เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

เผยแพร่: 15 มิ.ย. 2554 16:54 โดย: MGR Online

เคยนำผลงานของศิลปินไทยที่เคยไปพำนักและแสดงงานศิลปะที่เยอรมัน มาจัดแสดงใน นิทรรศการ Return Ticket: Thailand - Germany เมื่อปีที่แล้ว

มาปีนี้ สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย มอบหน้าที่ให้ ช่างภาพชาวเยอรมัน โวล์ฟกัง เบลวิงเคล(Wolfgang Bellwinkel) ทำหน้าที่ภัณฑารักษ์ (Curator) คัดเลือกผลงานของช่างภาพชาวยุโรป 8 คน และอเมริกัน 1 คน มาร่วมกันถ่ายทอดมุมมองที่มีต่อประเทศในเอเชีย ผ่านผลงานภาพถ่าย และนำมาจัดแสดงให้ชมใน นิทรรศการ แปลกใหม่ และ/หรือ คุ้นเคย(Foreign - Familiar)

โวล์ฟกัง กล่าวว่า ช่างภาพเหล่านี้ ได้แก่ เฟริต คูญาส(Ferit Kuyas),โอลิวิเยร์ พิน - ฟัต(Olivier Pin - Fat),มาเรียเก้ เดอ มาร์(Marrigje De Maar),นิก นอสติส(Nick Nostitz),บรูโน เกงเก้ต์(Bruno Quinquet),พีเตอร์ สไตน์เฮาเอ้อร์(Peter Stein Hauer),ลอรองช์ เลอ บลอง(Laurence Le blanc),กราเซียลล่า อันโตนินี่(Graziella Antonini) รวมถึงตัวเขาที่เป็น 1 ใน 9 ช่างภาพของนิทรรศการนี้ด้วย ต่างมีความสัมพันธ์กับทวีปเอเชีย ในหลายๆรูปแบบ

ไม่ว่าจะ เคยใช้ชีวิตอยู่ในบางประเทศของเอเชีย, เคยเดินทางไปท่องเที่ยว, แต่งงานกับสาวเอเชีย หรือ มีเลือดในร่างกายครึ่งหนึ่งเป็นเอเชีย

แม้ความเป็นเอเชียที่พวกเขาสัมพันธ์อยู่ จะสร้างความรู้สึกที่ “แปลกใหม่” ให้กับพวกเขา ในขณะเดียวกันพวกเขาก็รู้สึก “คุ้นเคย” อยู่ไม่น้อย ทั้งที่ผู้คนส่วนใหญ่ในสังคม รับรู้การมาอยู่ของพวกเขาแค่ในฐานะ “คนนอก”

โวล์ฟกัง เชื่อว่ามุมมองและประสบการณ์ที่แตกต่าง ซึ่งนำเสนอผ่านภาพถ่ายในนิทรรศการครั้งนี้ จะเป็นอีกช่องทางของการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและทำให้เกิดความเข้าใจในความแตกต่าง ตามวัตถุประสงค์ที่ สถาบันเกอเธ่ มีมาโดยตลอด ผู้ชมบางคน … อาจชอบความงามในความไม่ชัดเจนของภาพอิริยาบถของเด็กๆ ที่ ลอรองช์ เลอ บลอง นำเสนอผ่านภาพภาพถ่ายขาวดำ ชุด ริธี เชอา คิม ชูและคนอื่นๆ (Rithy,Chea,Kim Sour Et Les Autres)

แต่ที่มาของภาพถ่ายชุดนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่ช่างภาพหญิงผู้นี้ เห็นและรู้จักกัมพูชาผ่านภาพถ่ายมาก่อน เธอรู้สึกสลดหดหู่ใจเป็นอย่างยิ่งกับภาพเหล่าเชลยที่ถูกกระทำทารุณกรรมและสังหารในค่ายกักกัน ในยุคที่เขมรแดงยึดครองกัมพูชา และเวลาต่อมาเธอได้สร้างสรรค์ผลงานภาพถ่ายขึ้นโดยมุ่งความสนใจไปที่ประสบการณ์ครั้งแรกของเด็กๆที่มีต่อโลก

“สำหรับเด็กๆเหล่านี้แล้ว คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ ชีวิตของพวกเขาจะเป็นเช่นไร ภายใต้ความทรงจำอันหนักอึ้งที่ตอกย้ำถึงเหตุการณ์สังหารหมู่ที่โหดร้ายอยู่ทุกเมื่อเชื่อวันเช่นนี้”

ผู้ชมบางคน... อาจตั้งคำถามว่าในภาพถ่ายชุด บาเบล (Babel) จึงเป็นตึกสูงรูปทรงต่างๆจาก กรุงเทพฯและจาการ์ตา ที่บ้างเป็นตึกที่ดูยิ่งใหญ่มหึมาและเรารับรู้กันดีว่า ณ ปัจจุบันยังมีปัญหา

ขณะที่ชาวคริสต์ โดยเฉพาะชาวตะวันตก คุ้นเคยกับ บาเบล (Babel) ที่ โวล์ฟกัง เบลวิงเคล เจ้าของภาพถ่าย นำมาตั้งเป็นชื่อภาพถ่ายชุดนี้ของเขาเป็นอย่างดี เพราะมีเล่าไว้ในคัมภีร์ไบเบิล เกี่ยวกับความหวังอันสูงสุดของผู้ที่อยากจะไปอยู่ใกล้ชิดพระเจ้า จึงพยายามสร้างตึกสูงขึ้นไปบนฟ้า แต่ที่สุดก็ถูกพระเจ้าลงโทษ ด้วยการให้เกิดมาพูดคนละภาษา เพื่อจะได้สื่อสารกันยาก ส่งผลให้ยากต่อการที่จะระดมพลมาช่วยกันสร้างตึกสูง ขึ้นไปหาพระเจ้าอีก

แต่สำหรับโวล์ฟกัง ผู้หลงใหลในความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในสังคมและนครต่างๆในเอเชีย มันคือภาพที่สะท้อนถึงอำนาจและความล้มเหลว

ผู้ชมบางคน...อาจค้นพบเพื่อนร่วมชะตากรรมของตนเอง ในภาพถ่ายชุด มนุษย์เงินเดือน(Salary Man) ซึ่งนำเสนอให้เห็นภาพชีวิตตลอด 12 เดือน ของพนักงานออฟฟิศชายชาวญี่ปุ่นคนหนึ่ง ที่เคยทำให้ บรูโน เกงเก้ต์ ที่ปัจจุบันยึดอาชีพเป็นช่างภาพและใช้ชีวิตอยู่ที่ญี่ปุ่น ได้รับรางวัลชนะเลิศในการแสดงผลงานของนักศึกษาปีสุดท้าย ของ สถาบันทัศนศิลป์ Tokyo Visual Arts เมื่อปี ค.ศ.2009

หรือผู้ชมบางคน... อาจสัมผัสได้ถึงความสวยงามของสิ่งที่ดูรกหูรกตา เมื่อได้ชมภาพถ่ายชุด ภาพสะท้อนของความยุ่งเหยิงและความสงบ(Refections of Chaos and Chalm) ของ พีเตอร์ สไตน์เฮาเอ้อร์ ลูกชายของอดีตทหารผ่านศึกจากสงครามเวียดนาม

“เอเชียคือดินแดนที่ผมอยู่แล้วสบายใจที่สุด ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลคนหนึ่ง และในด้านอาชีพการงาน ในฐานะนักถ่ายภาพ ที่นี่มีสาระมากมายให้ผมทำงานได้ไม่สิ้นสุดบนความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่รายล้อม” และนี่คือตัวอย่างหนึ่งของนิทรรศการที่น่าสนใจในรอบสัปดาห์นี้ ที่ ART EYE VIEW อยากเชิญคน “คุ้นเคย” เช่นคุณไปสัมผัส ไม่แน่เหมือนกันว่า ภาพบางภาพของช่างภาพบางคน อาจสร้างความรู้สึกที่ “แปลกใหม่” ให้กับคุณ โดยไม่ต้องเดินทางไปที่ไหนไกลๆ

ไปเห็นบางกระทู้เขาถามถึง เลยแอบสงสัยว่า "ไม่รู้จักได้ไงฟะ !?"

แต่พอนึกอีกที...อ้อ...สงสัยตูคงเกิดไวไปหน่อย T T

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

เพราะงั้นวันนี้จะมาเล่าเรื่องของ เพจเจอร์ ให้น้องๆ หลานๆ ได้เข้าใจกัน ว่าเมื่อก่อนคนยุคนั้น เค้ามีวิธีสื่อสารกันแบบนี้ด้วยนะเว้ย ! (ซึ่งก็ไม่นานมาก แค่ก่อนยุค 3310 ราคา 21,xxx เอง....หลังๆ ลงมา 17,xxx แล้วก็ร่วงเหลือหลักพัน)

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

ไม่ได้สะดวกสบายเหมือนทุกวันนี้ แถมจ่ายแพงบรรลัย ทั้งค่าเครื่อง, ค่ารายเดือน, คนจะส่งข้อความก็ลำบากไม่แพ้กัน ผมเองก็ไม่ได้ทันรุ่นแรกๆ หน้าตา Vintage หรอก มาได้ลองใช้ก็รุ่นท้ายๆ แล้ว อย่างไอ้แบบด้านขวาเนี่ย ไม่เคยเห็นเลย รู้ตัวอีกทีก็เครื่องด้านซ้าย

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

และนี่คือ 25 ข้อของ Pager ที่น่ารู้...

1. เพจเจอร์ คืออุปกรณ์อ่าน sms เหมือนมือถือ.....แต่ส่งไม่ได้ 2. ถ้าจะส่ง ต้องโทรไป Call Center พูดให้เขาพิมพ์และส่งข้อความแทนเรา

3. แน่นอนว่า ความเป็นส่วนตัวจะหายไป....ความเขินอาย จะเข้ามาแทน -///-

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

4. ก็เพราะมือถือสมัยนั้น มันส่ง sms ไม่ได้ไง 5. อีกทั้งมือถือสมัยนั้น มีราคาสูงมาก อย่างเครื่องด้านซ้ายนี่จำได้ว่าหลักแสน

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

6. ผู้มีเพจเจอร์ เป็นคนเสียค่าบริการ เดือนเท่าไหร่จำไม่ได้ แต่แพงเหมือนกัน (500 รึเปล่า ? ตอนนั้นพ่อจ่ายให้) 7. ส่วนผู้ส่ง (ที่โทรเข้า CC) เป็นผู้เสียค่าหยอดตู้โทรศัพท์ 8. จะเห็นได้ว่า เป็นระบบที่เวิ่นเว้อมากกกก+++

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

9. ทีนี้ พอมือถือยุคบุกเบิกอย่าง 3310 ส่ง sms หากันได้ "โดยตรง" เพจเจอร์เลยค่อยๆ กอดคอกันตายอย่างช้าๆ 10. ยิ่งตอนนั้นนอกจากเสียค่าส่ง sms แค่ 3 บาทแล้ว.....ยังสามารถส่งภาพหรือ gif ดุ๊กดิ๊กเป็น mms ได้อีกด้วย 11. แน่นอนว่า Pager ทำไม่ได้ 12. ขอสดุดี ผู้ริเริ่มทำมือถือให้สามารถส่ง sms หากัน แบบไม่ต้องผ่านคนกลาง 13. ผมไม่รู้ว่า "ใคร" เป็นผู้ริเริ่ม.....แต่สำหรับผม NOKIA คือพระเอกของงานนี้ครับ (รึเปล่า ?)

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

14. แล้วตอนนี้ sms ที่โคตระมีค่าในสมัยก่อน ก็เริ่มถูกแทนที่โดย App ต่างๆ และ Social Network 15. เพจเจอร์ในตอนนี้ จึงเป็นแค่นาฬิกาปลุก ของคนที่ยังเก็บไว้

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

16. เพจเจอร์ (Pager) คือชื่อเรียกอุปกรณ์และเทคโนโลยีพวกนี้ 17. ส่วน Paclink, Worldpage, Hutchinson, Postell, Easycall ฯลฯ เป็นชื่อเรียกของค่ายต่างๆ 18. ก็เหมือนที่ตอนนี้มี AIS, Dtac, True 19. ค่ายพวกนี้ก็จะมี Call Center เป็นของตัวเอง คอยรับสาย และส่งข้อความ 20. เช่น Paclink โทร 1144, Samart Postell โทร 1188 แล้วก็ร่ายคำที่อยากส่งไป

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

21. บางทีจะโดนสกัดดาวรุ่งว่า "กรุณากระชับข้อความด้วยค่ะ !" 22. และมีไม่น้อย ที่โทรไปจีบ CC โดยไม่ส่งข้อความ 555 23. บางคนโทรไประบายอารมณ์ เชิงจิตหน่อยๆ 24. ค่ายมือถือเดี๋ยวนี้ ถึงต้องมีระบบอัดเสียงไง มันเริ่มมาจากยุคนั้นแหละ 25. ปิดท้ายด้วยภาพเก่าๆ ของนักธุรกิจยุคก่อน

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

ใครเกิดทัน ใครเกิดไม่ทัน เรามาย้อนยุคกัน

เพจเจอร ม ใน ค.ศ อะไรและใช ถ ง ค.ศ อะไร

[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้

เพจเจอร์มีตั้งแต่ปีไหน

เพจเจอร์หรือวิทยุตามตัวเริ่มใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 และได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางในช่วงปี พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2544 โดยบริษัทแปซิฟิก

เพจเจอร์ เลิกใช้ตอนไหน

เอ็นทีที ผู้ให้บริการโทรคมนาคมรายใหญ่ของญี่ปุ่น ที่นำเพจเจอร์มาให้บริการตั้งแต่ปี 2511 ยุติบริการนี้ตั้งแต่ปี 2550 แต่ โตเกียว เทเลเมสเสจ ยังให้บริการต่อไปในโตเกียวและจังหวัดใกล้เคียง อย่างไซตามะ ชิบะ และคานากาวะ ก่อนปิดฉากอย่างถาวรในวันนี้( 1 ต.ค.)

เพจเจอร์ ใช้สัญญาณอะไร

ใช้ได้กับเครื่องส่งสัญญาณรุ่น GTX-01, ATX-02. Out of Range.

ยุค90ใช้อะไรส่งข้อความ

ในยุค 90s ก่อนการมาถึงของโทรศัพท์มือถือ และโซเชียลมีเดียทุกชนิด เพจเจอร์คืออุปกรณ์หนึ่งเดียวที่เราสามารถส่งข้อความสั้น หาใครสักคน ก่อนจะล้มหายตายจากไป เพราะ SMS จากโทรศัพท์มือ และแน่นอนว่าการมาถึงของโซเชียลมีเดีย ก็ทำให้การส่ง SMS ค่อยๆ ตายไปด้วยเช่นกัน