ดร.ม ทนาปว ณ สาระค ณมนตร ประว ต

ภาควิชาการ 251

LONDON — Students in England already learn about mathematics, science and history, but hundreds of schools are preparing to expand the traditional curriculum with a new subject: mindfulness.

In up to ๓ ๗ ๐ English schools, students will start to

practice mindfulness as part of a study to improve youth mental health, the British government said on Monday.

They will work with mental health experts to learn relaxation techniques, breathing exercises and other methods to “help them regulate their emotions,” the government said in a news release announcing the program.

The goal of the program is to study which approaches work best for young people in a world of rapid change. The

government said the study, which will run until ๒๐๒๑, is one of

the largest of its kind in the world. CHILDREN TO BE TAUGHT MINDFULNESS AS MENTAL

HEALTHH IN ๓ ๗ ๐ ENGLISH SCHOOLS – (Independent, ๒ ๐ ๑ ๙ )

Mindfulness, breathing and relaxation exercises are going to be

introduced to ๓ ๗ ๐ schools in England in an effort to teach

children abo about the importance of looking after their mental health.

The launch of the mental health trial is one of the largest of its kind in the world, and is being led by the Anna Freud National Centre for Children and Families in partnership with University College London.

The announcement of the scheme marks the beginning

of Children's Mental Health Week, which is taking place from ๔

February to ๑๐ February this year.

The mental health trial will run in the schools until ๒๐๒๑,

and will involve pupils being taught muscle relaxation techniques, breathing exercises and mindfulness.

The government hopes the two-year scheme will provide useful information regarding what mental health practises can benefit students in schools

กิจกรรมวันท่ี 13

วัน อังคาร ท่ี 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 05.30 น.

กิจกรรม ทำวัตรเช้าและเจริญจิตภาวนา

สถานท่ี ศูนย์พฒั นาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบรู ณ์

ภาควิชาการ 252

ภารกจิ ทไี่ ดร้ ับ เขา้ ร่วมกจิ กรรมทำวัตรเช้า

นำทำวตั รโดย คณาจารย์

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวตั รเชา้

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา (พทุ โธ สุสทุ โธ..........)

o ตงั ขณกิ ปัจจเวกขณปาฐะคาถา (ปฏสิ งั ขาโย..........)

o ปตั ตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........)

o แผ่เมตตา (สัพเพ สตั ตา..........)

ประโยชน์ที่ได้รับ 1. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซือ่ งซึมง่วงนอนเกียจ

คร้านจะหมดไป และเกดิ ความแช่มชนื่ กระฉับกระเฉงขึ้น

2. เป็นการตัดความเห็นแก่ตวั เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด

มนต์อยา่ งตัง้ ใจ ไม่ได้คดิ ถงึ ตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิไดเ้ กิดขึ้นในจิต

3. เปน็ การกระทำทไี่ ดป้ ญั ญา ถ้าการสวดมนตโ์ ดยรคู้ ำแปล รคู้ วามหมาย ก็ย่อมทำ

ให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร

เลย

4. มจี ิตเปน็ สมาธิ เพราะขณะนัน้ ผู้สวดตอ้ งสำรวมใจแนว่ แน่ มฉิ ะนั้นจะสวดผิดท่อน

ผดิ ทำนอง เมือ่ จิตเปน็ สมาธิ ความสงบเยอื กเยน็ ในจติ จะเกิดข้ึน

5. เปรียบเสมือนการได้เฝ้าพระพุทธเจ้า เพราะขณะน้ันผ้สู วดมี กาย วาจา ปกติ (มี

ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี

ปญั ญา) เท่ากับได้เฝา้ พระองคด์ ว้ ยการปฏบิ ัตบิ ชู า ครบไตรสิกขาอย่างแทจ้ รงิ

เวลา 05.30 – 06.50 น. กจิ กรรม สอบทดทวนบทเจริญ/สวดพระพุทธมนต์ สถานท่ี ศูนยพ์ ัฒนาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาคอ้ จังหวัดเพชรบรู ณ์ ภารกจิ ที่ไดร้ บั สอบทดทวนบทเจริญ/สวดพระพทุ ธมนต์ เรอ่ื ง ท่องมนต์ โดย พระมหาทองเกบ็ ญาณพโล, ดร. ประโยชน์ท่ีไดร้ บั ได้ทบทวนมนต์ เวลา 08.30 – 10.50 น. กิจกรรม รับฟังการบรรยาย สถานท่ี ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมป์สน อำเภอเขาคอ้ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ ภารกจิ ท่ีไดร้ บั เข้ารว่ มรับฟังการบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

ภาควชิ าการ 253

เวลา 13.00 – 16.30 น.

กิจกรรม รบั ฟงั การบรรยาย

สถานที่ ศนู ย์พฒั นาศาสนาแคมป์สน อำเภอเขาคอ้ จังหวดั เพชรบูรณ์

ภารกิจทไ่ี ด้รับ เข้ารว่ มรบั ฟงั การบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

เวลา 18.00 – 18.30 น.

กจิ กรรม ทำวตั รเยน็

สถานที่ ศนู ยพ์ ฒั นาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาคอ้ จังหวัดเพชรบรู ณ์

ภารกิจทไ่ี ด้รบั เขา้ รว่ มกจิ กรรมทำวตั รเย็น

นำทำวัตรโดย คณาจารย์

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวัตรเยน็

ทบทวนธรรม o อะตีตะปจั จะเวกขะณะ (อชฺช มยา……….)

o กรวดนำ้ (อิมินา……….)

แผเ่ มตตา (สพั เพ สัตตา……….)

ประโยชน์ท่ีไดร้ บั 4. ได้ทบทวนธรรม

5. การสวดมนตเ์ ป็นการฝึกสมาธิ ให้ใจมีความสงบ ตั้งมั่นอยู่กับคำสวดมนต์อย่าง

ต่อเนอื่ ง ใจจดจ่ออยู่กับบทสวดมนตร์ ะมัดระวงั ไม่ใหส้ วดผดิ ซึ่งการมีสมาธอิ ยูก่ บั

สวดมนต์นี้ จะทำให้เรามคี วามสงบเยือกเย็นในจิตใจเพิ่มมากขึ้น และมีพลังใน

การคิดสรา้ งสรรคใ์ นสิง่ ต่างๆ ได้ดยี ิง่ ขึ้นอกี ด้วย

6. การสวดมนต์เปน็ การสร้างศรทั ธา สร้างความเชอ่ื มน่ั ในคณุ ของพระรตั นตรัย เปน็

การเสริมสร้างพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนา และน้อมนำหลักธรรมทาง

พระพุทธศาสนามาใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตอยา่ งมีคุณค่า

เวลา 18.30 – 21.00 น. กิจกรรม รบั ฟังการบรรยาย สถานที่ ศนู ย์พฒั นาศาสนาแคมป์สน อำเภอเขาค้อ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ภารกิจทีไ่ ดร้ ับ เข้ารว่ มรบั ฟงั การบรรยายผ่านโปรแกรม zoom

กิจกรรมวันท่ี 14

วนั อังคาร ที่ 18 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 05.30 น.

กิจกรรม ทำวัตรเชา้ และเจริญจติ ภาวนา

สถานที่ ศูนยพ์ ฒั นาศาสนาแคมป์สน อำเภอเขาคอ้ จังหวัดเพชรบูรณ์

ภาควิชาการ 254

ภารกิจท่ไี ด้รับ เข้ารว่ มกิจกรรมทำวัตรเชา้

นำทำวตั รโดย คณาจารย์

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวัตรเช้า

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา (พุทโธ สสุ ุทโธ..........)

o ตังขณกิ ปจั จเวกขณปาฐะคาถา (ปฏสิ งั ขาโย..........)

o ปตั ติทานะคาถา (ยา เทวะตา..........)

o แผ่เมตตา (สัพเพ สัตตา..........)

ประโยชน์ทไี่ ด้รับ 6. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซื่องซึมง่วงนอนเกียจ

คร้านจะหมดไป และเกดิ ความแช่มชนื่ กระฉบั กระเฉงขนึ้

7. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด

มนตอ์ ย่างตง้ั ใจ ไมไ่ ดค้ ดิ ถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มไิ ด้เกิดขึน้ ในจติ

8. เปน็ การกระทำที่ไดป้ ญั ญา ถ้าการสวดมนตโ์ ดยรู้คำแปล รคู้ วามหมาย ก็ย่อมทำ

ให้ผู้สวดได้ปญั ญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมอื นนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร

เลย

9. มีจิตเปน็ สมาธิ เพราะขณะน้ันผูส้ วดตอ้ งสำรวมใจแน่วแน่ มฉิ ะนนั้ จะสวดผิดท่อน

ผิดทำนอง เมอ่ื จิตเปน็ สมาธิ ความสงบเยอื กเย็นในจติ จะเกดิ ขึ้น

10. เปรียบเสมือนการไดเ้ ฝา้ พระพทุ ธเจา้ เพราะขณะนน้ั ผู้สวดมี กาย วาจา ปกติ (มี

ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี

ปญั ญา) เทา่ กับได้เฝ้าพระองค์ด้วยการปฏบิ ัติบชู า ครบไตรสิกขาอย่างแท้จรงิ

เวลา 05.30 – 06.50 น. กจิ กรรม ฟังการบรรยาย สถานท่ี ศูนย์พฒั นาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จงั หวดั เพชรบูรณ์ ภารกจิ ทีไ่ ด้รบั เข้ารว่ มรบั ฟงั การบรรยาย เรอ่ื ง พระธรรมทูตไทยกบั ความคาดหวงั ของสังคม บรรยายโดย พระราชปญั ญารงั ษี เนื้อหา สังคมมีความคาดหวังกับพระธรรมทูตไทยในต่างประเทศมาก จึงต้องมีการพัฒนา ความรู้ความสามารถของพระธรรมทูตไทยที่ต้องไปประจำวัดไทยในต่างแดน สิ่งที่ สังคมคาดหวงั มดี งั น้ี

1. การศกึ ษาของพระธรรมทูต โดยพระธรรมทตู ทจ่ี ะไปทำหนา้ ท่ีวดั ไทยใน ต่างประเทศ จะต้องมีความรู้วิชาทางโลกและวิชาทางธรรมที่ถงึ พร้อม และสามารถทำให้สังคมมีความเชอื่ มน่ั ในตวั พระธรรมทตู ได้ รวมถึงพระ

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ภาควชิ าการ 255

ธรรมทูตต้องหมั่นฝึกฝนอบรมตนอยู่เสมอในการขัดเกลาตนเองและ สามารถแนะนำผอู้ น่ื ตอ่ ไปได้ 2. การปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวนิ ัยของพระธรรมทูตอย่างเครง่ ครดั พระธรรม ทูตต้องมีความสำรวมกิริยามารยาท การแสดงออก เป็นพระที่สมบูรณ์ ในพระธรรมวินัย ทน่ี า่ น่าเล่ือมใส 3. การปฏบิ ตั อิ ย่างเหมาะสมในสมณภาวะ นอกเหนอื จากกาลเทศะ บคุ คล ดินฟ้าอากาศ เป็นต้น พระธรรมทูตยังต้องคำนึงถึงการปฏิบัติตนให้ เหมาะสมกับวฒุ ภิ าวะของตน 4. การมีเมตตาต่อผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม มีความปรารถนาดีต่อสังคม ไม่ ปรารถนาร้ายเพื่อขจัดความขัดเคืองท้ังตนเองและผู้อื่น พระธรรมทูต ต้องมีเมตตาช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เอาใจใส่ผู้อื่น ไม่เห็นแก่ตัวเอง อดทนต่อความอยุติธรรม มีความขวนขวายที่จะทำ ละทิ้งความสบาย ส่วนตัว วางใจมารบั ใชส้ งั คม 1. ทำให้ทราบในความคาดหวังของสงั คมที่มตี ่อพระธรรมทูตไทยใน ต่างประเทศ 2. พระธรรมทตู สามารถพฒั นาความรู้ความสามารถเพอ่ื ใหต้ รงกบั ความ คาดหวังของสงั คม 3. สังคมมีความคาดหวงั กบั พระธรรมทูตในด้านตา่ งๆ ค่อนขา้ งสูง ฉะนน้ั พระธรรมทูตเองจะต้องมคี วามหนกั แน่น ตงั้ ตนไว้ชอบในการทำสงิ่ ต่างๆ โดยคำนึงการศกึ ษาของตนเองท่ีควรมเี พียงพอกบั ความต้องการ ของสังคม การปฏบิ ตั ติ ามพระธรรมวินยั อย่างเครง่ ครัด และมีการ ปฏบิ ัติตนอยา่ งเหมาะสม รวมถงึ มที ัศนคตทิ ีด่ ี มเี มตตา ไม่เหน็ แก่ ประโยชนส์ ว่ นตนมากเกนิ ไป 4. การศึกษา คาดหวงั ความรจู้ ากพระธรรมทูต เพ่อื เป็นท่ีพง่ึ แกญ่ าตโิ ยม ตามช่องทางต่าง ๆ ตามสอ่ื ออนไลน์ หากมคี วามรดู้ กี ็จะทำใหญ้ าติโยม พอใจ ควรหาความรเู้ พ่มิ เตมิ เพอื่ พฒั นาตนเอง 5. ความมวี นิ ัย ควรมวี ินัยอยา่ งเคร่งครดั เพราะคนรอบขา้ งจะตรวจสอบ ว่าของแท้หรอื เปล่า ควรมกี ารสำรวมระวงั ในชวี ติ ของนักบวช ธรรม วินัยจะเป็น กรอบให้ ญาตโิ ยมจะคาดหวงั ความเครง่ ครดั ในวินยั ของ พระธรรมทูต คาดหวงั ในการปฏิบัตติ นของพระ เพราะเป็นผนู้ ำทาง ความดี คาดหวังว่าเป็นพระสงฆผ์ ู้ทรงศีล 6. การปฏิตนทเ่ี หมาะสมกับสมณ การปอ้ งกันตนเองจากสภาพอากาศ เวลาเจอสภาพอากาศร้อนหรืออากาศหนาว อนั น้ีตอ้ งสัมพนั ธ์กบั วุฒิ

ภาควิชาการ 256

ภาวะ ท้ังฐานะและตำแหน่ง การวางท่าทที ่าทางทเ่ี หมาะสม การพดู การจา 7. การมเี มตตาชว่ ยเหลือสงั คม มีความปรารถนาดี ไมป่ รารถนาร้าย ใน เม่อื เราพฒั นาตัวเองให้มเี มตตา ควรช่วยเหลอื แบง่ ปนั เมตตาเปน็ คณุ ธรรมท่ีตอบโจทย์การทำงานของพระธรรมทตู ปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ มกั เหน็ แก่ตนเอง หวังความสบาย ควรจะมคี วามอดทนและมีความ ตอ่ เนอื่ ง 8. สงั คมมีคาดหวังกบั พระธรรมทูตมากวา่ จะมอบสง่ิ ทเี่ หมาะสมแกเ่ ขา เพราะวา่ เขาหมดหวังในแนวทางทเี่ ขาเคยปฏิบัตอิ ยู่ 9. ปญั หาของพระสงฆ์ ทเี่ กดิ ข้ึน เราตอ้ งหนักแน่น เปน็ การวางใจทีไ่ ม่ ถกู ต้องของโยมมคี วามปราถนามาก อยากเจอพระอรหันต์ ทำให้เจอ พระทีไ่ มห่ นักแนน่ พอจงึ เกิดปญั หา

เวลา 08.30 – 10.50 น. กิจกรรม เรยี นธรรมผ่านพทุ ธศลิ ป์ไทย สถานท่ี วัดผาซ่อนแก้ว อำเภอเขาคอ้ จังหวดั เพชรบูรณ์ ภารกจิ ท่ไี ดร้ บั ศึกษาธรรมะผ่านพทุ ธศิลป์ไทย เร่อื ง ความแปน็ วดั พระธาตุผาซอ่ นแกว้ บรรยายโดย พระอาจารย์ประสงค์ ปรปิ ณุ ฺโณ เนื้อหาการบรรยาย ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั 1.ได้เรียนรศู้ ิลปะของพทุ ธศลิ ปท์ ่ีมอี ยูภ่ ายในวัด 2. ได้ทราบถงึ ประวัติของพระพทุ ธเจา้ ผา่ นพระพุทธรปู ปางต่างๆ 3. ได้เรยี นรธู้ รรมะจากภาพปริศนาธรรม 4. ไดท้ ราบประวตั คิ วามเป็นมาของวดั และปรศิ นาธรรมท่ีมใี นบรเิ วณวัด

เวลา 13.00 – 15.00 น. กิจกรรม รบั ฟงั การบรรยาย สถานที่ ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมป์สน อำเภอเขาคอ้ จังหวดั เพชรบูรณ์ ภารกิจที่ไดร้ ับ เขา้ ร่วมรบั ฟงั การบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom เวลา 15.00 – 16.30 น. กจิ กรรม รบั ฟังการบรรยาย สถานที่ ศูนย์พฒั นาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบรู ณ์

ภาควิชาการ 257

ภารกิจทไี่ ดร้ ับ เขา้ ร่วมรบั ฟงั การบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

เวลา 18.00 – 18.30 น.

กิจกรรม ทำวัตรเยน็

สถานท่ี ศูนย์พัฒนาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาคอ้ จงั หวัดเพชรบูรณ์

ภารกจิ ทีไ่ ด้รบั เขา้ ร่วมกจิ กรรมทำวัตรเย็น

นำทำวัตรโดย คณาจารย์

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวตั รเยน็

ทบทวนธรรม o อะตตี ะปัจจะเวกขะณะ (อชฺช มยา……….)

o กรวดนำ้ (อมิ นิ า……….)

แผเ่ มตตา (สพั เพ สัตตา……….)

ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ ได้ทบทวนธรรม

การสวดมนต์เป็นการฝึกสมาธิ ให้ใจมีความสงบ ตั้งมั่นอยู่กับคำสวดมนต์

อย่างต่อเนื่อง ใจจดจ่ออยูก่ บั บทสวดมนต์ระมัดระวงั ไมใ่ ห้สวดผิด ซึ่งการมีสมาธอิ ยู่

กับสวดมนต์นี้ จะทำให้เรามีความสงบเยือกเย็นในจติ ใจเพ่มิ มากขนึ้ และมพี ลังในการ

คดิ สรา้ งสรรคใ์ นสง่ิ ตา่ งๆ ไดด้ ีย่งิ ข้นึ อีกดว้ ย

การสวดมนต์เปน็ การสร้างศรทั ธา สรา้ งความเชือ่ มัน่ ในคณุ ของพระรตั นตรยั

เป็นการเสริมสร้างพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนา และน้อมนำหลักธรรมทาง

พระพทุ ธศาสนามาใช้ในการดำเนินชวี ติ อย่างมคี ุณคา่

เวลา 18.30 – 21.00 น. กจิ กรรม รบั ฟังการบรรยาย สถานท่ี ศนู ยพ์ ฒั นาศาสนาแคมปส์ น อำเภอเขาค้อ จังหวดั เพชรบรู ณ์ ภารกจิ ทไ่ี ดร้ ับ เข้าร่วมรบั ฟงั การบรรยายผ่านโปรแกรม zoom เร่อื ง รับฟังบรรยายหัวข้อเรื่อง “ชีวิตประจำวันของชาวพุทธและการปฏิบัติทางพุทธ ศาสนาในแอฟริกาตะวันออก” บรรยายโดย เนอ้ื หาการบรรยาย ได้รับข้อมูล พระพุทธรักขิตะภิกขุ พระสงฆ์ชาวแอฟรกิ า“พระพุทธรักขติ า ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ ภิกขุ” พระสงฆ์ชาวแอฟริกา รูปแรกในพระพุทธศาสนา เดิมมีชื่อว่า ( Steven Kaboggoza ) ในภาษาบาลีซึ่งมีความหมายว่า “ผู้ปกป้องรักษาพระพุทธเจ้า” ภิกษผุ ิวสี เกดิ เม่อื ปี ค.ศ. ๑๙๖๖ ในครอบครัวชาวครติ ส์ จากประเทศยูกันดา ที่เลอื ก เดนิ ทางตามรอยพุทธศาสนา และ เผยแพร่ธรรมในทวปี แอฟริกา

ภาควิชาการ 258

พระสงฆช์ าวแอฟริกันรูปแรกในพระพุทธศาสนา พระพุทธรักขิตะ มีความ สนใจในคำสอนของพระพทุ ธศาสนา มานานจนไดบ้ วชเปน็ พระภิกษุในปีค.ศ. ๒๐๐๒ จากนั้นท่านกลับไปยูกันดา เพื่อหามารดาและญาติพี่น้อง โดยกลับไปในฐานะ พระภิกษุและพระธรรมทูตในพระพุทธศาสนา ท่านต้องฟันฝ่าปัญหาอุปสรรคต่างๆ ตลอดจนความไม่เข้าใจแม้แต่จากชุมชนท้องถิ่นและญาติพี่น้อง แต่ในที่สุดท่าน สามารถสร้างความเข้าใจให้เกิดข้ึนได้ และจัดตั้งศูนย์พระพุทธศาสนาขึ้นท่ีกรุงกัมปา ลา (Kampala) นครหลวงของประเทศยกู ันดา (Uganda) เมอ่ื ปคี .ศ. ๒๐๐๕

โดยพระพุทธรกั ขิตะ เผยว่า แรกเริ่มท่านรู้จักพุทธศาสนาเพียงผิวเผินตาม หนังสือเรียน แต่พอรู้จักพระสงฆ์ไทย จากการเป็นเพื่อนร่วมชั้นระหว่างเรียนการ บริหารที่อินเดีย ก็ทำให้ท่านสนใจในเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น ซึ่งหลังเรียนจบก็ได้ออก เดินทางไปยังพื้นที่กำเนิดพุทธศาสนาต่างๆ ทั้ง ทิเบต และเนปาล ก่อนทีจ่ ะจบลงที่ ประเทศไทย ซึ่งการมาที่ไทยนอกจากมาศึกษาพระพุทธศาสนาแล้ว ก็มาประกอบ อาชีพหาเงินด้วยการเป็นครูดำน้ำที่เกาะเต่า จ.สุราษฎร์ธานีด้วย ก่อนที่จะกลับไป บ้านเกิดอกี ครั้งหลงั จากห่างบ้านไปทอ่ งโลกนาน ๗ ปี

และจากตรงนนี้ ่เี องท่ีทำให้ท่านคดิ ท่ีจะอุทิศตนเพื่อพทุ ธศาสนาด้วยการบวช เปน็ สาวกของพระพทุ ธเจา้ เนือ่ งจากพอไปถงึ ทบี่ ้านญาติๆ ของเขาก็ไม่ค่อยชอบใจท่ี ท่านนำหนงั สอื ธรรมะกลับไปดว้ ย โดยถงึ ขนั้ จะเผาหนังสอื ทง้ิ และให้เขาหันไปนับถือ ศาสนาคริสตต์ ามครอบครวั ท่านจงึ ตดั สินใจออกเดินทางอกี ครง้ั

โดยคราวนี้ได้เดินทางไปยังสหรัฐอเมริกา เพื่อไปศึกษาธรรมะโดยเฉพาะ จนกระทั่งปี ๒๐๐๒ ท่านจึงตัดสินใจบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ หลังได้พบกับ ท่าน ปณั ณาธิภา (Pannadipa) ณ ศูนย์ปฏิบตั วิ ิปัสสนาตถาคต (Tathagata) ทีเอ็มซี – TMC – Tathagata Meditation Centre ในเมืองซาน โฮเซ่ (San Jose) รัฐแคลฟิ อรเ์ นีย (California) โดยมีพระอาจารย์ คอื ท่านซายาดอว์ ยู สลิ ะนันทะ (Sayadaw U. Silananda)

ทงั้ นห้ี ลังจากศึกษาพระธรรมมาไดร้ ะดับหนง่ึ ทา่ นจึงตัดสินใจกลับบ้านเกิด อีกครั้ง เพื่อทำตามปณิธานที่ตั้งไว้ว่า “จะต้องกลับไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ ยูกันดาให้จงได้” ซึ่งฟังดูอาจจะดูเหมือนง่าย แต่หากพอทำจริงมันยากมากเพราะ ชาวบา้ นยังไม่เชอ่ื ใจ บ้างก็ว่าท่านถูกมนต์ดำ บา้ งก็วา่ ท่านวกิ ลจรติ เดินเข้ามาแกล้ง สารพัด จนเป็นที่ตลกขบขัน แต่ด้วยวัตรปฏิบัติของท่านที่เรียบง่าย และงดงาม ไม่ เคยถือโทษโกรธผูใ้ ด แต่ไขขอ้ สงสัยใหแ้ ก่ผทู้ ี่เข้ามาตั้งคำถามอยา่ งใจเย็น จนเป็นทนี่ ่า ประทับใจ ทำใหผ้ ู้คนเปดิ ใจให้กับท่านมากข้ึนและในปี ๒๐๐๕ ศูนยพ์ ระพุทธศาสนา ในยกู นั ดาไดร้ ับการสถาปนาขน้ึ ในนาม Uganda Buddhist Centre หรอื UBC ซงึ่ ถอื เป็นจดุ เกดิ พระพุทธศาสนาในดนิ แดนกาฬทวปี แผน่ ดินแอฟริกา

ภาควชิ าการ 259

ขณะที่ พระพทุ ธรกั ขิตะ ไดก้ ลา่ ววา่ “เมลด็ พนั ธ์ุแหง่ พระพุทธศาสนานิกาย เถรวาทได้ถูกปลูกฝังลงในยูกันดาเรียบรอ้ ยแล้ว ตอนนี้เป็นเวลาแห่งการดแู ลใหเ้ ตบิ ใหญ่ หวังว่าเมล็ดพันธุ์ทีม่ ีประโยชน์นี้จะได้รับการดูแลเปน็ อย่างดีและเติบโตอย่าง แขง็ แรง แผ่ขยายไพศาลเปน็ ผลไมแ้ ห่งประโยชนข์ องสตั ว์โลกทงั้ ปวง”

กจิ กรรมวันท่ี 18

วนั ศกุ ร์ ที่ 20 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 06.50 น.

กจิ กรรม ทำวตั รเชา้ /เจรญิ จิตภาวนา/ทบทวนธรรม

สถานท่ี อาคารวปิ สั สนา ชั้น 2 มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภารกิจทไ่ี ด้รับ เข้ารว่ มกิจกรรมทำวตั รเชา้

มอบหมาย

นำทำวัตรโดย ตวั แทนกลมุ่ 1

บทสวดทำวัตร/ o บททำวตั รเช้า

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถา (พุทโธ สสุ ทุ โธ..........)

o ตังขณิกปัจจเวกขณปาฐะคาถา (ปฏสิ งั ขาโย..........)

o ปัตตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........)

o แผ่เมตตา (สัพเพ สัตตา..........)

o นโม..........)

o พทุ ธัง สรณัง..........)

o ธัมมะจักกปั ปวัตตะนะคาถถา..........)

o ภวตุ สัพพ..........)

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั กลา่ วคำปฏญิ ญาของพระธรรมไทย/อังกฤษ 6. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซือ่ งซึมง่วงนอนเกียจ

ครา้ นจะหมดไป และเกิดความแชม่ ชน่ื กระฉบั กระเฉงขนึ้ 7. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด

มนตอ์ ยา่ งตง้ั ใจ ไมไ่ ดค้ ิดถงึ ตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิไดเ้ กิดข้ึนในจติ 8. เปน็ การกระทำทีไ่ ดป้ ัญญา ถา้ การสวดมนต์โดยรคู้ ำแปล รู้ความหมาย กย็ ่อมทำ

ให้ผู้สวดได้ปญั ญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร เลย

ภาควชิ าการ 260

9. มจี ติ เปน็ สมาธิ เพราะขณะนน้ั ผู้สวดต้องสำรวมใจแน่วแน่ มิฉะนัน้ จะสวดผดิ ท่อน ผดิ ทำนอง เมือ่ จติ เป็นสมาธิ ความสงบเยือกเยน็ ในจิตจะเกดิ ขึน้

10. เปรียบเสมอื นการไดเ้ ฝ้าพระพทุ ธเจา้ เพราะขณะน้ันผ้สู วดมี กาย วาจา ปกติ (มี ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี ปัญญา) เท่ากบั ไดเ้ ฝา้ พระองค์ดว้ ยการปฏบิ ตั บิ ชู า ครบไตรสกิ ขาอย่างแทจ้ ริง

เวลา 08.30 – 10.50 น. กิจกรรม ฟงั บรรยาย สถานที่ ห้องเทยี รเ์ ตอร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ภารกิจท่ไี ดร้ ับ รบั ฟังการบรรยาย มอบหมาย เรอื่ ง เข้ารบั ฟงั การบรรยายหวั ขอ้ “งานธรรมทูตกบั การเผยแผน่ านาชาต”ิ บรรยายโดย พระครปู ลัดปัญญาวรวฒั น(์ หรรษา ธมฺมหาโส),ศ ดร. เนอ้ื หาการบรรยาย ได้รับทราบข้อมูลการแปลพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ เป็นภาษาอังกฤษโดย นักวิชาการทั่วโลก ตามกำหนดการ ๓ ปี สยามวงศ์ คือลังกาวงศ์เจดีย์ยอดมุม ๑๒ เอามาจากสุโขทัย เป็นประวัตศิ าสตร์ ในหลวงทรงอุปถมั ภต์ ลอด

๑.รู้เรา หัวใจสำคัญโอวาท ๓ คือขันติ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย พระพุทธเจ้า สอนให้รู้จักตัวเอง เอาคอนเซ็ปตข์ องพระพทุ ธเจา้ ไปดีไซนใ์ หเ้ ข้ากับวิถีชีวิต พทุ ธไทย ไมใ่ ช่พุทธแท้ มีผี พราหมณ์ พุทธ

๒.รู้เขา ศึกษาประเพณี วิถีชีวิต ดูว่าใครเอ็มเพาเวอรม์ ากท่ีสุด รู้จกั สถานที่ รู้จักผนู้ ำ ศาสนาเปน็ Soft power ต้องร้จู ักผนู้ ำเพอ่ื จะไดม้ ีผ้ปู กป้องคนของตัวเองได้ การเข้าไปคุย ไม่จำเปน็ ต้องเอามาเปน็ ลูกศษิ ย์กไ็ ด้

๓. เรียนรูป้ ระวตั ศิ าสตร์สถานที่จะไป ยุคปรัชญา ยคุ เทววทิ ยา ยคุ มดื คอื ยุค แตกหกั กับศาสนา ถา้ เผยแผ่สติ เขาไม่ตอ้ งการบรรลมุ รรคผล เขาต้องการแค่นำไปใช้ ในชวี ติ ประจำวนั สติ สมาธิ ไม่ใช่ ของศาสนา เป็นธรรมชาติท่ีมอี ยูแ่ ล้ว เราเป็นเพียง ผู้ค้นพบ และวัตรปฏิบัติ ตัองรักษาไว้ ถ้า จะเรียนภาษาต้องศึกษาวัตนธรรม เสขยิ วัตร เปน็ มารยาทใช้คบกับคนผู้ดี

- อธิบายธรรมะ ๕ นาที เก่ียวกับสติ สมาธิ ต้องฝกึ เตรียมไว้ - จะเปน็ วปิ ัสสนาจารยต์ อ้ งได้ ญาณ ๓ เป็นอย่างน้อย ๑๐.๒๐ น.เจ้าหนา้ ทชี่ ีแ้ จงการปฏิบตั โิ ดยพระครูวนิ ัย สมทุ ร - ท่พี กั อาศยั ใหพ้ กั ตามท่ีโครงการกำหนดเอาไว้ หากพกั ท่ีหอพกั ทเี่ คยเรียน จะถกู นมิ นต์ออกไป

ภาควชิ าการ 261

- ทำวัตรเช้าเย็นเวลาเดิม ช่วงเวลาพักร้านกาแฟไปซี้อได้แต่ห้ามไปรวม ชมุ นุมในรา้ นกาแฟ ให้พักในบรเิ วณทกี่ ำหนด

- สถานที่ทำวตั รเช้าเย็น ลานโพธ์, สถาบันวจิ ัย, ถา้ วิทยากรมาเยอะ ทำวัตร ท่ีเธียเตอร์

- การซกั จีวร ให้รวมกลุ่ม คา่ ซัก ๕๐-๖๐ บาท - ภตั ตาหารเชา้ ไม่ต้องใช้บาตร เพล นำบาตรไปด้วย - วาระแบ่งงาน พธิ กี รดำเนินงาน, ของทีร่ ะลึก, นำ้ ชา, ธปู เทยี น, ป้ายแนะนำ วิทยากร

ประโยชน์ท่ไี ด้รบั

เวลา 15.00 – 16.30 น. กจิ กรรม รบั ฟงั การบรรยาย สถานท่ี หอ้ งเทยี รเ์ ตอร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภารกิจที่ไดร้ บั รับฟงั การบรรยายผ่านโปรแกรม zoom มอบหมาย เรื่อง รบั ฟงั การบรรยาย “งานสาธารณะสงเคราะหก์ ับงานพระธรรมทูตไทย” บรรยายโดย พระมงคลวชิรากร (สมบัติ ญาณวโร) พระธรรมทูตรุนที่ ๑๓ ปฏิบัติศาสนกิจที่ บอสตนั ๐๙๒-๙๕๙๘๘๙๙ เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กทม เนือ้ หาการบรรยาย ความคาดหวังของคณะสงฆ์ตอ่ พระธรรมทตู

1. เพื่อเสริมสร้างศรัทธาของประชาชน ให้ยึดมั่นในพระพุทธศาสนามีความ เคารพรกั ประเทศชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์

2. เพอื่ เสริมสรา้ งความม่นั คงและความปลอดภยั ของประเทศชาติ 3. เพื่อส่งเสริมและปลกู ฝ่ังศีลธรรม วัฒนธรรม และให้คำแนะนำทางจิตใจแก่

ประชาชน 4. เพื่อส่งเสรมิ ความเข้าใจอันดี ระหว่างประชาชนทน่ี บั ถอื ศาสนาต่างกนั 5. เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีและความร่วมมือกัน ระหว่างข้าราชการ

ประชาชน พระสงฆ์ และผู้นำทางศาสน่าอื่นๆ ในการพัฒนาประเทศและ ความเปน็ อยขู่ องประชาชน การเผยแผ่ หมายถึง การทำให้ขยายออกไปการทำให้ขยายวงกว้างออกไป ทำให้ แพร่หลายออกไปและนัยสำคัญของการเผยแผใ่ นท่ีนี้คือมงุ่ ไปท่กี ารเปิดเผยหลกั ธรรม คำสอนทางพระพทุ ธศาสนาเป็นหลัก

พระพุทธเจา้ ทรงกล่าวถงึ ผู้มีคุณสมบัตสิ ำคัญตอ่ การทำหน้าทท่ี ตู ไว้ ๘ ประการ ไดแ้ ก่

ภาควชิ าการ 262

1. ร้จู ักฟัง 2. สามารถพูดใหผ้ ู้อ่ืนฟงั ได้ 3. ไฝ่ศกึ ษา ๓ 4. ทรงจำได้ดี 5. เป็นผ้รู ู้ไดเ้ ขา้ ใจชัด 6. สามารถพดู ให้ผู้อน่ื เข้าใจได้ 7. ไมก่ อ่ การทะเลาะวิวาท

ลกั ษณะผู้สอนที่ดี 1. ปิโย น่ารัก คือความใจดี มีเมตตากรุณา ใส่ใจในประโยชน์ของศิษย์

เข้าอกเข้าใจสรา้ งความร้สู กึ เป็นกันเอง ชวนใจให้ศษิ ยอ์ ยากเขา้ ไปปรึกษา ไตถ่ าม 2. ครุ น่าเคารพ คือเป็นผู้หนักแน่น ยึดมั่นถือหลักการเป็นสำคัญและมี

ความประพฤติเหมาะสม ทำให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ มั่นใจ เป็นที่พึ่งได้และ ปลอดภัย

3. ภาวนีโย น่ายกย่อง ในฐานะที่เป็นครูที่บุคคลที่ทรงคุณ คือ ความรู้ และทรงภูมปิ ญั ญาอย่างแท้จริง

4. วตั ตา จ รจู้ ักพูดให้เหตผุ ล คือมีความรจู้ รงิ มีจติ วิทยาในการพดู รู้จัก ชแี้ จงให้เข้าใจ รู้วา่ เม่อื ไร ควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้คำแนะนำวา่ กลา่ วตักเตือน เปน็ ท่ปี รึกษาท่ีดีได้

5. วจนักขโม อดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมที่จะรับฟังคำปรกึ ษาซกั ถาม แม้ จุกจิกตลอดจนคำลว่ งเกิน และคำตักเตือนวิพากษ์วิจารณ์ต่าง ๆอดทนฟงั ได้ไมเ่ สยี อารมณ์

6. คมั ภรี ัญจ กถัง กัตตา แถลงเร่ืองล้ำลกึ ได้ คือ กล่าวช้ีแจงเรอื่ งต่าง ๆ ท่ียุ่งยากซับซ้อน ลึกซง้ึ ใหเ้ ขา้ ใจได้ และสอนศิษยใ์ หไ้ ดเ้ รียนรู้เรื่องราวทลี่ กึ ซึ้งยิ่งข้ึนไป

7. โนจฏฐาเน นิโยชเย ไมช่ ักจูงชี้นำไปในทางท่เี สอื่ มเสยี หรือเรอ่ื งเหลวไหล ไม่สมควร

คุณสมบัตทิ ั้ง 7 ประการน้ีข้าพเจ้าถือวา่ เปน็ คุณสมบัตทิ ่ดี ีของครู การเป็น ครูนนั้ ไมใ่ ช่ใคร ๆกเ็ ปน็ ครกู นั ได้ เพราะครทู ่ีดนี ัน้ ตอ้ งมคี วามเสยี สละ และต้องมีความ อดทนเป็นอยา่ งสงู ไมใ่ ชว่ า่ มแี ตใ่ นประกาศนียบตั ร แล้วทุกคนกเ็ ปน็ ครูได้ ครูที่ดีนั้น จะต้องเปน็ ครดู ้วยจติ วญิ ญาณแห่งความเสียสละ

คณุ สมบัติของพระธรรมกถึก ต้องประกอบด้วยองค์ 5 ประการคือ 1. แสดงธรรมไปโดยลำดับ

ภาควชิ าการ 263

2. อา้ งเหตผุ ลแนะนำใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจ 3. ต้งั จิตเมตตาปรารถนาให้เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผฟู้ ัง 4. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแกล่ าภ 5. ไมแ่ สดงธรรมกระทบตนและผู้อน่ื

วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธองค์ในสมัยพุทธกาล เป็นสิ่งที่ พระธรรมทูตควรนำมาพจิ ารณา มดี ังนี้

1. รกุ เข้าเมืองใหญค่ ือ แค่ว้นมคธ โดยปราบชฎลิ คนพ่นี ้อง ใหม้ าเปน็ สาวก แลว้ จึงธรรมยาตราเขา้ เมอื ง

2. ใหพ้ ระสงฆท์ ่รี ้ธู รรมวนิ ัยแลว้ จารกิ ไปทกุ ทศิ ทางเพือ่ ประกาศคำสอน 3. ปราบคนสำคัญทีม่ อี ุปนิสัยในเหตุการณ์สำคญั ๆ บทบาทของพระธรรมทูต 1. บทบาทตอ่ หน้าท่ีตอ่ พระพทุ ธศาสนา 2. บทบาทหนา้ ทตี่ อ่ อุบาสกอุบาสิกา 3. บทบาทหนา้ ทตี่ อ่ ตนเอง พระพุทธโฆษาจารย์

SWOT คืออะไร คือ เครือ่ งมือในการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อนโอกาสและอปุ สรรค ขององค์กร หรือ บุคคลเปน็ การจดั โครงสรา้ งความคดิ เตือนใหเ้ ราคดิ ถึงปัจจัยต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถี่ถว้ น

หลกั การสำคัญของ SWOT คือ คือการวิเคราะห์โดยการสำรวจจากสภาพการณ์ 2 ด้าน คือสภาพการณ์ภายใน และสภาพการณภ์ ายนอก SWOT จึงเรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ (Situation Analysis) ซึ่ง เป็นการวิเคราะห์ จดุ แข็ง จุดออ่ น เพือ่ ใหร้ ู้ตนเอง (รู้เรา) รูจ้ กั สภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชดั เจน และวิเคราะห์โอกาส อุปสรรค

SWOT

มอี ทิ ธิพลตอ่ ผลการดำเนนิ งานขององค์กรอยา่ งไร 1. จดุ แข็งขององคก์ ร เปน็ ความสามารถภายในทถ่ี ูกใช้ประโยชน์เพือ่ การบรรลุเป้าหมาย 2. จุดอ่อนขององค์กร

ภาควชิ าการ 264

เป็นคุณลกั ษณะภายในท่อี าจจะ ทำลายผลการดำเนนิ งาน 3. โอกาสทางสภาพแวดล้อม

เป็นสถานการณ์ท่ใี ห้โอกาสเพ่ือการบรรลเุ ป้าหมายองคก์ ร 4. อปุ สรรคทางสภาพแวดล้อม

เปน็ สถานการณ์ทข่ี ัดขวางการบรรลเุ ป้าหมายองค์กร การทำงานสาธารณสงเคราะห์

1. ประสานเจา้ คณะผูป้ กครอง 2. ประสานกับงานเครือขา่ ย 3. งานทีเ่ ราจะดำเนินการเอง 4. งานทเ่ี ราจะเข้าไปสนบั สนุน 5. งานท่ีเราจะพัฒนาและบูรณาการ หลักการสาธารณสงเคราะห์ 1. ช่วยผทู้ ่ีไม่สามารถ ชว่ ยเหลอื ตวั เองได้ 2. ช่วยใหต้ รงตามความต้องการ 3. ชว่ ยตามความจำเป็น 4. ช่วยพัฒนาความสามารถของบุคคลใหเ้ พมิ่ ขึ้น 5. ชว่ ยใหม้ คี วามเสมอภาค 6. ช่วยรกั ษาเกียรตขิ องผู้ได้รับความช่วยเหลอื

เวลา 18.00 – 18.30 น. กจิ กรรม ทำวัตรเย็น สถานท่ี ภารกิจทีไ่ ด้รบั เขา้ รว่ มกจิ กรรมทำวัตรเย็น มอบหมาย นำทำวตั รโดย พระภุชงค์ ตัวแทนกล่มุ ๖ บทสวดทำวตั ร/ ทบทวนธรรม o บททำวัตรเย็น o อะตตี ะปัจจะเวกขะณะ (อชฺช มยา……….) ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ o กรวดน้ำ (อมิ นิ า……….) o แผ่เมตตา (สพั เพ สัตตา……….)

4. ไดท้ บทวนธรรม

เวลา ภาควชิ าการ 265 กิจกรรม สถานที่ 5. การสวดมนต์เป็นการฝึกสมาธิ ให้ใจมีความสงบ ตั้งมั่นอยู่กับคำสวดมนต์อย่าง ภารกจิ ท่ีไดร้ ับ ตอ่ เน่ือง ใจจดจอ่ อยกู่ บั บทสวดมนต์ระมัดระวงั ไมใ่ หส้ วดผดิ ซ่งึ การมีสมาธิอยกู่ บั มอบหมาย สวดมนต์นี้ จะทำให้เรามคี วามสงบเยือกเย็นในจิตใจเพิ่มมากขึ้น และมพี ลังใน เร่อื ง การคดิ สร้างสรรค์ในสิ่งต่างๆ ได้ดยี ่งิ ขนึ้ อีกดว้ ย บรรยายโดย 6. การสวดมนต์เป็นการสรา้ งศรทั ธา สรา้ งความเช่อื มัน่ ในคณุ ของพระรัตนตรัย เปน็ การเสริมสร้างพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนา และน้อมนำหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวติ อย่างมคี ุณค่า

18.30 – 21.00 น. รบั ฟังการบรรยาย ห้องเทยี ร์เตอร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เข้ารว่ มรับฟังการบรรยายผ่านโปรแกรม zoom

ชาวพุทธศรีลังกากบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในโลก

Propagation of Buddhism in the world by Sri Lankan Buddhists VEN.ASST .PROF.DR.WALMORUWE PIYARATANA, DIRECTOR OF B.A.ENGNLISH PROGRAM (BUDDHIST STUDIES), FACULTY OF BUDDHISM, MAHACHULALONGKORNRAJAVIDYALAYA UNIVERSITY.

Missionary Works made by Sri Lankan Monks Director of BA English Program. (Roddhise Sodies

Formal Establishment of Buddhism: ๓rd Century (๒๓๖ B) : After the ๓m Sanigha Council, King Emperor Asoka sent ๙ missionary groups within India and beyond to propagate the

Teaching of Buddha and establish the Buddhist Order.

: His son Arahant Mahinda and other ๕ Theras, novice

Sumana, and Bhanduka (a lay disciple) were dispatched to Sri Lanka.They met up King Devanampiyatissa at Mihintale

การสถาปนาพระพทุ ธศาสนาอย่างเป็นทางการ: ศตวรรษที่ ๓ (๒๓๖ ปีกอ่ น คริสตกาล) หลังจากสภาสังคายนา ๓ เมตร พระเจ้าอโศกได้ส่งคณะมิชชันนารี ๙ คณะภายในอินเดยี และนอกประเทศไปเผยแพร่คำสอนของพระพทุ ธเจา้ และสถาปนา คณะสงฆ์ · พระโอรสของพระองค์ อรหันต์ มหินดา และเทราสอีก ๕ พระองค์ สุ มานะมือใหม่ และบัณฑุกะ (ศิษยท์ ั่วไป) ถกู ส่งไปศรีลังกา ไดพ้ บพระเจ้าเทวานัมปิย ติสสะทม่ี ิฮินทาเล

Buddhism in Sri Lanka

ภาควชิ าการ 266

Established in ๓rd Century

Arahant Mahinda visited Mihintale at Anuradhapura and preached the dhamma to King Devanampiyatissa Introduced Buddhism/Ordained Arittha, the minister of the king Arrival of the Bodhi Tree/ Arahant Sanghamitta's visit Queen Anula's Ordination Firm Establishment of Buddhism

พระพุทธศาสนาในประเทศศรีลังกา ก่อตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ อรหันต์ มหนิ ดา ได้เสด็จพระราชดำเนนิ เยือนมฮิ นิ ทาเล ณ พระอนุราธปุระ และได้ทรงเทศนา ธรรมแก่ พระเทพเทวานัมปิยติสสะ แนะนำพระพุทธศาสนา/พระอรหันต์อรหันต์ อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า/พระอรหันตสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงสถาปนาพระอนุราธิดา สัมมาสมั พุทธเจา้

Establishment of Mahabodhi Society. Founded by

Anagarika Dharmapala in ๑๘๙๑. Kolkata in India. การก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ ก่อตั้งโดยพระอานาการิกา ธรรมปาละ เมื่อปี

พ.ศ. ๒๔๙๑ ท่เี มืองโกลกาตา ประเทศอนิ เดยี

Buddhism in America dhst Centers in be uS Most

estimates average that there are somewhere between ๔ - ๕ Million Buddhists in the United Scates There are ๘ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ + EuralAmerican Buddhist converts of which about ๕ ๐ % are

women The Harvard Pluralism Projeet has more its directory

than ๒,๐๐๐ Buddhist Centers Temples in The Uniced Scates has

the largest Buddhist papulation among western countries

Buddhism is the ๔ largest religion in the US, camprising ๐.๗% of

the total population.

ศูนยพ์ ุทธศาสนาในอเมรกิ าใน beuS สว่ นใหญ่ประมาณว่ามีพุทธศาสนิกชน ประมาณ ๔-๕ ล้านคนในสหรัฐอเมริกา มผี เู้ ปลีย่ นศาสนาชาวอเมริกนั เชื้อสายยูเรอลั ๘๐๐,๐๐๐ คน ซึ่งประมาณ ๕๐% เป็นสตรี โครงการพุทธศาสนิกชนฮาร์วาร์ดมี พุทธศาสนกิ ชนมากกว่า ๒,๐๐๐ วัดใน Uniced Scates มีพุทธศาสนาที่ใหญท่ ี่สุด พุทธศาสนิกชนในประเทศตะวันตกนับถือศาสนาพุทธมากที่สุด ๔ ศาสนาใน สหรัฐอเมริกา ต้งั แคมป์เพม่ิ ข้นึ ๐.๗% ของประชากรทงั้ หมด

Bhante Henepola Gunaratana MINDFULNESS IN PLAIN ESGLISH Bevond. Mindfulnes, indfulness, Bhante Gunaratana went to the United States at the invitation of the Sasana Sevaka

Society in ๑๙๖๘

General Secretary of the Buddhist Vihara Society

ภาควชิ าการ 267

บนั เต เฮเนโปลา กนุ ารตั นา มสี ตสิ ัมปชัญญะในเบวอนด์แบบธรรมดา ภันเต กนุ รตั นะ ไปสหรัฐอเมรกิ าตามคำเชญิ ของสมาคมซาซานาเซวากา้ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๑

ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสมาคมวฮิ าระพุทธศาสนา

Narada Mahathera The first Theravadan monk, who visited INDONESIA in

more than ๔ ๕ ๐ years. During this opportunity he planted and blessed a bodhi tree in southeastern of Borobudur ๑ ๙ ๓ ๔ , and

some Upasakas were ordained as monks /From that point on he travelled to many countries to conduct missionary work: Taiwan, Cambodia, Laos, South Vietnam.

Singapore, Japan, Nepal, and Australia. In ๑ ๙ ๕ ๖ , he

visited the United Kingdom and the United States, and

addressed a huge crowd at the Washington Monument. On ๒ November ๑ ๙ ๖ ๐ , Narada Maha Thera brought a bodhi tree to

the South Vietnamese temple Thich Ca Phat Dai, and made many visits to the country durin

นราดา มหาธีระ · พระภกิ ษเุ ถรวาทรูปแรกทม่ี าเยือนประเทศอินโดนีเซียใน รอบกว่า ๔๕๐ ปี ในระหว่างโอกาสนั้น ท่านได้ปลกู และถวายพระพรแก่ต้นโพธิ์ตน้ หนึ่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองโบโรบูดูร์ พ.ศ. ๒๔๗๗ และบางต้นอุบาสกก็ได้ บวชเป็นพระ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ท่านได้เดินทางไปปฏิบัติธรรมในประเทศต่างๆ ดงั นี้ ไตห้ วัน กัมพชู า ลาว เวียดนามใต้ สิงคโปร์ ญ่ีปุน่ เนปาล และออสเตรเลีย ในปี ๑๙๕๖ เขาไปเยือนสหราชอาณาจกั รและสหรฐั อเมรกิ า และได้กลา่ วสุนทรพจน์ตอ่ ฝูง ชนจำนวนมากที่อนุสาวรีย์วอชิงตัน เมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๓ นราดา มหาธีระ ได้นำต้นโพธิ์มาปลูกที่วัดติชกาพัฒน์ใต้ และได้เดินทางไปเยือนประเทศ เวียดนามหลายครง้ั ในช่วงน้ัน

Kurunegoda Piyatissa Thera (The founder of New York Buddhist Vihara Foundation and the first President)He came to

New York in ๑ ๙ ๘ ๑ , being appointed as the President of the

American-Sri Lanka Buddhist Association. In addition. He became the founder and President of New York Buddhist Council, President of Sri Lanka Sangha Council, Vice president of the World Sangha Council Executive of North America, Committee Member of the World Conference on Religion and Peace and a Faculty Member of the New School University in Manhattan. New York City.

คุรุเนโกดะ ปยิ ะทิสสะ ธีระ (ผูก้ อ่ ตั้งมูลนธิ ิวภิ ารามพุทธศาสนานิวยอร์กและ ประธานาธบิ ดีคนแรก) เขามาท่ีนวิ ยอรก์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยไดร้ ับการแต่งต้ังเป็น

ภาควิชาการ 268

ประธานสมาคมพุทธศาสนานกิ ายอเมรกิ นั -ศรีลงั กา นอกจากนี้. เขากลายเปน็ ผูก้ ่อตัง้

และประธานสภาพุทธแห่งนิวยอร์ก ประธานสภาสงฆ์ศรีลังกา รองประธานบริหาร

สภาสงฆโ์ ลกแหง่ อเมริกาเหนอื สมาชิกคณะกรรมการของการประชุมโลกดา้ นศาสนา

และสนั ติภาพ และเป็นคณะของมหาวทิ ยาลัยโรงเรยี นใหมใ่ นแมนฮัตตนั นวิ ยอร์กซติ .ี้

Walpola Rahula TheraIn ๑๙๖๔, he became the Professor

of History and Religions at Northwestern University, The first

bhikkhu to hold a professorial chair in the Western world.

วัลโปลา ราหุลา ธีระ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๔ เขาได้เป็นศาสตราจารย์ด้าน

ประวัติศาสตร์และศาสนาที่มหาวิทยาลัยนอร์ธเวสเทิร์น ภิกขุคนแรกที่ได้ดำรง

ตำแหนง่ ศาสตราจารยด์ ้านประวัติศาสตร์โลกตะวันตก

Dr. M. Vajiranana Thera Most senior Theravada

Buddhist monk in the UK and head of the London Buddhist Vihara.

He was appointed assistant bead of the London Buddhist Vihara. the oldest Buddhist monastic institution in the West. in

๑๙๖๖. There he took up the considerable challenge of teaching

Buddhism in what was, for him, a foreign language, in a county

where Buddhism was little understood.

ดร. ม. วชิรณะ ธรี ะวัฒนประภา อดตี พระภิกษุสงฆ์เถรวาทอาวุโสในสหราช

อาณาจกั ร และหวั หน้าคณะสงฆเ์ ถรวาทลอนดอน ไดร้ บั แตง่ ต้ังเปน็ ผู้ชว่ ยเจา้ ประคุณ

สมเด็จวัดบวรนิเวศวิหารในกรุงลอนดอน สถาบันพุทธศาสนิกชนที่เก่าแก่ที่สุดใน

ตะวันตก ในปี ๑๙๖๖ ที่นั่น ท่านรับข้อท้าทายมากมายในการสอนศาสนาพุทธใน

ภาษาตา่ งประเทศ ซ่ึงทา่ นเองเปน็ คนหนง่ึ ในเขตทีศ่ าสนาพทุ ธไมค่ ่อยเข้าใจ.

Sri Lankan Temples in Overseas Australia, India, Switzerlan, Austria Italy, Tanzania, Canada, Japan, U.K Check

Republic, Kenya, U.S.A ,Cyprus, Malaysia, Denmark, New Zealand, France, Norway, Germany, Singapore, Greece, South

Korea, Hong Kong, Sweden

วัดศรีลังกาในต่างประเทศ ออสเตรเลยี อินเดีย สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย

อิตาลี แทนซาเนยี แคนาดา ญี่ปุ่น U.K Check Republic เคนย่า สหรัฐอเมริกา

ไซปรัส มาเลเซีย เดนมาร์ก นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ เยอรมนี สิงคโปร์ กรีซ เกาหลีใต้

ฮ่องกง สวเี ดน

กิจกรรมวันท่ี 19

วนั เสาร์ ที่ 21 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 06.50 น.

กิจกรรม ทำวัตรเช้า/เจรญิ จติ ภาวนา/ทบทวนธรรม

สถานที่ อาคารวปิ ัสสนา ชน้ั 2 มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ภาควิชาการ 269

ภารกิจที่ไดร้ บั เขา้ ร่วมกจิ กรรมทำวตั รเช้า

มอบหมาย

นำทำวัตรโดย ตวั แทนกลุม่ 1

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวัตรเช้า

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถา (พุทโธ สุสทุ โธ..........)

o ตงั ขณิกปัจจเวกขณปาฐะคาถา (ปฏิสังขาโย..........)

o ปตั ตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........)

o แผเ่ มตตา (สัพเพ สัตตา..........)

o นโม..........)

o พทุ ธัง สรณงั ..........)

o ธัมมะจกั กัปปวัตตะนะคาถถา..........)

o ภวตุ สัพพ..........)

ประโยชนท์ ่ีได้รบั กลา่ วคำปฏิญญาของพระธรรมไทย/องั กฤษ 1. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซือ่ งซึมง่วงนอนเกียจ

คร้านจะหมดไป และเกดิ ความแชม่ ช่ืนกระฉบั กระเฉงขึน้ 2. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด

มนตอ์ ย่างตง้ั ใจ ไม่ได้คิดถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิได้เกิดขน้ึ ในจติ 3. เป็นการกระทำท่ีไดป้ ัญญา ถ้าการสวดมนต์โดยรคู้ ำแปล รคู้ วามหมาย ก็ยอ่ มทำ

ให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร เลย 4. มจี ติ เปน็ สมาธิ เพราะขณะน้ันผู้สวดต้องสำรวมใจแนว่ แน่ มิฉะนัน้ จะสวดผดิ ทอ่ น ผดิ ทำนอง เม่ือจติ เป็นสมาธิ ความสงบเยอื กเย็นในจติ จะเกดิ ขน้ึ 5. เปรียบเสมอื นการได้เฝ้าพระพทุ ธเจ้า เพราะขณะนั้นผ้สู วดมี กาย วาจา ปกติ (มี ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี ปญั ญา) เท่ากับไดเ้ ฝ้าพระองคด์ ว้ ยการปฏิบตั บิ ชู า ครบไตรสิกขาอยา่ งแท้จริง

เวลา 08.30 – 10.50 น. กจิ กรรม ฟังบรรยาย สถานที่ หอ้ งเทยี รเ์ ตอร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ภารกจิ ทไี่ ดร้ ับ รับฟังการบรรยาย มอบหมาย

ภาควชิ าการ 270

เรอ่ื ง งานพระธรรมทตู ไทยสายตา่ งประเทศ บรรยายโดย พระโสภณวชิราภรณ,์ ดร.,อคั คมหาบณั ฑิต เน้ือหาการบรรยาย การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาระหว่างไทยและศรีลงั กา มีวิธีการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา เหมือนและมีความแตกต่างกัน เพราะมคี วามสัมพนั ธ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประโยชนท์ ี่ได้รับ นิกายเถรวาทระหว่างลัทธิลังกาวงศ์และสยามวงศ์ โดยประวัติศาสตร์ของแต่ละ ประเทศย่อมเขียนในมุมมองของผู้นำแต่ละประเทศ ไม่สามารถที่จะถามหา ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ได้ รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ได้แลกเปลี่ยน ระหว่างประเทศ เช่น การใช้สีของจีวร วิธีการนุ่งห่ม วิธีการเรียนการสอน พระพทุ ธศาสนา เป็นตน้ 1. ได้ทราบความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม ธรรมเนียมประเพณขี องประเทศไทยและ

ประเทศศรีลังกา 2. ไดท้ ราบประวตั คิ วามเปน็ มาของการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา 3. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน

ต่างประเทศ ทราบถงึ ความแตกต่างทางวัฒนธรรมอย่างเข้าใจในแต่ละประเทศที่ มี

เวลา 15.00 – 16.30 น. กจิ กรรม รับฟงั การบรรยาย สถานท่ี ห้องเทียร์เตอร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ภารกิจทีไ่ ดร้ บั รบั ฟังการบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom มอบหมาย เรอื่ ง พระธรรมทูตไทยกบั งานเผยแผ่นานาชาติ

บรรยายโดย Thai Dhammaduta's Task with International Dissemination

เนอ้ื หาการบรรยาย พระธรรมวชิรโมลี (ทองสรู ย์ สุริยโชโต ป.ธ.๘ ,ดร.) เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กทม การท่เี ราจะเปน็ พระธรรมทูตสายต่างประเทศ สิง่ ที่ตอ้ งมี คือ ๑. เสียสละ คอื เสยี สละสว่ นตวั ๒. สามคั คี คือ เราตอ้ งมีความสามัคคกี นั ถ้าเปน็ เร่ืองไมด่ ีอย่าไดไ้ ปพูดต่อปาก ๓. การเตรยี มตัวใหพ้ ร้อม คือ เตรียมความรู้ธรรมะและทางดา้ นภาษา ๔. ซักซ้อมก่อนการเดินทาง คอื ศกึ ษาหลกั ธรรมพน้ื ฐานท้ังภาคภาษาไทยและภาค

ภาษาอังกฤษ ๕. วดั แต่ละวัดท่ีอยู่ใกลเ้ คียงกันต้องมีการช่วยเหลอื เกื้อกูลกนั เช่นในการจัดงานใน

กิจกรรมตา่ งๆ

ภาควิชาการ 271

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ถาม/ตอบ ถาม พุทธศาสนกิ ชนชาวสวติ เซอร์แลนด์ ญาตโิ ยมมสี ว่ นรว่ มกับการปฏิบัติธรรมของ ทางวดั มากน้อยขนาดไหน ? ตอบ ทางวัดจะมีการทำกจิ กรรมตามชว่ งเวลาทก่ี ำหนด สว่ นมากจะมีการจดั ใหม้ ีการ ปฏิบตั ิธรรมในช่วงเย็นในวนั ศกุ ร์ เสาร์ อาทติ ย์ ถ้าเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันขึน้ ปใี หม่ หรือวันหยุดอนื่ ๆกจ็ ะมกี ารจดั ใหม้ กี ารปฏบิ ตั ธิ รรมตามสมควร ส่วนมาก คนทีม่ าปฏิบัติจะเป็นผู้หญิง ทางวดั ก็จะบอกให้ชวนเพ่ือนมาดว้ ย

ถาม มกี ารสอนรวมไปถงึ สติปัฏฐานหรือไม่ ? ตอบ มกี ารสอนทั้งหมด สอนรวมสตปิ ฏั ฐานทงั้ หมด สอนการกำหนด วิธปี ฏิบตั ิ และ อ่นื ๆ

ถาม ในช่วงเขา้ พรรษาทางวดั ได้มโี ยมมาจำศลี ปฏิบตั ิธรรมบ้างหรือไม่ ? ตอบ ถ้าช่วงเสาร์อาทิตย์ที่ตรงกับวันพระ ก็จะจัดให้มีโยมมา นอกนั้นก็จะมาช่วง วันหยุด เนอื่ งจากโยมกต็ ้องทำงาน ฉะนัน้ จึงจะวนั ได้ไม่ชัดเจน

ถาม ในกรณีที่มีพระไปช่วยงานทางวัด และทางวัดยอมรับ ทางวัดจะมีการช่วยซบั พอตหรือไม่ ? ตอบ มี ถ้าผ่านข้อกำหนดของทางวัด ชว่ ยงานวดั ทางวัดก็จะมีการชว่ ยซบั พอต เร่ือง การเรียนหรืออื่นๆ

ถาม การเผยแผ่ในอดีตกบั ปจั จุบนั มขี ้ันตอนการทำงานต่างกันมากขนาดไหน ? ตอบ ในปจั จบุ ันจะเปน็ เรื่องของการใช้เทคนิคตา่ งๆ ดา้ นการคลอ่ งตวั ด้านคอมพิวเตอร์ เรอื่ งภาษา เช่นภาษาอังกฤษ หรือภาษาท้องถ่ิน ของที่นัน้ ได้ หรอื ไม่ว่าจะไปอยูท่ ีไ่ หนก็สามารถพูด ส่อื สารกับคนทีน่ ้นั ได้

ถาม ขนบธรรมเนียมของสวติ เซอร์แลนด์ เปน็ อยา่ งไร ? ตอบ คนไทยเป็นสงั คมเปดิ เผย ถา้ สังคมคนสวติ เซอร์แลนด์ จะเก็บตวั ไม่ค่อยเปิดเผย นอกจากเขาจะมคี วามใกลช้ ดิ สนทิ สนมกับเรา เขาถึงจะมาปรกึ ษากบั เราเช่นถ้ามีอายุ ๑๘ ปี ขึน้ ไปจะไม่ค่อยปรึกษากับพ่อแม่ ด้วยคิดวา่ ตัวเองโตเปน็ ผู้ใหแ้ ลว้ สรุป

ภาควิชาการ 272

เวลา • ประเทศต่างๆ ที่เคยไปจะทำให้รู้ว่าการที่จะไปประเทศไหนๆ ผู้ที่จะไปก็ต้องมี กิจกรรม การเตรียมตัวให้พรอ้ มทบทวนธรรมะให้ดี อ่านหนังสอื ให้มาก ศึกษาประเทศที่ สถานที่ จะไปให้ดี พอที่จะสามารถตอบคำถามของเขาได้เพราะหลายคนเขายังไม่รู้ใน ภารกจิ ท่ีไดร้ บั พุทธศาสนา เราตอ้ งพรอ้ มทจ่ี ะสอนธรรมะหรอื เรอ่ื งการปฏบิ ตั หิ รอื อนื่ ๆกบั เขาได้ มอบหมาย รวมถงึ การสำรวมในสมณสญั ญาของเราให้ดี ดว้ ยว่าบางคนเขาก็รู้จักเราดี เราจะ นำทำวตั รโดย ไปทำตัวไม่สำรวมไมไ่ ด้ บทสวดทำวตั ร/ ทบทวนธรรม • ในตา่ งประเทศวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณขี องเขามีความแต่ต่างจากเรา ฉะนนั้ การทเ่ี ราจะไปต่างประเทศเราตอ้ งศกึ ษาเรื่องเหล่านีใ้ หด้ ี ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั 18.00 – 18.30 น. เวลา ทำวตั รเยน็ กิจกรรม อาคารวิปสั สนา ช้นั 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย สถานท่ี เข้ารว่ มกจิ กรรมทำวัตรเย็น

พระภชุ งค์ ตวั แทนกลมุ่ ๖

o บททำวตั รเยน็ o อะตีตะปัจจะเวกขะณะ (อชชฺ มยา……….) o กรวดน้ำ (อมิ ินา……….) o แผ่เมตตา (สพั เพ สตั ตา……….)

7. ไดท้ บทวนธรรม 8. การสวดมนตเ์ ป็นการฝึกสมาธิ ให้ใจมีความสงบ ตั้งมั่นอยู่กับคำสวดมนต์อย่าง

ตอ่ เน่อื ง ใจจดจอ่ อยูก่ ับบทสวดมนตร์ ะมดั ระวงั ไม่ใหส้ วดผดิ ซึ่งการมสี มาธอิ ยู่กบั สวดมนต์นี้ จะทำให้เรามีความสงบเยือกเย็นในจิตใจเพิ่มมากขึ้น และมีพลังใน การคิดสร้างสรรค์ในสิ่งตา่ งๆ ได้ดยี ง่ิ ขึน้ อีกด้วย 9. การสวดมนต์เปน็ การสร้างศรทั ธา สรา้ งความเช่ือม่นั ในคุณของพระรตั นตรัย เปน็ การเสริมสร้างพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนา และน้อมนำหลักธรรมทาง พระพทุ ธศาสนามาใช้ในการดำเนนิ ชีวติ อยา่ งมคี ุณค่า

18.30 – 21.00 น. รับฟังการบรรยาย ห้องเทียรเ์ ตอร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

ภาควิชาการ 273

ภารกิจท่ีได้รับ เขา้ ร่วมรบั ฟงั การบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom มอบหมาย เร่อื ง มจร และการบรหิ ารจัดการกับงานพระธรรมทูตสายต่างประเทศ

บรรยายโดย MCU & Overseas Dhammaduta's Administration

เนื้อหาการบรรยาย รศ.ตร.สุรพล สุยะพรหม

รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกิจการทวั่ ไป

มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

สถติ ิพระถกิ ษุ-สามเณร ของประเทศไทย

ปี พ.ศ. พระภกิ ษ-ุ สามเณร/รปู ประชากรไทย/ลา้ น

2507 237,770 28

2542 365,140 61.6

2548 341,707 62.4

2549 340,535 62.8

2550 313,267 63

2551 328,244 63.3

2552 321,604 63.5

2553 333,876 63.8

2554 361,524 64

2555 352,809 64.4

2556 355,385 64.8

2557 349,668 65.1

2558 348,433 65.7

2559 358,167 65.9

2560 358,167 66.2

2561 334,013 66.4

2562 252,851 66.6

วัดไทยในตา่ งแดน

วดั มหานิกาย 389 วดั วดั วดั ธรรมยตุ 128 วดั

รวม 517

การพระธรรมทตู

ภาควชิ าการ 274

• การเผยแผ่ในประเทศ • การเผยแผต่ ่างประเทศ

- รกั ษาศรทั ธาคนไทย - ใหม้ ศี าสนิกใหม่ - เปดิ แนวรกุ ไปทว่ั โลก - พระธรรมทตู ใจสิงห์

วิทยาลัยพระธรรมทูต มจร. 1. หลกั สูตรพระธรรมทูต

- ปรับปรงุ ทกุ ๕ ปี - ควรเป็นหลกั สตู รระดับปรญิ ญา หรือระดบั ประกาศนยี บัตร - เนอื้ หาหลกั สตู รควรใหน้ ำ้ หนกั ? - วชิ านเิ ทศศาสตร์ - ธรรมนิเทศ (พุทธนเิ ทศศาสตร)์ - การเผยแผ่ (การสื่อสารแนวพุทธ) (ในโลกนี้มีทั้งภาษาคนและภาษาธรรม

หลวงพอ่ ชา) - ภาษาอังกฤษ (ธรรมะภาคภาษาองั กฤษ) - วิปสั สนากรรมฐาน - สาธารณปู การ

รศ.ตร.สรุ พล สุยะพรหม ถามวา่ ถ้า มจร. จะเปิดหลักสูตรระดับพระธรรมทูตระดับปริญญาตรี 4 ปี ท่านมีความคิด เห็นหรือแนวทางอยา่ งไร ? พระมหาชาคริต ตอบวา่ ควรแยกเปน็ สองสว่ น คือ - หลักสตู รระยะสัน้ คือ 3 เดอื น อย่างปัจจุบันกย็ ังคงรักษาไว้ - หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ก็มี แต่ใช้สำหรับผูท้ ี่ต้องการจะเรียน หลังเรียน

จบแล้วก็ไม่ต้องมาอบรมระยะสน้ั อีก พระธนบดี ตอบว่า - ควรประชาสัมพันธเ์ กยี่ วกบั พระธรรมทูตใหม้ ากขนึ้ หากตอ้ งการใหพ้ ระธรรมทูต

มีความรู้หลักธรรมที่พอจะเผยแผ่ศาสนาได้อย่างที่ต้องการจริงๆการท่ี จะเปิด หลักสูตรระดับปริญญาตรี ควรเปิดให้ครบหลักสูตรอย่างพระที่จะไปปฏิบัติ ศาสนกิจทีป่ ระเทศไหน กต็ ้องศึกษาภาษา วัฒนธรรม เป็นต้นของประเทศน้ัน

ภาควิชาการ 275

ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ พระมหาประสทิ ธิ์ ตอบวา่ - พระที่จะเข้ามาอบรมพระธรรมทูตระยะสั้น ควรมีความรู้หลักธรรม มี

ประสบการณใ์ นการสอนธรรมะ มีความสามารถด้านภาษาหรอื มีความสามารถ อย่างอืน่ ทมี่ ากพอ - หากตอ้ งการเปิดหลกั สตู ร 4 ปี ควรมีแรงจงู ใจทมี่ ากพอ เชน่ มีการสง่ เสริมตั้งแต่ ต้น เรียนฟรไี ปจนจบหลักสูตร จบแล้วมที ี่ๆรองรบั (ใช้สำหรบั คนท่ีต้องการเป็น พระธรรมทูตสายตา่ งประเทศจริงๆ) พระปลดั วรี เวทย์ ตอบว่า - สนับสนุนอยากให้เปิดหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี เพราะจะทำให้พระธรรม ทูตเกิดมีศักยภาพมากขึ้น หรืออาจจะให้มีการเปิดเป็นระดับอนุปริญญา คือ หลักสตู ร 1 ปี หรอื ระดบั ปรญิ ญาตรหี ลักสูตร 4 ปี ก็ได้ o ได้ทราบถึงหน้าที่และการทำงานพระธรรมทูตที่อยู่ทั้งภายในประเทศและ ต่างประเทศ ทำให้ตระหนักในหน้าที่ที่จะไปศาสนกิจต่อไป เพื่อรักษาศรัทธา พทุ ธศาสนกิ ชนทัง้ คนไทยและชาวต่างชาติ

กจิ กรรมวันท่ี 20

วัน อาทิตย์ ท่ี 22 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 06.50 น.

กจิ กรรม ทำวตั รเช้า/เจริญจิตภาวนา/ทบทวนธรรม

สถานที่ อาคารวปิ สั สนา ช้นั 2 มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภารกจิ ท่ไี ดร้ บั เข้ารว่ มกจิ กรรมทำวัตรเช้า

มอบหมาย

นำทำวตั รโดย พระจริ พทั ธ์ ตวั แทนกลุม่ 7

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวตั รเช้า

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถา (พุทโธ สุสุทโธ..........)

o ตงั ขณิกปจั จเวกขณปาฐะคาถา (ปฏิสงั ขาโย..........)

o ปัตตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........)

o แผ่เมตตา (สพั เพ สตั ตา..........)

o กลา่ วคำปฏญิ ญาของพระธรรมไทย/องั กฤษ

ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ 6. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซื่องซึมง่วงนอนเกียจ

คร้านจะหมดไป และเกดิ ความแชม่ ชน่ื กระฉบั กระเฉงข้นึ

ภาควชิ าการ 276

กิจกรรม 7. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด สถานท่ี มนต์อย่างต้งั ใจ ไม่ไดค้ ดิ ถงึ ตวั เอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มิไดเ้ กดิ ขน้ึ ในจติ ภารกิจทีไ่ ด้รับ มอบหมาย 8. เป็นการกระทำท่ไี ด้ปัญญา ถ้าการสวดมนต์โดยรคู้ ำแปล รู้ความหมาย กย็ ่อมทำ เรื่อง ให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร บรรยายโดย เลย

เนอ้ื หาการบรรยาย 9. มจี ิตเป็นสมาธิ เพราะขณะนน้ั ผู้สวดต้องสำรวมใจแนว่ แน่ มฉิ ะนน้ั จะสวดผิดทอ่ น ผิดทำนอง เม่ือจิตเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเย็นในจิตจะเกิดข้ึน

10. เปรียบเสมอื นการไดเ้ ฝา้ พระพทุ ธเจ้า เพราะขณะนัน้ ผู้สวดมี กาย วาจา ปกติ (มี ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี ปัญญา) เทา่ กบั ได้เฝ้าพระองค์ด้วยการปฏบิ ัติบชู า ครบไตรสกิ ขาอย่างแทจ้ ริง

ฟังบรรยาย ห้องเทียรเ์ ตอร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั รบั ฟังการบรรยายผ่านโปรแกรม zoom

พระสงฆ์ไทยพระสงฆ์โลก การเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาเชงิ รุก (Thai Monks, World Monks, for Proactive Propagation of Buddhism) พระพรหมบัณฑติ , ศ.ดร. ราชบณั ฑติ เจา้ อาวาสวัดประยรุ วงศาวาสวรวหิ าร, กรรมการมหาเถรสมาคม, อุปนายกสภามหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ประธานศูนยพ์ ระปรยิ ตั ินิเทศก์แหง่ คณะสงฆ์ ประธานกรรมการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประธานสมาคมสภาสากลวนั วสิ าขบชู าโลก (ICDV) ประธานอนุกรรมการแปลพระไตรปิฎกฉบับภาษาอังกฤษ (Tipitaka English Version) และรองประธานที่ปรึกษาอำนวยการโครงการอบรมพระธรรมทูตสายต่างประเทศ รุ่นท่ี 28 หนึ่งภาพมคี ่าเท่ากบั 1,000 คำ A PICTURE IS WORTH A THOUSAND WORDS คน ๔ ประเภท 1. รูปปมาณ หนักในรปู 2. โฆสปมาณ หนกั ในเสียง 3. ลูขปมาณ หนักในความเรยี บงา่ ย 4. ธัมมปมาณ หนกั ในธรรม

ภาควิชาการ 277

พระธรรมทูต ผู้นำข้อความ(ธรรม)ไปแจง้ ทงั้ ๒ ฝ่าย ผ้รู บั ใชไ้ ปเจรจาแทน ผู้สือ่ สาร(ธรรม)

พระสงฆไ์ ทยพระสงฆ์โลก “จรถ ภกิ ขุ เว จาริก พหชุ นหติ าย พชนสุขาย โลกานกุ มุปาย” ภิกษทุ ้ังหลาย เธอทัง้ หลายจงเทีย่ วจาริ่กไปเพ่ือประโยชน์ เพื่อความสขุ แก่ คนเป็นอันมาก เพอื่ อนเุ คราะหแ์ ก่ชาวโลก

พระธรรมทตู เวลาไปตา่ งประเทศตอ้ งต้ังปณธิ านไว้เลยวา่ อยา่ กลบั มามือเปล่า ตอ้ งได้ภาษามาด้วย

พระพทุ ธศาสนาเพือ่ ชาวโลก 1. Scholastic Buddhism (คันถธุระ) เช่น พระไตรปีฎกศึกษาพระไตรปิฎกเริ่ม จดั พมิ พแ์ ละขยายไปทว่ั โลกในสมยั รัชการท่ี 5 2. Esoteric Buddhism (วิปัสสนาธรุ ะ) เช่น วิธีการสอนวปิ ัสสนา การสอบอารมณ์ กรรมฐาน สายมูเตลู เปน็ ภาษาอินโดนเี ซีย เป็นสายอทิ ธฤิ ทธ์ิ ไสยศาสตร์ เครื่องรางของขลัง พระธรรมทูตเวลาไปตา่ งประเทศ จะมี 2 สาย คอื สายวิชาการ, สายภาวนา 3. Engaged Buddhism (สงั คหธรุ ะ) เช่น พระพทุ ธศาสนาเพือ่ สงั คม ศาสนสัมพนั ธ์ เปน็ พุทธศาสนาทหี่ ว่ งใยชาวโลก สังคม เป็นบทบาทแบบสงเคราะห(์ พระนกั พัฒนา) สมยั ก่อนพทุ ธศาสนาเพอื่ ชาวโลก มี 4 8 คอื 1. ปกครอง 2. ศกึ ษา 3. เผยแผ่ 4. สาธารณูปการ ตอ่ มาได้มกี ารเพ่มิ อกี 2 คอื 1. ศึกษาสงเคราะห์ เช่น โรงเรยี นการศกึ ษาของพระ 2. สาธารณสงเคราะห์ เชน่ การชว่ ยเหลอื ในเวลา นำ้ ทว่ ม ไฟไหม้ เปน็ ต้น เวลาเราไปทเ่ี ประเทศใดประเทศหนึง่ เราต้องดวู า่ เขาขาดอะไร แลว้ ช่วยในสิ่งท่ีช่วย ได้

ภาควชิ าการ 278

คนั ถธุระ Scholastic Buddhism สาสนภูฐิตยิ า ปน ปรยิ ตุติ ปมาณ ปณฑฺ ิโต หิ เตปิฎกิ สุตวา เทวปี ปูเรติ ปริยัติเปน็ หลักในการธำรงรกั ษาพระศาสนา เพราะวา่ บณั ฑติ เรียนพระไตรปิฎกแล้ว ยอ่ มทำใหป้ ฏิบตั แิ ละปฏเิ วธแม้ทงั้ สองบริบูรณไ์ ด้

วิปัสสนาธุระ Esoteric Buddhism 1. Ajahn Chah สายหลวงพอ่ ชา 2. Mahasi Sayadaw สายของพม่า 3. Thich Nhat Hanh

สงั คหธรุ ะ Engaged Buddhism in the West ทางตะวันตก มคี วามเช่ือว่า อดุ มการณป์ ระโพธิสัตร์ คือมาเพ่อื ช่วยเหลือชาวโลก

บทบาทพระพุทธศาสนาเพ่อื สงั คม 1. Social Service (บรกิ ารสงั คม) 2. Social Change (เปล่ยี นแปลงสังคม)

UN ประกาศใช้ SDGs ๒๕๕๘-๒๕๗๓ เปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ั่งยืน (องั กฤษ: Sustainable Development Goals หรอื ย่อ ว่า SDGs) เป็นประมวลเป้าหมายโลก 17 ข้อที่เชื่อมโยงกัน สมัชชาสหประชาชาติ ต้งั ขน้ึ ในปี 2015 และต้งั ใจใหบ้ รรลุภายในปี 2030 เป้าหมายชดุ นพี้ ัฒนาขึ้นเพื่อเป็น กรอบการพัฒนาโลกในอนาคตตอ่ จากเปา้ หมายการพัฒนาแหง่ สหสั วรรษซง่ึ หมดอายุ ในปี 2015 เปา้ หมาย 17 ข้อ ประกอบดว้ ย (1) ขจัดความยากจน (2) ขจัดความอดอยาก (3) สุขภาพและความเป็นอยดู่ ี (4) การศกึ ษาคณุ ภาพ (5) ความเท่าเทยี มทางเพศ (6) นำ้ สะอาดและสขุ าภบิ าล (7) พลังงานสะอาดในราคาทซี่ ือ้ ได้

ภาควชิ าการ 279

(8) อาชีพและการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทด่ี ี (9) อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสรา้ งพน้ื ฐาน (10) ลดความเหลอื่ มล้ำ (11) นครและชุมชนยัง่ ยืน (12) การบริโภคและการผลติ อย่างรบั ผดิ ชอบ (13) การปฏิบัตกิ ารเก่ยี วกบั สภาพภูมิอากาศ (14) การใช้ทรัพยากรในมหาสมทุ รอย่างยั่งยนื (15) การใชท้ ด่ี ินอยา่ งยั่งยนื (16) สันติภาพ ความยตุ ธิ รรม และสถาบันเขม้ แขง็ (17) การรว่ มมือกันเพื่อเป้าหมาย นอกจากนี้ ข้อมติสหประชาชาติยังมีเป้าหมายจำเพาะสำหรับเป้าหมายแต่ละข้อ ร่วมกับตัวชี้วัดเพือ่ วัดความคืบหนา้ ต่อเป้าหมายแต่ละข้อ โดยกำหนดไว้ว่าให้บรรลุ เป้าหมายระหว่างปี 2020 ถงึ 2030 และเป้าหมายบางขอ้ ยงั ไมไ่ ด้กำหนดวนั ทีส่ ิน้ สุด จาก 17 ข้อ ลดเหลอื 3 ข้อ คือ เศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อม Charles Darwin ชารล์ ส์ ดารว์ ิน It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change. เผ่าพนั ธทุ์ ่อี ยรู่ อดไม่ไดเ้ ข้มแข็งหรือฉลาดท่สี ุดแตค่ อื เผ่าพันธท์ุ ่ปี รบั ตวั เก่งที่สุด

Charles Darwin ชาร์ลส์ ดาร์วนิ It is not the strongest of the species that survives, nor the most intelligent that survives. It is the one that is the most adaptable to change. เผ่าพันธ์ุทีอ่ ยรู่ อดไมไ่ ด้เข้มแขง็ หรอื ฉลาดที่สุดแตค่ ือเผา่ พนั ธุท์ ป่ี รบั ตวั เกง่ ทส่ี ดุ

วธิ ีการเผยแผเ่ ชงิ รุก 1. ตกปลานอกบ้าน 2. ประสานสบิ ทิศ 3. ผูกมิตรทัว่ หล้า

ภาควชิ าการ 280

4. บรหิ ารปญั ญา 5. สาลิกาปอ้ นเหยื่อ

ตกปลานอกบา้ น การจารกิ ออกไปสอนธรรมนอกวัด/นอกประเทศเพ่อื ดงึ คนเข้าหาพระศาสนา ประสานสบิ ทศิ การรวบรวมคนดีมีฝีมือนอกวัดมาช่วยงานเผยแผ่พระศาสนาที่จัดขึ้นทั้งในวัดและ นอกวัด ผกู มติ รทวั หล้า การยื่นไมตรีจติ มติ รภาพให้กบั คนทุกคน แมก้ ระทั่งเพื่อนรว่ มโลกท่ีนับถือศาสนาอื่น เพือ่ การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติ พทุ ธจรยิ า 1. พุทธัตถจริยา ทรงบำเพ็ญประโยชนใ์ นฐานะพระพุทธเจ้า หมายถงึ การทำหน้าท่ี ของพระพุทธเจา้ 2. ญาตัตถจริยา พระพุทธองค์แม้จะทรงอยูใ่ นฐานะทเ่ี ป็นคนของโลก แตพ่ ระองค์ก็ ไม่ทรงละเลยภารกิจในฐานะที่มีพระญาติ เช่น การเสด็จไปโปรดพระญาติที่กรุง กบลิ พสั ด์ุ 3. โลกตั ถจรยิ า เป็นการบำเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลก บริหารปัญญา การศึกษาหาความรเู้ พอ่ื เตรียมตวั ให้พร้อมในการเผยแผพ่ ระศาสนาและ การสรา้ งเครอื ขา่ ยแห่งปัญญาเพ่อื ใช้เปน็ ทป่ี รกึ ษาและแหลง่ อา้ งองิ การจัดการความรู้ การจดั การหาองคค์ วามร้ทู ถี่ ูกต้องใหถ้ ูกคนทีต่ ้องการและถกู เวลาทเี่ ขาตอ้ งใช้ Getting the right Knowledge to the right people at the right time สาลกิ าป้อนเหยือ เผยแผ่พระพุทธศาสนาดว้ ยลลี าการสอนธรรมท่ี เหมาะกับกลมุ่ เป้าหมาย คอื คนั ถะ วปิ ัสสนา สังคหะ

พระสารบี ุตรเหมือนนกสาลกิ า สารปี ตุ ฺโต มหาปญโฺ ญ ธมมฺ ํ เทเสติ ภิกขุน

ภาควิชาการ 281

สงฺขติ เุ ตนปี เทเสติ วิตถฺ าเรนปี ภาสติ สาลกิ า วยิ นคิ ุโฆโส ปฏภิ าณ มทุ ี่ริ พระสารีบุตรมปี ญั ญามาก ย่อมแสดงธรรมแกภ่ ิกษุทัง้ หลายแสดงโดยยอ่ ก็ได้ แสดง โดยพสิ ดารก็ไดเ้ สยี งของท่านไพเราะกังวาน เหมอื นเสียงนกสาลิกา

ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั เทศนาลลี าสาลกิ าป้อนเหยือ่ เทศนาลีลาไมน่ า่ เบอ่ื สาลิกาปอ้ นเหยื่อทำหา้ อย่าง เวลา (๑) ผฟู้ ังคอื จุดเด่นเป็นศนู ย์กลาง กจิ กรรม (๒) ยดึ แนวทางพทุ ธเทศนา (๓) แทรกนิทานสาธกยกภาษติ (๔) แถมวจิ ติ รอลงั การดา้ นภาษา (๕ อา้ งคำคมปวงปราชญ์ศาสดา สาลกิ าปอ้ นเหยื่อเพือ่ ปวงชน พระพรหมบณั ฑิต วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

พระมหาไกรวทิ ย์ ถามวา่ เราจะวิเคราะห์ SWOT จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาอยา่ งไร พระพรหมบณั ฑติ ตอบว่า เราจะใช้ SWOT หลังจากการกหนดเป้าหมายแล้ว มันไม่ได้เกิดขึ้นเอง มันจะเกิด ตอ่ เมือ่ เรากำหนดเปา้ หมาย เปน็ ตน้

ถามว่า หลวงพ่อมมี มุ มองถงึ ความเขม้ แขง็ ความยงุ่ ยืนในประเทศไทย อยา่ งไร พระพรหมบณั ฑติ ตอบว่า มุมมองในฐานะของพระธรรมทูต พระพุทธศาสนามีการปรับตัวเก่งกว่าศาสนา พราหมณ์ พราหมณ์ มรี ะบบวรรณะ ถ้าไมม่ รี ะบบวรรณะก็อยูไ่ มไ่ ด้ ส่วนศาสสนาพุทธ หากใช้เป็นระบบประชาธิปไตย ก็มีคำสอนที่เป็นประชาธิปไตย แล้วกย็ กตวั อย่างคำสอนในลทั ธิประเทศของจีน เป็นต้น การปรบั ตวั ให้เข้ากบั สถานการณ์

13.00 – 15.00 น. รบั ฟงั การบรรยาย

ภาควิชาการ 282

สถานท่ี หอ้ งเทยี ร์เตอร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภารกิจที่ได้รบั รบั ฟังการบรรยายผ่านโปรแกรม zoom

มอบหมาย

เร่อื ง ชาวพุทธกัมพูชากับงานเผยแผ่ในตา่ งประเทศ

บรรยายโดย Propagation of Buddhism in Overseas by Cambodian เนอื้ หาการบรรยาย Buddhists.

H.E. NEAK SAMBO UNDER SECRETARY OF STATE MINISTRY OF CULTS AND

RELIGIONS, KINGDOM OF CAMBODIA

การจัดการเรียนการสอนของพระภิกษุสามเณรในกัมพูชาเหมือนกับการเรียนการ

สอนพระภิกษสุ ามเณรเหมือนของไทย

นับถอื พุทธศาสนาเถรวาท

ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ

เวลา 15.00 – 17.30 น.

กจิ กรรม รบั ฟังการบรรยาย

สถานท่ี หอ้ งเทยี รเ์ ตอร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รบั ฟังการบรรยาย

มอบหมาย

เรือ่ ง งานศาสนพิธสี ำหรับพระธรรมทูต

Religious Ceremony for Dhammaduta Bhikkhus

บรรยายโดย พระพรหมเสนาบดี, พร.ด. กติ ติ

กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสำนักงานกำกับดูแลพระธรรมทูตไป

ตา่ งประเทศ เจ้าอาวาสวดั ปทุมคงคาราชวรวหิ าร เจ้าคณะภาค 7

เนื้อหาการบรรยาย การกราบเบญจางคประดิษฐ์ท่ีถูกตอ้ ง คือกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ให้ส่วนทั้ง

๕ สัมผัสพื้น เข่าทัง้ ๒ มอื ท้ัง ๒ และหนา้ ผาก ส่วนกรณีทีส่ ถานที่ไม่เอื้ออำนวยให้ก้ม

ลงกราบ เราอาจใช้วิธีการไหว้ได้โดยประนมมือใหน้ ้ิวหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหวา่ งควิ้

ใหป้ ลายน้ิวชจ้ี รดหน้าผาก และคอ่ มศรีษะลงเลก็ นอ้ ย

การอาราธนาศลี

การถวายทาน

การถวายอดิเรก คนที่จะถวายอดิเรกให้ได้ มีอยู่ 3 คน คอื

- พระพนั ปหี ลวง

- พระเจา้ อยูห่ วั

- พระราชนิ ี

การใชพ้ ัดยศ

ภาควิชาการ 283

• ถ้าอาสงฆร์ าดผา้ ขาว หา้ มเดนิ เหยยี บโดยเดด็ ขาด ให้เดนิ เขา่ เอา • การตัง้ นะโม

นะโม มี 4 อย่าง \> นะโมช้ันเดยี ว / ใชใ้ นการสวดมาติกาบงั สกลุ \> นะโม ๓ ช้นั / ใช้ใหศ้ ีลทัว่ ไป \> นะโม ๕ ชนั้ / ใชใ้ นการทำสังฆกรรม และแสดงพระธรรมเทศนา กรรมวาจา

ทุกชนดิ สวดถอน สวดผูก \> นะโม ๙ ชนั้ / ใชใ้ นการเจรญิ พระพุทธมนต์ เรื่องสำคญั ของพระสงฆ์ คือ จีวร และเวลาไปตา่ งประเทศสิ่งที่สำคญั คืออากัปกิริยา หรือการนุ่งห่ม อย่างเช่นพระอัสสชิ ที่สามารถทำให้พระสารีบุตรเลือ่ มใส ก็เพราะ เหน็ อากปั กริ ยิ าท่งี ดงามของทา่ น ศาสนพิธีถึงแม้จะเป็นเปียกนอก แต่ก็มีความสำคัญ คือเป็นสิ่งท่ีทำการหอ่ หุ่มเราไว้ เปน็ สิ่งทีค่ นเห็นได้ชดั ท่ีสดุ ส่ิงท่ีจะรกั ษาเราไว้ได้เมอ่ื ไปต่างประเทศ คอื พระวินัย และวนิ ัยเป็นส่งิ ทเี่ ราตอ้ งรกั ษา ไว้ให้ดี จะพลาดไมไ่ ด้ การทอ่ งมนต์

บทชุมนมุ เทวดาทใ่ี ช้ในงานตา่ งๆ • สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ(สำหรับ

ราชพธิ )ี • ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา, อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันต.ุ

(สำหรบั ทำบญุ บ้านทั่วไป) • สะมนั ตา จกั กะวาเฬสุ อตั ร์ าคจั ฉนั ตุ เทวะตา, (สำหรบั ภายในวดั )

ชว่ งถาม/ตอบ ถามวา่ หลกั การกลา่ วชมุ นมุ เทวดาทีถ่ กู ต้องเป็นหนา้ ทีข่ องใคร ? ตอบวา่ หลักการกล่าวชุมเทวดาท่ีถูกต้อง คือ รูปที่ 3 ต้องขัด หากรุปที่ 3 ขัดไม่ได้กจ็ ะเป็น หน้าที่ของรูปที่ 2 4 หรือ 5 ตามความเหมาะสม แต่จริงๆแล้วผู้ที่ต้องทำหน้าที่ขัด ชมุ นมุ เทวดาจรงิ ๆ แบบโบราณคือ ฆราวาสจะเปน็ ผขู้ ดั บทชุมนมุ เทวดา

ภาควิชาการ 284

ถามวา่ การจดั ตง้ั โตะ๊ หมทู่ ถ่ี ูกตอ้ งควรเปน็ แบบไหน งานไหนท่ีควรจดั ดอกไม้ ตอบวา่ การตั้งโต๊ะหมู่ทถี่ ูกต้อง การจัดวางพานพุ่ม หากในหลวงส้ินพระชนน์ จะไมต่ ้งั พานพมุ่

ถามว่า บทสวดมหาสมยั ใช้ให้กรณีไหน ? ตอบว่า ใช้ในเหตุการณบ์ า้ นเมืองไมป่ กติ (ตามโบราณา่ ไว้ หากพระบิณฑบาตแล้วทำฝาบาตร ตก ก็จะให้สวดมหาสมยั )

ถามว่า เร่อื งการให้ศลี ระหวา่ งชาวบา้ น กบั การใชใ้ นวัง มคี วามแตกอตา่ งกันหรือไม่ อย่างไร ? ตอบวา่ สำหรับศลี 5 ในวงั จะเป็นแบบใหศ้ ีลปล่อย คอื ว่าไปเลยไม่ต้องรอใหว้ า่ ตาม เพราะ ในกรณขี องในหลวงจะถอื ว่าทา่ นเป็นผทู้ ีท่ รงทศพศิ ราชธรรมอย่แู ล้ว ไมต่ อ้ งให้วา่ ตาม และในวงั จะไม่ใช้ ตสิ ะระณะ คะมะณัง นิฏฐติ งั ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างอโุ บสถศีลกับศีล 8 1. อโุ บสถศีล กับ ศลี 8 มีข้องดเว้น 8 ขอ้ เหมือนกนั 2. คำอาราธนา (ขอศีล) แตกต่างกนั 3. อุโบสถศีล มีวันพระเป็นแดนเกิด สมาทานรักษาได้เฉพาะ วันพระเท่านั้น สว่ น

ศีล 8 สมาทานรักษาไดท้ ุกวัน 4. อโุ บสถศลี มอี ายุ 24 ช่ัวโมง (วันหน่งึ คนื หนึ่ง) ส่วนศลี 8 ไม่มีกำหนดอายุในการ

รกั ษา 5. อุโบสถศีล เป็นศีลสำหรับชาวบ้านผู้ครองเรือน หรือเป็นศีล ของชาวบ้าน

ผู้บรโิ ภคกาม (กามโภคี) ส่วนศีล 8 เป็นศีลสำหรบั ชาวบ้านผูไ้ มค่ รองเรือน เช่น แม่ชี หลักการใหศ้ ลี 5 ตามโครงการหมูบ่ า้ นรักษาศลี 5 สมเด็จพระมหารัชมงั คลาจารย์ บอกหลกั การให้ศีล ท่ถี กู ตอ้ งจะหยดุ ที่ เวรมณ.ี ....ต่อ สิกขา.........

ถามวา่

ภาควชิ าการ 285

การใช้พัดยศ หากเจ้าคณะจังวัดมียศน้อยกว่ารองเจ้าคณะจังหวัด เช่นเจ้าคณะ จงั หวดั เปน็ พระครแู ละรองเจา้ คณะจังหวัดเปน็ เจา้ คุณใครจะนั่งก่อน ตอบว่า ในกรณีนี้ เจ้าคุณจะน่งั ก่อน แตม่ ีอยู่กรณีหน่งึ คือถา้ เป็นภายในวัด จะถอื ว่าเจา้ อาวาสเปน็ ใหญ่ กรณีนเ้ี จ้าอาวาส จะนงั่ ก่อน

ไทยธรรม ถา้ เอามาจดั แล้ว เรียกว่า ไทยธรรม ไทยทาน เชน่ ซื้อแยกมา เรียกวา่ ไทยทาน ไทยทาน ใช้หมายถึงสิง่ ของที่ถวายพระโดยทั่วไป ส่วนคำว่า ไทยธรรม ใช้หมายถงึ สิ่งของที่ถวายพระเทศน์ แต่ก็เป็นเพียงอัตโนมัติคือความเข้าใจส่วนตัวของ เกจอิ าจารย์ ในสำนวนบาลี ทา่ นใช้ ไทยธรรม เหมอื นกนั หมด ไม่มคี ำวา่ ไทยทาน

เวลา 17.50 – 18.00 น. วัดอุณหภูมิ / ลงทะเบียน

เวลา 18.30 – 18.45 น.

กิจกรรม ทำวัตรเยน็

สถานท่ี ห้องเทยี รเ์ ตอร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เข้าร่วมกจิ กรรมทำวตั รเยน็

มอบหมาย

นำทำวัตรโดย พระมหาไพฑูรย์ ปนฺตนนฺโท, ดร.

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวตั รเย็น

ทบทวนธรรม o อะตีตะปจั จะเวกขะณะ (อชชฺ มยา……….)

o กรวดน้ำ (อมิ ินา……….)

o แผเ่ มตตา (สพั เพ สัตตา……….)

o กลา่ วคำปฏญิ ญาของพระธรรมไทย/องั กฤษ

ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 10. ได้ทบทวนธรรม

11. การสวดมนตเ์ ป็นการฝึกสมาธิ ให้ใจมีความสงบ ตั้งมั่นอยู่กับคำสวดมนต์อย่าง

ต่อเนอ่ื ง ใจจดจอ่ อยกู่ บั บทสวดมนตร์ ะมัดระวงั ไมใ่ หส้ วดผดิ ซง่ึ การมีสมาธอิ ยู่กบั

ภาควชิ าการ 286

สวดมนต์นี้ จะทำให้เรามคี วามสงบเยือกเย็นในจิตใจเพิ่มมากขึ้น และมีพลังใน การคิดสร้างสรรคใ์ นสง่ิ ตา่ งๆ ไดด้ ยี ิง่ ขึ้นอีกดว้ ย 12. การสวดมนต์เปน็ การสร้างศรทั ธา สร้างความเชื่อม่นั ในคณุ ของพระรตั นตรัย เปน็ การเสริมสร้างพลังศรัทธาในพระพุทธศาสนา และน้อมนำหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิตอย่างมีคุณค่า

เวลา 19.20 – 21.00 น.

กจิ กรรม รับฟงั การบรรยาย

สถานท่ี หอ้ งเทียรเ์ ตอร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เข้ารว่ มรับฟังการบรรยาย

มอบหมาย

บรรยายโดย พระโสภณวชริ าภรณ์ ดร.,อัคคมหาบณั ฑิต

รองอธกิ ารบดฝี า่ ยกิจการต่างประเทศ

ประธานคณะกรรมการดำเนินงานโครงการอบรมพระธรรมทตู สายตา่ งประเทศ

เวลา 21.05 น.

ทำกจิ สว่ นตวั / พักผ่อน

เวลา 22.00 น.

ปดิ ไฟ

กจิ กรรมวันท่ี 21 วัน จันทร์ ที่ 23 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 04.50 – 05.00 น.

วัดอุณหภูมิ / ลงทะเบยี น

เวลา 05.00 – 06.50 น.

กจิ กรรม ทำวัตรเช้า/เจรญิ จติ ภาวนา/ทบทวนธรรม

สถานที่ อาคารวิปสั สนา ช้ัน 2 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทำวตั รเช้า

มอบหมาย

นำทำวัตรโดย พระมหาสุรยทุ ธ์ ตวั แทนกลมุ่ 8

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวัตรเช้า

ทบทวนธรรม o ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถา (พทุ โธ สสุ ทุ โธ..........)

o ตังขณกิ ปัจจเวกขณปาฐะคาถา (ปฏสิ ังขาโย..........)

ภาควชิ าการ 287

ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั o ปัตตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........) เวลา o แผ่เมตตา (สพั เพ สัตตา..........) o กลา่ วคำปฏญิ ญาของพระธรรมไทย/อังกฤษ

11. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซื่องซึมง่วงนอนเกียจ ครา้ นจะหมดไป และเกิดความแชม่ ช่ืนกระฉับกระเฉงขึ้น

12. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด มนต์อยา่ งต้งั ใจ ไม่ได้คิดถงึ ตวั เอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มิได้เกดิ ข้ึนในจติ

13. เป็นการกระทำท่ไี ด้ปญั ญา ถ้าการสวดมนตโ์ ดยรคู้ ำแปล รู้ความหมาย ก็ย่อมทำ ให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร เลย

14. มจี ติ เปน็ สมาธิ เพราะขณะน้ันผ้สู วดตอ้ งสำรวมใจแนว่ แน่ มฉิ ะนัน้ จะสวดผิดท่อน ผดิ ทำนอง เมือ่ จติ เปน็ สมาธิ ความสงบเยอื กเย็นในจิตจะเกดิ ขนึ้

15. เปรียบเสมือนการได้เฝา้ พระพทุ ธเจา้ เพราะขณะน้นั ผ้สู วดมี กาย วาจา ปกติ (มี ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี ปัญญา) เทา่ กบั ได้เฝา้ พระองค์ด้วยการปฏบิ ัติบูชา ครบไตรสิกขาอย่างแท้จรงิ

07.00 – 08.30 น. บณิ ฑบาต / ฉันภตั ตาหารเช้า / ทำกจิ ส่วนตัว/วัดอณุ หภมู ิ / ลงทะเบียน

เวลา 08.30 – 10.50 น.

กจิ กรรม ฟงั บรรยาย

สถานที่ ห้องเทียร์เตอร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รับฟังการบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

มอบหมาย

เรือ่ ง พระพทธศาสนาใน

เกาหลี การศึกษา การ

ปฏิบตั ิ และการเผยแผ่

Education, Practice and

Propagation of

Buddhism in Korea.

บรรยายโดย พระพทธศาสนาใน

เกาหลี การศึกษา การ

ปฏิบตั ิ และการเผยแผ่

Education, Practice and

ภาควิชาการ 288

เนือ้ หาการบรรยาย Propagation of Buddhism in Korea. 1. Introduction Ananda and Kasyapa 1. Introduction Bodhidharma

2. Korean Religion ศาสนาเกาหลี Major Religions in Contemporary Korea 1. Buddhism Major Religions in Contemporary Korea 1. Buddhism First transmission: 372 AD (Goguryeo), 384 AD (Baekje), 527 AD (Shilla) 2. Protestantism First transmission: 1880s (Methodist & Presbyterian missionaries) 3. Catholicism First Appeared: 1592 AD (Father Grogorious de Cespedes, a Jesuit Priest) 2. ศาสนาเกาหลี ศาสนาหลกั ๆ ในเกาหลี 1. พุทธศาสนา การสง่ สญั ญาณแรก: ค.ศ. 372 (โกคูรยอ), ค.ศ. 384 (เบก็ เจ), ค.ศ. 527 (ชลิ ลา) 2. ลัทธิโปรเตสแตนต์ การสง่ สญั ญาณแรก: คริสต์ทศวรรษ 1880 (มชิ ชันนารีเมธอดสิ ตแ์ ละเพรสไบทเี รยี ) 3. นกิ ายคาทอลกิ ปรากฏครั้งแรก: ค.ศ. 1592 (หลวงพอ่ โกรโกเรียส เดอ เซสปดี ส์ นักบวชเยซูอติ )

2. Korean Religion

ภาควชิ าการ 289

Major Religions in Contemporary Korea 1. Buddhism First transmission: 372 AD (Goguryeo), 384 AD (Baekje), 527 AD (Shilla) At its Peak: the Unified Shilla (668-935) and Goryo (918-1392) dynasties. Persecution: Chosun dynasty (1392-1910) Neo-Confucianism as national ideology Monk soldiers: during the Korean Japanese War (1952-1958) Married monks: during the Japanese occupation (1910-1945) 2. ศาสนาเกาหลี ศาสนาหลัก ๆ ในเกาหลี 1. พุทธศาสนา การส่งสญั ญาณแรก: ค.ศ. 372 (โกครู ยอ), ค.ศ. 384 (เบก็ เจ), ค.ศ. 527 (ชิลลา) ณ จดุ สูงสดุ ของมัน: ราชวงศช์ ิลลา (668-935) และราชวงศ์กอร์โย (918-1392) การข่มเหง: ราชวงศ์โชซุน (ค.ศ. 1392-1910) ลทั ธินวิ คอนฟเู ชยี นเปน็ อุดมการณ์ของชาติ ทหารพระสงฆ์: ระหว่างสงครามเกาหลญี ่ปี นุ่ (ค.ศ. 1952 - ค.ศ. พระภิกษุทแ่ี ตง่ งานแล้ว: ระหว่างการยึดครองของญีป่ ุน่ (1910-1945 Major Religions in Contemporary Korea 1. Buddhism Most traditional Buddhist temples are regarded as important cultural properties rather than as places of worship. Orders: the Jogyo Order: dominating Seon tradition. the Taego Order: married Seon tradition. the Cheontae Order: modern Tientai tradition. the Jingak Order: Vajraya Buddhism. One of the only countries where the Mahayana Buddhist tradition in its earlier form has survived without interruption. ศาสนาหลัก ๆ ในเกาหลี 1. พุทธศาสนา

ภาควิชาการ 290

วดั พุทธแบบดงั้ เดมิ สว่ นใหญถ่ อื วา่ มีความสำคัญ เปน็ ทรพั ยส์ ินทางวฒั นธรรมมากกวา่ เปน็ สถานทีส่ ักการะ คำส่งั : คำส่งั จอกโย่: ครอบงำประเพณีของซอน คำสงั่ ของแทโกะ: แตง่ งานกับซอน คณะชอนแต : ประเพณสี มัยใหมข่ องชาวเทยี นไท. คณะจงิ กก๊ : พทุ ธศาสนาวชั รยาน. หน่งึ ในประเทศเดยี วท่ีพุทธศาสนกิ ชนมหายาน ประเพณีในรูปแบบก่อนหน้าน้ีอยรู่ อดมาได้โดยไมห่ ยุดชะงัก Monastic Education in Korean Buddhism Novice: 2 years. Samanera: 4 years Dharma School in Major Buddhist temple Dongguk University either in Seoul or in Kyongju Central Sangha University in Kimpo Full Ordination: bikkhu Regular retreat at Seon (Zen) School in Major Buddhist temple Summer Retreat (July to September) Winter Retreat (November to February) การศกึ ษาพระสงฆใ์ นพระพทุ ธศาสนา Novice: 2 years. Samanera: 4 years โรงเรยี นธรรมศาสตรใ์ นวดั ใหญพ่ ุทไธศวรรย.์ มหาวิทยาลยั ดงกกุ ไม่วา่ จะเปน็ ในกรุงโซลหรอื คยองจู มหาวิทยาลยั ซงั กะกลางในคิมโป ที่โรงเรยี นซอน (เซน) ในวัดสำคญั ทางพุทธศาสนา. ซมั เมอรร์ ที รีท (กรกฎาคมถงึ กันยายน) วนิ เทอร์รีทรีท (พฤศจิกายนถึงกมุ ภาพนั ธ์)

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 11.00 – 12.30 น. เวลา บิณฑบาต / ฉนั ภัตตาหารเพล / ทำกิจส่วนตวั เวลา 12.50 – 13.00 น. วัดอณุ หภูมิ / ลงทะเบยี น

ภาควิชาการ 291

เวลา 13.00 – 15.00 น.

กจิ กรรม รบั ฟงั การบรรยาย

สถานที่ หอ้ งเทยี ร์เตอร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รบั ฟงั การบรรยายผ่านโปรแกรม zoom

มอบหมาย

เร่อื ง กายรเผยแผเ่ ชิงปฏบิ ัติการงานพระธรรมทตู สายตา่ งประเทศ

บรรยายโดย พระครูนิโคธบุญญากร (ปรชี า กตปุญฺโญ ดร)

เจ้าอาวาสวดั นิโคธราราม เนปาล

เนอ้ื หาการบรรยาย ๑. วิธีการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในแดนพทุ ธภูมติ ามวิถีของพระพุทธเจ้าผู้เป็น

ต้นแบบแหง่ การเผยแผ่

๒. งานเผยแผ่คือการทีอ่ อกจากพระโอษฐ์ของพระพทุ ธเจา้

๓. หลักการแหง่ การเปน็ พระธรรมทูตสายตา่ งประเทศ

ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ ๑. สมเดจ็ พระมหาธีราจารย์ (ปสฤทธ์ิ เขมงฺกโร) กล่าวไวว้ า่ งานเผยแผ่คืองานท่ี

ออกจากพระโอษฐข์ องพระพุทธเจา้ สมดังพระพระพุทธพจน์ว่ี ่า จรถ ภกิ ขฺ เว

จาริกํ พหชุ นหติ าย พหุชนสุขาย โลกานกุ มฺปาย” “ดกู อ่ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย เธอ

ท้งั หลายจงเที่ยวจารกิ ไปเพ่อื ประโยชน์เกอื้ กลู แกช่ นหมมู่ าก เพอื่ ความสุขแก่

ชนหมู่มาก เพื่ออนุเคราะหโ์ ลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกลู เพื่อความสุขแก่

เทวดาและมนุษยท์ ง้ั หลาย

“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามใน

ท่ามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้ง

พยัญชนะ บรสิ ุทธิ์บรบิ ูรณ์สน้ิ เชงิ ”

สมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ทรงตรัสไว้เป็นแนวทางในการปฏิบัติภารกจิ

ของพระภิกษุ เพอื่ นำเอาคำสอน อนั เป็นอมตะ อันเป็นวิทยาศาสตร์ เผยแผ่

ไปสู่หม่มู วลมนุษยชาติ

๒. หลักการ ๓ หมายถึง สาระสำคัญท่ีควรยึดถือเปน็ แนวปฏิบัติ ได้แก่ ๑.การ ไม่ทำบาปทั้งปวง ด้วยการไม่ประพฤติชั่วทั้งกาย วาจาและใจ เช่น ไม่ ประพฤตผิ ดิ ในกาม ไม่ลกั ขโมย ไมผ่ ูกพยาบาท ๒.การทำกุศลให้ถงึ พร้อม ด้วยการทำความดที ุกอย่างทั้งกาย วาจาและใจ เช่น ไม่ฆ่าสัตว์ ไมโ่ ลภมาก และมคี วามเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่

ภาควชิ าการ 292

๓.การทำจิตใจให้ผ่องใส ด้วยการละบาปทั้งมวล ทำใจให้ปราศจากกิเลส ความโลภ โกรธ หลง ถือศีลและบำเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อมด้วยการปฏิบัติ สมถะและวิปสั สนา

อุดมการณ์ ๔ หมายถึง หลักการที่ทรงวางไว้ เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายท่ีวางไว้ ไดแ้ ก่ ๑.ความอดทน ให้มีความอดกลน้ั ไม่ทำบาปท้ังกาย วาจาและใจ ๒.ความไม่เบยี ดเบยี น ใหง้ ดเวน้ จากการทำร้าย รบกวนหรือเบียดเบยี นผอู้ นื่ ๓.ความสงบ คือ การปฏบิ ตั ติ นให้สงบทั้งกาย วาจาและใจ และ ๔.นพิ พาน คอื การดบั ทุกข์ ซง่ึ เปน็ เป้าหมายสงู สุดในทางพทุ ธศาสนา ที่จะ เกิดข้ึนได้จากการดำเนินชีวติ ตามมรรคมีองค์ ๘ ไดแ้ กค่ วามเหน็ ชอบ ความ ดำริชอบ การพูดจาชอบ การทำการงานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความ พากเพียรชอบ ความระลกึ ชอบ และความตัง้ ใจม่ันชอบ วธิ ีการ ๖ ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัตไิ ดแ้ ก่

๑.ไมว่ า่ รา้ ย คือ ไมก่ ลา่ วใหร้ า้ ยผูอ้ ืน่ ๒.ไมท่ ำร้าย คอื ไมเ่ บยี ดเบียน ไม่ฆ่าผ้อู น่ื ๓.สำรวมในปาติโมกข์ คือการเคารพระเบียบ กติกา กฏหมาย และ ขนบธรรมเนยี มประเพณีทดี่ ีงามของสังคม ๔.รู้จักประมาณ คือ รู้จักพอดี พอกิน พออยู่ หรือจะกล่าวแบบปจั จุบนั ว่าถอื หลกั เศรษฐกิจพอเพียง ก็ได้ ๕.อยู่ในสถานที่ที่สงัด คืออยู่ในสถานที่ที่สงบ และมีสิ่งแวดล้อมท่ี เหมาะสม ๖.ฝกึ หดั จิตใจให้สงบ คอื การฝึกหัดชำระจติ หมน่ั ทำสมาธภิ าวนา ๓. ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแดนพทุ ะภูมิพระธรรมทูตควรศึกษาหา ขอ้ มลู เชน่ พระวิทยากรท่ีนำช่ือว่าอะไร มาจากวดั ไหน มาก่คี น และเตรียม สถานท่รี บั รองใหเ้ พยี งพอตอ่ การปฎิสนั ถารตอ้ นรับ

๔. ๘ ถ้า อยา่ ๔ ในการเผยแผส่ ำหรบั พระธรรมทูต ดังน้ี ๑. ถา้ ออ่ นประสบการณ์ ๒. ถา้ วิชาการไม่เด่น ๓. ถา้ บริหารไม่เป็น เชน่ บรหิ ารคน,เวลา เปน็ ต้น

ภาควิชาการ 293

๔. ถ้าไม่เคยเห็นวิธีการ คำว่าวิธี หรือพิธี เปรียบเสมือน กุญแจที่ไข ตู้ กบั ข้าวให้เรากินขา้ วได้ ฉะนนั้ ๕. ถ้าจรรยาบรรณเราไมเ่ ลศิ เชน่ ขอ้ วตั รปฏิบตั ขิ องพระธรรมทตู หมายถึง วธิ ีการปฏบิ ตั ิของสมณะควรเป็นอยา่ งไร ๖. ถ้าโรคภัยเกิดแก่สังขาร คือการดูแลสงั ขารต้องมาก่อน ควรรักษาตัวให้ เป็นหนงึ่ เช่น ควรพกั ผ่อนให้เพยี งพอ รกั ษาอารมณ์จิตใจให้อย่าขุ่นมัวและ เศร้าหมอง และแสวงหาอากาศที่ดี เมื่อสังขารปลอดภัยดี ก็นำไปสู่การ เป็นพระธรรมทูตท่ีดไี ดใ้ นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๗. ถ้าล้มเหลวประสานงาน ๘. ถา้ ปณธิ านไมม่ ่งั คง อย่า ๔ ดังนี้ ๑. อย่าวิง่ ตามโยม ๒. อย่าเพลนิ ชมในผลงานของตนเอง ๓. อย่าเพง่ โทษของคนอน่ื เขา ๔. อยา่ หูเบาเชอ่ื อะไรงา่ ยๆ

เวลา 15.00 – 17.30 น.

กิจกรรม รบั ฟงั การบรรยาย

สถานท่ี หอ้ งเทียร์เตอร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รับฟงั การบรรยาย

มอบหมาย

เรอ่ื ง ยุทธศาสตร์ มจร กับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวโลก ในยุค THE GREAT

RESET

บรรยายโดย พระธรรมวัชรบัณฑติ ศ.ดร.

อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

รักษาการรองแมก่ องบาลสี นามหลวง

รองเจา้ คณะภาค ๕

เลขานกุ ารสภาสากล วันวสิ าขบูชาโลก (ICDV)

เน้อื หาการบรรยาย ๑. หนา้ ท่ขี องพระสงฆ์ ๒. ยุทธศาสตร์ มจร กับการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ๓. งานด้านการเผยแผส่ ำหรับพระธรรมทตู

ภาควชิ าการ 294

ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ หนา้ ท่ีของพระสงฆ์ ๑. ศึกษา ๒. ปฏบิ ตั ิ ๓. เผยแผ่ หนา้ ทีส่ งฆ์ (ต่อเนอ่ื ง) หนึง่ ..ศึกษาหาความรูด้ ใู ห้ชัด สอง..ปฏบิ ตั ขิ ัดเกลาใหเ้ ราใส (ผอ่ งใส) สาม..เผยแผแ่ กป่ วงชนให้เข้าใจ รวมหน่งึ ไซร์หน้าทีส่ งฆด์ ำรงธรรม BY เกบ็ สะแกกรัง ยทุ ธศาสตร์ มจร กบั การเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ๓ อย่าง ๑. เพื่อพัฒนา มจร ให้เป็นสถานที่ศึกษาแก่ผู้ที่ใครต่อการศึกษา ปฏิบัติ

และเผยแผ่ พร้อมมีเอกลักษณ์ และอัตตลักษณ์เป็นจุดเด่น ซึ่งไม่ เหมือนกับสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป โดยมีการสร้างมหาวิทยาลยั ใหเ้ ปน็ มากกว่ามหาวิทยาลัยทั่วไป และสร้างวัดให้เป็นมากกว่าวัดทั่วไป เช่น มหาวิทยาลยั นาลันทา คร้งั ในอดตี สมยั พทุ ธกาลนานมาแลว้ เปน็ ตน้ ๒. เพอ่ื เปน็ แหลง่ ผลิตการศึกษาสำหรับการเผยแผพ่ ระพทุ ะศาสนา ๓. เพื่อเปน็ นวตั กรรมในพฒั นาจิตใจและสังคม

พระเดชพระคุณยังกล่าวต่อไปอีกว่า งานด้านการเผยแผ่ของ มจรในยุค ปัจจุบันน้ี เน้นการใช้ระบบเทคโนโลยเี ปน็ หลกั ในการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา โดยมุ้ง เป้าหมายเป็นวงกว้างทางออนใลน์และทางทีวีเป็นต้น ซึ่งมีการเผยแผ่เป็นการจัด รายการโดยมีการสรา้ งคอนเทน้ ต์แนววาไรต้เี ปน็ หลักในการเผยแผธ่ รรมส่ผู ้รู ับสารทา งออนใลน์ เช่นรายการเสียงธรรมจากมหาจุฬาอาศรม ซึ่งเน้ือหาในรายการนั้นประกอบไปด้วย การทำวัตรเช้า บรรยายการเจรญิ วปิ สั สนากรรมฐาน ตามแนวสติปัฏฐาน ๔ แลว้ จบด้วยการแผ่เมตตา ( ทำวตั ร ฟงั ธรรม เจรญิ จิตภาวนา แผเ่ มตตา) โดย พระธรรม วัชรบณั ฑติ ,ศ.ดร. อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั เผยแพรผ่ า่ น Application Zoom ID : 903 524 8031 Passcode : 2564 ถ่ายทอดสดทาง YouTube: mcu tv, Facebook: mcu tv news,mcu tv live, mcu tv-channel, website: tv.mcu.ac.th ประจำทุกวันอาทิตย์เป็นต้น และยังมีการเอาเทปท่ีเคยได้ บรรยายไปแลว้ มารรี ันเพ่อื ทำเป็นออนใลนไ์ ด้อีก วิธกี ารแบบน้จี ะทำใหก้ ารเผยแผโ่ ดย

ภาควชิ าการ 295

อาศัยเทคโนโลยีขยายออกไปเป็นวงกว้างได้ เช่นนี้ถือว่าเป็นการเผยแผ่พระพทุ ธศา นาในยคุ ใหม่

การเผยแผ่พระพุทธศาสนา นอกจากรายการเสียงธรรมจากมหาจุฬาอาศรม แล้วยังมีอีก ๑ อย่าง คือ การได้ไปช่วยสถาบันวิปัสสนาธุระ ของ มจร โดย เป้าหมายของสถาบันคือ เน้นการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานสำหรับพุทธสาสนิกชน ทั่วไปที่มีความประสงค์อยากปฏิบัติธรรม โดยทางสถาบันวิปัสสนาธุระได้จัดเป็น คอร์ส ๓ วนั บา้ ง ๕ วนั บา้ ง ๑๐ วนั บา้ ง หรือ ๑ เดอื น ตามที่ผ้ปู รารถนาจะปฏิบตั ติ าม ความพอใจของตนของตน โดยมสี ง่ และสอบอารมณ์โดยพระวิปัสสนาจารย์ทกุ วัน และสง่ิ ท้ายท่พี ระเดชพระคณุ ฝากไวใ้ นหวั ข้อการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา สำหรับ พระธรรมทูตสยตา่ งประเทศ นั้นคอื ในขณะทีท่ ุกท่านทำการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในรูปต่างๆ ให้สอดแทรกเนื้อหาธรรมะโดยการยกเอานิทานชาดก หรือเนื้อหาใน ธรรมบทเข้าด้วยเพ่ือเพ่ิมความเป็นรูปธรรมในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และเปน็ การเชญิ ชวนใหพ้ ุทธศาสนิกชนสนใจใการฟังธรรมมากขน้ึ

เวลา 17.50 – 18.30 น. วัดอณุ หภมู ิ / ลงทะเบียน

เวลา 18.30 – 18.45 น.

กิจกรรม รว่ มกิจกรรมเวยี นเทียนเนือ่ งในวัดอัฐมีบชู า

สถานท่ี หอพระไตรปิฏก มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ร่วมกจิ กรรมเวยี นเทียนเนอื่ งในวดั อัฐมบี ูชา

มอบหมาย

นำทำวัตรโดย พระโสภณวชิราภรณ์ ดร,อัคคมหาบัณฑิต, รองอธิการบดฝี ่ายกจิ การต่างประเทศ,

ประธานดำเนนิ งานโครงการอบรมพระธรรมทูตสายตา่ งประเทศ รุน่ ที่ ๒๘ ปี ๒๕๖๕

บทสวด บทสวดสรรเสริญพระพุทธคณุ ธรรมคณุ และสังฆคุณ (อิติปโิ ส ภควา)

ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ

เวลา 19.20 – 21.00 น.

กิจกรรม รบั ฟงั การบรรยาย

สถานที่ ห้องเทยี ร์เตอร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เขา้ รว่ มรับฟงั การบรรยาย

มอบหมาย

ภาควชิ าการ 296

เรือ่ ง งานของพระธรรมทตู สายต่างประเทศ เนื้อหาการบรรยาย ข้อปฏิบตั ิตนในความเปน็ พระธรรมทูต เช่น ทบทวนธรรมและทอ่ งคำปฏญิ าณ นทิ รรศการเก่ยี วกับความเปน็ มาของพระธรรมทตู

ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ ได้ทราบข้อปฏิบัติตนในความเป็นพระธรรมทูต เช่น ทบทวนและท่องคำปฏิญาณ ดังน้ี ขา้ พเจา้ , ขอปฏิญาณต่อหน้าพระพุทธปฏิมา, และครอู าจารย์ ณ ทน่ี ้ีวา่ ข้าพเจ้า, ขอยอมเป็นทาสผรู้ ับใช้ของพระพทุ ธเจา้ , พระธรรม, และพระสงฆ์ พระพทุ ธเจ้า, พระธรรม, และพระสงฆ์, เป็นนายมอี สิ ระเหนือขา้ พเจา้ . ข้าพเจ้า, ขอปฏิญาณว่า, จะตั้งใจฝึกฝนอบรมตน, ศึกษาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้, ปฏิบัติ ตามคำแนะนำพร่ำสอน, ของครูอาจารย์ และปฏิบัติตามพระธรรมวินัย, ด้วยความ เคารพ. ข้าพเจ้า, ขอปฏิญาณว่า, เมื่อประกอบคุณงามความดีใดๆ, จะไม่หวังผลตอบแทน, เป็นลาภ, ยศ, สรรเสริญ, เกียรติ, ชื่อเสียงแก่ตนเอง, จะขอทำถวายเป็นเครื่อง สักการะบูชา, ตอบแทน แด่พระพทุ ธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ องคฺ ํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพพฺ ํ จเช นโร ธมฺมมนสุ สฺ รนฺโต. ข้าพเจ้า, ขอปฏญิ าณวา่ , ในฐานะพระธรรมทูตสายตา่ งประเทศ, ขอยอมสละสรรพสง่ิ , ท้งั สมบัติ, อวัยวะ, และชีวิตของตน, เพือ่ ประโยชนส์ ุขของพหูชน, และความพัฒนา สถาพร, ของพระพทุ ธศาสนาสืบไป.

กจิ กรรมวันที่ 22

วัน อังคาร ท่ี 24 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

เวลา 05.00 – 06.50 น.

กจิ กรรม ทำวตั รเชา้ /เจริญจติ ภาวนา/ทบทวนธรรม

สถานท่ี อาคารวปิ สั สนา ชั้น 2 มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เข้าร่วมกจิ กรรมทำวตั รเชา้

มอบหมาย

นำทำวตั รโดย พระมหาสุรยทุ ธ์ ตัวแทนกล่มุ 8

บ ท ส ว ด ท ำ ว ั ต ร / o บททำวัตรเชา้

ทบทวนธรรม o ระตะนตั ตะยปั ปะณามะคาถา (พทุ โธ สสุ ุทโธ..........)

o ตงั ขณกิ ปจั จเวกขณปาฐะคาถา (ปฏิสงั ขาโย..........)

o ปตั ตทิ านะคาถา (ยา เทวะตา..........)

ภาควชิ าการ 297

ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั o แผ่เมตตา (สพั เพ สตั ตา..........) เวลา o กลา่ วคำปฏญิ ญาของพระธรรมไทย/อังกฤษ

16. สามารถไล่ความขี้เกียจเพราะขณะสวดมนต์อารมณ์เบื่อเซื่องซึมง่วงนอนเกียจ ครา้ นจะหมดไป และเกิดความแช่มช่ืนกระฉับกระเฉงขึ้น

17. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะไปหน่วงอยู่ที่การสวด มนตอ์ ยา่ งตัง้ ใจ ไมไ่ ดค้ ิดถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จงึ มิไดเ้ กดิ ขึ้นในจติ

18. เปน็ การกระทำทีไ่ ดป้ ัญญา ถา้ การสวดมนตโ์ ดยรคู้ ำแปล รู้ความหมาย กย็ อ่ มทำ ให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ แทนที่จะสวดเหมือนนกแก้วนกขุนทองโดยไม่รู้อะไร เลย

19. มจี ติ เป็นสมาธิ เพราะขณะนั้นผ้สู วดต้องสำรวมใจแน่วแน่ มิฉะน้ันจะสวดผิดท่อน ผดิ ทำนอง เม่อื จิตเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเยน็ ในจิตจะเกดิ ข้ึน

20. เปรยี บเสมอื นการไดเ้ ฝา้ พระพุทธเจา้ เพราะขณะน้ันผ้สู วดมี กาย วาจา ปกติ (มี ศีล) มีใจแน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจ้า (มี ปญั ญา) เท่ากบั ไดเ้ ฝ้าพระองค์ด้วยการปฏบิ ัติบชู า ครบไตรสิกขาอย่างแทจ้ ริง

07.00 – 08.30 น. บณิ ฑบาต / ฉนั ภัตตาหารเชา้ / ทำกิจส่วนตวั /วัดอุณหภูมิ / ลงทะเบยี น

เวลา 08.30 – 10.50 น.

กิจกรรม ทบทวนธรรม

สถานที่ ห้องเธียร์เตอร์ D มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รบั ฟังการบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

มอบหมาย

เร่ือง ท่องคำปฎญิ าณ

บรรยายโดย พระมหายงยทุ ธ กนตฺ าโภ ดร.

พระมหาทองเกบ็ ญาณพโล ดร.

และคณาจารยว์ ทิ ยลยั พระธรรมทูต

เนือ้ หาการบรรยาย คำปฎิญาณ

ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั ได้ทราบข้อปฏิบัติตนในความเป็นพระธรรมทูต เช่น ทบทวนและท่องคำปฏิญาณ

ดังนี้

ขา้ พเจา้ , ขอปฏญิ าณต่อหน้าพระพทุ ธปฏมิ า, และครูอาจารย์ ณ ท่ีนวี้ า่

ข้าพเจ้า, ขอยอมเป็นทาสผรู้ บั ใชข้ องพระพุทธเจ้า, พระธรรม, และพระสงฆ์

พระพทุ ธเจา้ , พระธรรม, และพระสงฆ์, เป็นนายมอี สิ ระเหนอื ข้าพเจ้า.

ภาควิชาการ 298

ข้าพเจ้า, ขอปฏิญาณว่า, จะตั้งใจฝึกฝนอบรมตน, ศึกษาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้, ปฏิบัติ ตามคำแนะนำพร่ำสอน, ของครูอาจารย์ และปฏิบัติตามพระธรรมวินัย, ด้วยความ เคารพ. ข้าพเจ้า, ขอปฏิญาณว่า, เมื่อประกอบคุณงามความดีใดๆ, จะไม่หวังผลตอบแทน, เป็นลาภ, ยศ, สรรเสริญ, เกียรติ, ชื่อเสียงแก่ตนเอง, จะขอทำถวายเป็นเครื่อง สักการะบชู า, ตอบแทน แด่พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ องฺคํ ธนํ ชวี ิตญฺจาปิ สพพฺ ํ จเช นโร ธมมฺ มนุสฺสรนฺโต. ข้าพเจา้ , ขอปฏญิ าณว่า, ในฐานะพระธรรมทตู สายต่างประเทศ, ขอยอมสละสรรพสงิ่ , ทั้งสมบตั ิ, อวัยวะ, และชวี ิตของตน, เพ่ือประโยชน์สุขของพหูชน, และความพัฒนา สถาพร, ของพระพุทธศาสนาสืบไป.

เวลา 13.00 – 15.00 น.

กิจกรรม รบั ฟังการบรรยาย

สถานท่ี หอ้ งเธียรเ์ ตอร์ D มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ รบั ฟงั การบรรยายผา่ นโปรแกรม zoom

มอบหมาย

เรือ่ ง การสืบสานงานพระสงฆ์ไทยในหนา้ ท่พี ระธรมทตู

บรรยายโดย พระพรหมวชั รเมธี (สมเกียรติ โกวิโท ป.ธ.๙ ดร.)

เจา้ อาวสวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะภาค ๙

ทีป่ รึกษาสำนักงานกำกบั ดูแลพระธรรมทตู ไปต่างประเทศ

เน้อื หาการบรรยาย คณุ สมมบัติของความเป็นพระธรรมทตู

ประโยชน์ท่ไี ด้รบั 1. ลักษณะของบณั ฑติ มักไม่ชอบจับผดิ ค่สู นทนาของตวั เอง

2. คุณสมมบัติของความเป็นพระธรรมทูต ที่ว่าที่พระธรรทูตทุกรูปควรมี 8

ประการ ดงั น้ี

1. โสตา ผ้ฟู ัง

2. สาเวตา ใหผ้ ้อู ่นื ฟัง

3. อุคฺคเหตา เรียนรู้ หรือ การกำหนดรูเ้ ป้าหมายของการปฏบิ ัติงานของ

พระธรรมทตู สายต่างแระเทศ

4. ธาเรตา ทรงจำพระคมั ภีร์

5. วิญฺญาตา ร้เู และข้าใจจำอยา่ งประเสรฐิ ถงึ เปา้ หมายที่ๆเราเดินทางไป

สมดังพระพุทธพจน์ว่า จรถ ภิกขฺ เว จาริกํ เป็นต้น

ภาควชิ าการ 299

6. วิญญาเปตา ใหผ้ ู้อืน่ รอู้ ย่างเข้าใจ อยา่ งถ่องแท้ซง่ึ คำสอนของพระพุทธ องค์

7. โกสโล สาหิตาสหิตตฺส หรือ อุปายโกสล ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ และไมเ่ ปน็ ประโยชน์ หรอื ฉลาดในอบุ าย

8. โน จ กลหกาลโก ไมช่ อบการทะเลาะกัน สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ กลา่ วคุณสมบัติของพระธรรมทูตไวว้ ่า - มน่ั ใจในหลกั คำสอน (สวากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม) - มนั่ ใจในความม่นั ใจของพระธรรมเอง

เวลา 15.00 – 17.30 น. กิจกรรม รบั ฟงั การบรรยาย สถานที่ หอ้ งเธียรเ์ ตอร์ D มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ภารกิจที่ได้รับ รบั ฟงั การบรรยาย มอบหมาย เรอื่ ง อนิ เดยี สมเด็จพอ่ ผกู้ อ่ อารยธรรมสำคัญของโลก บรรยายโดย พระธรรมโพธิวงศ์ (วรี ยุทธ์ วีรยุทโฺ ธ) ดร. เจา้ อาวาสวัดไทยพทุ ธคยา INDIA เน้ือหาการบรรยาย หัวหน้าพระธรรมทตู สายประเทศอนิ เดีย-เนปาล รองประธานอำนวยการโครงการอบรมพระธรรมทตู สายต่างประเทศ ประโยชน์ทีไ่ ดร้ ับ ๔. งานของพระธรรมทตู ๕. ฐานของพระธรรมทูต ๖. โลกกำลังผจญกับภัย ๓ อย่าง งานของพระธรรมทตู เป็นงานใหญ่ คือเป็นการทำงานตามแบบ หลังจากที่ได้แบบ มาแล้วก็ทำตามแบบตามที่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้ จึงจะประสบความสำเร็จตาม เป้าหมาย โดยการเดินตามรอบบาทของพระพทุ ธองค์ ผู้เปน็ ต้นแบบแหง่ การเผยแผ่ พระศาสนา จิรํ ตฏิ ฺฐตุ สทธฺ มฺโม - พระธรรมทูตท่ีจะเจริญได้นั้น ต้องเป็นคนที่มองเห็นความเหน็ดเหนื่อยนั้นเปน็ ภักษาหารอยู่เนืองๆ โดยดำรงความเป็นพระธรรมทตู อยู่ด้วน “ศีล” ความเป็น ปกติ - พระธรรมทูตต้องไปสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นแก่สาธุชนทั้งหลายเพื่อให้สาธุชน เขา้ ถึงพระรตั นตรยั อย่างไมห่ ว่ันไหว

ฐานของพระธรรมทตู คือ

ภาควชิ าการ 300

1. ศลี (ความเปน็ ปกต)ิ

2. สมาธิ (ความตั้งใจมั่น คือมั่นในความเปน็ พระธรรมทูต เพราะงานทีจ่ ะสำเร็จได้

ตอ้ งใส่ “ใจ” เพราะใจเปน็ ใหญ่ในทกุ สิง่ ) และ

3. ปัญญา (ความรอบรู้ในกองแห่งสังขาร) พระธรรมทูตต้องใช้เทคนิคในการใช้

ปัญญา ต้องรู้จักในการแยกแยะในการใช้ปญั ญาน้ัน ต้องรอบรู้ในการปรงุ แตง่

สังขาร การจะเป็นธรรมทูตที่ดีนั้นต้องเข้าใจในสามัญญลักษณะ คือหลักไตร

ลักษณ์ อนั ได้แก่ อนิจฺจํ ทกุ ขมนตฺตา ไม่เทีย่ ง เปน็ ทกุ ขแ์ ละไม่มตี วั ตน

โลกกำลงั ภจญกับภยั ๓ อยา่ ง

1. โรคระบาด เชน่ โควดิ เป็นต้น

2. ทุพภิกขภัย ภยั จากการอดอยากทางเศรษกจิ

3. อมนุสสภยั มนุษยจ์ ะเปน็ ภยั ต่อกัน

งานของพระธรรมทตู มี ๔ ระดับ

1. ระดบั ชาวบา้ น หรอื พน้ื บา้ น (ทอ้ งที่)

2. ระดบั ส่วนตวั ระดับตา่ งสำนกั ท้งั หลาย

3. ระดบั ราชการ

4. ระดบั การทูต

เวลา 19.20 – 21.30 น.

กจิ กรรม ร่วมฟงั บรรยายภาควชิ าการ

สถานท่ี หอ้ งเธยี ร์เตอร์ D มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย

ภ า ร ก ิ จ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ เขา้ รว่ มรับฟงั การบรรยาย

มอบหมาย

เร่อื ง แผนพฒั นากิจการพระพทุ ธศาสนากับบทบามพระธรรทูต ยุค NEW Normal

บรรยายโดย พระเทพปวรเมธี รศ. ดร,อคั คมหาบัณฑิต, รองอธิการบดีฝ่ายบรหิ าร มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

เนอื้ หาการบรรยาย อานิสงคข์ องการฟงั 1. อสฺสุตํ สณุ าติ คอื ยอ่ มได้ฟงั สง่ิ ทยี่ งั ไม่เคยฟัง, ไดเ้ รียนรสู้ ิง่ ท่ียังไม่เคยเรียนรู้ 2. สุตํ ปรโิ ยทเปติ คอื สงิ่ ทีเ่ คยได้ฟัง ก็ทำให้แจ่มแจง้ เข้าใจชดั เจนยง่ิ ข้นึ 3. กงฺขํ วหิ นติ คือ แกข้ ้อสงสัยได้, บรรเทาความสงสัยเสยี ได้ 4. ทิฏฐฺ ึ อชุ ุ ํ กโรติ คือ ทำความเหน็ ใหถ้ กู ตอ้ งได้ 5. จิตฺตมสสฺ ปสที ติ คือ จิตของเขายอ่ มผอ่ งใส คาถาพระธรรมทูต จรถ ภิกขเว.....

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน