120 ปี, เสาร์ที่ 2 ของ ของห้องสมุด

192 กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ดาเนินการ เดือนมกราคมสานฝนั วันเด็ก ประชาชนใหม้ ชี ีวิต แห่งชาติ, หอ้ งสมุดเดนิ ไดใ้ น เพ่อื ส่งเสริมให้ อาเภอทับสะแก ,ห้องสมุด ประชาชนทกุ เพศ เคลือ่ นทสี่ าหรบั ชาวตลาด, ทกุ วัยมนี สิ ยั รกั การ 2 เมษายน รักการอ่าน,ยอด อ่านเสริมการ นกั อา่ น เรยี นรู้ 2.5 จดั นทิ รรศการวันสาคัญ 2.6 จัดหาหนงั สอื ดแี ละ วารสารเพ่ือบริการ 2.7 กิจกรรมส่งเสริมการ อา่ นทาง QR Code 2.8 มมุ เดก็ , มุมอาเซียน 2.9 บริการสืบค้นข้อมูลทาง อนิ เทอรเ์ น็ต 3.0หอ้ งสมุดเคล่อื นที่สาหรับ ชาวตลาด 3. การตดิ ตามและ เพ่อื ติดตามและ คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ 1 ธ.ค. - ประเมินผล - ประเมนิ ผลที่ ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ ทับสะแก 2563 - 4. รายงานผลโครงการ สอดคลอ้ งกบั ฝุายวัดผลและ 30 ก.ย. วตั ถุประสงค์ ประเมินผล 2564 - เพอ่ื สรุปจดั ทา คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ 30 ก.ย. เป็นรายงาน ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ทบั สะแก 2564 เผยแพรต่ อ่ ตน้ ฝุายรายงานผล สงั กดั และ สาธารณะ - เพ่อื นาผลการ ประเมินไปพัฒนา โครงการต่อไป 7.วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ ไมม่ ีงบประมาณ

193 8.แผนการใช้งบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 4 (ม.ค.-มี.ค.2564) (เม.ย.-ม.ิ ย.2564) (ก.ค.-ก.ย.2564) (ต.ค.-ธ.ค.2563) - - - 1. วางแผนการจัดกจิ กรรม - - - - - - - 2. จัดกิจกรรม - - - - 3. นเิ ทศติดตามผล - 4. รายงานผลกาดาเนนิ งาน - 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ กลมุ่ งานจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.อาเภอทบั สะแก 10. หนว่ ยงานเครือข่าย 10.1 เทศบาลตาบลทบั สะแก 10.2 โรงเรยี นในอาเภอทับสะแก 11. โครงการทเ่ี ก่ียวข้อง - โครงการพฒั นาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรตู้ ลอดชวี ติ 12. ตวั ชี้วดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ 12.1 ตัวช้ีวัดผลผลติ (Output) 12.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีทักษะในการแสวงหาความรู้จากการอ่านสามารถ เรยี นรู้ได้ตามความต้องการ 12.1.2 ผู้รับบริการมคี วามพงึ พอใจ ผู้รบั บริการไดร้ ับความรู้ มที กั ษะ และประสบการณจ์ าก การเรียนรู้จากการอ่านและเห็นคุณค่า เห็นประโยชน์ของการอ่านและสามารถใช้แหล่งการเรียนรู้ได้ 12.1.3 ผู้รับบรกิ าร ร้อยละ 80 มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากขน้ึ ไป 12.2 ตวั ชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome) - ห้องสมุดประชาชนได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถให้บริการกับ กลุ่มเปูาหมายใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า หาความรู้ และเรียนรู้ด้วยด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธภิ าพ ผ้รู ับบริการมคี วามพงึ พอใจในระดับดขี นึ้ ไป 13. การติดตามและประเมินโครงการ 13.1 การสังเกต/สอบถาม 13.2 แบบประเมินความพึงพอใจ

194 1. ชอื่ โครงการ : เสาร์ที่ 2 ของเดอื นมกราคม สานฝันวันเด็กแห่งชาติ 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ข้อ 4.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง ค่านิยม วัฒนธรรมทพ่ี ึงประสงค์โดยบรู ณาการรว่ มระหวา่ ง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ใน การหลอ่ หลอมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในลกั ษณะทเี่ ป็น ‘วถิ ’ี การดาเนนิ ชีวิต ข้อ 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้างความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าท่ีของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็น คุณค่าและความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพ่ึงพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบ ต่อสังคมและต่อผู้อ่ืน และเป็นพลเมืองท่ีดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพื่อส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสรมิ เปูาหมายของประเทศและยทุ ธศาสตร์ชาติ 2.2 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดาเนินงานสานกั งาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปาหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคน ไทยมีความพรอมทั้งกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสงั คมและผูอื่น มธั ยัสถอดออม โอบออมอารมี วี นิ ยั รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดขี องชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่จาเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และ แผนพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษ ภาษาทอ้ งถิน่ มีนิสยั รกั การเรยี นรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยที่มีทักษะสูง เปนนวตั กร นกั คดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนดั ของตนเอง 2.3 สอดคลอ้ งกับพันธกจิ ของสานกั งาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ พนั ธกจิ ที่ 1 สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ และทักษะในการจัดกระบวนการเรยี น การสอนและการปฏิบัติหน้าที่ 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกิจของ กศน.อาเภอทบั สะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องพันธกจิ ข้อท่ี 8 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการ จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูร้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา

195 3. หลกั การและเหตผุ ล ตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 19 ตุลาคม 2525 กาหนดให้วันเสาร์สัปดาห์ท่ี 2 ของเดือนมกราคม ของทกุ ปีเป็นวันเดก็ แห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้หน่วยงานในสังกัดดาเนินการ จัดกิจกรรม สาหรบั เด็กและเยาวชนมาโดยตลอด ในปี 2564 นี้ วันเด็กแห่งชาติตรงกับวันที่ 9 มกราคม 2563 เนื่องด้วย เด็กนับเป็นทรัพยากรบุคคลท่ีสาคัญของประเทศเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมือง ให้เจริญก้าวหน้า และมั่นคง ดังน้นั เด็กจงึ ควรท่ีจะเตรียมตวั ท่จี ะเปน็ กาลังของชาติด้วย หากเด็กทกุ คนไดต้ ระหนักถึงอนาคตของ ตนและของประเทศชาติ ไม่ว่าจะเป็นการขยันหมั่นศึกษาหาความรู้ และใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ ประพฤติตน อยู่ในระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็ง ตลอดจนมีความเมตตากรุณา ช่วยเหลือเอ้ือเฟื้อผู้อื่น เสียสละเพื่อ ส่วนรวมดังนี้แลว้ กจ็ ะได้ขน้ึ ชอื่ วา่ เปน็ \"เดก็ ดี\" ชาติบา้ นเมืองกจ็ ะเจรญิ มีความผาสกุ รม่ เย็นตอ่ ไป ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก โดยห้องสมุดประชาชนอาเภอ ทับสะแก ได้จัดโครงการวันเด็กแห่งชาติ วันท่ี 9 มกราคม 2564 ขึ้น โดยจัดกิจกรรมท่ีเน้นผู้รับบริการเป็น สาคัญ มุ่งสร้างพ้ืนฐานท่ีดี ให้เกิดกับเด็กและเยาวชน โดยปลูกฝังความเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว เพ่ือ พัฒนาความรู้ความสามารถ การพัฒนาความเจริญเติบโตท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อันจะส่งผลให้ เด็กและเยาวชนเป็นบุคคลที่มคี ุณภาพในอนาคต และสรา้ งประโยชน์ให้กบั สงั คมและประเทศชาติสืบไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่ือให้เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมมีความรู้ความเข้าใจ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ กล้าคิด กลา้ ทา กลา้ ตดั สินใจ มีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ 4.2 เพ่อื สร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครวั ในการทากจิ กรรมรว่ มกัน 4.3 เพ่ือใหเ้ ดก็ และเยาวชนรจู้ ักใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ 5.เปา้ หมาย 5.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ เด็กและเยาวชน จานวน 100 คน 5.2 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมมีความกล้าคิด กล้าทา กล้าตัดสินใจ มีความคิด ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ สร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมาชิกในครอบครวั และรจู้ ักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์

196 6. วธิ ีการดาเนินงาน กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เป้าหมาย พ้ืนทีด่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ข้ันวางแผน (Plan) เพอื่ ใหก้ ารจดั กิจกรรม -ผบู้ ริหาร 1 กศน.อาเภอ ธันวาคม - 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน มปี ระสทิ ธภิ าพ -ครผู ้ชู ่วย 2 ทับสะแก 2563 1.2 แตง่ ตงั้ คณะทางาน -ครูอาสา 2 1.3 จดั ทาโครงการและขอ -ครกู ศน.ตาบล 6 อนมุ ัติโครงการ -บรรณารกั ษ์ 1 1.4 ประชาสมั พันธ์ โครงการฯ 2. ขัน้ ดาเนินงาน (Do) 1.เ พื่ อ ใ ห้ เ ด็ ก แ ล ะ เดก็ และ 100 ห้องสมดุ 9 มกราคม 5,000.- 2.1 จัดกิจกรรมสง่ เสริม เยาวชนได้มีส่วนร่วม เยาวชน คน ประชาชน 2564 การอา่ นสาหรับเด็กและ กล้าคิดกล้าทา กล้า อาเภอทบั สะแก เยาวชน ตั ด สิ น ใ จ มี ค ว า ม คิ ด -กิจกรรมใบภ้ าพทายคา ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ สภุ าษติ คาพงั เพย 2.เพื่อสรา้ ง -กิจกรรมวาดภาพระบาย ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง สี ตามจินตนาการ สมาชิกในครอบครัวใน -กิจกรรมคดั ลายมอื การทากิจกรรมร่วมกนั -กจิ กรรมเก้าอีด้ นตรี 3.เพอ่ื ให้เดก็ และ เหยียบลกู โปุง โยนหว่ ง เยาวชนรจู้ ักใช้เวลาวา่ ง -กจิ กรรมเกมนันทนาการ ใหเ้ กิดประโยชน์ -กิจกรรมตอบปัญหาชิง รางวลั กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เปา้ หมาย พนื้ ทีด่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ 3. ข้นั ตรวจสอบ (Check) เพ่ือติดตามและ คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ 9 มกราคม - 3.1 การประเมนิ ผลก่อน ประเมนิ ผลท่ี 2564 ดาเนินโครงการ สอดคล้องกบั ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ทับสะแก 3.2 การประเมนิ ระหวา่ ง วัตถุประสงค์ ดาเนินโครงการ ฝุายวัดผลและ 3.3 การประเมนิ เม่ือเสรจ็ ส้ินโครงการ ประเมนิ ผล

197 4. ขัน้ ปรับปรุงแก้ไข - เพอ่ื สรุปจัดทาเป็น คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ มกราคม - 2564 (Action) รายงาน เผยแพร่ต่อ ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ ทบั สะแก 4.1 รวบรวมข้อมูลวเิ คราะห์ ตน้ สงั กดั และ ฝุายรายงานผล ขอ้ มูลสรุปและจัดทา สาธารณะ รายงานการประเมนิ -เพ่ือนาผลการ โครงการ ประเมินไปพฒั นา 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อ โครงการตอ่ ไป นาข้อมูลจากการประเมิน โครงการไปใชป้ รับปรุงแก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการ ต่อไป 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2564 จากแผนงาน: พน้ื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ ง ศักยภาพมนุษย์ ผลผลติ ท่ี 5 : ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั งบดาเนนิ งาน จานวนเงนิ 5,000 บาท (ห้าพนั บาทถ้วน) 8 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 กจิ กรรมหลัก (ต.ค. – ธ.ค. 63) (ม.ค. – ม.ี ค. 64) (เม.ย. – ม.ิ ย. 64) (ก.ค. – ก.ย. 64) จัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านสาหรบั เด็ก - 5,000.- - - และเยาวชน -กิจกรรมวาดภาพระบายสี -กิจกรรมคดั ลายมือ -กิจกรรมเก้าอด้ี นตรี -กิจกรรมเกมนันทนาการ -กจิ กรรมตอบปัญหาชิงรางวัล 9. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 9.1 บรรณารักษ์อัตราจ้าง 9.2 ครู กศน.ตาบล 9.3 ครูอาสาสมัครฯ 10. เครือขา่ ย 10.1 หนว่ ยงานราชการทกุ ภาคส่วน 10.2 หน่วยงานเอกชน

198 11. โครงการทเี่ กีย่ วขอ้ ง 11.1 โครงการสง่ เสริมการอ่าน 11.2 โครงการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) 12.1 เด็กและเยาวชนได้มสี ่วนรว่ ม กลา้ คดิ กล้าทา กล้าตดั สินใจ มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ 12.2 เดก็ และเยาวชนมคี วามสมั พันธร์ ะหวา่ งสมาชิกในครอบครวั ในการทากิจกรรมร่วมกัน 12.3 เด็กและเยาวชนรูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ 13. ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 13.1. ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output) 13.1.1 รอ้ ยละ 80 ของเดก็ และเยาวชน ได้มสี ่วนร่วมเกิดทักษะ ได้รบั ความรู้และ ประสบการณ์ กล้าคิด กลา้ ทา กลา้ ตดั สินใจ มคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ 13.1.2 รอ้ ยละ 80 ของเดก็ และเยาวชนมคี วามสมั พันธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัวในการทา กจิ กรรมร่วมกัน 13.1.3 รอ้ ยละ 80ของเด็กและเยาวชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดบั ดีข้นึ ไป 13.2. ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์(Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนไดม้ ีสว่ นรว่ ม กลา้ คิด กลา้ ทา กล้าตดั สินใจ มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์รู้จัก ใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 14. การติดตามและประเมินผล 14.1 รายงานผลการจัดกจิ กรรม 14.2 แบบสารวจความพึงพอใจ

199 1. โครงการ 2 เมษายน วันรกั การอ่าน 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ 4.1 การปรับเปล่ียนค่านยิ มและวฒั นธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์โดยบูรณาการร่วมระหวา่ ง “ครอบครัว ชมุ ชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ในการหล่อ หลอมคนไทยใหม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม ในลกั ษณะที่เปน็ ‘วถิ ’ี การดาเนนิ ชีวติ 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้าง ความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าที่ของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็นคุณค่า และความสาคญั ในการประกอบสัมมาอาชพี หรอื มงี านทาเน้นการพ่งึ พาตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อสังคม และต่อผู้อ่ืน และเป็นพลเมืองท่ีดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพื่อส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปาู หมายของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ 2.2 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานกั งาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคน ไทยมีความพรอมทั้งกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอสงั คมและผูอืน่ มัธยัสถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลักคิดทีถ่ กู ตอง มที ักษะท่จี าเปนในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะสือ่ สารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษา ท้องถ่ิน มนี ิสยั รักการเรยี นรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนือ่ งตลอดชวี ิต สูการเปนคนไทยทมี่ ที ักษะสูง เปน นวตั กร นกั คดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมและอนื่ ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนัดของตนเอง 2.3 สอดคล้องกบั พันธกจิ ของสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ พันธกจิ ท่ี 1 ส่งเสริม สนบั สนุนใหบ้ คุ ลากรมคี วามรู้ และทักษะในการจัดกระบวนการเรียน การสอนและการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ 2.4 สอดคลอ้ งกับพนั ธกจิ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สอดคล้องพนั ธกจิ ข้อที่ 8 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผรู้ ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา

200 3. หลกั การและเหตุผล ตามทคี่ ณะรัฐมนตรีมีมติเหน็ ชอบกาหนดให้การอ่านเปน็ วาระแหง่ ชาติ โดยกาหนดให้ วันท่ี 2 เมษายน ของทุกปีเป็น \"วันรักการอ่าน\" กาหนดให้ปี 2552 - 2561 เป็น ทศวรรษแห่งการอ่าน และ กาหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอันเป็นกลไกขับเคล่ือน การส่งเสริมการอ่านให้เกิดเป็นรูปธรรม ซ่ึงคนไทยจะได้การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการรู้หนังสือ ภายในปี 2559 เพ่ือเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟูามหา จกั รสี ิรินธรฯ เนอื่ งในวนั คล้ายวันพระราชสมภพในวนั ท่ี 2 เมษายน ปัจจุบนั การอ่านหนงั สอื ของคนไทยเป็นกิจกรรมที่ไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือ การอ่านท่ี ดีและมีสาระยิ่งน้อยลงไปทุกที สาเหตุมีหลายประการนับตั้งแต่การขาดแคลนหนังสือท่ีดีและตรงกับความ สนใจของผอู้ ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือซึ่งจะซ้ือ หรือยืมอ่านได้ไปจนถึงการดึงความสนใจ และการแย่ง เวลาของสื่ออนื่ ๆ เชน่ โทรทัศน์ วทิ ยุกระจายเสียง ฯลฯ รวมทง้ั ขาดการซกั จงู การกระตุ้นให้เห็นความสาคัญ ของการอ่าน ตลอดจนมีนิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกสถานศึกษา เมื่อเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ ฟูงได้รู้เห็นเร่ืองต่าง ๆ จากโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียงแล้ว การอ่านหนังสือเพื่อวัตถุประสงค์ ดังกล่าว ต้องใชค้ วามพยายามมากกวา่ และตอ้ งมที ักษะในการอ่าน ถ้าจะใหก้ ารอา่ นหนังสือเกิดเป็นนิสัย จาเป็นต้องมี การปลูกฝังและชักชวนให้เกิดความสนใจ ถึงแม้ว่าในระยะเวลาท่ีผ่านมามีหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและ เอกชน รวมท้ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการอ่าน มาโดยตลอด แตส่ ุภาพปัจจบุ นั พบว่าสังคมไทยยังไม่เป็นสงั คมการอ่าน จึงจาเป็นต้องมีการส่งเสริมนิสัยรักการ อา่ นอยา่ งตอ่ เน่ืองและเพม่ิ มากขึ้น ดังนัน้ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแก ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั อาเภอทบั สะแก ได้เล็งเหน็ ความสาคญั ของการอ่าน จงึ จัด โครงการส่งเสริมการอ่านรกั การเรียนรู้ เพ่ือเทิดพระเกียรติสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟูามหาจักรสี ริ นิ ธรฯ 2 เมษายน “วนั รักการอ่าน ”ขน้ึ เพอื่ แสดงพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพอ่ื ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ให้ประชาชนมนี ิสยั รกั การอ่านและศกึ ษาค้นคว้าเป็นการสร้างสังคมแห่งการ เรยี นรสู้ ังคม แหง่ ภมู ิปัญญา และเพือ่ เผยแพรค่ วามรู้ความเขา้ ใจ เกีย่ วกับการส่งเสรมิ การอา่ น 4.วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ เทิดพระเกยี รติ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟูามหาจักรี สิรินธรฯ 2. เดก็ เยาวชนและประชาชนท่ัวไปปลกู ฝังนสิ ยั รักการอ่าน มีความรู้ หรือมีทักษะ หรือประสบการณ์ และใหเ้ กิดการเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง ตลอดชวี ิตสามารถนาไปพัฒนาคุณภาพชวี ิตให้ดขี ึ้น 3. เพื่อใหเ้ ด็ก เยาวชน และประชาชนท่วั ไป สนใจและเห็นความสาคญั ของห้องสมุดวา่ เป็นแหลง่ เรยี นร้ตู ลอดชวี ิตใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์

201 5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 5.1.1 เด็ก นักเรียน นักศึกษาและประชาชนท่ัวไป จานวน 100 คน 5.2 เชิงคณุ ภาพ 5.1.2 เด็ก นักเรยี น นักศึกษา และประชาชนในเขตพ้ืนท่ีอาเภอทับสะแกได้รบั ความรู้เกดิ ทกั ษะ หรือประสบการณ์ ในการจดั กจิ กรรม 2 เมษายน วนั รกั การอ่าน 6.วิธีการดาเนินงาน วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เปูา พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ กิจกรรมหลกั เปูาหมาย หมาย ดาเนินการ 1. วางแผนการจดั โครงการ -เพือ่ ให้การ - ผอ.กศน. 1 คน -กศน.อาเภอ 1เม.ย. 64 - - ประชุม ดาเนินงานตาม อาเภอ - เขียนโครงการ/อนุมัติ โครงการมี - บคุ ลากร ทบั สะแก -แตง่ ตง้ั มอบหมายหน้าที่ ประสทิ ธภิ าพและ กศน.อาเภอ บุคลากร กศน.อาเภอ และบรรลตุ าม ทบั สะแก -หอ้ งสมุด - จดั ซ้ือวสั ดุ และอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ 1 คน ประชาชน อาเภอทบั สะแก 2.ดาเนินการตามแผน 1. กิจกรรมจัด -เด็ก นักเรยี น 50 คน -หอ้ งสมุด 2 เม.ย.64 - กจิ กรรมฐานการเรียนรู้ นิทรรศการ นกั ศกึ ษาและ ประชาชน กจิ กรรมจัดนทิ รรศการ เทิดพระเกียรติ ประชาชน อาเภอ เทดิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระ สมเด็จพระกนษิ ฐา ทั่วไป ทับสะแก กนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จ ธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟูา พระเทพรตั นราชสุดา มหาจักรีสิรนิ ธรฯ เจ้าฟาู มหาจักรสี ริ ิน - รบั สมัครสมาชิก “ฟรี” ธรฯ - จัดนทิ รรศการ วันสาคญั , 2. เดก็ เยาวชนและ ลงนามถวายพระพร ประชาชนท่ัวไป - ระบายสภี าพตามใบงาน ปลกู ฝังนสิ ยั รกั การ - รบั บรจิ าคหนงั สอื อา่ นและให้เกิดการ เรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนือ่ ง ตลอดชวี ติ สามารถ นาไปพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ิตให้ดีขึ้น 3.เพ่ือใหเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชนท่ัวไป สนใจและเห็น ความสาคญั ของ

202 กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม เปูา พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ เปูาหมาย หมาย ดาเนนิ การ ห้องสมดุ เปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 4.ใชเ้ วลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 3. การติดตามและประเมินผล เพ่ือติดตามและ คณะกรรมกา 2 คน กศน.อาเภอ 2 เม.ย .64 - - ประเมนิ ผลท่ี รทร่ี ับผิดชอบ ทับสะแก สอดคลอ้ งกบั ฝุายวัดผลและ วตั ถปุ ระสงค์ ประเมินผล 4. รายงานผลโครงการฯ - สรปุ จัดทาเป็น คณะกรรมกา 2 คน กศน.อาเภอ 5 พ.ย. 64 รายงาน เผยแพร่ต่อ รที่รับผิดชอบ ทบั สะแก ต้นสังกดั และ ฝาุ ยรายงาน สาธารณะ ผล -นาผลการประเมนิ ไปพัฒนาต่อไป 7.วงเงินงบประมาณทัง้ โครงการ - 8.แผนการใชง้ บประมาณ กจิ กรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย.–มิ.ย. 2564) (ก.ค.–ก.ย.2564) 1.วางแผนการจดั กจิ กรรม (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) 2.จดั กจิ กรรม - - 3. นิเทศตดิ ตามผล -- 4.รายงานผลการดาเนนิ งาน 9.ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ตาแหน่งบรรณารักษ์ นางสาวเกษร ฤทธกิ ูล 10. หน่วยงานเครือขา่ ย 10.1 เทศบาลตาบลทับสะแก 10.2 โรงเรยี นในอาเภอทับสะแก

203 11. โครงการทีเ่ กยี่ วข้อง 11.1 พฒั นาห้องสมุดประชาชนใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชวี ติ 12. ผลลพั ธ(์ Outcome) 12.1 ผูร้ บั บริการไดร้ ่วมเทดิ พระเกียรติ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา เจ้าฟาู มหาจักรีสิรนิ ธรฯ เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ 12.2 ผรู้ ับบรกิ ารในเขตพืน้ ที่อาเภอทับสะแกเกดิ ความเล่อื มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ได้รับความรู้ เกิดทักษะ หรือประสบการณ์ มนี ิสยั รักการอ่าน เกิดความรักความสามัคคี ในการจัดกิจกรรม 2 เมษายน วัน รกั การอ่าน 13. ตวั ชว้ี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชีว้ ัดผลผลิต (output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมเทิดพระเกียรติ ร่วมทาบุญตักบาตร และ ร่วมบริจาคหนังสอื 13.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกดิ ทักษะ หรือประสบการณ์ เห็นคุณค่าและ ประโยชน์ของการอา่ นและการเรียนรู้ด้วยตนเองเกิด 13.1.3 ร้อยละ 80 ของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามพงึ พอใจในระดับมากข้ึนไป 13.2 ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (outcome) 13.2.1 ผรู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจไดร้ บั ความรู้ เกิดทกั ษะ ไดป้ ระสบการณ์ ในการเรียน เรียนรู้แสดงความจงรกั ภักดี เห็นคุณคา่ เห็นประโยชน์ของการอา่ น และใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 13.2.2 รณรงค์ เชิญชวนนักเรียน นักศกึ ษาในระบบนักศกึ ษา กศน.และประชาชนท่วั ไปร่วม บรจิ าคหนังสือ และส่อื ส่งเสริมการอ่านใหแ้ กห่ ้องสมุดประชาชนและบ้านหนงั สือชมุ ชน 14. การติดตามและประเมินโครงการ 14.1 การสงั เกต/สอบถาม 14.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

204 1. โครงการ กศน.รบั บริจาคหนงั สอื เพอ่ื น้อง เน่อื งในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเดจ็ ยา่ ครบรอบ120 ปี 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนษุ ย์ ข้อ 4.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง ค่านิยม วัฒนธรรมทพ่ี ึงประสงค์โดยบรู ณาการร่วมระหวา่ ง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ใน การหลอ่ หลอมคนไทยให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ในลกั ษณะทีเ่ ปน็ ‘วถิ ’ี การดาเนินชีวิต ข้อ 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมคี วามรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้าง ความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าที่ของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็นคุณค่า และความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพ่ึงพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อ สังคมและต่อผูอ้ ื่น และเป็นพลเมืองที่ดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพื่อส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปาู หมายของประเทศและยทุ ธศาสตรช์ าติ 2.2 สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นการดาเนินงานสานกั งาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคน ไทยมคี วามพรอมท้ังกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสงั คมและผูอืน่ มัธยสั ถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลักคดิ ที่ถูกตอง มีทักษะท่จี าเปนในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยที่มีทักษะ สูง เปนนวัตกร นักคดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมและอนื่ ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง 2.3 สอดคล้องกบั พนั ธกจิ ของสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พนั ธกิจท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนุนใหบ้ ุคลากรมีความรู้ และทกั ษะในการจัดกระบวนการเรยี น การสอนและการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ 2.4 สอดคล้องกับพนั ธกจิ ของ กศน.อาเภอทับสะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อที่ 5. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องพันธกจิ ข้อที่ 8. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ภาคเี ครือข่ายทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการ จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. หลักการและเหตุผล ตามที่กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) มอบหมายให้ สานักงาน กศน.ทุกแห่ง น้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ท่ีได้ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการอย่างต่อเน่ืองยาวนานแก่พสกนิกรไทย นั้น เน่ืองในโอกาสครบรอบ 120 ปี ในวันคล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเพือ่ เทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน โดยการรับบริจาคหนังสือมีค่า หนังสือที่เป็นประโยชน์ เพื่อนาไปมอบ

205 ให้แก่โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในถิ่นทุรกันดาร และห้องสมุด ประชาชน เนอ่ื งมาจากการทส่ี มเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมพี ระราชดาริ ว่าการศึกษาเป็นเรื่อง สาคัญทจ่ี ะทาใหเ้ ยาวชนในทอ้ งถนิ่ ชนบทห่างไกลไดม้ คี วามรู้ ความคิด และสตปิ ัญญาท่ีเฉลยี วฉลาด อันจะเป็น ปจั จยั ในการพัฒนาชนบทและประเทศชาติ ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก จึงจัดกิจกรรมโครงการกศน. เปิดรับบริจาคหนังสือเพ่ือ นอ้ ง เน่ืองในวนั คล้ายวันพระราชสมภพสมเด็จย่า ครบรอบ 120 ปี โดยประชาสัมพันธ์ร่วมกับนักศึกษา กศน. และประชาชนท่ัวไปในอาเภอทับสะแก รับบริจาคหนังสือมีค่าท่ีมีในครอบครัว ชุมชน หรือหนังสือที่เป็น ประโยชน์ เพื่อมอบให้แก่โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในถ่ิน ทุรกันดาร และหอ้ งสมุดประชาชนขึน้ 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ นอ้ มราลึกในพระมหากรุณาธิคณุ สมเดจ็ พระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ครบรอบ 120 ปี 2. เพ่ือให้องค์กรนักศึกษาและนักศึกษาได้ทากิจกรรมร่วมกันด้วยความรัก สามัคคี ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ ทางานร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนมีจิตอาสาและทาประโยชน์เพื่อ ชุมชน สังคม 3. เพ่ือรับบรจิ าคหนงั สือ และสง่ มอบให้กบั โรงเรียนที่ขาดแคลน 5. เปา้ หมาย 5.1 เปาู หมายเชิงปริมาณ - หนังสอื ในการรบั บริจาค จานวน 300 เล่ม - จานวนโรงเรียนท่ีรบั มอบหนังสอื บรจิ าค จานวน 3 โรงเรียน - บุคลากรครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จานวน 12 คน - องค์กรนกั ศกึ ษาและนกั ศึกษา จานวน 38 คน รวมทง้ั ส้ิน จานวน 50 คน 5.2 เปูาหมายเชิงคุณภาพ เพื่อให้บุคลากรครู กศน.อาเภอทับสะแก ร่วมกับนักศึกษาและประชาชนน้อมราลึกในพระ มหากรุณาธิคุณสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี ครบรอบ 120 ปี ในการรับบริจาคหนังสือ และส่ง มอบหนังสือให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลนในถ่ินทุรกันดาร และเพื่อให้นักศึกษาได้ทากิจกรรมร่วมกันด้วยความ รัก สามัคคี ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ ทางานร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนมีจิต อาสาและทาประโยชน์เพอ่ื ชมุ ชน 6. วิธีการดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พืน้ ทีด่ าเนินการ ระยะเวลา งบ กลุม่ เปา้ หมาย (ผลลัพธ)์ ประมาณ ๑.เขียนโครง 1.เพอ่ื น้อมราลึกในพระ กล่มุ งานอธั ยาศัย 3 คน หอ้ งสมดุ 5 ตุลาคม - การกศน. เปิดรบั มหากรณุ าธิคุณสมเดจ็ ประชาชน 2563 บริจาคหนังสอื เพอ่ื พระศรนี ครินทรา บรม อาเภอทับสะแก น้อง เนือ่ งในวันคลา้ ย ราชชนนี ครบรอบ วนั พระราชสมภพ 120 ปี สมเด็จย่า ครบรอบ 2.เพื่อให้องคก์ ร

206 กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พืน้ ท่ีดาเนินการ ระยะเวลา งบ กล่มุ เปา้ หมาย (ผลลพั ธ์) ประมาณ 120 ปี นกั ศึกษาและนักศึกษา - 600.- ไดท้ ากิจกรรมรว่ มกัน 230.- ด้วยความรัก สามคั คี 1,068.- ตรงตอ่ เวลา มคี วาม รบั ผดิ ชอบ ทางาน รว่ มกบั ผู้อื่นในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ ตลอดจนมจี ิตอาสา และทาประโยชน์เพ่อื ชุมชน สังคม ๓.เพ่ือรับบรจิ าค หนงั สือ และสง่ มอบ ใหก้ บั โรงเรยี นท่ขี าด แคลน ๒.ประชมุ วาง เพื่อกาหนดวนั เวลาใน 1.บคุ ลากร กศน. 20 คน กศน.อาเภอทับ 9 ตลุ าคม สะแก 2563 แผนการดาเนินงาน การรบั บรจิ าคหนังสือ, อาเภอทับสะแก 50 คน พ้นื ท่ีในอาเภอ 15 โครงการ การคดั แยก และการ 2.องค์กร ทับสะแก ตุลาคม 2563 ส่งมอบหนังสือ นักศกึ ษา 3.นักศกึ ษา 3. ดาเนนิ กจิ กรรม เพือ่ องค์กรนักศึกษา, 1.บคุ ลากร กศน. โครงการเดนิ รณรงค์ นกั ศึกษาและบคุ ลากร อาเภอทับสะแก รบั บริจาคหนงั สอื ครูไดด้ าเนนิ กจิ กรรม 2.องค์กร ร่วมกันด้วยดว้ ยความ นักศกึ ษา รัก สามัคคีมีระเบยี บ 3.นักศกึ ษา วินัย และความ รับผดิ ชอบหมคู่ ณะใน หม่คู ณะ มจี ติ อาสา และทาประโยชน์เพอ่ื ชุมชน สงั คม 4.คัดแยกหนงั สือ เพอื่ ใหอ้ งค์กรนักศึกษา 1.บุคลากร กศน. 50 คน ห้องสมุด 30-31 ประชาชน ตุลาคม และนักศกึ ษาได้ทางาน อาเภอทับสะแก อาเภอทับสะแก 2563 รว่ มกนั ดว้ ยความรกั 2.องค์กร สามคั คี โดยมคี รูเป็น นกั ศึกษา ผใู้ หค้ าแนะนา 3.นักศึกษา 5.กจิ กรรมสง่ หนังสือ เพ่ือให้องค์กรนักศกึ ษา 1.บุคลากร กศน. 50 คน 1.โรงเรียนบ้าน 3 บริจาคใหก้ บั โรงเรยี น นกั ศกึ ษาและบุคลากร อาเภอทบั สะแก เหมอื งแร่ 2. พ.ย.

207 กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ ประเภท เปา้ หมาย พืน้ ที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบ ทรุ กนั ดาร ครู ได้ทาประโยชน์ กลมุ่ เปา้ หมาย (ผลลพั ธ)์ ประมาณ เพอ่ื สังคม ชุมชน 2.องค์กร โรงเรยี นทุง่ ตา 2563 6.ประเมนิ ผล นักศกึ ษา 50 คน แก้ว - โครงการ เพื่อประเมนิ ผลการ 3.นักศกึ ษา 3.โรงเรยี นห้วย 3 ตลุ าคม ดาเนินโครงการ 3 คน ยางวิทยา 2563 - 7.สรุปผลและ 1.บคุ ลากร กศน. รายงานผลการ เพ่ือสรปุ ผล และ อาเภอทับสะแก กศน.อาเภอทับ ดาเนนิ งาน รายงานผลการดาเนนิ 2.องค์กร สะแก กิจกรรมโครงการ นักศกึ ษา 3.นกั ศึกษา กศน.อาเภอทับ 6 ตุลาคม กล่มุ งานอัธยาศยั สะแก และ 2563 ห้องสมดุ ประชาชน อาเภอทบั สะแก 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ แผนงาน : พื้นฐานดา้ นการพฒั นาเสรมิ สร้างศักยภาพมนุษย์ ผลผลิตที่ ๕ ผรู้ ับบริการการศึกษาตาม อัธยาศยั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั งบดาเนนิ งาน จานวนเงิน 1,898 บาท ( หนึ่งพันแปดร้อยเก้าสิบ แปดบาทถ้วน ) รายละเอียดดงั นี้ 7.1 ค่าวัสดุ เป็นเงิน 230 บาท 7.2 ค่าน้ามนั เช้อื เพลิงวัสดุรับบริจาคหนังสือและสง่ มอบหนังสอื ๒ วนั เป็นเงนิ 400 บาท 7.3 ค่าพาหนะส่วนตัวระยะทาง กศน.อาเภอ-โรงเรียนบา้ นทุ่งตาแกว้ - โรงเรยี นบ้านเหมืองแร่-โรงเรยี นหว้ ยยางวทิ ยา-กศน.อาเภอทบั สะแก เปน็ เงนิ 268 บาท 7.4 ค่าจา้ งทาปูายขนาด 150×80 ซม. ราคา 200บาท×3 ปาู ย เปน็ เงนิ 600 บาท 7.5 ค่าจ้างทาปูายขนาด 200×100 ซม. ราคา 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท รวมเป็นเงินทั้งสนิ้ 1,898 บาท 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) (เม.ย.–ม.ิ ย. 2564) (ก.ค.–ก.ย.2564) กจิ กรรมหลัก 1,898.- - - - โครงการ กศน. เปิดรบั บรจิ าค หนังสือเพ่ือนอ้ ง เนอื่ งในวนั คล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จย่า ครบรอบ 120 ปี

208 9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสาวเกษร ฤทธิ์กลู บรรณารักษ์อตั ราจ้าง 9.2 นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน 9.3 นางสาวภิชชากร ชรู ตั น์ ครผู ชู้ ่วย 10. เครอื ขา่ ย 10.1 โรงเรียนบา้ นเหมืองแร่ 10.2 โรงเรียนทุ่งตาแก้ว 10.3 โรงเรยี นหว้ ยยางวิทยา 11. โครงการท่ีเก่ยี วข้อง 11.1 โครงการหอ้ งสมดุ ประชาชน 11.2 โครงการส่งเสรมิ การอ่าน 11.3 โครงการกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ติ 12. ผลลพั ธ์ กศน.อาเภอทับสะแกจัดกิจกรรมเพ่ือน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระศรีนครินทรา บรม ราชชนนี ครบรอบ 120 ปี ในการรับบริจาคหนังสือ และส่งมอบหนังสือให้กับโรงเรียนท่ีขาดแคลนในถิ่น ทุรกันดาร และเพ่ือให้นักศึกษาได้ทากิจกรรมร่วมกันด้วยความรัก สามัคคี ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบ ทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ตลอดจนมีจิตอาสาและทาประโยชน์เพอ่ื ชุมชน 13. ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวดั ผลผลติ (Output) 13.1.1 ร้อยละ 80 ไดร้ ับหนังสอื บรจิ าคจากพ้ืนท่ีและประชาชนอาเภอทบั สะแก 13.1.2 ร้อยละ 100 โรงเรียนทข่ี าดแคลนในถนิ่ ธุระกันดารได้รบั มอบหนงั สอื บริจาค 13.1.3 ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการและบุคลากรทางการศึกษาได้น้อมราลึกในพระมหา กรณุ าธคิ ุณสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรา บรมราชชนนี 13.1.4 รอ้ ยละ 80 ขององคก์ รนักศึกษาและนกั ศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ กศน. รบั บริจาค หนังสอื เพ่ือนอ้ ง เน่อื งในวันคลา้ ยวันพระราชสมภพสมเดจ็ ย่า ครบรอบ 120 ปี 13.1.2 ตวั ช้วี ัดผลลัพธ์ (Outcome) - ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้นอ้ มราลึกในพระมหากรุณาธิคุณสมเดจ็ พระศรนี คริน ทราบรมราชชนนี ครบรอบ 120 ปี รับบริจาคหนงั สอื –ส่งมอบหนงั สือใหก้ ับโรงเรียนทขี่ าดแคลนในถน่ิ ทุรกนั ดาร อีกทั้งไดท้ ากจิ กรรมรว่ มกันดว้ ยความรัก สามัคคี ตรงต่อเวลา มคี วามรับผิดชอบ ทางานร่วมกบั ผ้อู ่นื ในสงั คมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนมจี ิตอาสาและทาประโยชน์เพื่อชุมชน 14. การประเมินโครงการ - แบบสารวจความพึงพอใจ

209 1. โครงการห้องสมดุ เดินได้ในอาเภอทับสะแก 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ท่ี 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ข้อ 4.1 การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง ค่านยิ ม วฒั นธรรมทีพ่ ึงประสงค์โดยบูรณาการรว่ มระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และสื่อ” ใน การหลอ่ หลอมคนไทยให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในลักษณะท่เี ปน็ ‘วิถ’ี การดาเนินชวี ิต ข้อ 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้างความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าท่ีของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็น คุณค่าและความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพ่ึงพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบ ต่อสังคมและต่อผู้อ่ืน และเป็นพลเมืองที่ดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพ่ือส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปูาหมายของประเทศและยทุ ธศาสตรช์ าติ 2.2 สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปา หมายการพัฒนาท่สี าคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมี ความพรอมท้ังกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอสังคมและผูอนื่ มธั ยัสถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลักคิดทถ่ี ูกตอง มที กั ษะท่ีจาเปนในศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษา ทอ้ งถิ่น มนี สิ ัยรกั การเรียนรูและการพฒั นาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชวี ติ สูการเปนคนไทยที่มีทักษะ สูงเปน นวตั กร นักคดิ ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมีสมั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง 2.3 สอดคลอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสานักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ พนั ธกิจที่ 1 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้บุคลากรมีความรู้ และทักษะในการจดั กระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบัติหนา้ ที่ 2.4 สอดคล้องกบั พันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สอดคลอ้ งพันธกิจ ข้อที่ 8 สง่ เสรมิ และสนับสนุนภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการ จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3. หลักการและเหตุผล หอ้ งสมดุ ประชาชนเป็นแหลง่ ใหค้ วามรู้ ข้อมูลข่าวสารตา่ งๆ ตามนโยบายสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้มุ่งพัฒนาให้ห้องสมุดประชาชนเป็นศูนย์สื่อทางด้านการเรียนการ สอน ซ่ึงเน้นการให้บริการ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้สอดคล้องกับ

210 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้กาหนด มาตรการในการส่งเสริมการอ่าน โดยให้มีการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ของทุกกลมุ่ เปูาหมาย ตลอดจนส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้องค์กรในท้องถิ่น องค์กรชุมชน ครอบครัวและประชาชน ในชมุ ชนมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานให้กบั กล่มุ เปาู หมาย ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก ได้ เลง็ เห็นถึงความสาคัญ จึงได้จดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น การเรียนรตู้ ามอัธยาศัย ให้แก่เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปในอาเภอทับสะแก ซึ่งได้พิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นกลุ่มเปูาหมายในการจัด กิจกรรมเพอ่ื หมนุ เวยี นเปลี่ยนส่อื ซง่ึ เปน็ การเพิม่ เตมิ ความรู้และกระจายส่ือสชู่ ุมชนจึงได้จัดทาโครงการน้ีข้ึน 4. วัตถปุ ระสงค์ 4.1 เพ่ือหมุนเวยี นสือ่ สู่ชมุ ชน กศน.ตาบล และบ้านหนังสอื ชมุ ชน ในอาเภอทับสะแก 4.2 เพื่อประชาสัมพันธง์ าน กศน.และงานห้องสมุดประชาชนและเปน็ การบริการเชิงรกุ 4.3 เพ่อื ส่งเสริมการอา่ นให้ผรู้ บั บรกิ าร มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เกดิ ทักษะ หรอื ประสบการณ์ และให้เปน็ ไป ตามนโยบาย 5. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - เดก็ เยาวชน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไป จานวน 100 คน เชงิ คณุ ภาพ - ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทบั สะแกไดห้ มุนเวียนสอ่ื สู่ โรงเรยี น ชุมชน กศน.ตาบลและบ้านหนังสอื ชุมชนในอาเภอทับสะแก ได้ประชาสัมพันธ์งานกศน. งานห้องสมุดประชาชนและส่งเสริมการอ่านให้กับ ผูร้ ับบรกิ าร 6.วิธกี ารดาเนินงาน กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปาู หมาย เปาู หมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 1 คน ดาเนนิ การ 1. วางแผนการจัดโครงการ -เพือ่ ให้การ - ผอ.กศน. พ.ย. 63 - - ประชมุ ดาเนินงานตาม อาเภอ -กศน.อาเภอ - เขียนโครงการ/อนุมตั ิ โครงการมี - บุคลากร ทับสะแก -แต่งตัง้ มอบหมายหนา้ ท่ี ประสิทธิภาพและ กศน.อาเภอ บคุ ลากร กศน.อาเภอ และบรรลตุ าม ทบั สะแก 13 คน - จดั ซอื้ วัสดุ และอุปกรณ์ วตั ถปุ ระสงค์ - จัดเตรียมหนังสือ -เพื่อหมุนเวยี นส่ือสู่ ประชาชน 100 คน กศน.ตาบล พ.ย. 63 – - - รบั สมัครสมาชกิ ชุมชน ตาบล และ อาเภอทบั สะแก -หอ้ งสมุด ก.ย. 64 - นาหนงั สือออกให้บริการ บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ประชาชน - จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการ ในอาเภอทับสะแก อาเภอ อ่าน - เพือ่ ทับสะแก ประชาสัมพันธง์ าน -ชุมชนใน

211 กศน.และห้องสมุด อาเภอ ทบั สะแก ประชาชน 2 คน กศน.อาเภอ 15 ก.ย.64 -เพื่อสง่ เสรมิ การ ทบั สะแก อา่ นหนังสือให้ 2 คน กศน.อาเภอ 30 ก.ย.64 ทบั สะแก เปน็ ไปตามนโยบาย ผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ มที ักษะหรือ ประสบการณ์ 3. การตดิ ตามและ เพอื่ ติดตามและ คณะกรรมการ - ประเมนิ ผล - ประเมินผลที่ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 4. รายงานผลโครงการฯ สอดคล้องกบั ฝาุ ยวดั ผลและ วตั ถุประสงค์ ประเมินผล - เพอื่ สรปุ จัดทา คณะกรรมการ เปน็ รายงาน ท่รี ับผดิ ชอบ เผยแพรต่ อ่ ตน้ ฝาุ ยรายงานผล สงั กดั และ สาธารณะ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบ 4. รายงานผลโครงการฯ 2 คน ดาเนินการ ประมาณ -เพ่ือนาผลการประเมิน คณะกรรมการที่ ไปพัฒนาโครงการ รับผดิ ชอบฝุาย กศน.อาเภอ 30 ก.ย.64 - ต่อไป รายงานผล ทับสะแก 7.วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ - 8.แผนการใช้งบประมาณ กิจกรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ก.ค.–ก.ย.2564) (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) (เม.ย.–ม.ิ ย. 2564) - 1.วางแผนการจดั กิจกรรม - -- 2.จัดกิจกรรม 3. นิเทศติดตามผล 4.รายงานผลการดาเนินงาน 9.ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ 9.1 นางสาวเกษร ฤทธิกูล ( บรรณารกั ษ์ ) 9.2 นางสาวยุพเยาว์ เยาวหลี (ครอู าสา)

212 10.หนว่ ยงานเครือข่าย 10.1 เทศบาลตาบลทับสะแก 10.2 โรงเรียนในอาเภอทับสะแก 10.3 อบต. ในอาเภอทบั สะแก 11.โครงการทเี่ กี่ยวข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 12.ผลลัพธ(์ Outcome) 12.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแกไดห้ มนุ เวียนส่ือสู่ โรงเรยี น ชมุ ชน กศน.ตาบลและบ้าน หนังสือชมุ ชนในอาเภอทบั สะแก ได้ประชาสัมพนั ธ์งาน กศน. งานห้องสมุดประชาชนและส่งเสริมการอ่าน ใหก้ บั ผรู้ ับบริการ 13.ตัวชว้ี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต (Output) 13.1.1.รอ้ ยละ 80 หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทับสะแก ไดห้ มุนเวียนหนังสือสู่ชุมชน กศน.ตาบล และบ้านหนังสอื ชมุ ชนในอาเภอทบั สะแกของผ้รู บั บริการผู้รบั บริการมีทักษะในการแสวงหาความรแู้ ละร่วมจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 13.1.2 รอ้ ยละ 80 หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอทบั สะแกไดป้ ระชาสัมพันธง์ านห้องสมุดในชมุ ชน ตา่ งๆได้รจู้ ักแหล่งเรยี นรู้ 13.1.3 รอ้ ยละ 80 ผูร้ บั บรกิ ารทไี่ ดร้ บั การส่งเสรมิ การอ่านมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1 ร้อยละ 80 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอทับสะแกไดห้ มนุ เวียนส่ือสู่ โรงเรียน ชุมชน กศน. ตาบลและบา้ นหนงั สือชุมชนในอาเภอทับสะแก ได้ประชาสัมพนั ธ์งาน กศน. งานห้องสมุดประชาชน และ ส่งเสริมการอ่านใหก้ บั 14.การติดตามและประเมินโครงการ 14.1 การสังเกต/สอบถาม 14.2 แบบประเมินความพึงพอใจ

213 1. โครงการยอดนักอ่าน 2. ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. .2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ 4.1 การปรับเปลย่ี นค่านยิ มและวฒั นธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยม วฒั นธรรมทพ่ี ึงประสงค์โดยบรู ณาการรว่ มระหวา่ ง “ครอบครวั ชมุ ชน ศาสนา การศึกษา และส่ือ” ในการหล่อ หลอมคนไทยใหม้ ีคุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะท่ีเปน็ ‘วถิ ’ี การดาเนนิ ชีวิต 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้าง ความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าท่ีของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็นคุณค่า และความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพึ่งพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อ สังคมและตอ่ ผู้อื่น และเป็นพลเมืองที่ดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพ่ือส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปูาหมายของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ 2.2 สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดาเนินงานสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปา หมายการพัฒนาทีส่ าคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมี ความพรอมทั้งกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบตอสงั คมและผูอืน่ มธั ยัสถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลกั คิดทถี่ ูกตอง มที กั ษะท่จี าเปนในศตวรรษที่ 21 มที กั ษะส่อื สารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษา ท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรยี นรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชวี ิต สูการเปนคนไทยทมี่ ีทักษะสูง เปน นวตั กร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหมและอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง 2.3 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ พนั ธกจิ ท่ี 1 สง่ เสริม สนบั สนุนใหบ้ ุคลากรมคี วามรู้ และทักษะในการจดั กระบวนการเรียน การสอนและการปฏิบตั หิ นา้ ที่ 2.4 สอดคลอ้ งกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อท่ี 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องพนั ธกจิ ข้อท่ี 8 ส่งเสริมและสนบั สนนุ ภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการ จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3. หลักการและเหตุผล การส่งเสริม เพื่อให้ผู้รับบริการได้พัฒนาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยถือว่า ผู้รับบริการมีความสาคัญสูงสุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพนั้น ปัจจัยหน่ึงท่ีจะส่งเสริมให้

214 ผู้รับบริการได้มีการพัฒนาได้เพิ่มมากขึ้น คือ “การอ่าน” การอ่าน คือ ทักษะหน่ึงท่ีมีความสาคัญมากเพราะ การอ่านทาให้เกิดปัญญา การอ่านท่ีทาให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ ให้พัฒนาตนเองและรู้จักปรับตัวให้อยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแกจึงตระหนักถึงความสาคัญการอ่าน จึงได้จัด โครงการ “ยอดนกั อ่าน” โดยมุ่งเน้นสนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นให้ผู้รับบริการได้มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองจากการอ่าน ตระหนักถึงความสาคัญของ การอ่าน และสามารถนาความรู้ที่ได้จากการอ่านไปใช้ พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดังน้ันเพ่ือตอบสนองนโยบาย กศน.อาเภอทับสะแก ห้องสมุดประชาชน อาเภอทับสะแกจงึ ได้จดั ทาโครงการยอดนักอ่านข้ึน 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพ่อื ใหผ้ ูร้ บั บริการมีความรู้ มีทักษะหรือประสบการณ์จากการอา่ น 4.2 เพื่อปลูกฝงั นิสัยรักการอ่าน ให้ผู้รบั บริการใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 5. เปา้ หมาย เชงิ ปรมิ าณ 5.1 สง่ เสรมิ ผูร้ บั บริการที่มาใชบ้ รกิ ารยมื -คืน หนงั สือมากท่ีสดุ จานวน 3 คน/เดือน แบ่งแยกตามอายรุ ะดบั ช่วงวยั เด็ก นกั เรยี น เยาวชน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่ัวไป 5.2. ผูใ้ ชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ประชาชน จานวน 100 คน เชงิ คุณภาพ ห้องสมุดประชาชนได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถให้บริการกับ กลุ่มเปูาหมายใช้เป็นแหล่งศึกษาคน้ คว้า หาความรู้ และผู้รบั บริการมีความรู้ มีทักษะ หรือประสบการณ์เรียนรู้ ดว้ ยดว้ ยตนเองได้อยา่ งต่อเน่อื งและมีประสิทธิภาพ 6.วิธกี ารดาเนนิ งาน กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 1 คน ดาเนินการ - 1. วางแผนการจดั โครงการ - เพอ่ื ให้การ - ผู้บริหาร 1 ต.ค. กศน.อาเภอ 12 คน - กศน.อาเภอ 2563 - ประชุม ดาเนินงานตาม - บุคลากร ทบั สะแก กศน.อาเภอ - ห้องสมดุ - เขยี นโครงการ/อนุมตั ิ โครงการมี ทับสะแก ประชาชน อาเภอ - แต่งต้ังมอบหมายหน้าที่ ประสิทธภิ าพและ ทับสะแก บุคลากร กศน.อาเภอ และบรรลุตาม - จดั ซอ้ื วัสดุ และอปุ กรณ์ วัตถุประสงค์ แต่งตั้งคณะกรรมการ /

215 กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ 100 คน ดาเนนิ การ ประชุม คณะกรรมการ เพื่อ - หอ้ งสมดุ ว า ง แ ผ น ก า ร ด า เ นิ น ประชาชน อาเภอ กิจกรรม 1.3. เสนอ ทบั สะแก โครงการเพ่ือขออนุมัติ 1.4. ด าเนินตามกิจกรรมต่าง ๆ ตาม ปฏิทิน มี.ค.60 พร้ิม เพรา 2 ข้ันปฏิบัติตามแผน (Do) บูรณาการ กระตุ้นให้ เกิดวัฒนธรรมการอ่าน โดย ผ่าน QR code 2. ดาเนินการตามแผน 1. เพอื่ ให้ - เด็ก เยาวชน 1 ตุลาคม - 2563 2.1 กิจกรรมบนั ทึกรกั การอ่าน ผรู้ บั บริการมีความรู้ นักเรยี น - 30 ก.ย. 2.2กจิ กรรมนักอ่าน ยอดเยยี่ ม มีทกั ษะหรือ นกั ศกึ ษาและ 2564 2.3 อ่านดดี ีมีรางวัล ประสบการณ์จาก ประชาชน 2.4 กิจกรรมส่งเสรมิ การ การอา่ นมีทกั ษะใน อาเภอทบั สะแก อา่ นทาง QR Code การแสวงหา 2.9 บริการสืบค้นข้อมูลทาง ความรู้ด้วยตนเอง อนิ เทอรเ์ น็ต และเรียนรู้ พฒั นา -กจิ กรรมอ่านแลกแต้มแถม ตนเองอยา่ ง มีรางวัล ตอ่ เน่ือง 2เพื่อปลกู ฝังนสิ ยั รักการอา่ นบรู ณา การร่วม ให้ ผู้รบั บรกิ ารใชเ้ วลา ว่างใหเ้ กิด ประโยชน์ 3. เพ่ือสง่ เสริมให้ ผูร้ บั บริการ มี ความคิดสร้างสรรค์ ใฝเุ รยี นใฝรุ ู้ รักการ อ่าน รกั การเขยี น และ รกั การค้นคว้า

216 กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ 3. การติดตามและ ประเมินผล เพื่อติดตามและ ดาเนนิ การ ประเมินผลท่ี 4. รายงานผลโครงการฯ สอดคลอ้ งกับ คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ 1 ธ.ค. - วตั ถปุ ระสงค์ 2563 - - ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ทบั สะแก 30 ก.ย. - เพือ่ สรุปจัดทา 2564 เปน็ รายงาน ฝุายวัดผลและ เผยแพร่ตอ่ ต้น 30 ก.ย. สงั กดั และ ประเมนิ ผล 2564 สาธารณะ - เพื่อนาผลการ คณะกรรมการ 2 คน กศน.อาเภอ ประเมนิ ไปพัฒนา โครงการตอ่ ไป ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ทับสะแก ฝุายรายงานผล 7. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ - 8. แผนการใช้งบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 4 (ม.ค.-มี.ค.2564) (เม.ย.-ม.ิ ย.2564) (ก.ค.-ก.ย.2564) (ต.ค.-ธ.ค.2563) - - - 1. วางแผนการจดั - - - - กจิ กรรม - - - - - - 2. จดั กจิ กรรม - 3. นเิ ทศติดตามผล - 4. รายงานผลการ - ดาเนินงาน 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ กลมุ่ งานจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.อาเภอทับสะแก 10. หนว่ ยงานเครอื ข่าย 10.1 ประชาชน และนกั ศึกษากศน. 10.2 โรงเรียนในอาเภอทบั สะแก 11. โครงการท่เี กยี่ วขอ้ ง 11.1 โครงการสง่ เสริมการอา่ น

217 12. ตัวชีว้ ัดผลสาเร็จของโครงการ 12.1 ตวั ช้ีวดั ผลผลิต (Output) 12.1.1ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความรู้ มีทักษะหรือประสบการณ์ ในการแสวงหา ความรจู้ ากการอ่านสามารถเรยี นรู้ไดต้ ามความต้องการ 12.1.2 ผรู้ บั บรกิ าร รอ้ ยละ 80 มคี วามพึงพอใจในระดบั มากข้นึ ไป 12.2 ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ์ (Outcome) 12.2.1 รอ้ ยละ 80 ของผ้รู ับบรกิ าร สามารถนาทักษะและประสบการณท์ ่ีได้รบั จากการอา่ น ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ มีนสิ ยั รกั การอา่ น ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 13. การติดตามและประเมินโครงการ 13.1 การสังเกต/สอบถาม 13.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

218 1. โครงการ “ หอ้ งสมดุ เคลอื่ นทสี่ าหรบั ชาวตลาด ”ตามพระราชดาริของสมพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี 2. ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่ 4. ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ 4.1 การปรับเปล่ยี นค่านิยมและวฒั นธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยม วฒั นธรรมท่พี งึ ประสงค์โดยบรู ณาการรว่ มระหวา่ ง “ครอบครวั ชุมชน ศาสนา การศึกษา และสื่อ” ในการหล่อ หลอมคนไทยใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม ในลักษณะที่เปน็ ‘วิถ’ี การดาเนินชวี ิต 4.1.7 การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม โดย สร้าง ความตระหนักให้ประชาชนรู้จักหน้าท่ีของตนเอง การตรงต่อเวลา การยอมรับความหลากหลาย เห็นคุณค่า และความสาคัญในการประกอบสัมมาอาชีพหรือมีงานทา เน้นการพ่ึงพาตนเอง และมี ความรับผิดชอบต่อ สงั คมและต่อผอู้ ่นื และเป็นพลเมืองท่ีดีและส่งเสริมให้มีวัฒนธรรมการทางาน เพ่ือส่วนรวม สนับสนุน ส่งเสริม เปาู หมายของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ 2.2 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปา หมายการพฒั นาที่สาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมี ความพรอมทั้งกายใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอสงั คมและผูอนื่ มธั ยสั ถอดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมือง ดีของชาติ มี หลกั คดิ ทถี่ กู ตอง มที กั ษะท่จี าเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และแผนพัฒนา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560 – 2579 ของ สานักงาน กศน. อนุรักษภาษา ทอ้ งถ่นิ มีนิสยั รักการเรียนรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเนอื่ งตลอดชวี ติ สูการเปนคนไทยทม่ี ที ักษะ สงู เปน นวตั กร นักคิด ผูประกอบการ เกษตรกรยุคใหมและอืน่ ๆ โดยมสี มั มาชีพตามความถนดั ของตนเอง 2.3 สอดคล้องกับพันธกิจของสานกั งาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ พนั ธกจิ ท่ี 1 สง่ เสริม สนับสนนุ ให้บุคลากรมคี วามรู้ และทกั ษะในการจดั กระบวนการเรียน การสอนและการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี 2.4 สอดคล้องกบั พันธกจิ ของ กศน.อาเภอทบั สะแก สอดคล้องพันธกิจ ข้อที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สอดคล้องพันธกิจ ข้อที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ จดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา

219 3. หลกั การและเหตุผล ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้สานักงานกศน. ดาเนินการห้องสมุดเคลื่อนที่สาหรับชาว ตลาดตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี สานกั งานกศน.จงึ ได้จัดทาโครงการหอ้ งสมดุ เคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาด ปีงบประมาณ 2563 โดยใช้หลักการมี ส่วนร่วม ของชุมชน โดยชุมชน เพ่ือชุมชน จัดให้มีต้นแบบ 1 แห่ง น้ัน จัดทาตู้หนังสือเคลื่อนที่สาหรับชาว ตลาด เลขาธกิ ารสานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (สานักงาน กศน.) กล่าวว่า ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (รมว.ศธ.) มอบให้ กศน.จัดทายุทธศาสตร์เชิงรุกเกี่ยวกับการ ส่งเสรมิ การอ่าน เพื่อกระตนุ้ ให้ประชาชนชาวไทยทกุ คน ทกุ ช่วงกลุ่มอายุ ได้เข้าถึงและอ่านหนังสือเพิ่มมากข้ึน น้ัน ได้กาหนดกรอบการทางานแบ่งเป็น 3 ยุทธศาสตร์คือ 1.จัดทากลไกในการขับเคลื่อนส่งเสริมการอ่าน 2. ระดมความร่วมมอื จากทกุ ภาคสว่ นในสังคมชว่ ยสง่ เสริมการรัก การอ่าน และ 3.การใช้โครงสร้างพ้ืนฐานในการ ขับเคลือ่ น การทางาน ห้องสมุดประชาชนอาเภอทับสะแกเป็นส่วนหน่ึงท่ีสามารถขับเคลื่อนตามแผนดังกล่าว สามารถสร้างนิสัยรักการอ่านและทาให้ประชาชนชาวตลาดมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน ซ่ึงเปูาหมายว่าจะสามารถ ปรับพฤติกรรมคนไทยให้เป็นสังคมรักการอ่านให้ได้ ห้องสมุดประชาชนยังดาเนินการจัดทาตู้หนังสือเคล่ือนที่ สาหรับชาวตลาด ตามโครงการพระราชดาริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารีโดยตหู้ นงั สือเคลือ่ นทจ่ี ะถกู นาไปจดั วางไว้ในตลาด และจะมหี นงั สอื หลากหลายรูปแบบทั้ง หนังสอื พิมพ์ นิตยสาร เพื่อให้ประชาชนท่ีมาซื้อสินค้า พ่อค้าแม่ค้าได้มาใช้บริการ พระองค์ทรงมีความห่วงใย เรอื่ งการอา่ นของประชาชนเป็นอย่างมาก และพระองคร์ ับส่งั ว่า เมื่อครง้ั เสด็จพระราชดาเนินไปทรงปฏิบัติพระ ราชกรณียกิจ ได้พบแม่ค้าในตลาดสนใจการอ่านหนังสือ จึงอยากให้ กศน.ช่วยสนับสนุนการอ่านหนังสือของ กลมุ่ แม่คา้ พ่อค้าในตลาดต่างๆ ด้วย เพื่อสร้างโอกาสให้กลุ่มคนเหล่านี้เข้าถึงการอ่านหนังสือมากยิ่งข้ึน\"โดยใช้ หลกั การมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องอันก่อให้เกิดพลังอันเข้มแข็งในชุมชนในการสร้างวัฒนธรรมการ อา่ นและสง่ เสริมให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และการพัฒนาโดยชุมชน เพ่ือชุมชน อย่างแท้จริง และเพื่อ กระตุ้นให้ประชาชนรักการอ่าน ห้องสมุดประชาอาเภอทับสะแกได้เล็งเห็นความสาคัญของการส่งเสริมการ อา่ นจงึ ไดด้ าเนนิ การจัดทาโครงการน้ขี ้นึ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพอื่ ใหจ้ ุดบริการหนงั สือสาหรับชาวตลาด ช่วยสง่ เสรมิ ใหร้ กั การอ่านได้รับความรู้ เกิดทกั ษะการเรียนรู้ และไดป้ ระสบการณจ์ ากการอา่ น 4.2 กระจายโอกาสการเข้าถึงองค์ความรู้ ขา่ วสารได้อยา่ งทัว่ ถึงและกว้างขวาง 4.3 เพอ่ื สนองพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 5. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ - ตลาดอุดมสุขอาเภอทบั สะแก จานวน 1 แห่ง - ประ ชาชนทั่วไป จานวน 100 คน เชงิ คณุ ภาพ ประชาชน ชุมชน ชาวตลาด ได้รับบริการส่งเสริมการอ่าน สร้างการเรียนรู้ให้กับประชาชนท่ีเข้า รว่ มกิจกรรม สามารถนาความรทู้ ไี่ ด้รบั ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวัน เกิดทักษะหรือประสบการณ์ ใช้เวลาว่างให้ เกิดประโยชน์จากการอา่ นมคี วามรู้ ทกั ษะและประสบการณไ์ ด้แลกประสบการณ์ซึ่งกนั และกนั

220 6.วิธีการดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปูาหมาย เปาู หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบ ประมาณ ดาเนนิ การ ต.ค. 63 1. วางแผนการจดั -เพ่ือให้การดาเนินงานตาม - ผอ.กศน. 1 คน -กศน.อาเภอ โครงการ โครงการมีประสิทธภิ าพและ อาเภอ ทบั สะแก - ประชมุ และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ - บุคลากร 11 คน -หอ้ งสมุด - เขยี นโครงการ/อนุมัติ กศน.อาเภอ ประชาชน -แตง่ ตงั้ มอบหมายหน้าท่ี ทับสะแก อาเภอ บคุ ลากร กศน.อาเภอ ทับสะแก - จดั ซอื้ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ 2. ดาเนนิ การตามแผน 1 เพื่อเปดิ โอกาสให้เด็ก - จัดหาสถานที่ชาวตลาด เยาวชนท่ัวไปและชมุ ชนใน -ประสานงานเจา้ ของ ทอ้ งถิ่น มโี อกาสไดเ้ ปดิ โลก ตลาด ทศั น์ สมั ผัสหนังสือวารสาร - จัดหา ปูาย และสง่ิ พิมพต์ ่างๆ ตลอดจน ประชาสมั พันธ์ ตู้ ชนั้ ไดร้ บั ความเพลิดเพลนิ จาก เก้าอ้ี การอา่ น - จดั เตรียมหนงั สือออก 2 เพ่ือสรา้ งเสริมทกั ษะให้ ใหบ้ ริการ เดก็ เยาวชนและประชาชน - แจกแผ่นพบั มีนิสัยรกั การอ่าน ประชาสัมพนั ธ์งาน 3 สามารถนาความรูท้ ี่ได้รับ ห้องสมดุ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ - ฝึกสอนการประดษิ ฐ์ 4 เพอ่ื กระจายความรู้ สอ่ื ต่างๆ ด้านการศึกษา และ - จดั กิจกรรมสง่ เสริมการ วัฒนธรรมไปสู่ทอ้ งถ่นิ และ อา่ น ใหค้ นในชุมชน ร้จู ักใช้เวลา - รับสมัครสมาชกิ วา่ งให้เปน็ ประโยชนจ์ ากการ อา่ น 5 เพ่ือประชาสัมพนั ธ์ กจิ กรรมด้านการบรกิ ารทาง วชิ าการแก่ชุมชนของสานกั วิทยบริการฯ ใหเ้ ป็นท่ีรู้จัก ในวงกว้าง 6.เพือ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เยาวชนท่ัวไปและชมุ ชนใน ท้องถนิ่ ไดเ้ รียนร้ทู ักษะใน การดาเนนิ ชีวิต ผา่ นสื่อที่ หลากหลาย ซึง่ จะนาไปสู่

221 กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปูาหมาย เปาู หมาย พน้ื ท่ี ระยะเวลา งบ ดาเนนิ การ ประมาณ การพฒั นาตน ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาตติ ่อไป 3. การตดิ ตามและ เพอ่ื ติดตามและประเมินผล คณะกรรมกา 2 คน กศน.อาเภอ 15 ก.ย.64 ประเมินผล ทส่ี อดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ รท่ีรับผิดชอบ ทบั สะแก ฝาุ ยวัดผล และ ประเมินผล 4. รายงานผลโครงการฯ - เพอ่ื สรปุ จดั ทาเปน็ รายงาน คณะกรรมกา 2 คน กศน.อาเภอ 30ก.ย. 64 ทับสะแก เผยแพรต่ อ่ ตน้ สังกัด และ รท่รี บั ผิดชอบ สาธารณะ ฝุายรายงาน -เพือ่ นาผลการประเมนิ ไป ผล พฒั นาโครงการตอ่ ไป 7. วงเงินงบประมาณท้ังโครงการ - 8. แผนการใชง้ บประมาณ กจิ กรรม ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (เม.ย.–มิ.ย. 2564) (ก.ค.–ก.ย.2564) 1.วางแผนการจดั กิจกรรม (ต.ค.–ธ.ค. 2563) (ม.ค.–มี.ค. 2564) 2.จดั กิจกรรม - - 3. นเิ ทศตดิ ตามผล -- 4.รายงานผลการ ดาเนินงาน 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ - กลมุ่ งานจดั การศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอทบั สะแก 10. หน่วยงานเครอื ขา่ ย 10.1 เทศบาลตาบลทับสะแก 10.2 เจ้าของตลาดในอาเภอทบั สะแก 11. โครงการทเี่ กยี่ วขอ้ ง - โครงการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

222 12. ผลลัพธ์(Outcome) ประชาชน ชุมชน ชาวตลาด ไดร้ บั บรกิ ารสง่ เสริมการอ่าน สร้างการเรยี นรู้ใหก้ ับประชาชนท่เี ข้าร่วม กิจกรรม สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปปรับใช้ในชวี ติ ประจาวัน เกดิ ทกั ษะหรอื ประสบการณ์ ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์จากการอา่ นมคี วามรู้ ทักษะและประสบการณ์ได้แลกประสบการณ์ซงึ่ กนั และกัน 13. ตวั ชว้ี ดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ช้ีวัดผลผลติ (Output) 13.1.1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปูาหมายได้รับการส่งเสริมการอ่านและการจัดกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้รับบริการมีความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์ ในการแสวงหา ความร้จู ากการอา่ น และใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ 13.1.2. ร้อยละ 80 ของกลมุ่ เปาู หมายสง่ เสรมิ ให้ชุมชนและทุกภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการ สนับสนุนการดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ผู้รับบริการของประชาชนชาวตลาด (กลุ่มเปูาหมาย) มีความรู้ทักษะ หรือประสบการณ์ ความเข้าใจในโครงการและใช้บริการมีความพึงพอใจใน ระดับมากขน้ึ ไป 13.2 ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcome) 13.2.1. ประชาชนชาวตลาด (กลมุ่ เปูาหมาย) ไดร้ บั ความรู้ ความบันเทิง สามารถนาความรทู้ ี่ ไดร้ ับไปประยุกต์ใช้เพื่อคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครวั ผูใ้ กล้ชิด และเหน็ คุณคา่ เหน็ ประโยชนข์ องการ อา่ นและสามารถใช้แหลง่ การเรียนรไู้ ด้ 13.2.2. เป็นการสรา้ งบรรยากาศการส่งเสริมการอ่าน ความสาคัญของการศกึ ษาเรียนรู้ใหก้ ับ ประชาชนชาวตลาดและประชาชนทวั่ ไปในพื้นท่ี 14. การตดิ ตามและประเมินโครงการ 14.1 การสังเกต/สอบถาม 14.2 แบบประเมินความพงึ พอใจ

223 สว่ นที่ 5 การติดตาม และประเมนิ ผล การตดิ ตามประเมินผลแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี การกากับ ติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการประจาปี เป็นกิจกรรมที่สาคัญที่มุ่งรวบรวม และ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทัง้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพเพ่ือเสนอใหผ้ ้รู บั ผดิ ชอบดาเนินการในโครงการหรือกิจกรรม ต่าง ๆ ได้ทราบเป็นระยะ ๆ ฝุายแผนงาน สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้กาหนดแนวทางและกลไกใน การติดตามประเมินผลแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี เพ่อื ให้สามารถนาผลการประเมนิ มาใชใ้ นการวางแผนปีต่อไป ท้ังน้ี เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีการดาเนินงาน หรือปรับเปลี่ยนเปูาหมายโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ ให้ เหมาะสมกับทรัพยากรหรือสภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงไประหว่างปี และในปีต่อไปได้ด้วย ตลอดจนเกิดผล การประเมนิ มาใช้ในการวางแผนในปีตอ่ ไป การติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการประจาปี มีวัตถุประสงค์ ดังตอ่ ไปน้ี 1. เพื่อรวบรวมผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการท่ีกาหนดไว้ โดยพิจารณาจากเง่ือนไข เวลาทคี่ วรปฏิบัตแิ ละสัมฤทธิผ์ ลตามเปูาหมายเชงิ ปรมิ าณ และคุณภาพของกิจกรรมหรือโครงการตา่ ง ๆ 2. เพ่ือทราบปัญหาอุปสรรคการดาเนินงานเป็นระยะๆ นาไปสู่การปรับปรุงแผนปฏิบัติการ ประจาปีในช่วงเวลาท่เี หมาะสม 3. เพ่ือต้องการทราบผลสัมฤทธิ์โดยรวมของการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีเพื่อ นาไปใชป้ ระโยชน์ในการจัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปีในระยะตอ่ ไป 4. เพื่อต้องการทราบประโยชน์ที่ได้จากแผนปฏิบัติการประจาปี ในด้านการบริหารและการ พฒั นาประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของ สานกั งาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ นยิ ามศัพท์ การติดตาม หมายถึง กระบวนการในการติดตามความก้าวหน้าของการดาเนินงานเป็นระยะ ๆ ว่า เปน็ ไปตามแผนงานท่กี าหนดไว้หรอื ไม่ และมกี ารรายงานปัญหาทเ่ี กิดขึ้น การประเมินผล หมายถึง กระบวนการในการใช้ดุลพินิจและค่านิยมในการพิจารณาตัดสินคุณค่า ความเหมาะสม ความคุ้มค่า หรือผลสัมฤทธิ์ของเหตุการณ์ โครงการ หรือสิ่งอื่นใด หลังจากที่ได้มีการ เปรียบเทยี บผลท่วี ัดได้ โดยวธิ กี าร ๆ กต็ ามกบั เปาู หมาย วตั ถุประสงคห์ รอื เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้ การตดิ ตามและประเมินผล หมายถงึ กระบวนการวัดและตดิ ตามผลการปฏิบัติงานของแผนงานหรือ โครงการต่าง ๆ เป็นระยะ ๆ อย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ เพ่ือประเมินว่าสามารถปฏิบัติงานหรือโครงการให้ เปน็ ไปตามพันธกจิ เปาู หมายและวัตถุประสงค์ท่ีตงั้ ไวห้ รือไม่ โดยมกี ารรายงานผลแกผ่ ทู้ เี่ กี่ยวข้อง สาระสาคญั ของการตดิ ตามและประเมินผล การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่มีแผนการ ปฏิบตั ิการประจาปีเปน็ เครื่องมอื แบ่งสาระสาคัญในการประเมิน เปน็ 4 สว่ น คือ 1. การตดิ ตามเปาู หมายการใช้จา่ ยงบประมาณ 2. การติดตามแผนกจิ กรรมประจา ทกุ 3 เดือน 3. การประเมินผลสมั ฤทธ์ขิ องโครงการ 4. การประเมนิ ประโยชนข์ องแผนปฏิบตั กิ าร

224 ข้อมูลที่ได้จากการติดตามและประเมินผลดังกล่าว ต้องมีความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และผ่านการ พิจารณากล่ันกรองอย่างดีก่อนนาเสนอผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อใช้ในการตัดสินใจ เนื่องจากการดาเนินงาน ต่าง ๆ ต้องคานึงถึงประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลของบุคลากรให้มากทสี่ ุด กลไกการตดิ ตามการประเมินผล ระบบและกลไกท่สี าคญั ท่ดี าเนินการติดตามและประเมินผลแผนงาน/แผนปฏิบัติการประจาปีไปใช้ใน การกากบั ปรบั ปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานท่รี ับผิดชอบตามภารกจิ หลัก 4 ดา้ น คอื 1. ดา้ นการเรียนการสอน 2. ดา้ นวชิ าการ 3. ดา้ นแผนงาน/โครงการและงบประมาณ 4. ดา้ นการประกนั คุณภาพการศึกษา ระบบและกลไกที่สาคัญอีกประการหน่ึงของการติดตามและประเมินแผนงาน/แผนการปฏิบัติงานคือ การเสนอแนะแนวทางในการจัดทาแผนการปฏิบัตกิ ารในปีถัดไป และให้ดาเนินการจัดทาแผนงาน/แผนปฏิบัติ การของปถี ดั ไปให้ครอบคลมุ ทกุ ภารกจิ หลกั การติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการประจาปี ให้ทุกหน่วยงานรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีไปยังฝุายแผนงานตามระยะเวลาที่กาหนด เพื่อ รายงานผลการดาเนินงานและเพ่ือให้สามารถนาผลของการประเมินมาใช้ในการวางแผนในปีต่อไป ซึ่งสามารถ สรุปได้ ดังน้ี ที่ การตดิ ตาม/ประเมนิ ผล ระยะเวลา ผู้ให้ขอ้ มูล วธิ ีการ กลไก 1 ติดตามเปาู หมายการใชจ้ า่ ย ทกุ เดือน การเงนิ ตดิ ตามการขอ 1.ฝาุ ยแผนงาน งบประมาณ อนุมัติเงินและการ ใชจ้ า่ ย 2 ติดตามแผนกิจกรรม/ ทกุ ไตรมาส ผ้รู บั ผดิ ชอบ ตดิ ตามการ 2.ฝาุ ยแผนงาน โครงการ โครงการ ปฏิบัตงิ านตาม รวบรวมขอ้ มลู ปฏิทนิ กิจกรรม นาเสนอทุกไตรมาส ประจาไตรมาส 3 ประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ อง ปลายปี ทุกฝุาย ใช้แบบตดิ ตาม 3.ทุกฝาุ ยเจ้าของ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ และประเมินผล โครงการรายงานผล แผนปฏิบัติการ การปฏิบตั งิ านต่อฝาุ ย ประจาปี แผน 4 ประเมินประโยชนข์ อง ปลายปี ทกุ ฝาุ ย ใช้แบบตดิ ตาม 4.หาแนวทางแก้ไข แผนปฏบิ ตั กิ าร งบประมาณ และประเมนิ ผล ปญั หา เพอื่ หา แผนปฏิบัติการ แนวทางปรับปรุงการ ประจาปี ทางานให้ดยี ิ่งขน้ึ 5 กระบวนการจัดทา ปลายปี ทกุ ฝุาย ประชุมระดม 5.พฒั นางานอย่าง แผนงาน/แผนปฏบิ ัตกิ ารใน งบประมาณ สมองจดั ทาแผน ต่อเนอ่ื ง ปถี ัดไป สรุปและ ประเมนิ ผล

225 แผนการออกนิเทศตดิ ตามงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม ระยะเวลา ผู้รบั การนิเทศ หมายเหตุ 1 โครงการสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ ทกุ ไตรมาส ครอู าสาสมัครฯ 2 โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับ ทกุ ภาคเรยี น ครู กศน.ตาบล การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ครู กศน.ตาบล ทุกภาคเรียน ครู กศน.ตาบล 3 โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทกุ ภาคเรยี น กศน.ตาบล กศน.ตาบล 4 โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั ประเมินผลตาม การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โครงการกจิ กรรม กศน.ตาบล (กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น) ประเมินผลตาม โครงการกจิ กรรม กศน.ตาบล 5 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ กศน.ตาบล ประจาปงี บประมาณ 2564 ประเมินผลตาม โครงการกจิ กรรม กศน.ตาบล 6 โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสังคมและ ห้องสมุดประชาชน ชมุ ชน ประจาปีงบประมาณ 2564 ประเมนิ ผลตาม โครงการกิจกรรม กศน.ตาบล 7 โครงการการเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ ประเมนิ ผลตาม กศน.ตาบล พอเพยี ง ประจาปงี บประมาณ 2564 โครงการกจิ กรรม 8 โครงการสรา้ งเครือข่ายดจิ ิทัลชมุ ชนระดับตาบล ทุกไตรมาส ปงี บประมาณ 2564 ทุกไตรมาส 9 โครงการจดั และสง่ เสริมการจัดการศึกษาตลอด ชวี ติ เพื่อคงพฒั นาการทางกายจิต ทกุ ไตรมาส สมองของผสู้ งู อายุ ประจาปงี บประมาณ 2564 ประเมนิ ผลตาม 10 โครงการจัดสรา้ งแหล่งเรยี นรู้ชมุ ชนในตาบล โครงการกิจกรรม ประจาปงี บประมาณ 2564 11 โครงการพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ประจาปีงบประมาณ 2564 12 โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน ประจาปงี บประมาณ 2564 (กศน.ตาบล) 13 โครงการความร่วมมอื การผลติ ผู้ดแู ลผู้สงู อายุ ระหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง สาธารณสุข

226 ที่ โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลา ผูร้ บั การนิเทศ หมายเหตุ ทกุ ไตรมาส กศน.อาเภอ 14 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ประจาปี งบประมาณ 2564 ประเมนิ ผลตาม กศน.ตาบล โครงการกจิ กรรม 15 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการส่ือสารด้าน กศน.ตาบล อาชีพ ประจาปีงบประมาณ 2563 ทกุ ไตรมาส บรรณารกั ษ์ 16 โครงการนิเทศตดิ ตามผลการจดั การศึกษานอก ทุกปีงบประมาณ กศน.อาเภอ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ประจาปี งบประมาณ 2564 ทกุ ภาคเรยี น กศน.อาเภอ 17 โครงการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ทุกภาคเรยี น กศน.อาเภอ เพื่อรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ประเมนิ ผลตาม บคุ ลากรครู กศน. โครงการกิจกรรม อาเภอทบั สะแก 18 โครงการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ประเมนิ ผลตาม ทุกคน โครงการกจิ กรรม 19 โครงการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา กศน.ตาบล ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 20 โครงการพฒั นาศกั ยภาพครแู ละบคุ ลากรเพ่อื เพมิ่ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานดา้ น การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศัย 21 โครงการจิตอาสา “เราทาความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ” กศน.อาเภอทบั สะแก งามตา ประชาชืน่ ใจ ประจาปงี บประมาณ 2564 การปรบั แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี โดยท่ัวไปแผนปฏิบัติการสามารถปรับปรุงได้ตามความเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและ/หรือ สภาพแวดล้อมต่างๆ ทีเ่ ปล่ียนแปลงไป การปรบั แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี อาจทาไดด้ ังน้ี คอื 1. การปรับแผนปฏิบัติการในระดบั กิจกรรมของโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ อาจมีการปรับปรุง เพม่ิ เติมหรอื ยกเลิกกิจกรรมต่าง ๆ แตว่ ัตถุประสงค์และเปูาหมายของโครงการ/กิจกรรม ไม่มีการเปล่ียนแปลง ให้นาเสนอคณะกรรมการติดตามประเมินผลเปน็ ผพู้ จิ ารณาดาเนนิ การปรบั ได้ทนั ที 2. การปรับแผนปฏิบัติการในระดับโครงการ หมายถึง การยกเลิก หรือปรับปรุงโครงการที่มี ผลทาใหว้ ตั ถปุ ระสงค์ เปาู หมาย หรอื งบประมาณการดาเนินงานเปล่ียนแปลงไปจากเดิม วธิ กี ารตดิ ตามและประเมินผล การตดิ ตามเปาู หมายการใช้จา่ ยงบประมาณ 1. ติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจาทุกเดือน จากข้อมูลรายงานสถานะทางการเงิน ประจาเดอื น (แหล่งขอ้ มลู : ฝุายแผนงาน) -ตดิ ตามการใช้เงนิ ให้สอดคลอ้ งตามแผนและนโยบายของ สถานศึกษา -ปรบั แผนการใช้จา่ ยเงินใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการตามลาดับความสาคัญ

227 2. ติดตามการใช้งบประมาณจากโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจาปี ประจาทุก เดอื น จากแบบติดตามและประเมินผลแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี (แหล่งขอ้ มูล: ทกุ ฝาุ ย) -ติดตามการใชเ้ งินงบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามแผนทีร่ ะบุไว้ในแผนปฏิบัติการประจาปี การตดิ ตามแผนกิจกรรม 1. เครื่องมือที่ใช้ในการติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรมแผนปฏิบัติการประจาปี “แบบตดิ ตามและประเมินผลแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี” 2. วธิ กี ารกรอกข้อมลู ในแบบติดตามและประเมินผล 2.1 ผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมแผนปฏิบัติการประจาปี เป็นผู้กรอกข้อมูลตาม แบบตดิ ตามและประเมนิ ผล 2.2 เรม่ิ กรอกขอ้ มูลเมือ่ เริ่มดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมแผนปฏิบัติการประจาปี -กรอกข้อมูลอย่างต่อเนื่องประจาทุกเดือน จนกว่าจะเสร็จส้ินโครงการ/กิจกรรม น้นั ๆ -กรณุ าสง่ แบบตดิ ตามและประเมนิ ผลทฝ่ี ุายแผนงาน ทุกวันท่ี 5 ของเดอื น 3. รวบรวมข้อมูล/นาเสนอ 3.1 ผรู้ วบรวมแบบตดิ ตามและประเมินผล คอื ฝุายแผนงาน 3.2 รวบรวมแบบติดตามและประเมินผล และสรุปกิจกรรมประจาเดือนของ โครงการ/ กจิ กรรมแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี ทุก 3 เดอื น 3.3 ส่งสรุปผลการดาเนินงานติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรม แผนปฏิบัติ การประจาปที ุกไตรมาส ไปท่ีฝุายแผนงาน 3.4 นาเสนอข้อมูลการติดตามและประเมินผลฯประจาทุก3 เดือน เพื่อทราบและ พจิ ารณาดาเนินการต่อไป 3.5 สง่ สรุปผลการดาเนินงานติดตามและประเมินผลโครงการ/กิจกรรม แผนปฏิบัติ การประจาปี เมื่อสิ้นปงี บประมาณ ประเมินผลสัมฤทธิผ์ ลของโครงการ/กิจกรรม /ประเมนิ ประโยชน์ของแผนปฏบิ ัตกิ าร(ส้ินสดุ ปงี บประมาณ) สรุปผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมแผนปฏิบัติการประจาปี นาเสนอผลสัมฤทธิ์ด้านการใช้ งบประมาณในแผนปฏิบัติการ ผลสัมฤทธิ์ของโครงการในภาพรวม Output Outcome ประโยชน์ของ แผนปฏิบัติการที่ได้รับ สรุปประเด็นปัญหา/แนวทางการแก้ไข และข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นประโยชน์ในการ จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการในปีถัดไป กระบวนการจดั ทาแผนงาน/แผนปฏิบัติการในปถี ัดไป -ทุกฝุายเสนอแผนงานที่จะทาในปงี บประมาณถดั ไปมาทฝ่ี ุายแผนงาน -ฝุายแผนงาน รวบรวมแผนงานจากทุกฝุายท่ีนาเสนอ และข้อมูลในปีงบประมาณท่ีผ่านมา เพ่ือเป็น แนวทางในการจัดทาแผนงาน/แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี -จดั ประชมุ การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี โดยให้ทุกฝุายเข้าร่วมประชมุ เป็นการระดมสมอง เพอ่ื ให้ได้แผนปฏบิ ัติราชการท่ีมีประสทิ ธิภาพ นาไปใชใ้ นปถี ัดไป

229 คณะผูจ้ ัดทา ที่ปรกึ ษา ผอู้ านวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1. นางเรียงตะวัน สทิ ธเิ ชนทร์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอทับสะแก 2. นางมณรี ัตน์ อจั ฉรยิ พันธกุล นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน 3. นายนยิ ม ภาลกี ัณฑ์ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอทบั สะแก คณะผจู้ ดั ทา ครูผชู้ ว่ ย 1. นางมณีรตั น์ อัจฉริยพันธกุล ครผู ู้ชว่ ย 2. นายสุรพงษ์ อนันตธ์ นสาร ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวภชิ ชากร ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสมุ ิตรา สุขอวบอ่อง ครู กศน.ตาบล 5. นางสาวยพุ เยาว์ เยาวหลี ครู กศน.ตาบล 6. นางนิยะดา อนิ ไชยยา ครู กศน.ตาบล 7. นางสาวภณั ฑิรา งวิ้ งาม ครู กศน.ตาบล 8. นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล 9. นางสาวสมติ า โชติดาว นกั จดั การงานทัว่ ไป 10. นายบุญทิพย์ สอนงา่ ย บรรณารักษ์ 11. นางสาวรัตนาวลี สิงหค์ าร 12. นางเกษร ฤทธิกลู ครผู ู้ชว่ ย ครผู ชู้ ่วย รวบรวม/เรยี บเรยี ง ครู กศน.ตาบล 1. นายสรุ พงษ์ อนันตธ์ นสาร 2. นางสาวภิชชากร ชูรัตน์ ครูผ้ชู ่วย 3.นางสาวสมติ า โชตดิ าว ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล ออกแบบปกรปู เล่มและพิมพ์ 1. นายสรุ พงษ์ อนันต์ธนสาร ครผู ูช้ ว่ ย 2. นางสาวสมิตา โชติดาว ครผู ้ชู ว่ ย 3. นางสาวพรพมิ ล เยาวมาลย์ ครู กศน.ตาบล บรรณาธกิ าร 1. นายสุรพงษ์ อนนั ตธ์ นสาร 2. นางสาวภชิ ชากร ชูรัตน์ 3. นางสาวสมิตา โชตดิ าว