ตัวอย่าง การ เขียน โครงการ ปฐมวัย

"โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจออกกำลังกาย (โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจออกกำลังกาย (โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ)


บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยวัยใส ใส่ใจออกกำลังกาย (โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7499-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ความเป็นมา/หลักการเหตุผล วัตถุประสงค์โครงการ กิจกรรม/การดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ที่ได้ การประเมินผล ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ เอกสารประกอบอื่นๆ


ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546 มุ่งให้เด็กพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ซึ่งเด็กปฐมวัยเรียนรู้ผ่านการเล่นเรียนรู้อย่างมีความสุข การปฏิรูปการเรียนรู้ต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด การพัฒนาระบบการสร้างเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กแบบบูรณาการกับกระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมในศูนย์เด็กเล็ก ตามแนวทางจัดการศึกษาระดับปฐมวัย สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดีจะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก การเฝ้าระวังสุขภาพในวัยเด็กปฐมวัย ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทำประโยชน์ให้สังคม ตามบทบาทและหน้าที่ของตน ในฐานะพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยผู้เรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในสถานศึกษา เพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจส่งผลให้สามารถเรียนหรือทำกิจกรรมต่างๆ ไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ การเล่นฮูลาฮูป เป็นกีฬาประเภทหนึ่งที่สร้างความสนุกสนาน เล่นได้ทั้งเป็นกลุ่มและรายบุคคล เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับคนทุกเพศ ทุกวัย เป็นกิจกรรมนันทนาการ ทำให้หัวใจมีความแข็งแรง อดทน และส่งเสริมทักษะความคล่องแคล่วว่องไวต่อการเคลื่อนไหวร่างกาย การทรงตัวและการเคลื่อนไหวที่มั่นคง ดังนั้น เพื่อให้การดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัยเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย โรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลสทิงพระ จึงจัดทำโครงการหนูน้อยวัยใสใส่ใจออกกำลังกาย ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและปลอดจากโรคต่างๆ
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  3. เพื่อให้เด็กทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อยการออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้ กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและปลอดจากโรคต่างๆ
  2. เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  3. เด็กมีทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการผลผลิต*ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมย่อยการออกกำลังกาย

วันที่ 21 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ให้เด็กออกกำลังกายโดยการเล่นฮูลาฮูป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายโดยการเล่นฮูลาฮูปสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัย และเพิ่มทักษะในการทรงตัว เคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม: บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ :

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย 1 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและปลอดจากโรคต่างๆ ตัวชี้วัด : เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและปลอดจากโรคต่างๆ ร้อยละ 80 0.000.00 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : เด็กได้ร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายด้วยฮูล่าฮูป ในตอนเช้า จำนวน 80 คน 0.00 3 เพื่อให้เด็กทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง ตัวชี้วัด : เด็กทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง ร้อยละ 80 0.00

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน) กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน - กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 กลุ่มวัยทำงาน - กลุ่มผู้สูงอายุ - กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด - กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ - กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง - สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตตามวัยและปลอดจากโรคต่างๆ (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ (3) เพื่อให้เด็กทักษะในการทรงตัว และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วและมั่นคง

พัฒนาการทั้ง 4 ด้านมีอะไรบ้าง

พัฒนาการด้านร่างกาย.

พัฒนาการด้านสติปัญญา.

พัฒนาการด้านอารมณ์.

พัฒนาการด้านสังคม.

กิจกรรมวิชาการปฐมวัยมีอะไรบ้าง

กิจกรรมอนุบาล.

กิจกรรมทางวิชาการ ... .

กิจกรรมพัฒนาการด้านร่างกาย ... .

กิจกรรมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ... .

กิจกรรมพัฒนาการทางด้านสังคม ... .

กิจกรรมพัฒนาการด้านสติปัญญา ... .

กิจกรรมสังคมแห่งการเรียนรู้.

มาตรฐาน ปฐมวัย 3 มาตรฐาน มีอะไรบ้าง

๑. การศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่๑ คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 4 กิจกรรม ปฐมวัย มี อะไร บ้าง

1. กิจกรรมในหลักสูตร ได้แก่.

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ.

กิจกรรมกลางแจ้ง.

กิจกรรมเสรี.

กิจกรรมเสริมประสบการณ์.

กิจกรรมสร้างสรรค์.

เกมการศึกษา.