ตัวอย่าง การ ทำ รายงาน เรื่อง คำ ราชาศัพท์

โครงงานภาษาไทย เร่อื ง คำราชาศัพท์

จัดทำโดย 1.เดก็ หญงิ ณัฐนิชา พิทกั ษ์ ม.2/1 เลขที่21 2.เด็กหญิงมาลีญา สงั ฆะวัง ม.2/1 เลขท3่ี 1

อาจารยท์ ่ปี รึกษา อาจารย์อุไรภรณ์ พรหมลา

โครงงานนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของรายวิชาภาษาไทยเพอื่ การเขียนรายงานเชงิ วิชาการ โรงเรยี นสภาราชินี จงั หวดั ตรงั

ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท2่ี /1 ปีการศกึ ษาที่ 2564

บทคดั ยอ่

ปัจจุบนั เดก็ ไทยสมัยไม่คอ่ ยรจู้ ักความหมายของคำราชาศัพท์และใช้คำราชาศัพทไ์ ม่เหมาะสมกบั บุคคลในแต่ ละระดบั บุคคล ซง่ึ คำราชาศัพทจ์ ะแบง่ ออกเปน็ หมวดหมู่ต่าง ๆ คือ หมวดร่างกาย หมวดเคร่อื งใช้ หมวดเครอื ญาติ หมวดคำกรยิ า และหมวดคำราชาศัพทส์ ำหรับใชก้ ับพระสงฆ์

คำราชาศพั ทจ์ ะใชก้ ับพระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ และพระสงฆ์ ทางกลมุ่ ของขา้ พเจ้าไดม้ ีความสนใจ และตระหนักถึงความสำคญั ของคำราชาศพั ท์ จงึ ไดจ้ ดั ทำเก่ียวกบั โครงงานคำราชาศพั ท์ขึ้นมา เพอ่ื ให้ผู้ที่สนใจได้ ศกึ ษา

กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานน้สี ำเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ว้ ยการศึกษาคน้ คว้าสอื่ การเรียนรู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั คำราชาศัพทจ์ ากหนงั สอื รวมไป ถึงการเรียนรจู้ ากอนิ เตอร์เน็ต และความชว่ ยเหลืออย่างดยี ่ิงของ อาจารยอ์ ไุ รภรณ์ พรหมลา อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา โครงงานทีไ่ ด้ใหค้ ำแนะนำและขอ้ คิดเหน็ ต่าง ๆ มาโดยตลอด ทำให้กล่มุ ของข้าพเจ้ามกี ำลงั ใจที่จะพฒั นาโครงงาน จนสำเรจ็ ได้ และสดุ ทา้ ยนข้ี อขอบคุณผู้อยู่เบอ้ื งหลังในการทำโครงงานเล่มนี้ ทำใหโ้ ครงงานเลม่ นี้ออกมาได้เป็น อยา่ งดี

คณะผ้จู ัดทำ

คำนำ

โครงงานคำราชาศพั ท์มีจุดมงุ่ หมายเพอ่ื ทำให้ผู้ที่ศึกษาเกิดความรูแ้ ละความเขา้ ใจในคำราชาศพั ท์มากข้นึ สามารถนำคำราชาศพั ทไ์ ปใชไ้ ด้อยา่ งถูกต้อง และผู้ที่ศกึ ษาจะไดร้ บั ความกระตือรอื รน้ ในการศกึ ษามากยิง่ ข้นึ ด้วย

กลมุ่ ของข้าพเจ้าได้ไปศึกษา ค้นควา้ รวบรวม และเรยี บเรียงคำราชาศัพทอ์ อกมาเป็นรายงานเล่มน้ี ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยเนือ้ หาของหมวดหมู่คำราชาศพั ทต์ ่าง ๆ ซง่ึ ทางกลุ่มของข้าพเจา้ หวังเปน็ อย่างยงิ่ วา่ รายงานเลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผทู้ ีส่ นใจเกยี่ วกบั คำราชาศัพท์ และผู้ที่นำไปใช้ให้เกดิ ผลสมั ฤทธ์ติ ามความคาดหวัง

คณะผู้จัดทำ

สารบญั ง

เร่ือง หน้า บทคัดยอ่ ก กติ ติกรรมประกาศ ข คำนำ ค สารบญั ง บทที่ 1 บทนำ 1 ท่ีมาและความสำคญั 1 วตั ถุประสงค์ 1 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ 1 ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า 1 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2 3 คำราชาศัพท์หมวดร่างกาย 4 คำราชาศพั ทห์ มวดเครอ่ื งใช้ 5 คำราชาศพั ท์หมวดเครือญาติ 6 คำราชาศัพท์หมวดคำกริยา 7 คำราชาศัพท์หมวดคำสำหรับใชก้ บั พระสงฆ์ 8 บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การ 8 ข้ันตอนการดำเนินงาน 8 อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการศกึ ษา

บทที่ 4 ผลการศกึ ษา จ ความหมายของคำราชาศพั ท์ ทม่ี าของคำราชาศพั ท์ 9 ความสำคญั ของคำราชาศพั ท์ 9 9 บทท่ี 5 สรุปและอภปิ รายผลการศกึ ษา 9 สรปุ ผลการศึกษา 10 อภิปรายผล 10 ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 10 ขอ้ เสนอแนะ 10 10 บรรณานุกรม 11

1

บทที่ 1

บทนำ

ที่มาและความสำคญั

คำราชาศพั ทเ์ ปน็ คำท่ีใชก้ ับพระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานุวงศ์ เจา้ นายตัง้ แตห่ มอ่ มเจ้าข้ึนไป ขุนนางมียศ บรรดาศักด์ิ สมเดจ็ พระสังฆราช และพระภกิ ษทุ ่ีเป็นพระราชวงศ์ ถือเปน็ วัฒนธรรมทางภาษาในการใชค้ ำสุภาพให้ เหมาะสมตามช้นั ฐานะ แมใ้ นชีวติ ประจำวนั จะมีโอกาสได้ใช้น้อย แต่เป็นสิ่งทีแ่ สดงถงึ ความละเอียดอ่อนของ ภาษาไทยและตอ้ งเรียนรู้

ซง่ึ ทางกลุ่มของขา้ พเจ้ามีความคิดเห็นว่า คำราชาศพั ท์เป็นเร่ืองท่ียงุ่ ยากสำหรับผู้ที่ศึกษาแลว้ นำไปใชไ้ ม่ได้ เพือ่ ใหก้ ารเรยี นภาษาไทยในเร่อื งคำราชาศพั ทน์ ้นั มีความเขา้ ใจ และสามารถนำไปใชไ้ ด้เหมาะสมตามโอกาส

ดงั นั้นกล่มุ ของขา้ พเจ้าไดเ้ ล็งเหน็ ถงึ ปัญหาขา้ งต้นท่ีกล่าวมาน้ัน จึงไดจ้ ัดทำโครงงานภาษาไทยเรอ่ื งคำราชา ศพั ท์ขึน้ เพอื่ ใหผ้ ู้ศึกษาเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในคำราชาศพั ท์มากยงิ่ ข้นึ

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ความร้ใู นเรือ่ งคำราชาศัพท์ 2. เพ่อื นำคำราชาศัพท์ไปใช้ใหเ้ หมาะสมแต่ละโอกาส 3. เพื่อทำใหผ้ ศู้ กึ ษามีความกระตอื รือรน้ ในการเรียนมากย่งิ ขึ้น

ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ

1. ไดร้ บั ความรเู้ ร่ืองคำราชาศัพท์ 2. ช่วยใหเ้ ข้าใจภาษาทป่ี รากฏในส่อื ต่าง ๆ 3. ช่วยให้ใช้ภาษาในการสอื่ สารไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม

ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้

1. ศึกษาคำราชาศัพท์ทม่ี ีอยใู่ นบทเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. ศึกษาคำราชาศพั ทจ์ ากอินเตอรเ์ นต็ 3. ระยะเวลาศึกษาตั้งแต่ 4 พฤศจกิ ายน – 30 ธนั วาคม 2564

2

บทที่ 2

เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง

คำราชาศพั ท์ คอื คำสภุ าพทใี่ ช้ใหเ้ หมาะสมกับฐานะของบคุ คลตา่ ง ๆ คำราชาศัพทเ์ ป็นการกำหนดคำและ ภาษา ทสี่ ะท้อนให้เห็นถงึ วัฒนธรรมอันดีงามของไทย แม้คำราชาศัพท์จะมโี อกาสใช้ในชีวิตไดน้ อ้ ย แต่เป็นส่ิงท่ี แสดงถึงความละเอียดออ่ นของภาษาไทยทมี่ คี ำหลายรูป หลายเสยี งในความหมายเดียวกนั และเปน็ ลักษณะพิเศษ ของภาษาไทยโดยเฉพาะที่ใช้กบั บุคคลกลมุ่ ตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี

1. พระมหากษัตริย์ 2. พระบรมวงศานุวงศ์ 3. พระสงฆ์ 4. ขา้ ราชการช้ันสูงหรือขุนนาง 5. สภุ าพชนท่วั ไป ทีม่ าของคำราชาศพั ท์ 1. รับมาจากภาษาอ่ืน ภาษาเขมร เชน่ โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็นต้น ภาษาบาลี เช่น อาพาธ เนตร หัตถ์ โอรส เปน็ ตน้ 2. การสรา้ งคำขน้ึ ใหม่ โดยการประสมคำ เช่น ลกู หลวงซับพระพักตร์ ตง้ั เครื่อง เปน็ ต้น ความสำคัญของคำราชาศพั ท์ 1. เพือ่ ให้เราใช้ถ้อยคำในการพดู จาไดไ้ พเราะ ถูกต้องตามกาลเทศะและฐานะของบคุ คล เพราะคำราชาศพั ท์ไมไ่ ด้ หมายถึงคำพดู ทีเ่ ก่ียวกบั พระมหากษัตริยเ์ ท่านัน้ 2. คำราชาศัพท์ เปน็ ส่วนหน่งึ ของวัฒนธรรมชาติ การใชค้ ำราชาศัพทท์ ่ถี กู ต้องเปน็ การแสดงความประณตี นมุ่ นวล นา่ ฟงั ของภาษาอยา่ งหนงึ่ ตลอดจนเปน็ การส่งเสริมวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดีงาม 3. การเรียนรคู้ ำราชาศัพท์ยอ่ มทำใหเ้ ราเข้าถงึ รสของวรรณคดี และชว่ ยใหเ้ กิดความซาบซ้ึงในบทประพันธ์นน้ั ๆ

คำราชาศัพทห์ มวดรา่ งกาย 3

คำสามัญ คำราชาศัพท์ คำสามญั คำราชาศพั ท์ แขน พระพาหา,พระพานุ เหงือก พระมทุ ธา เขยี้ ว ดวงตา พระเนตร,พระจักษุ หน้า พระพาฐะ คอ พระศอ,พระกณั ฐา น้วิ มือ พระพกั ตร์ พระกรรณ แขง้ พระองคุลี หู พระนขา,พระกรชะ แกม้ พระชงฆ์ เลบ็ พระมสั สุ ศรี ษะ พระปรางค์ หนวด พระองั สา อก พระเศียร บ่า,ไหล่ พระชานุ พระอรุ ะ,พระทรวง เข่า พระรางขวญั หนา้ ผาก พระนลาฏ ไหปลาร้า พระนาภี ปาก พระโอษฐ์ สะดือ พระโลมา ล้นิ พระชวิ หา ขน พระขนอง ผม พระเกศา หลงั พระปบั ผาสะ ผวิ หนงั พระฉวี ปอด มลู พระชวิ หา คาง พระหนุ ลิน้ ไก่ พระมงั สา สะโพก พระโสณี เนือ้ ข้อพระบาท ขอ้ มอื ขอ้ พระหัตถ์ ขอ้ เท้า พระอทุ ร ฟนั พระทนต์ ทอ้ ง พระขนง รกั แร้ พระกัจฉะ ค้วิ พระพาหุ ต้นขา พระอรุ ุ,พระอัสสุชล ต้นแขน

คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้ 4

คำสามญั คำราชาศัพท์ คำสามัญ คำราชาศัพท์ แกว้ น้ำ แกว้ เสวย รองเทา้ ฉลองพระบาท ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เช็ดตัว ผ้าซบั พระองค์ ฟกู ผา้ ซับพระพกั ตร์ ผา้ ห่ม คลุมบรรทม ช้อน พระยี่ภู่ ส้อม ฉลองพระหัตถ์สอ้ ม พรมทางเดนิ เตียง พระแทน่ บรรทม เส้อื ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมอน ลาดพระบาท ผ้าเชด็ มือ พระเขนย หวี ฉลองพระองค์ กระจก ผ้าเชด็ พระหัตถ์ กางเกง พระสาง ทนี่ ง่ั ม่าน,มุ้ง พระสนับเพลา หมวก พระฉาย แวน่ ตา โตะ๊ รับประทานอาหาร พระราชอาสน์ กระโถน พระวสิ ูตร,พระสูตร ถาดนำ้ ชา แกว้ น้ำ ฉลองพระเนตร ผ้าพันคอ พระมาลา มดี โกน บา้ นพระโอษฐ์ กระจกส่องพ โตะ๊ เสวย กระเป๋าถอื ก แกว้ นำ้ เสวย ไม้เท้า ถาดพระสุธารส ผา้ อาบน้ำ พระแสงกรรบิด กรรไกร ผา้ พันพระศอ กล้องถา่ ยรูป กระเป๋าทรง พระฉาย พระภษู าชบุ แสง ธารพระกร กล้องถา่ ยภาพ พระแสงปนาค

5

คำราชาศพั ทห์ มวดเครือญาติ

คำสามัญ คำราชาศัพท์ คำสามัญ คำราชาศพั ท์ ป,ู่ ตา พระอัยกา ย่า,ยาย พระอัยยกิ า พระปยั กา ยา่ ทวด,ยายทวด พระปยั ยกิ า ปูท่ วด,ตาทวด พระชนก,พระราชบิดา พระชนนี,พระราชมารดา พอ่ พระสสุระ แม่ พระสัสสุ พระปิตลุ า แมส่ ามี พระปติ จุ ฉา พอ่ สามี พระมาตชุ าย ป้า,อาหญิง พระปิตุจฉา ลงุ ,อาชาย พระสวามี,พระภสั ดา ป้า,นา้ หญิง พระมเหสี,พระชายา ลงุ ,นา้ ชาย พระเชษฐา ภรรยา พระเชษฐภคนิ ี พระอนชุ า พ่ีสาว พระขนษิ ฐา สามี พระราชโอรส น้องสาว พระราชธิดา พชี่ าย พระชามาดา ลกู สาว พระสณุ สิ า นอ้ งชาย พระราชนัดดา ลกู สะใภ้ พระราชปนัดดา ลูกชาย พระภาตยิ ะ เหลน พระภาคไิ นย ลกู เขย หลาน,ลกู พ่ีสาว,ลกู น้อง หลานชาย,หลานสาว สาว หลาน,ลกู พ่ชี าย,ลกู น้อง ชาย

คำราชาศพั ท์หมวดคำกรยิ า 6

คำสามญั คำราชาศพั ท์ คำสามัญ คำราชาศพั ท์ บอก กราบบงั คมทลู ยืน ทรงยืน หวั เราะ ทรงพระสรวล ไอ จาม ทรงพระปนิ าสะ ดู ทรงพระกาสะ นง่ั ล้างมือ ทอดพระเนตร อาบน้ำ ประทับ เดิน ชำระพระหัตถ์ พูด สรงน้ำ จับมือ พระราชดำเนนิ คำสัง่ ตรสั ไหว้ ทรงสัมผสั มอื คำพูด พระราชโองการ ถวายบงั คม พระราชดำรัส แตง่ หนังสือ ทรงพระราชนิพนธ์ คำสง่ั สอน พระราชโอวาท ไปเที่ยว เสดจ็ ประพาส เขียนจดหมาย พระราชหัตถเลขา ลงลายมือชื่อ ทรงพระปรมาภไิ ชย ทรงพระเกษมสำราญ ทักทาย พระราชปฏิสันถาวร สุขสบาย ทรงพระพกั ตร์ ถาม พระราชปุจฉา ล้างหนา้ พระราชทาน ตดั สนิ พระบรมราชวินิจฉัย ทรงเครอ่ื ง นอน ให้ บรรทม แตง่ ตวั

คำราชาศพั ทห์ มวดคำสำหรบั ใชก้ บั พระสงฆ์ 7

คำสามัญ คำราชาศัพท์ คำสามัญ คำราชาศพั ท์ อาบนำ้ สรงน้ำ อาหาร จงั หัน นอน จำวัด รับประทาน ฉนั เชิญ นมิ นต์ ปว่ ย อาพาธ ทีน่ ง่ั อาสนะ จดหมาย ลิขติ เงนิ ปจั จัย โกนผม ปลงผม ตาย มรณภาพ เรอื นพักในวดั กุฏิ ทแ่ี สดงธรรม ธรรมาสน์ ยนิ ดดี ว้ ย ขอเชญิ อาราธนา ยารกั ษาโรค อนโุ มทนา ห้องสุขา ถวาย คลิ านเภสัช คำส่ัง ถาน,เวจกฎุ ี คำสอน ประเคน ไหว้ พระบญั ชา สวดมนต์ พระโอวาท นมัสการ ทำวตั ร

8

บทที่ 3

วิธดี ำเนินการ

โครงงานเร่อื ง คำราชาศพั ท์ กลมุ่ ของขา้ พเจ้าไดด้ ำเนินการดงั นี้

ขนั้ ตอนการดำเนินงาน

1. ผศู้ ึกษานำเสนอหวั ข้อโครงงานต่ออาจารย์ท่ปี รึกษาเพอื่ ขอคำแนะนำและกำหนดขอบเขตในการทำ โครงงาน

2. ผู้ศกึ ษาร่วมกนั ประชุมวางแผนวิเคราะหต์ ามหวั ข้อวัตถุประสงค์ของโครงงาน 3. ผศู้ กึ ษาร่วมกนั คน้ ควา้ หาข้อมูลจากหนงั สือเรียนภาษาไทยระดับชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น และจากสอ่ื อนิ เตอรเ์ นต็ ต่าง ๆ 4. ศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่เกยี่ วข้องกบั โครงงานเพอ่ื มาวเิ คราะห์ และสรุปเน้อื หาทจี่ ะนำมาทำโครงงาน 5. นำเสนอผลงานต่ออาจารย์ท่ปี รกึ ษาเพอื่ รายงานผลการดำเนนิ งาน 6. จดั ทำสอ่ื เพอ่ื ใชส้ ำหรับศึกษาและรายงานตอ่ อาจารย์ทีป่ รึกษา

อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการศึกษา

1.โน้ตบ๊กุ 2.ไอแพด

9

บทที่ 4

ผลการศกึ ษา

จากการศกึ ษาเรอื่ ง คำราชาศพั ท์ ได้ผลการศกึ ษาดงั นี้

ความหมายของคำราชาศัพท์

1. คำ “ราชาศัพท์” นพี้ ระยาอปุ กติ ศิลปสาร ได้อธิบายไว้ในหนังสือวจีวิภาคของทา่ นว่า หมายถึง ศัพทส์ ำหรบั พระราชาหรอื ศพั ทห์ ลวง แต่ปจั จบุ ัน หมายถึง ระเบียบการใช้ถ้อยคำใหถ้ ูกต้องตามฐานะของบุคคลได้แก่บุคคลที่ เคารพตง้ั แต่พระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศ์ พระภกิ ษุ ข้าราชการ รวมถงึ คำทใ่ี ชก้ ับสุภาพชนท่ัวไป

2. คำราชาศัพท์ ตามตำราหลกั ภาษาไทย หมายถึง ศพั ทห์ รือถ้อยคำเฉพาะ บุคคลทั่วไป ซึ่งใชก้ บั บุคคล 5 ระดับ คอื พระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศ์ พระภิกษุ ขา้ ราชการ และสุภาพชน

3. คำราชาศพั ท์ในความหมายอย่างกวา้ ง หมายถึง ถอ้ ยคำสภุ าพถกู แบบแผน สำหรบั ใช้กับบคุ คลและสรรพ สิ่งทง้ั ปวง

ที่มาของคำราชาศพั ท์

1. มาจากการเทดิ ทูนพระเกยี รตขิ องพระมหากษัตริย์ในฐานะที่ทรงเปน็ ประมุขของชาติ 2. มาจากคำไทยดัง้ เดมิ เชน่ พระปาง เสน้ พระเจ้า พระเจ้าพี่ยาเธอ เป็นตน้ 3. มาจากคำไทยทรี่ บั มาจากภาษาอื่น ไดแ้ ก่ ภาษาบาลี ภาษาสนั สกฤต และภาษาเขมร

ความสำคัญของคำราชาศพั ท์

1. เพอ่ื ใหเ้ ราใช้ถอ้ ยคำในการพูดจาได้ไพเราะ ถูกต้องตามกาลเทศะและฐานะของบคุ คล เพราะคำราชาศพั ท์ ไม่ได้หมายถึงคำพดู ทเี่ กย่ี วกบั พระมหากษัตริยเ์ ทา่ น้นั

2. คำราชาศพั ท์ เป็นส่วนหนึง่ ของวฒั นธรรมชาติ การใช้คำราชาศพั ทท์ ี่ถูกตอ้ งเปน็ การแสดงความประณีต นมุ่ นวล น่าฟงั ของภาษาอย่างหน่งึ ตลอดจนเปน็ การสง่ เสรมิ วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดงี าม

3. การเรยี นรคู้ ำราชาศพั ทย์ ่อมทำใหเ้ ราเขา้ ถึงรสของวรรณคดี และช่วยให้เกดิ ความซาบซ้ึงในบทประพนั ธ์ นั้น ๆ

10

บทที่ 5

สรปุ และอภปิ รายผลการศึกษา

สรุปผลการศึกษา

จากการทำโครงงานเร่ือง คำราชาศพั ท์ กลมุ่ ของขา้ พเจ้าได้มกี ารจดั ทำเน้อื หาทเี่ กี่ยวกบั ประวตั ิความเป็นมา การจดั ลำดบั ชน้ั บคุ คลทจ่ี ะต้องใช้คำราชาศัพท์ และยงั สามารถนำความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ในโอกาสต่าง ๆ ใน ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม

อภิปรายผล

จากการศกึ ษาค้นคว้าโครงงานเร่ือง คำราชาศพั ท์ ราชาศัพท์ หมายถึง ถอ้ ยคำท่ีคนท่วั ไปใชเ้ มื่อพดู กับพระเจา้ แผน่ ดินและพระราชวงศห์ รอื พระญาตขิ องพระเจา้ แผ่นดิน คำท่ีใชก้ ลา่ วถึงสิ่งต่าง ๆ ทเ่ี ป็นของพระเจ้าแผน่ ดินและ พระราชวงศ์ หรือเก่ียวกับพระเจ้าแผน่ ดนิ และพระราชวงศ์ต้องเป็นคำราชาศัพท์

ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ

1. ได้รบั ความรู้เรื่องคำราชาศพั ท์ 2. เข้าใจภาษาทป่ี รากฏในสอ่ื ต่าง ๆ 3. นำคำราชาศัพท์ไปใชใ้ ห้เหมาะสมกบั แตล่ ะโอกาส

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรหาคำราชาศพั ท์ที่นยิ มใชใ้ นปจั จุบนั 2. ควรปลกู จิตสำนกึ ใช้ประชาชนใช้ภาษาไทยอยา่ งถกู ตอ้ งตามอกั ขระวิธี เพ่ือเปน็ การอนรุ กั ษภ์ าษาไทย

11

บรรณานุกรม

1. ฟองจนั ทร์ สขุ ย่งิ , กัลยา สหชาตโิ กสีย์, ศรีวรรณ ชอ้ ยหริ ัญ, ภาสกร เกิดออ่ น และระวีวรรณ อินทรประพันธ์. (2563).ภาษาไทย หลักภาษาและการใช้ภาษา ม.2.พิมพ์ครั้งที่ 13.กรงุ เทพมหานคร:อกั ษรเจริญทศั น.์ 2. https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/1252 ขอ้ มูลคำราชาศพั ท์ 3. https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2214560 ข้อมลู คำราชาศพั ท์หมวดรา่ งกาย 4 https://sites.google.com/site/pramotetatar/kha-rachasaphth-sahrab-phra-sngkh ข้อมูลคำราชา ศัพท์สำหรับใชก้ ับพระสงฆ์ 5. https://lifestyle.campus-star.com/knowledge/85267.html ขอ้ มูลคำราชาศัพท์หมวดคำกริยา 6. https://27508fah.wordpress.com/ ขอ้ มลู คำราชาศัพทห์ มวดเครอื ญาติ 7. https://mthai.com/campus/45936.html ขอ้ มลู คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้