เจตคต ม ว ธ การว ดและการประเม นผลอย างไร

ตอ่ สังคม จึงต้องศึกษาพนั ธกุ รรมและส่งิ แวดล้อม เพื่อใหม้ ีอทิ ธิพลต่อเจตคติตอ่ บคุ คลตามท่ตี อ้ งการได้

5. เจตคตมิ คี วามดงี ามอยู่ในตวั เจตคติของบุคคลทีม่ ีตอ่ เป้าเจตคติรอบๆ ตัว จะสะทอ้ นให้เห็นโลก

ทศั น์ของคนๆ น้ันด้วย

6. เจตคติเป็นศูนย์กลางของความคิดและเป็นพ้ืนฐานของพฤติกรรมสังคม ตาม

แนวคดิ ทางสังคมวทิ ยา การจะปรบั ระบบกลไกของสงั คม จงึ ควรตอ้ งเปลย่ี นแปลงเจตคติของ แตล่ ะบุคคลด้วย

วธิ กี ารศกึ ษา เจตคติ 1. การวดั (Measurement) วธิ ีการวดั ได้มกี ารพฒั นาขนึ้ มาก ซงึ่ ทีเ่ ป็นมาตรฐานและ ได้รับความนิยมได้แก่ การวัดตามแบบของเทอร์สโตน ลิเคอร์ท กัตแมน และออสกูด เคร่ืองมือท่ีใช้ วัดเปน็ ประเภทเคร่อื งมอื ที่ใช้วธิ กี ารรายงานตนเอง (Self-report)

2. การโหวตเสียง (Polls) เป็นการศึกษากับคนกลุ่มใหญ่ เช่นการเลือกต้ัง ความนิยม พรรคการเมืองไทย เปน็ ตน้ โดยกลุ่มตัวอย่างต้องเช่ือถือได้และสามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ เคร่ืองมือ ทใี่ ชว้ ัดได้แก่ แบบสอบถาม

3. การพรรณนา (Description) เป็นการอธิบายถึงลักษณะของเจตคติท่ีน่าสนใจของ กลุ่มบุคคล เช่น กลุ่มเด็กหนีโรงเรียน กลุ่มมีผลการเรียนไม่ดี เป็นต้น ศึกษาด้วยวิธีการสัมภาษณ์ แล้ว อธิบายให้เห็นว่าความจริงเป็นอย่างไร การศึกษาแบบนี้ไม่ได้ใช้วิธีการวัด แต่เป็นการบรรยายให้เห็นภาพ เคร่อื งมือทใ่ี ชไ้ ด้แก่ การสัมภาษณ์ การสังเกต

4. วิธีทางทฤษฏี (Theories) เป็นการศึกษาเก่ียวกับทฤษฏีที่เกี่ยวกับเจตคติ อธิบายธรรมชาตขิ องเจตคตวิ า่ กอ่ ตัวอย่างไร เปลี่ยนแปลงอย่างไร ไม่เนน้ การวัด หรอื วดั เนอ้ื หาที่แน่ชัด

5. การทดลอง (Experiments) เป็นจัดกระทากับสถานการณ์หนึ่ง จะมีตัว แปรควบคมุ ใหม้ ีสภาพเหมือนเดมิ กับตวั แปรทดลองท่ีจัดกระทาบางประการ ดูว่าการทดลองส่งผล ต่อตัวแปรที่ทดลองหรือไม่ เน้นการค้นคว้าองค์ประกอบท่ีสามารถทาให้เจตคติเปล่ียนแปลง และ ทดสอบสมตฐิ าน เคร่อื งมอื ที่ใชไ้ ดแ้ ก่ แบบวัดการรายงานตนเอง การสังเกต เทคนิคการจินตนาการ และการวัดด้วยเครื่องมอื ไฟฟา้ หรือเคร่ืองมอื อ่นื ๆ

ลักษณะของ เจตคติ

แซกส์ (Sax, 1980)

1. เจตคตมิ ีทิศทาง (Direction) มที ้งั ทางบวกและลบชอบและไม่ชอบ 2. เจตคตมิ ีความเข้มขน้ (Intensity) มีท้งั ทางบวกระดบั มาก

ถงึ น้อย และทางลบระดับมากถงึ น้อย

3. เจตคตมิ ีการแผก่ ระจาย (Pervasiveness) การแผก่ ระจายจากกลุ่มหนง่ึ สู่อกี กลุม่ หนงึ่ ได้

เชน่ การต่อต้านการสรา้ งเข่อื นเพราะเจตคติต่อการสรา้ งเข่ือนไม่ดี จากกลมุ่ เล็กไปสู่ กล่มุ ใหญ่

4. เจตคติมคี วามคงเสน้ คงวา (Consistency) เจตคตเิ ปน็ ความร้สู ึกคงที่ มลี ักษณะฝังแน่นตรงึ นานพอสมควร การเปลีย่ นแปลงจะ ค่อยเป็นไปทีละน้อย และใชเ้ วลานาน

5. เจตคตมิ ีความพรอ้ มท่ีจะแสดงพฤติกรรม ออกมา (Salience) เป็นระดบั ขนั้ เตม็ ใจหรอื พรอ้ มทแี่ สดงออก ซึ่ง

เป็นลกั ษณะของความตรึงใจ มองเห็นความสาคญั ประทบั ใจต่อเปา้ เจตคติ ดงั น้ัน การวัดเจตคตดิ ว้ ยแบบวดั ไม่สามารถวัดไดช้ ัดเจน จะตอ้ งใช้วธิ ีการสัมภาษณ์หรอื การสังเกตเหตุการณ์ทม่ี โี อกาสได้แสดงออกเทา่ นน้ั

เจตคติองค์ประกอบของ 1. เจตคติองค์ประกอบเดียว กลุ่มน้ีเชื่อว่าเจตคติเกิดจากการประเมินเป้าของ

เจตคตวิ า่ รู้สกึ ชอบหรอื ไม่ชอบ

2. เจตคตสิ ององคป์ ระกอบ ซึ่งประกอบด้วยดา้ นสติปัญญา (Cognitive) และ

ด้านความรสู้ กึ (Affective)

3. เจตคตสิ ามองคป์ ระกอบ ซึ่งประกอบด้วย 3 สว่ นไดแ้ ก่

3.1 ดา้ นสตปิ ญั ญา (Cognitive Component) ประกอบดว้ ยความรู้ ความคิดและ

ความเชื่อท่ีบุคคลมีต่อเป้าเจตคติ เช่น ฮิตเลอร์เป็นเป้าเจตคติ คาท่ีกล่าวว่า “ฮิตเลอร์เป็นเผด็จการ” ถึอว่าเป็น ความเชอ่ื ที่มีต่อเปา้ เจตคติ ตวั อยา่ งอ่นื ๆ เช่น คนไทยรักนรี้ กั สงบ ครคู อื เรือจา้ ง เป็นตน้

3.2 ด้านความรู้สึก (Affective Component) เป็นความรู้สึกหรืออารมณ์ของ

บุคคลต่อเป้าเจตคติว่ารู้สึก ชอบหรือไม่ชอบ พอใจหรือไม่พอใจ หลังจากที่ได้รับรู้เป้าเจตคติแล้ว สามารถแสดง ความรูส้ กึ ประเมนิ วา่ ดหี รอื ไมด่ ี เชน่ “ข้าพเจา้ ไม่ชอบคนท่เี ผด็จการ” “ข้าพเจ้าชอบนิสัยคนไทย” “ครูเป็นอาชีพท่ี ดี” เปน็ ตน้

3.3 ดา้ นพฤตกิ รรม (Behavior Component) เปน็ แนวโน้มที่จะกระทาหรือ

แสดงพฤติกรรมต่อเป้าเจตคติเท่านั้น แต่ยังไม่แสดงออกจริง เช่น “ถ้าใครพูดถึงคนที่เผด็จ การขา้ พเจา้ จะเดินหนี” ถา้ เหน็ คนไทยทีไ่ หนข้าพเจา้ จะไปทักทาย” หรือ “ถ้าพบครูข้าพเจ้าจะ ไปแสดงความเคารพ” เป็นต้น

การเกิดเจตคติทฤษฏแี ละความเชือ่ เกย่ี วกับ 1. ทฤษฏีการเรียนรู้ (Learning Theory) การเรียนรู้จากการ

เช่ือมโยงสัมพันธ์ การเสริมแรง และการเลียนแบบทาให้เกิดเจตคติ ทฤษฏีการ เรียนรู้เป็นตัวทาให้เกิดเจตคติขึ้นมาจากการเรียนรู้ข้อเท็จจริง ความเชื่อ แล้ว ประเมินว่าอะไรมีความสาคัญ ทางบวกหรือลบ ก่อให้เกิดเจตคติทางบวกหรือ ทางลบต่อสง่ิ ท่ีไดเ้ รยี นร้นู นั่ เอง

2. ทฤษฏีแรงจูงใจ (Incentive Theory) ประสบการณ์ในอดีต

(Past Experience) มีผลต่อแรงจูงใจของบุคคลเป็นอย่างมาก ดังน้ันทุก พฤติกรรมของมนษุ ยถ์ ้าวิเคราะห์ดูแล้วจะเห็นว่าได้รับอิทธิพลท่ีเป็นแรงจูงใจมา จากประสบการณ์ในอดีตเป็นส่วนมาก โดยประสบการณ์ในด้านดีและกลายเป็น แรงจูงใจทางบวกทสี่ ่งผลเรา้ ใหม้ นษุ ย์มคี วามตอ้ ง การแสดงพฤติกรรมในทศิ ทาง นั้นมากยิ่งข้ึนทฤษฎีน้ีเน้นความสาคัญของส่ิงเร้าภายนอก (Extrinsic Motivation)

การสรา้ งแบบวดั เจตคติตามรูปแบบของลเิ คอร์ท (Likert’s Scale)

- เปน็ วิธที ่หี าค่าความเชื่อม่นั ไดส้ ูงกวา่ วธิ ีอ่ืน

- เปน็ วธิ ที ว่ี ัดเจตคตไิ ดก้ วา้ งขวางกว่าวธิ ีอน่ื

- ทาได้โดยการสร้างข้อความในเรื่องนั้นๆ ให้บุคคลพิจารณาหรือหาค่าของ มาตรวัด โดยให้พิจารณาเห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยต่อข้อความน้ัน แต่ละ ข้อความจะแบ่งมาตรออกเปน็ 5 ช่วง คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่ แน่ใจ ไม่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยอย่างย่ิง และหลังจากผู้ตอบได้ พิจารณาแล้วจะนาคาตอบนั้นมาให้น้าหนัก(ในปัจจุบันมักกาหนดค่า นา้ หนกั ในแต่ละขอ้ ความเป็น 1 – 2 – 3 – 4 – 5 )

การสรา้ งแบบวดั เจตคติตามรูปแบบของลเิ คอรท์ (Likert’s Scale)

1. ข้อความเจตคติที่จะสรา้ ง 2. การตอบแตล่ ะข้อความจะ 3. เจตคติของแตล่ ะบุคคล ต้องครอบคลมุ ช่วงเจตคติ. บอกถงึ เจตคตขิ องแตล่ ะ พิจารณาไดจ้ ากการรวมนา้ หนกั บุคคลท่มี อี ยู่ . คะแนนของคาตอบจากทกุ ข้อความในมาตรน้ัน

กำรสร้ำงแบบวัดเจตคติ 1.กำหนดเปำ้ หมำยของเจตคติ

รปู แบบของลิเคอร์ท 2. ศึกษำเอกสำรและงำนวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง

(Likert’s Scale) 3. เขยี นข้อควำมวัดเจตคติ

4. ตรวจสอบข้อควำมทเ่ี ขยี นขึ้นด้วยตนเอง

5.ตัดสนิ ใจวำ่ จะเลือกใช้ตัวเลอื กในแตล่ ะข้อควำมก่ตี ัวเลอื ก

6.นำขอ้ ควำมทค่ี ัดเลือกมำเรียบเรยี งเปน็ แบบวดั เจตคติ

7. ตรวจสอบควำมเทย่ี งตรง

8. ทดลองเครอ่ื งมือ หาคณุ ภาพคำ่ อำนำจจำแนกรำยขอ้ และห่ำควำมเช่ือมั่นท้งั ฉบบั

9. ปรับปรุงคณุ ภำพเครอ่ื งมือ

10. สรำ้ งเกณฑใ์ นกำรใหค้ ะแนน BEST FOR You 10 ORGANICS COMPANY

ตวั อยำ่ ง

แบบวดั เจตคติ

รปู แบบของ

ลเิ คอรท์

BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

ลิเคอรท์ข้อควำมท่ีใช้แบบวัดเจตคติ รูปแบบของ

ตอ้ งเปน็ ขอ้ ควำมแสดงออกถึงควำมรสู้ ึก ไมใ่ ชข้ อ้ ควำมทเ่ี ป็นควำมจริง ข้อคำถำม “ชอบ” “ไม่ชอบ” เป็นเจตคติเทำ่ นน้ั เจตคติต่อมหำวทิ ยำลยั เจตคติต่อมหำวิทยำลยั 1. เรียนในมหำวทิ ยำลยั ต้องใช้เวลำ 4 ปี 1. ต้ังแต่เรียนมำ คดิ ว่ำชอบเรียนในมหำวิทยำลัยท่ีสุด 2. เรียนมหำวทิ ยำลยั แล้วดอี ย่ำงไร 2. พูดถึงมหำวิทยำลยั แล้วปลมึ้ ใจ 3. เรยี นมหำวทิ ยำลัยต้องเรียนออนไลน์ในยคุ โควิด-19 3. เรียนๆ ไป เมไ่ ดอ้ ยำกใส่ใจกบั ชวี ติ มหำวทิ ยำลัย 4. หน้ำมหำวทิ ยำลยั มีรำ้ นเซเว่นและอเมซอน 4. ผำ่ นหน้ำมหำวิทยำลยั แลว้ ย้ิมตลอด 5. ข่ำวเกียวกับมหำวทิ ยำลยั ชว่ งน้คี ือลดคำ่ เทอม 5. น้ำตำไหลเมอ่ื ได้อำ่ นข่ำวเกียวกบั มหำวิทยำลยั 6. นกั ศึกษำคนหน่งึ เบอ่ื ชีวติ มหำวิทยำลยั เลยโดดตกึ ตำย 6. เบื่อชีวติ มหำวทิ ยำลัยตลอดเลย

ลิเคอรท์ขอ้ ดี ข้อจำกัดของแบบวดั เจตคติ รปู แบบ

ขอ้ ดี ข้อจำกัด

1. ผู้วิจัยสำมำรถใช้กับสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ได้ กำรใชแ้ บบวัดเจตคติของลเิ คอร์ทนน้ั เป็นไปได้ อย่ำงเหมำะสม สำมำรถที่จะดัดแปลง ทผ่ี ตู้ อบได้คะแนนรวมเทำ่ ๆ กนั ทง้ั ท่ีผตู้ อบ นำไปใช้ในลักษณะต่ำงๆ ทำงด้ำนจิตพิสัย ตอบไมเ่ หมือนกนั เช่น นำย ก. อำจจะได้ 25 (Affective Domain) ได้ คะแนนจำกกำรที่แสดงควำมคดิ เหน็ ใน ทำงบวกตอ่ ขอ้ ควำมขอ้ ท่ี 2 , 4 , 6 , 8 , และ 2. สะดวกต่อกำรใช้ และนำมำใช้ง่ำย 9 ในขณะที่ นำย ข. อำจจะไดค้ ะแนน 25 เทำ่ ๆ กัน แตม่ ำจำกกำรทแี่ สดงควำมคิดเหน็ 3. เปิดโอกำสให้ผู้ตอบแสดงควำมคิดเห็นได้ ทำงบวกตอ่ ข้อควำมที่ 1 , 3 , 5 ,7 และ 11 ทั้งทำงบวกและทำงลบ พร้อมทั้งแสดง ใหเ้ ห็นถึงระดบั ของควำมคิดเหน็ ไดด้ ว้ ย

แบบวดั เจตคติ มตี อ่ ใน ไฟล์ท่ี รูปแบบของ 2 ออสกูด

การวัดเจตคต-ิ 2

รองศาสตราจารย์ ดร.วิเชียร อินทรสมพันธ์

ค ณ ะ ค รุ ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ บ้ า น ส ม เ ด็ จ เ จ้ า พ ร ะ ย า

แบบวัดเจตคติ

ออสกูดรูปแบบของ

(Osgood’s Sematic Diiferntial Technique)

ออสกดูเจตคติแบบวดั 1. องค์ประกอบด้านการประเมินค่า รปู แบบของ (Evaluation Factor) เช่น ดี - เลว เมตตา – โหดร้าย ซ่ือสัตย์– คดโกง ฉลาด- โง่ จริง – (Osgood’s Sematic Diiferntial Technique) เท็จ ยุติธรรม- ลาเอยี ง เป็นตน้

- ใช้ความหมายทางภาษาของออสกูด (Osgood’s Semantic 2. องค์ประกอบด้านศักยภาพ Differential Technique) เชื่อว่าภาษาเป็นสื่อที่มีความหมาย (Potency Factor) เช่น แข็งแรง – อ่อนแอ ของมนุษย์ท่ีสามารถนามาวัดความรู้สึก เจตคติและพฤติกรรม ของมนษุ ยไ์ ด้ หนัก – เบา ใหญ่ – เล็ก ลึก – ตื้น บอบบาง- ทนทาน เปน็ ตน้ - คาทั้งหลายมีองค์ประกอบท่ีเป็นพ้ืนฐานอยู่ 3 องค์ประกอบ โดยท่ีองค์ประกอบแต่ละด้านจะมีคาคุณศัพท์ ที่แสดงลักษณะ 3. องค์ประกอบด้านกิจกรรม (Activity ขององค์ประกอบ จัดเป็นคู่ มีความหมายตรงกันข้ามกัน Factor) เช่น ว่องไว –เฉื่อยชา เร็ว – ช้า ร่า (Bipolar Adjective) เริง – หงอยเหงา รบี ร้อน –เยน็ ชา บอบบาง – ทนทาน เปน็ ตน้

ออสกูดกำรสร้ำง

แบบวัดเจตคติ รูปแบบของ

1.กำหนดเป้ำหมำยของเจตคติ หรอื ควำมคดิ รวบยอด 2. เลือกคำคู่คณุ ศพั ทท์ ี่มีควำมหมำย 3 กล่มุ คอื ดำ้ น ประเมนิ ค่ำ ด้ำนศักยภำพ และดำ้ นกจิ กรรม 3.............

4 BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

ออสกดูกำรสร้ำง

แบบวดั เจตคติ รปู แบบของ

3.นำคำคุณศัพท์มำสรำ้ งเป็นมำตรวัด แบ่งเปน็ 3 , 5, 7, หรอื 9

ชว่ ง แตช่ ว่ งท่ีเหมำะสมคือ 7 ชว่ ง แบง่ ออกเป็น 2 แบบดังตัวอยำ่ ง

5 BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

ออสกดูกำรสร้ำง

แบบวดั เจตคติ รปู แบบของ

3.นำคำคุณศัพท์มำสรำ้ งเป็นมำตรวัด แบ่งเปน็ 3 , 5, 7, หรอื 9

ชว่ ง แตช่ ว่ งท่ีเหมำะสมคือ 7 ชว่ ง แบง่ ออกเป็น 2 แบบดังตัวอยำ่ ง

6 BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

ออสกดูกำรสรำ้ ง

แบบวัดเจตคติ รปู แบบของ

1.กำหนดเป้ำหมำยของเจตคติ หรอื ควำมคิดรวบยอด

2. เลือกคำค่คู ณุ ศัพทท์ มี่ ีควำมหมำย 3 กลุม่ คือ ด้ำน ประเมนิ คำ่ ดำ้ นศกั ยภำพ และดำ้ นกจิ กรรม

3.นำคำคุณศพั ท์มำสรำ้ งเป็นมำตรวดั แบง่ เป็น 3 , 5, 7, หรือ 9

ชว่ ง แต่ช่วงที่เหมำะสมคอื 7 ชว่ ง

4. นำแบบวัดเจตคตไิ ปทดลองใชก้ บั กลมุ่ ตวั อยำ่ ง

5 วเิ ครำะห์คณุ ภำพของข้อควำมแต่ละขอ้ หาค่าอานาจจาแนกแตล่ ะขอ้ โดยใช้ t- test for independent sample และหาคุณภาพทง้ั ฉบับโดยการคานวณหาค่าความ เช่อื มั่น (Reliability) ของขอ้ ความแต่ละขอ้ โดยใช้สัมประสทิ ธอ์ิ ลั ฟา (α-Coefficient) หรืออาจใช้วธิ ีแบบแบ่งครง่ึ (Split-half) ซึ่งออสกดู เสนอวา่ ไม่ควรต่ากวา่ 0.85

6. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูลจำกแบ7บวัดเจตคติตำมแบบของBออEสSกTดู FOR You

ORGANICS COMPANY

ออสกดูเจตคติข้อดี ขอ้ จำกดั ของ แบบวดั รปู แบบของ

ขอ้ ดี ข้อจำกดั

1. สร้างง่ายใช้ง่ายด้วยการหาคาคุณศัพทต์ รงกนั ข้ามทัง้ 1. ผู้ตอบต่างคนอาจจะแปลความหมายของคาคุณศัพท์คู่เดียวกัน 3 องคป์ ระกอบ ต่างความหมายของ “ดี” ของคนหน่ึงอาจจะต่างจาก “ดี” ของอีก คนหน่ึงก็ได้ 2. สามารถนาไปใช้เปรียบเทียบเจตคติของผู้ตอบ หรือ กลุ่มของผู้ตอบท่ีมีต่อเป้าหมาย ที่ต่างกัน เช่น 2. ความหมายของคาคุณศัพท์เมื่อใช้กับเป้าหมายต่างกันจะมี ต้องการเปรียบเทียบเจตคติของผู้ตอบท่ีมีต่อการเรียน ความหมายต่างกัน เช่น คาว่า “ยาก” ถ้าใช้วัดเจตคติต่อ วิชาภาษาไทยกับภาษาอังกฤษ โดยใช้แบบวัดชุด กิจกรรมการเรียนการสอนของครู จะมีความหมายต่างจากคาว่า เดียวกันก็สามารถท่จี ะนาไปเปรยี บเทียบกนั ได้ “ยาก” ในการวัดเจตคติของนักเรียนต่อผ้สู อน

3. ผูต้ อบไมม่ ีความรสู้ ึกลาบากในการตอบ 3. ถ้าใช้วัดความคิดรวบยอดหลายด้าน ผู้ตอบจะเกิดความเบื่อ หน่าย และไม่ตั้งใจคอยตอบในความคิดรวบยอดด้านหลังๆ โดยเฉพาะถ้าวัดหลายๆ ด้าน ใช้คาคุณศัพท์ตั้งแต่ 10 คู่หรือ มากกว่าจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเบอ่ื หนา่ ยมากยิ่งข้ึน

BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

เจตคติแบบวัด

รูปแบบของเทอรส์ โตน

(Thusrtone’s Scale)

BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

แบบวัดเจตคติ รปู แบบของเทอร์สโตน (Thusrtone’s Scale)

Thurstone ได้กำหนดคณุ ลักษณะของบุคคลตัง้ แตม่ ำกที่สุด ไปจนถงึ นอ้ ยที่สุด โดยค่ำน้ำหนักของแต่ละข้อได้มำจำกกำรพจิ ำรณำของ

ผู้เช่ยี วชำญ และดว้ ยวิธีกำรทใี่ หแ้ ตล่ ะชว่ งมนี ้ำหนักคะแนนเทำ่ กนั จึง เรยี กวำ่ Equal-appearing Interval Scale โดยแบง่ เปน็ จำนวน 11 ช่วง เท่ำๆ กัน จงึ เรยี กวำ่ Judgment Method เพรำะเปน็ วิธกี ำรวัดทอ่ี ำศัย ผเู้ ชีย่ วชำญพจิ ำรณำตดั สนิ ข้อควำมเพื่อกำหนดมำตรวดั แต่ละขอ้ ว่ำ

ขอ้ ควำมแตล่ ะขอ้ ควำมจะอยู่ในตำแหน่งใดของมำตรวัด

BEST FOR You

ORGANICS COMPANY

แบบวัดเจตคติ รูปแบบของเทอร์สโตน (Thusrtone’s Scale)

1.กำหนดเป้ำหมำยของเจตคติ ตัวแปรทจี่ ะวัด

2. เขียนขอ้ ควำมท่ีเก่ยี วข้องกบั เรือ่ งทศี่ กึ ษำให้ไดม้ ำกทสี่ ุด

3. นำข้อควำมทรี่ วบรวมได้ไปใหผ้ ้เู ชย่ี วชำญพจิ ำรณำตัดสิน (Judge) ประมาณ 50 ถงึ 100 คน โดยใหผ้ ู้ตดั สินแบ่งข้อความทัง้ หมดเปน็ 11 กล่มุ ตามลาดับของความเข้มขน้ ของขอ้ ความจากนอ้ ยท่สี ุด

ไปสมู่ ากทสี่ ุด ซึง่ มลี าดับค่าจาก 1 ถงึ 11

4. รวบรวมข้อมูลต่ำงๆ จำกผตู้ ัดสนิ แล้วทำกำรแจกแจงควำมถีข่ องแตล่ ะ ขอ้ ควำม

4.1 คำ่ ประจำข้อ (Scale Value : S) หรือคำ่ มัธยฐำน (Median) ใชส้ ญั ลักษณ์ S เปน็ คา่ ประจา

ขอ้ ความแตล่ ะข้อ ซึ่งเปน็ ค่าทแี่ สดงใหท้ ราบถงึ ความคดิ เหน็ ของผู้ตดั สินต่อขอ้ ความนั้น โดยถา้ ข้อความทม่ี คี ่าประจาขอ้ (S) สงู จะเป็นข้อความ ทแี่ สดงถึงเจตคติทด่ี ี ส่วนขอ้ ความทมี่ ีคา่ ประจาข้อ (S) ต่า จะเปน็ ขอ้ ความทม่ี ีเจตคติทไี่ ม่ดี

4.2 ค่ำเบ่ยี งเบนควอไทล์ หรอื ค่ำพิสยั ควอไทล์ (Q) ใช้สญั ลักษณ์ Q โดยถ้าขอ้ ความทมี่ คี า่ เบ่ียงเบนค

ประโยชน์ของการวัดและประเมินผลมีอะไรบ้าง

1. การประเมินผล ช่วยทําให้การกําหนดวัตถุประสงค์และ มาตรฐานของการดําเนินงานมีความชัดเจนขึน 2. การประเมินผล ช่วยให้การใช้ทรัพยากรเป็นไปอย่างคุ้มค่า หรือเกิดประโยชน์เต็มที 3. การประเมินผล ช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ 4. การประเมินผล มีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาอันเกิดจาก ผลกระทบของโครงการและทําให้การเสียหายลดน้อยลง

การวัดและประเมินผลมีกี่ด้าน

2.ลักษณะส าคัญของการวัดและประเมินผลทางการศึกษา การวัดผลทางการศึกษา เป็นกระบวนการวัดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนนิยมวัดผลการเรียนรู้ เป็น 3 ด้านคือ พุทธิพิสัย (cognitive domain) จิตพิสัย (affective domain) และทักษะพิสัย (psychomotor domain) ซึ่งการวัดลักษณะของการวัดดังกล่าวมีประเด็นที่น่าสนใจดังนี้

การวัดผลด้านเจตคติคืออะไร

การวัดเจตคติเป็นการวัดความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งอาจเป็นการประเมินค่าสถานการณ์คุณลักษณะของสิ่งที่ประเมินว่าอยู่ในระดับใด หรือสนใจที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เจตคติสามารถวัดโดยตนเอง ผู้อื่น และกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมที่สร้างขึ้น สถานการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น วิธีการวัดเจตคติ ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ การใช้แบบ ...

การวัดและการประเมินผลคืออะไร

การวัดและประเมินผลใช้การสังเกตและตรวจสอบพฤติกรรมเป็นหลัก โดยครูผู้สอนควร กาหนดสถานการณ์ตามความสภาพความเป็นจริงในชีวิตประจาวันของนักเรียน โดย เครื่องมือวัดและประเมินผู้เรียนต้องมีหลากหลาย เช่น แบบสัมภาษณ์แบบสังเกต แบบ ตรวจสอบรายการ และแบบประเมินตนเอง เป็นต้น