ม.ส โขท ยธรรมาธ ราช ร บสม ครน กศ กษา ป.ตร

รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ สู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

379.158 สำ�นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ส 691 ร รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ กรุงเทพฯ : 2563 200 หนา้ ISBN : 978-616-270-249-5 1. มาตรฐานการศึกษา-วิจัย 2. ช่อื เรือ่ ง รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดบั ที่ 14/2563 ISBN 978-616-270-249-5 พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 เมษายน 2563 จำ�นวนพิมพ ์ 1,000 เลม่ พิมพเ์ ผยแพรโ่ ดย กลุ่มมาตรฐานการศกึ ษา สำ�นักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้ สำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา 99/20 ถนนสโุ ขทยั เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ : 0 2668 7123 ต่อ 2528 โทรสาร : 0 2243 1129 Website : www.onec.go.th พิมพ์ที ่ บริษัท 21 เซ็นจรู ่ี จำ�กดั 19/25 หมู่ 8 ถนนเต็มรัก-หนองกางเขน ต�ำ บลบางคูรัด อ�ำ เภอบางบัวทอง จงั หวดั นนทบุรี 11110 โทรศพั ท์ : 0 2150 9676-8 โทรสาร : 0 2150 9679 E-mail : [email protected] Website : www.21century.co.th

ค�ำ น�ำ นับจากมาตรฐานการศึกษาของชาติผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 2 ตุลาคม 2561 สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้เร่งดำ�เนินการช้ีแจงแนวทางการดำ�เนินงานตามมาตรฐาน การศึกษาของชาติให้ทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีความเข้าใจอย่างชัดเจน ถูกต้องตรงกัน มาตรฐาน การศึกษาของชาติฉบับดังกล่าวเป็นข้อกำ�หนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์ของ คนไทย เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งยึดเป็นกรอบสำ�หรับการสร้างคนไทย 4.0 ท่ีแตกต่างตามบริบท ของทอ้ งถน่ิ และสถานศกึ ษา สามารถเปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ในการพฒั นาประเทศในทกุ มติ ิ โดยก�ำ หนดผลลพั ธ์ ทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นทเี่ หมาะสมตามชว่ งวยั ในแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษา และใชเ้ ปน็ เปา้ หมาย ในการสนับสนนุ สถานศึกษาให้สามารถด�ำ เนินการเพื่อใหเ้ กดิ ผลลัพธด์ งั กล่าว ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาตระหนักถึงความสำ�คัญและความจ�ำ เปน็ ดังกลา่ ว จึงร่วมกบั รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ คชสิทธ์ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และคณะวจิ ยั ด�ำ เนนิ การวจิ ยั แนวทางการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ใิ นระดบั นโยบาย การกำ�กับติดตาม การส่งเสริมสนับสนุน และระดับปฏิบัติ ท้ังจากหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง ของประเทศไทย และการศกึ ษาแนวการปฏิบัตจิ ากตา่ งประเทศทัว่ โลก 8 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ ญป่ี ุ่น แคนาดา ฟินแลนด์ เม็กซิโก โปรตุเกส ออสเตรเลีย และเยอรมนี ซ่ึงประเทศเหล่านี้ ล้วนเป็น ประเทศทม่ี รี ะบบการศกึ ษาและการบรหิ ารจดั การทดี่ ี ซง่ึ บางประเทศไมไ่ ดใ้ ชค้ �ำ วา่ “มาตรฐานการศกึ ษา ของชาต”ิ โดยตรงแตใ่ ชห้ ลกั สตู รหรอื แนวทางการจดั การศกึ ษาของชาตเิ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการจดั การศกึ ษา ขณะท่ีบางประเทศใช้ระบบมาตรฐานการศึกษาของชาติเป็นเครื่องมือกำ�หนดไว้ในกฎหมายการศึกษา ซ่ึงเป็นประโยชน์อย่างย่ิงสำ�หรับหน่วยงานและผู้ที่เก่ียวข้องกับการดำ�เนินงานมาตรฐานการศึกษา ทกุ ระดับ สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ คชสิทธ์ิ และคณะวิจัย ที่ได้ศึกษาเร่ืองระบบการศึกษา การบริหารจัดการ การประกันคุณภาพการศึกษา และการกำ�กับ ติดตาม เพ่ือส่งเสริมคุณภาพการศึกษาให้ได้ตามมาตรฐาน รวมท้ังเป็นแนวคิดให้กับผู้ปฏิบัติงาน ทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติของประเทศในการพัฒนาแนวทางการนำ�มาตรฐานการศึกษา ของชาตสิ ู่การปฏิบัตไิ ดอ้ ยา่ งครอบคลมุ สอดคล้อง เช่อื มโยง และเปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั (นายสุภทั ร จ�ำ ปาทอง) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา ก

บทสรุปผู้บรหิ าร สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดทำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 โดยผ่าน ความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ท่ี 2 ตลุ าคม 2561 มาตรฐานการศกึ ษาของชาตไิ ดร้ ะบคุ ณุ ลกั ษณะของ ผเู้ รยี น 3 ดา้ น ประกอบดว้ ย ผเู้ รยี นรู้ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม และพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ ซงึ่ เปน็ คณุ ลกั ษณะ สำ�คัญของคนไทย 4.0 ที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาของประเทศท่ีมุ่ง จดั การศกึ ษาใหค้ นไทยมคี ณุ ภาพ ในการกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาตนิ น้ั เนน้ ความสอดคลอ้ งกบั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ีสิบสอง พ.ศ. 2560 - 2564 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ซ่งึ เปน็ ไป เพอื่ มุ่งพัฒนาผ้เู รียนใหเ้ ป็นมนุษย์ท่สี มบรู ณ์ท้ังรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา เปน็ คนดี มวี ินัย ภูมใิ จในชาติ สามารถเชย่ี วชาญไดต้ ามความถนดั ของตนมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครวั ชมุ ชนสงั คมและประเทศชาติ เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพและความสามารถสูง พัฒนาตนอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งยังคาดหวังใหค้ นไทยท้งั ปวงไดร้ ับโอกาสเทา่ เทยี มกันทางการศกึ ษา สามารถ เปน็ ผู้ร่วมสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมได้ ด้วยตระหนักว่าการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่การปฏิบัติมีความสำ�คัญ เป็นหัวใจ ของการจัดการศึกษา ซ่ึงต้องมีความเกี่ยวข้อง เชื่อมโยง เป็นไปในแนวทางเดียวกันท้ังระบบ โดย เฉพาะการบริหารจัดการในลักษณะใหม่ การเช่ือมโยงและปรับเปล่ียนในส่วนของหลักสูตร การจัด การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และการประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผู้ปฏิบัติท่ีเก่ียวข้อง แต่ละเร่ืองต้องมีความเข้าใจในมาตรฐานการศึกษาท่ีกำ�หนดข้ึนอย่างชัดเจน รวมท้ังเข้าใจแนวทาง ในการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติด้วย สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงได้ จัดท�ำ โครงการศกึ ษาวิจยั แนวทางการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัตขิ ึน้ โดยมจี ดุ ประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติในระดับนโยบาย การกำ�กับ ติดตาม การส่งเสริมสนับสนุน และระดับปฏิบัติ โดยศึกษาวิเคราะห์บทเรียนจากต่างประเทศเก่ียวกับ กลไกการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติ ด้วยการศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษา และ การน�ำ มาตรฐานสูก่ ารปฏิบัตใิ นปจั จบุ นั ของประเทศท่ีมแี นวปฏิบตั ิที่ดี ผลการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของต่างประเทศ 8 ประเทศ คือ สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ฟนิ แลนด์ แคนาดา ออสเตรเลยี เยอรมนี โปรตุเกส และเมก็ ซิโก สรปุ ได้ดังน้ี ข

 กลไกการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องตา่ งประเทศในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา 1) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ทกุ ประเทศสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาปฐมวยั โดยไมเ่ ปน็ การศึกษาภาคบังคบั ยกเว้นประเทศเมก็ ซิโกท่เี ดก็ ทุกคนตอ้ งเข้าเรียนในระดบั การศกึ ษาปฐมวัยถือเป็น ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน หลักสตู รการศึกษาระดบั ปฐมวยั มีความยดื หย่นุ สูง จุดหมายส�ำ คัญ คือ การเตรียมเด็กใหม้ คี วามพร้อมในการเข้าเรียนในโรงเรยี น และพฒั นาเด็กไดเ้ ตม็ ศักยภาพ โดยเนน้ การจัดประสบการณ์ท่ีดีในสิ่งแวดล้อมและบริบทต่างๆ หลากหลายรูปแบบ ให้เด็กพัฒนาอย่างเป็น องคร์ วมตามธรรมชาติ ทกุ ประเทศท่ศี กึ ษา ล้วนก�ำ หนดนโยบายการจดั การศกึ ษาปฐมวยั อยา่ งมสี ่วนร่วม จากภาคสว่ นตา่ งๆ ทัง้ ชมุ ชน มูลนธิ ิ องค์กรเอกชนและครอบครัว 2) ระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ทุกประเทศกำ�หนดเปน็ การศึกษาภาคบงั คบั แตก่ �ำ หนด จ�ำ นวนปกี ารศกึ ษาแตกตา่ งกนั การก�ำ หนดกรอบหลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา มงุ่ พฒั นา สมรรถนะของคนให้สามารถเผชิญความท้าทายในอนาคต โดยกำ�หนดกรอบหลักสูตรด้านโครงสร้าง เน้ือหา กิจกรรมหลกั เพื่อส่งเสริมสมรรถนะ ทักษะในศตวรรษท่ี 21 หรอื คณุ ค่าหลกั (Core Value) ทงั้ นี้ โครงสรา้ งเนอ้ื หาประกอบดว้ ย กลุม่ ภาษา คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ เป็นพน้ื ฐานในการพฒั นา ความส�ำ เร็จในชวี ติ 3) ระดบั การอาชวี ศึกษา ประเทศท่ีจดั การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาไดโ้ ดดเดน่ ไดแ้ ก่ เยอรมนี ออสเตรเลีย และสิงคโปร์ ประเทศเหล่านี้มีการสนับสนุน สร้างความร่วมมือ และการควบคุมที่มีความเหมือน หรอื สอดคล้องกัน คือ  ความรว่ มมืออย่างเข้มแข็งระหว่างสถาบันการศึกษากับสถานประกอบการ ภาคอตุ สาหกรรม ภาคธรุ กจิ เยอรมนมี ีรูปแบบทวภิ าคี คือ เรียนทฤษฎีในโรงเรียน ฝกึ งานในโรงงานซ่ึงก�ำ หนดมาตรฐาน การทำ�งานท่ีชัดเจน ขณะท่ีออสเตรเลียกำ�หนดให้รัฐและเอกชนร่วมกันพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา สว่ นสงิ คโปรม์ หี ลกั สตู ร Polytechnic และหลกั สตู รส�ำ หรบั Institutes of Technological Education (ITE) ทสี่ ถานประกอบการหรอื ภาคอุตสาหกรรมมีสว่ นรว่ มทง้ั การพฒั นาหลกั สูตรและการเรียนการฝึกงาน  การมีนโยบายทช่ี ดั เจนในการพฒั นาการศกึ ษาให้มีคุณภาพ และมคี วามเทา่ เทยี ม และ / หรือ นโยบายที่จะพัฒนาคนให้มีความสามารถสูง เยอรมนีมีนโยบายพัฒนาคนให้มีความสามารถสูง มีกฎหมายพ้ืนฐานให้สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคในการศึกษา มุ่งพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ที่จะขับเคล่ือนประเทศ ส่วนออสเตรเลียยึดหลักการความเท่าเทียม และความเป็นเลิศ มีนโยบาย การจดั ระบบการศึกษาเพอ่ื ฝกึ ทกั ษะในการทำ�งาน สามารถแขง่ ขันระดบั โลกได้ และสิงคโปร์มนี โยบาย ขบั เคลอื่ นการศกึ ษา พัฒนาประชาชนที่มีบุคลกิ ภาพดี เปน็ พลเมืองทีด่ ีมคี ณุ คา่ 4) ระดบั การอดุ มศกึ ษา ประเทศทจ่ี ดั การศกึ ษาระดบั การอดุ มศกึ ษาไดด้ ี ไดแ้ ก่ เยอรมนี ออสเตรเลยี แคนาดา ฟินแลนด์ ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ ประเทศเหล่านี้ให้อิสระสูงมากแก่มหาวิทยาลัยในการพัฒนา หลักสูตร และให้ความสำ�คัญต่อคุณภาพของบัณฑิต ทุกประเทศมีกรอบมาตรฐานคุณภาพ (Quality Framework) ซ่ึงสามารถบังคับใช้เป็นเกณฑ์กำ�หนดคุณสมบัติผู้สำ�เร็จการศึกษา วุฒิการศึกษาต่างๆ รวมทั้งสง่ เสรมิ ใหม้ หาวทิ ยาลัยรว่ มกันจดั อนั ดับมหาวทิ ยาลยั ในระดบั โลก ค

 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ 1) การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ พบว่า ประเทศท่ีมีการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษา ของชาตไิ วช้ ดั เจน ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ ญปี่ นุ่ ฟนิ แลนด์ ออสเตรเลยี ประเทศทใ่ี ชแ้ นวคดิ จากสภายโุ รปก�ำ หนด ความสามารถหลักสำ�หรบั ผูเ้ รียน ได้แก่ โปรตุเกส เยอรมนี เม็กซโิ ก และประเทศทีก่ ำ�หนดแนวคดิ ส�ำ คญั ท่ีใช้เป็นพ้ืนฐานในการพัฒนาการศึกษาสำ�หรับอนาคตของผู้เรียน โดยแต่ละรัฐมีอิสระท่ีจะออกแบบ มาตรฐาน รวมทั้งมาตรการและแนวทางในการส่งเสริมการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำ�หนดไว้ ไดแ้ ก่ แคนาดา ซ่งึ สรปุ แนวทางในการกำ�หนดมาตรฐาน ได้ 3 แนวทาง ดงั นี้  แนวทางท่ี 1 รฐั บาลดำ�เนนิ การก�ำ หนดมาตรฐานแหง่ ชาติ  แนวทางที่ 2 รฐั บาลก�ำ หนดเปา้ หมายรว่ ม (Common Value) ระดบั ชาตใิ หผ้ มู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ใช้เป็นเป้าหมายคุณภาพอันพึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดการดำ�เนินการที่หลากหลาย แต่มีเป้าหมายไปใน ทางเดียวกัน เอ้ือใหเ้ กิดการระดมทรพั ยากรและการทำ�งานร่วมกนั ทีย่ ดื หยนุ่  แนวทางที่ 3 รัฐบาลไมไ่ ดก้ �ำ หนดมาตรฐานหรือเปา้ หมายร่วมกันทีช่ ดั เจน แตเ่ ปดิ โอกาส ให้หน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษาในทุกระดับและประเภทได้ดำ�เนินการกำ�หนดมาตรฐาน ตามบริบทของตนเอง โดยมีการกำ�หนดหน่วยงานที่รับผิดชอบในการขับเคล่ือนการนำ�มาตรฐาน การศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ 3 รปู แบบ ดงั น้ี รปู แบบที่ 1 มหี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการก�ำ หนดมาตรฐาน การศึกษาของชาติและเป็นผู้ขับเคลื่อนโดยตรง รูปแบบท่ี 2 มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการกำ�หนด มาตรฐานกลาง โดยมอบหมายให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในแต่ละฝ่ายไปดำ�เนินการตามบริบทและ จดุ ม่งุ หมายของตนเอง และรปู แบบที่ 3 ไม่มีหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบโดยตรง 2) การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตแิ ตล่ ะระดบั สกู่ ารพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาและการประเมนิ ผล สรปุ ได้ดงั นี้ การก�ำ หนดนโยบายเพอื่ เชอ่ื มโยงมาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารพฒั นาหลกั สตู ร สว่ นใหญ่ มีการกำ�หนดนโยบาย กฎหมาย และยุทธศาสตร์ในการสนับสนุนการนำ�มาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับต่างๆ มีหน่วยงานและคณะกรรมการท่ีมีหน้าท่ีส่งเสริม กำ�กับ ติดตามการพัฒนาหลักสูตร การวัดและประเมินผล และการประกันคุณภาพตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของชาติ ส่วนใหญ่ รัฐบาลกลางหรือรัฐกำ�หนดกรอบโครงสร้างหลักสูตรด้านเน้ือหา ด้านคุณค่า หรือด้านทักษะสำ�คัญ กรอบโครงสร้างหลักสูตร เน้นมาตรฐานชาติ เน้นสมรรถนะและทักษะในศตวรรษที่ 21 ส่วนกลาง กำ�หนดกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กำ�หนดข้ันตอนหลัก และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาพัฒนา หลักสูตรเอง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในประเทศที่มีหลายรัฐนั้น รัฐบาลกลาง เป็นผู้กำ�หนดนโยบายหลักด้านการศึกษา ส่วนระดับรัฐและเขตปกครองพิเศษ มีนโยบายเพิ่มเติม และดูแลการพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา รวมท้ังกำ�หนดกรอบนโยบายและแนวทางการดำ�เนินการ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดผลลพั ธต์ ามที่หลกั สตู รก�ำ หนด ง

 การเชอื่ มโยงมาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารพัฒนาหลกั สูตรมี 2 แนวทาง คือ แนวทางที่ 1 มีการกำ�หนดกรอบมาตรฐานหลักสูตรที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา ของชาติจากรัฐบาลกลางหรือรัฐแต่ละรัฐ โดยทุกประเทศที่มีการกำ�หนดกรอบมาตรฐานหลักสูตร จะมีการกำ�หนด 2 ส่วนหลักที่เหมือนกันในหลักสูตร คือ ส่วนท่ีเป็นคุณค่าหลัก (Core Value) หรือ สมรรถนะ (Capabilities) และส่วนท่เี ป็นโครงสร้างเนือ้ หา (Learning Areas) แนวทางท่ี 2 มีหลักสูตรค่อนข้างหลากหลาย ยืดหยุ่น อาทิ ฟินแลนด์หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานค่อนข้างยืดหยุ่น หลักสูตรของโรงเรียนเป็นแบบประสมท่ีมีหลักสูตรผสมผสานสายสามัญ กบั สายอาชพี เนอ่ื งจากความหลากหลายของประชากร ขณะทแ่ี คนาดามหี ลกั สตู รทหี่ ลากหลาย ยดื หยนุ่ เพราะแตล่ ะรฐั รบั ผดิ ชอบการศกึ ษาของตน ส�ำ หรบั การอาชวี ศกึ ษา และระดบั การอดุ มศกึ ษา มหี ลกั สตู ร ที่หลากหลาย ม่งุ เน้นทักษะและการประกอบอาชีพ รวมท้งั รว่ มมือกบั สถานประกอบการ มีการฝึกอบรม ท่ีตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของชุมชน และมีหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพ เช่น หลักสูตร ฝึกอบรมก่อนการทำ�งาน หลักสูตรฝึกทักษะระดับกลาง ส่วนเยอรมนีและออสเตรเลียมีการกำ�หนด คุณสมบัตสิ มรรถนะ และระดับทกั ษะของผไู้ ด้รับการศึกษาอาชวี ศกึ ษา 3) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทุกประเทศมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้น ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะและค่านิยมตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยส่วนใหญ่จะมุ่งเน้น ด้านทักษะในศตวรรษท่ี 21 เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียน สามารถเรียนรู้วิธีเรียนซึ่งเป็นทักษะชีวิต ท่ีส่ังสม ส่งผลให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิตมุ่งสู่การพัฒนาการคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีเหตุผล การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ทกั ษะการสอ่ื สาร ทกั ษะการสรา้ งความสมั พนั ธ์ มงุ่ สคู่ ณุ สมบตั ใิ นการท�ำ ได้ ด้วยตัวเอง และมีความรับผิดชอบ ทั้งนี้ในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา มีจุดเน้นในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนท่แี ตกตา่ งกัน ดังนี้ ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั เนน้ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การปฏสิ มั พนั ธ์ การเล่น และการสบื เสาะความรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา เนน้ ใหส้ รา้ งความรดู้ ว้ ยตนเอง และเรยี นรจู้ ากการท�ำ โครงงาน สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ สมรรถนะ พฒั นาความเข้มแข็งในการอา่ น การเขียน คณติ ศาสตร์ และการคน้ ควา้ ระดบั มธั ยมศกึ ษา เนน้ การใชว้ ธิ กี ารใหมๆ่ ใชส้ อื่ ดจิ ทิ ลั เปน็ ชอ่ งทางในการสอื่ สาร เพอื่ จดั การเรยี น การสอน พฒั นารายบคุ คล พฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ และทกั ษะการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองเนน้ การคดิ ระดบั สงู ระดบั อาชวี ศกึ ษา เรยี นวชิ าในโรงเรียนควบคกู่ ับภาษา ฝกึ ปฏบิ ตั ิในสถานประกอบการ โรงงาน บริษัท หา้ งรา้ น 4) การวัดและประเมินผล โรงเรียนรับผิดชอบการวัดและประเมินผู้เรียนโดยครูรับผิดชอบ ในการประเมนิ ผู้เรยี นรายบคุ คล บางโรงเรียนอาจจัดสอบเฉพาะวิชาหลัก เชน่ การประเมนิ ในฟนิ แลนด์ โรงเรยี นตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นของผเู้ รยี น หากผเู้ รยี นไดค้ ะแนนไมด่ ใี นหลายๆ วชิ า ผ้บู ริหาร ครู และผปู้ กครองตอ้ งรว่ มมือกนั ชว่ ยเหลือผูเ้ รยี น จ

ทง้ั นม้ี ปี ระเดน็ ทน่ี า่ สนใจเกย่ี วกบั การวดั และประเมนิ ผลในแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษาดงั นี้ ระดับประถมศึกษา เนน้ การวัดและประเมนิ ผล เพ่อื ใหข้ ้อมูลในส่วนการพฒั นาสมรรถนะผูเ้ รยี น (Competency -Oriented Feedback) ไมเ่ นน้ การสอบทม่ี กี ารแขง่ ขนั สงู รวมทง้ั ใชว้ ธิ วี ดั จากการแสดงออก โดยการพดู มากกว่าการสอบอย่างเป็นทางการ ระดับมัธยมศึกษา ผู้เรียนอายุ 15 ปี เข้าสู่โปรแกรมการสอบ PISA และมีการกำ�หนดกรอบ การประเมินผลการปฏิบตั ิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายการอาชวี ศกึ ษาเนน้ ความรว่ มมอื กบั สถานประกอบการในการประเมนิ ทักษะผู้เรียน ส่วนใหญ่มีการทดสอบตามมาตรฐานและมีการประเมินระดับชาติท่ีดำ�เนินการ โดยคณะกรรมการหรือหน่วยงานของรฐั  แนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษา จากการศกึ ษาพบวา่ ทกุ ประเทศมรี ะบบการประกนั คณุ ภาพทม่ี กี ารเชอ่ื มโยงกบั มาตรฐานการศกึ ษา ของชาติ มีการกำ�หนดกลไกในการขบั เคลอ่ื นระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นา อยา่ งต่อเนือ่ งและชัดเจน เช่ือมโยงกับกรอบคณุ วุฒแิ ละมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมกี ารก�ำ หนด ระยะเวลาที่เหมาะสมในการประกันคุณภาพ และมีการระบุให้มีการนำ�ผลจากการประกันคุณภาพ ท้ังภายในและภายนอกไปใช้ปรับปรุงพัฒนา ทั้งระดับนโยบาย การจัดการศึกษา รวมท้ังการวัดและ ประเมิน มีการนำ�ผลจากการวิจัยและพัฒนาเป็นฐานสำ�หรับนำ�ไปพัฒนาจุดแข็งและแก้ไขปรับปรุง จดุ ออ่ น ซงึ่ การวจิ ยั ชว่ ยใหม้ ขี อ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจเชงิ นโยบายและวางแผนการศกึ ษา และใชเ้ ปน็ แนวทางในการกำ�กับควบคุมคุณภาพการศึกษาของแต่ละระดับโดยผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงาน ที่ทำ�หน้าที่ในการประกันคุณภาพจะให้คำ�แนะนำ�เพ่ือพัฒนา สนับสนุน มากกว่าการตรวจสอบ หรือควบคมุ การประกนั คณุ ภาพภายในและการประกนั คุณภาพภายนอก แบ่งเปน็ 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางท่ี 1 การประกันคุณภาพภายในดำ�เนินการโดยสถาบันการศึกษาเอง ส่วนการประกัน คุณภาพภายนอกมีหนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบโดยตรง ประเทศท่ใี ช้แนวทางน้ี ไดแ้ ก่ โปรตุเกส เยอรมนี แนวทางท่ี 2 มีระบบการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอก โดยมีหน่วยงานท่ีจัดตั้งข้ึน จากภาครฐั หรอื หนว่ ยงานทร่ี ฐั บาลใหก้ ารรบั รองรว่ มด�ำ เนนิ การประกนั คณุ ภาพ ซง่ึ ประเทศทด่ี �ำ เนนิ การ โดยหนว่ ยงานทขี่ นึ้ ตรงกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยตรง ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ และประเทศทอ่ี าศยั ความรว่ มมอื ในการดำ�เนินการประกนั คุณภาพจากหนว่ ยงานหลายภาคส่วน ได้แก่ ญ่ีปุ่น เม็กซิโก ออสเตรเลยี แนวทางท่ี3ไมม่ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายในทกุ ระดบั การศกึ ษาแตม่ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพ ภายนอก โดยใหค้ วามส�ำ คญั กบั การพฒั นาครผู สู้ อน ใหค้ วามไวว้ างใจและเสรภี าพในการจดั การศกึ ษา ท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิและมาตรฐานการศึกษาของชาติท่ีกำ�หนดไว้ และมีนโยบายในการสนบั สนนุ ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ก�ำ หนด ประเทศท่ีมีการด�ำ เนินการตามแนวทางนี้ ได้แก่ ฟินแลนด์ ฉ

 แนวทางการก�ำ กบั ตดิ ตามการประเมนิ เพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษาให้ไดต้ ามมาตรฐาน จากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่มีระบบการกำ�กับติดตามท่ีเข้มแข็ง โดยมีหน่วยงานท่ีมีส่วนร่วม ในการกำ�กับตดิ ตามหลายภาคสว่ นและมกี ารดำ�เนินการหลายแนวทาง ดงั นี้ 1) แนวทางการก�ำ กบั ตดิ ตามในแตล่ ะระดบั จากการศกึ ษาพบวา่ ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั การก�ำ กบั ติดตามและประเมินผลมีอิสระสูง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง หรือหน่วยงานที่มีส่วน ในการรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สถานศกึ ษามรี ะบบความรว่ มมอื กบั หลายภาคสว่ น และมีการกำ�หนดบทบาทของรัฐบาลกลางและท้องถ่ินที่ชัดเจน มีการให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมในโรงเรียน การอาชีวศึกษา มีระบบการกำ�กับติดตามโดยใช้หลักการการมีส่วนร่วม ของหน่วยงานผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และคำ�นึงถึงความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน เปน็ หลกั การจดั การศกึ ษาจงึ เนน้ เรอ่ื งของการพฒั นาสอู่ าชพี เนน้ การพฒั นาทกั ษะและสมรรถนะทจ่ี �ำ เปน็ และเป็นการดำ�เนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานทางการศึกษากลาง และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ด้านการอาชีพ ระดับการอุดมศึกษา มีการกำ�หนดบทบาทผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจนโดยมีรูปแบบ ของการก�ำ กบั ติดตาม แบบมสี ่วนรว่ มของผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ ง 2) มีการกำ�หนดหน่วยงานรับผิดชอบในการกำ�กับติดตามและการประเมินเพื่อส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานไว้อย่างชัดเจน ท้ังที่กำ�หนดบทบาทหน้าที่โดยตรง และบทบาทหน้าที่ แบบมีส่วนรว่ มของฝ่ายตา่ งๆ ทเ่ี ก่ยี วข้อง ซง่ึ มี 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางท่ี 1 มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการกำ�กับติดตามและประเมินเพ่ือส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานโดยตรง ซ่ึงอาจจะมอบหมายบทบาทหน้าที่ให้กับหน่วยงานท่ีมีอยู่เดิม หรอื อาจเปน็ การจดั ตงั้ สถาบนั เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเปน็ การเฉพาะเพ่ิมเตมิ ขึน้ ใหม่ แนวทางที่ 2 มีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการกำ�กับติดตามและประเมินเพื่อส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานโดยการกระจายอำ�นาจในการกำ�กับติดตามและประเมินให้กับ หน่วยงานส่วนภูมิภาค หรือท้องถิ่นให้มีส่วนร่วมในการกำ�กับติดตามและประเมินดังกล่าวเพื่อให้บรรลุ ตามกรอบคณุ ภาพทกี่ ำ�หนด แนวทางที่ 3 ไมม่ หี นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในการก�ำ กบั ตดิ ตามโดยตรง แตม่ กี ารท�ำ งานบนพน้ื ฐาน ของความไว้วางใจ ทำ�ให้เกิดความเชื่อม่ันในการจัดการศึกษา โดยหน่วยงานที่เก่ียวข้องทำ�หน้าท่ี ในการสนบั สนนุ สง่ เสรมิ เพอื่ ใหเ้ กดิ การจดั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพบรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ  ภาพรวมของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิท้ัง 8 ประเทศ จากการศกึ ษา พบวา่ 1) ทุกประเทศมีการกำ�หนดนโยบายและเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไว้อย่างชัดเจน โดยมุ่งพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีสมรรถนะท่จี �ำ เปน็ และก�ำ หนดคุณค่าหลกั (Core Value) ที่สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียน มีทักษะท่จี �ำ เป็นในศตวรรษที่ 21 เพอ่ื การพัฒนาการศกึ ษาให้มีคณุ ภาพ มีความเทา่ เทยี ม มุ่งพฒั นาคน ให้มคี วามสามารถสงู เพอื่ ขับเคลื่อนประเทศ โดยแต่ละประเทศมกี ารกำ�หนดผู้รบั ผิดชอบไว้อยา่ งชัดเจน ช

และสนบั สนนุ ให้เกิดความรว่ มมือในการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษา เช่น ประเทศเม็กซิโกมีการกำ�หนด มาตรฐานการศึกษาแบบมีส่วนร่วม โดยร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสำ�คัญ จัดทำ�ประชาพิจารณ์ เพอื่ ก�ำ หนดมาตรฐาน มนี โยบายใหท้ กุ ฝา่ ยรว่ มมอื กนั ในการจดั การศกึ ษา ทงั้ ชมุ ชน มลู นธิ ิ องคก์ รเอกชน รวมท้งั ผูป้ กครองเขา้ มามีส่วนรว่ มและรบั ร้ใู นมาตรฐานการศกึ ษาท่กี ำ�หนดไว้ 2) มีนโยบายส่งเสริมการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่การปฏิบัติด้านหลักสูตร การเรียน การสอน และระบุคุณสมบัติผู้เรียนที่ชัดเจน บางประเทศใช้กลยุทธ์เพ่ือเพ่ิมคุณภาพการศึกษาและ สง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนเกดิ ผลลพั ธ์ท่ีพึงประสงคต์ ามมาตรฐานการศึกษาของชาติ 3) มกี ารจดั ตงั้ หนว่ ยงานหรอื คณะกรรมการทสี่ ง่ เสรมิ การท�ำ งานเพอื่ สนบั สนนุ การพฒั นา การก�ำ กบั ตดิ ตามและประเมนิ หลกั สตู รการวจิ ยั ผลการประเมนิ เพอื่ ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงตลอดจนการน�ำ มาตรฐาน สกู่ ารปฏบิ ัติท้ังระดับรัฐบาลกลาง และระดบั รัฐ / ท้องถิน่ 4) มีการกระจายอำ�นาจจากส่วนกลางและกำ�หนดบทบาทท่ีชัดเจน โดยรัฐทำ�หน้าท่ีส่งเสริม การนำ�มาตรฐานสู่การปฏิบัติ การติดตามและประเมินผลการศึกษา ท้องถิ่นรับผิดชอบการดำ�เนินการ ในระดบั สถานศกึ ษา ซงึ่ สถานศกึ ษาสามารถสรา้ งมาตรฐานทส่ี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ตามบริบทของตนเองได้ เช่น ประเทศญีป่ ุน่ มีการสง่ เสริมให้มาตรฐานบรรลเุ ปา้ หมาย โดยรฐั บาลกลาง ออกมาตรการและแนวทางในด้านตา่ งๆ ท�ำ งานร่วมกนั อยา่ งเป็นระบบ 5) ใช้กรอบสมรรถนะกำ�หนดมาตรฐานในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา และประเมินผล ตามสมรรถนะของผ้เู รียน เน้นเช่ือมโยงการเรยี นสูก่ ารนำ�ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ การทำ�งาน 6) มีระบบการประกันคุณภาพท่ีเข้มแข็ง โดยในโปรตุเกสจะมีหน่วยงานท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง จากทุกภาคสว่ นเข้ารว่ มในการก�ำ กบั ตดิ ตามและการจัดการศึกษา 7) มรี ะบบการก�ำ กบั ตดิ ตามโดยมหี นว่ ยงานทมี่ สี ว่ นรว่ มในการก�ำ กบั ตดิ ตามหลายภาคสว่ น ไดแ้ ก่ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี คณะกรรมการกลางของรัฐ ดา้ นการจดั การศึกษา และสภายโุ รป 8) พัฒนาการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาควบคู่ท้ังด้านผู้เรียน ครู ส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน และการบรหิ ารจัดการ 9) มีระบบการพัฒนาครูที่มีคุณภาพสูง เน้นการพัฒนาครูให้มีคุณภาพในด้านเทคนิคและกลวิธี ในการสอน การคัดเลือกครูด้วยเกณฑ์คุณภาพสูง ครูได้รับความไว้วางใจและมีเสรีภาพในการจัด การเรียนการสอน สามารถเลือกวิธีการสอนของตนเอง มีอิสระในการเลือกวิธีการ อุปกรณ์และสื่อ ในการจดั การเรียนรใู้ นห้องเรยี น รวมทั้งครูมีการพัฒนาตนเองอยเู่ สมอ ซ

สารบญั หน้า คำ�น�ำ ก บทสรปุ ผ้บู รหิ าร ข สารบญั ฌ การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องตา่ งประเทศ : ประเทศแคนาดา 1 ข้อมลู ท่ัวไป 1 ระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษา 2 แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดบั 4 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั ิ 10 การประกนั คุณภาพการศึกษา 13 การก�ำ กับ ตดิ ตาม ประเมินเพ่ือส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา 16 สรปุ สาระส�ำ คัญของการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัต ิ 19 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องตา่ งประเทศ : สาธารณรัฐฟนิ แลนด์ 25 25 ขอ้ มูลทว่ั ไป 26 ระบบการศกึ ษาและการบริหารการศกึ ษา 35 แนวทางการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษา 38 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ัต ิ 41 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 43 การกำ�กบั ติดตาม ประเมนิ เพอื่ ส่งเสริมคณุ ภาพการศกึ ษา 46 สรุปสาระส�ำ คญั ของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ฌ

สารบญั (ต่อ) การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏบิ ัติของตา่ งประเทศ : ประเทศญีป่ ่นุ หน้า 53 ขอ้ มลู ท่ัวไป ระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษา 53 กฎหมายและนโยบายส�ำ คัญด้านการศกึ ษา 54 หลกั สตู รการศกึ ษา 56 การนำ�มาตรฐานการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 57 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 60 การกำ�กบั ตดิ ตาม ประเมินเพอ่ื ส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา 65 สรปุ สาระส�ำ คญั ของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏิบัต ิ 66 68 การนำ�มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิของต่างประเทศ : สาธารณรัฐโปรตเุ กส 73 73 ข้อมูลทว่ั ไป 74 ระบบการศึกษา 76 หน่วยงานการศึกษาในโปรตเุ กส 76 แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษา 78 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏิบตั ิ 81 การประกันคณุ ภาพการศึกษา 83 การกำ�กบั ตดิ ตาม ประเมนิ เพ่อื ส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา 85 สรปุ สาระส�ำ คญั ของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาส่กู ารปฏิบตั ิ ญ

สารบญั (ต่อ) การนำ�มาตรฐานการศึกษาสูก่ ารปฏิบตั ิของต่างประเทศ : สหรฐั เม็กซิโก หนา้ 87 ข้อมูลท่วั ไป ระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษา 87 แนวทางการกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษา 88 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิ 92 การประกันคุณภาพการศกึ ษา 95 การกำ�กับ ติดตาม ประเมินเพอื่ สง่ เสรมิ คุณภาพการศกึ ษา 105 สรุปสาระสำ�คญั ของการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏบิ ัต ิ 108 111 การนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบตั ขิ องตา่ งประเทศ : สาธารณรฐั สิงคโปร ์ 113 113 ข้อมลู ทั่วไป 114 ระบบการศึกษาและการบริหารการศกึ ษา 116 มาตรฐานการศกึ ษาของประเทศสิงคโปร์ 117 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ (DOE) เปน็ กรอบในการพัฒนาหลกั สูตรการศกึ ษา 125 และการประเมินผล 126 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา การก�ำ กบั ติดตาม ประเมินเพ่ือสง่ เสรมิ คุณภาพการศึกษา ฎ

สารบญั (ต่อ) หนา้ การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิของตา่ งประเทศ : สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี 127 127 ข้อมลู ทัว่ ไป 128 ระบบการศึกษาและการบรหิ ารการศึกษา 131 แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษา 134 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสูก่ ารปฏิบตั ิ 142 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 146 การกำ�กบั ติดตาม ประเมินเพื่อส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา 148 สรุปสาระส�ำ คญั ของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาส่กู ารปฏบิ ตั ิ การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ขิ องต่างประเทศ : เครือรัฐออสเตรเลยี 149 ขอ้ มูลท่วั ไป 149 ระบบการศกึ ษาและการบริหารการศึกษา 150 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏบิ ัต ิ 159 การประกนั คุณภาพการศึกษา ก�ำ กับ ติดตาม ประเมินเพ่ือส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษา 162 สรุปสาระสำ�คัญของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 164 บทสรุป 168 เอกสารอ้างองิ 176 คณะผู้จัดท�ำ 183 ฏ

การนำ�มาตรฐานการศึกษา สกู่ ารปฏิบตั ิของตา่ งประเทศ : ประเทศแคนาดา ข้อมลู ทวั่ ไป ประเทศแคนาดา ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก มีประชากร ประมาณ 36 ล้านคน ซ่ึงอพยพมาจากหลากหลายประเทศ และมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในระบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy) โดยมีรูปแบบการปกครองเป็นแบบสมาพันธรัฐ (Confederation) ประกอบด้วยรัฐ (Province) 10 รัฐ และเขตการปกครองพิเศษ (Territories) 3 เขต ซึ่งในแต่ละรัฐมีรัฐบาลของตนเองและมีกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ดูแลจัดการศึกษา ส่วนรัฐบาลกลาง (The Federal Government) รับผิดชอบการจัดการศึกษาเฉพาะ The Royal Military College of Canada และให้การสนับสนุนทุนการศึกษาแก่คนพ้ืนเมือง (Indigenous) ประเทศแคนาดา ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ (ร้อยละ 67) และภาษาฝรั่งเศส (ร้อยละ 13 ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในรัฐ Quebec) ที่เหลือร้อยละ 20 ใช้ภาษาที่เป็นชาติพันธุ์ของตนเอง ซึ่งไม่ใช่ภาษาอังกฤษและฝร่ังเศส สถาบันการศึกษาระดับสูงบางแห่งสอนเป็น 2 ภาษา เช่น มหาวทิ ยาลัย Ottawa และมหาวิทยาลัย Laurentian ในศตวรรษที่ 18 และ 19 การศกึ ษาของแคนาดา ได้รับอิทธิพลภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสและอังกฤษ แต่ต่อมาในศตวรรษที่ 20 ได้รับอิทธิพล มากขึ้นจากประเทศสหรัฐอเมริกา ดังนั้น ระบบการจัดการศึกษาของประเทศแคนาดาโดยเฉพาะระดับ ประถมศึกษา จึงคล้ายกบั ระบบของอเมรกิ า รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 1 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระบบการศึกษาและการบริหารการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการของแตล่ ะรัฐ และเขตการปกครองพเิ ศษ เป็นผูก้ �ำ หนดนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาของตนเอง สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนต้ังแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับ ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา ระดบั อาชีวศึกษาและระดบั อดุ มศกึ ษา มมี าตรฐานการศึกษาของตนเอง และมีกรรมการโรงเรียน / สถาบันการศึกษาระดับท้องถิ่น (District School Boards) ดูแลการบริหาร โปรแกรมการศึกษา ท้ังน้ี การบริหารการศึกษาของแต่ละรัฐล้วนมีมาตรฐานสูงอยู่ในระดับเดียวกัน และมีการจัดระบบการศึกษาท่ีคล้ายคลึงกัน เนื่องจากมีการประสานความร่วมมือทางด้านวิชาการ ของคณาจารย์ และสถาบนั การศกึ ษาต่างๆ รวมทงั้ คณะกรรมการบรหิ ารการศกึ ษา ในปี ค.ศ. 2016 ประเทศแคนาดามีผู้จบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยสูงถึงร้อยละ 55 ซึ่งสูงที่สุดในโลกเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉล่ียของประเทศอื่นๆ ในกลุ่มประเทศ OECD จึงเป็นผู้นำ� ด้านการอุดมศึกษา และมีขีดความสามารถในการผลิตแรงงานท่ีมีทักษะสูง ย่ิงไปกว่านั้น แคนาดา มผี ลการสอบ PISA อยใู่ นระดบั Top 10 ในวิชาคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และการอา่ น โดยถา้ นบั เฉพาะ รฐั อัลเบอร์ตา บรทิ ชิ โคลมั เบีย และควเิ บค คะแนน PISA จะอยู่ในระดบั Top 5 การบริหารการศึกษาของแคนาดา แบ่งเป็น 3 ระดบั ดังน้ี 1) รฐั บาลกลาง รบั ผดิ ชอบเฉพาะการจดั การศกึ ษาของ The Royal Military College of Canada (RMC) 2) รฐั บาลของรฐั (Provincial Government) โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรับผดิ ชอบก�ำ หนดนโยบาย และมาตรฐานการศกึ ษาของรฐั 3) รัฐบาลท้องถิ่น (Local Government) โดยคณะกรรมการโรงเรียนประจำ�ท้องถิ่นรับผิดชอบ จดั การศึกษาตามหลักสตู รที่รฐั กำ�หนด โดยปกติ โรงเรียนท่ีรัฐสนับสนุนงบประมาณ (public funded school) จะได้รับการดูแลจากรัฐ โดยแตล่ ะทอ้ งถนิ่ มคี ณะกรรมการโรงเรยี นประจ�ำ ทอ้ งถนิ่ ซง่ึ ด�ำ เนนิ การจดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รทร่ี ฐั ก�ำ หนด ยกเว้นรฐั อลั เบอร์ตาซง่ึ ใหก้ รรมการสทิ ธิพิเศษของโรงเรยี น (public charter school) สามารถจัดการศึกษา ไดอ้ ยา่ งอสิ ระไมต่ อ้ งขนึ้ กบั กรรมการโรงเรยี นประจ�ำ ทอ้ งถน่ิ สามารถรายงานผลการศกึ ษาโดยตรงไปยงั รฐั ไดเ้ ลย ระบบหรอื โครงสรา้ งการศกึ ษาของประเทศแคนาดา แตล่ ะรฐั ด�ำ เนนิ การแตกตา่ งกนั ไป แตโ่ ดยรวม สามารถแบ่งออกเป็น 6 ระดบั ได้แก่ 1) ระดับการศึกษาปฐมวัย ใช้เวลาเรยี น 1 - 2 ปี 2) ระดับประถมศึกษา ใชเ้ วลาเรยี น 6 ปี 3) ระดบั มัธยมศึกษา ใช้เวลาเรยี น 6 ปี 4) ระดบั ปรญิ ญาตรี ใชเ้ วลาเรยี น 3 - 4 ปี และมใี หเ้ ลอื กเรยี นระดบั ประกาศนยี บตั ร (Certificate) 1 ปี และระดบั ประกาศนียบตั รช้ันสงู (Diploma) 2 ปี 5) ระดบั ปรญิ ญาโท ใชเ้ วลาเรียน 1 - 2 ปี 6) ระดับปริญญาเอก ใช้เวลาเรยี น 3 - 5 ปี 2 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ภาพ ีท่ 1 ระบบการ ัจดการศึกษาของประเทศแคนาดา ่ีทมา : https://www.studylinks.ca/page/educations รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 3 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

แนวทางการกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของแตล่ ะระดบั ◆ ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาระดับปฐมวัยเน้นการใช้หลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยท่ีเช่ือมโยงกับชีวิตเด็ก หลักสูตรดังกล่าวให้ความสำ�คัญ กับความต้องการท่ีหลากหลายของเด็ก และมุ่งช่วยเด็ก ในการพัฒนาความรู้ ทักษะ ทัศนคติท่ีจำ�เป็นเพื่อให้ผู้เรียน มีความรับผิดชอบ และเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็งในสังคมของตน และสังคมโลก สภารัฐมนตรีศึกษาธิการของแคนาดา (The Council of Ministers of Education, CANADA-CMEC) ได้กำ�หนดกรอบวิสัยทัศน์สำ�หรับการเรียนรู้ระยะแรก (Early Learning) เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใช้เป็นกรอบในการดำ�เนินการการจัดการศึกษา เรียกว่า CMECEarlyLearningandDevelopmentFrameworkส�ำ หรบั เดก็ ตงั้ แตแ่ รกเกดิ ถงึ อายุ8ปีซง่ึ สาระส�ำ คญั ของกรอบแนวทางดังกล่าว มีดงั นี้ 1) การจดั โปรแกรมการศึกษาและการกำ�หนดนโยบายทีเ่ นน้ เด็กเปน็ ศนู ย์กลางของการพฒั นา 2) ครอบครัวมสี ว่ นส�ำ คัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเดก็ 3) ให้ความส�ำ คัญกบั ความแตกต่างหลากหลายของผเู้ รียน ท้ังด้านวัฒนธรรม ภาษา เช้อื ชาติ 4) ความปลอดภยั สขุ อนามัย และสงิ่ แวดลอ้ มท่เี กอื้ หนนุ การเรยี นรู้ของเด็ก 5) การเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยการพัฒนาความอยากรู้อยากเห็น และการเล่นท่ีหลากหลาย การจดั โปรแกรมการศกึ ษาเน้นเรื่องการเล่นเป็นฐาน (Play-based Learning) 6) การพฒั นาครอบครวั เพ่อื ใหม้ ีส่วนช่วยสง่ เสรมิ พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก ทง้ั น้ี แตล่ ะรัฐสามารถออกแบบกรอบมาตรฐานการเรยี นรสู้ �ำ หรบั เด็กปฐมวัยได้เอง อยา่ งไรกต็ าม ยังคงมีแกนความรู้ของการจัดการศึกษาท่ีเป็นสากลท่ีครูได้รับการพัฒนามา และใช้ร่วมกัน ปรากฏเป็น คำ�สำ�คัญในโปรแกรมการจัดการศึกษา เช่น การจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ (Developmentally Appropriate) การเรยี นร้รู ะยะเริ่มแรก (Early Learning) เป็นต้น 4 รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั ประถมศกึ ษา การศึกษาในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โดยท่ัวไป มีระยะเวลาระดับละ 6 ปี ในแต่ละรัฐมีการจัดการศึกษาท่ีแตกต่างกัน เช่น ระบบ 6 + 3 + 3 (ประถม + มัธยมต้น + มัธยมปลาย) ระบบ 8 + 4 (ประถม + มัธยม) หรือระบบ 6 + 6 (ประถม + มัธยม) โดยกรอบมาตรฐานการศึกษาระดับประถมศกึ ษาเน้นทก่ี ารพฒั นาความเขม้ แขง็ ในการอ่านออกเขยี นได้ และทกั ษะทางคณติ ศาสตร์ซงึ่ เป็นพ้ืนฐานของผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการทั้งหมด ท้ังนี้ การจัดการศึกษาในแต่ละรัฐจะมีอิสระ และมีแนวทางท่ีแตกต่างกัน เช่น รัฐออนตาริโอ ใช้กลยุทธ์ความสำ�เร็จของนักเรียน (Student Success Strategy) ในการค้นหาจุดอ่อนของนักเรียน ได้อย่างรวดเร็ว และให้การช่วยเหลือแบบพิเศษ รัฐบริทิชโคลัมเบียจัดการศึกษาระดับอนุบาลถึง ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 โดยใหเ้ รยี น 4 หมวดวิชา คือ (1) การอา่ น การเขยี น และการคิดเลข (2) สงั คมศึกษา (3) วิทยาศาสตร์ และ (4) การค้นคว้า / สำ�รวจ โดยให้เรยี นกบั ครปู ระจ�ำ วชิ าและครปู ระจ�ำ ศนู ยก์ ารเรยี น ◆ ระดบั มัธยมศึกษา การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาไม่มีมาตรฐานกลาง ระดับชาติแต่มีการกําหนดมาตรฐานทักษะจำ�เป็น ของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรม โดยในแต่ละปี วิชาท่ีอยู่ใน หลักสูตรพื้นฐาน เช่น ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ทศั นศลิ ป์ (Visual Arts) และ พลศึกษา จะถูกเสริมด้วยวิชาเฉพาะท่ีเชื่อมโยง และสัมพันธ์กันในระดับท่ีสูงขึ้น เช่น วิชาภาษาอังกฤษ จดั ใหเ้ รยี นการเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์วรรณคดแี คนาดาและสอ่ื สารมวลชนโดยมวี ชิ าเลอื กเชน่ ภาษาตา่ งประเทศ เศรษฐกิจ หรอื ประวัติศาสตรข์ องบางประเทศ การศกึ ษาในระดบั นี้ ใชเ้ วลาเรยี นประมาณ 4 - 6 ปี ขนึ้ อยกู่ บั โครงสรา้ งของระบบการศกึ ษาของแตล่ ะรฐั โรงเรียนส่วนใหญ่จัดโปรแกรมการศึกษาทั้งสายวิชาชีพและสายวิชาการ ท้ังน้ี เป้าหมายอันดับแรก ของการศึกษาระดับน้ี คือ การเตรียมผู้เรียนเพ่ือศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป้าหมายรองลงมา คือ การศึกษาต่อในวิทยาลัยชุมชนต่างๆ หรือ สถาบันเทคโนโลยีและการประกอบอาชีพ โดยในสาย วิชาการ หลักสูตรจะกําหนดให้ผู้เรียนได้เรียนรายวิชาต่างๆ ท่ีจําเป็นและเป็นพ้ืนฐานสําหรับการศึกษา ในระดับวิทยาลยั หรือระดับมหาวทิ ยาลยั และสําหรบั โปรแกรมสายวชิ าชพี นน้ั การจัดหลักสูตรจะมงุ่ เน้น เพ่ือเตรียมนกั เรยี นใหม้ ีความรูเ้ พียงพอในการศึกษาในวิทยาลัยวชิ าชพี หรือการเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน อย่างไรก็ตาม วิชาอาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปนเพียงวิชาเลือก เปนเพียง การเตรยี มการหรอื เตรยี มตวั (Career Preparation) ใหแ กผ ทู ถี่ นดั ทางวชิ าอาชพี หรอื ตอ้ งการเลอื กเรยี นวชิ า อาชีวศึกษาหลังจากจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงที่จริงแล้ว วิชาอาชีพไดรับการจัดเขาไวในหลักสูตร รายงานผลการศึกษา เรื่อง 5 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน(ป.1-ม.6)ในรปู ของวชิ าการศกึ ษาเพอื่ อาชพี (CareerEducation)ดงั น้ี1)วชิ าCareer Awareness(ระดบั อนบุ าล)2)CareerOrientation(ระดบั ประถมศกึ ษา)3)CareerExploration(ระดบั มธั ยมตน ) 4) Career Preparation (ระดับมัธยมปลาย) และ 5) Career Specialization เน้นทักษะลึกหรือทักษะ เฉพาะในระดับอดุ มศกึ ษา (Post-secondary Education) สําหรับการจัดหลักสูตรการศึกษาในระดับมัธยมศึกษานั้น ในปีแรกนักเรียนทุกคนเรียนวิชาบังคับ แต่อาจมีวิชาเลือกบ้าง ในปีต่อๆ มาจึงสามารถเลือกเรียนวิชาเลือกต่างๆ ได้เพ่ิมมากข้ึน โดยที่นักเรียน สามารถเลือกเรยี นรายวิชาท่เี ตรียมเขา้ สู่ตลาดแรงงาน หรอื เลอื กเรยี นสายวิชาการท่เี ตรยี มตัวสกู่ ารศกึ ษา ในระดับอุดมศึกษา ในมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย จากสถิติพบว่า มีนักเรียนกว่าร้อยละ 75.6 สําเร็จ การศกึ ษาในระดบั มธั ยมศึกษา และได้ประกาศนยี บตั ร การประเมนิ ผลการศกึ ษาในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรือ เกรด 12 พบวา่ มคี วามแตกต่างกัน ในแต่ละรัฐ ส่วนใหญ่แล้วรัฐต่างๆ ให้อิสระแต่ละโรงเรียนในการดําเนินการจัดสอบเอง แต่ในบางรัฐ เช่น รัฐออนตาริโอ นักเรียนต้องสอบในบางวิชาหลักที่ดําเนินการโดยคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ของรัฐ (School board) เพือ่ นาํ มาใชใ้ นการศกึ ษาตอ่ ในระดบั มหาวิทยาลยั ดงั นั้น การเรยี นตอ่ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั จงึ ขน้ึ อยกู่ บั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวชิ าทกี่ �ำ หนดโดยสาขาวชิ านน้ั ๆในระดบั อดุ มศกึ ษา ◆ ระดับอาชีวศึกษา การจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และการฝกอบรมอาชีพของแคนาดามีจุดเนน ท่ีระดับอุดมศึกษาหรือหลังมัธยมศึกษาตอนปลาย กลาวคือ จัดการศึกษาอาชีวศึกษาในระดับ วิทยาลัย เชน วิทยาลัยอาชีพ วิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยเทคนิค หรือสถาบันเทคโนโลยีสถาบันการศึกษาอาชีพ ศูนยฝกอบรมอาชีพและศูนยวิจัยอาชีพ ของทองถ่ิน โปรแกรมการศึกษาของวิทยาลัยเปนท้ังโปรแกรมการศึกษาอาชีพหลักสูตรส้ันกวา 1 ป ไดร บั ประกาศนยี บตั ร (Certificate) หลกั สตู ร 2 ปี ไดร บั อนปุ รญิ ญา (Associate Degree) และบางหลกั สตู ร บางวิทยาลัยจัด 4 ป ไดรับปริญญาตรีประยุกต (Applied Degree) ผูที่จบหลักสูตร 2 ปี ถาไม่ทำ�งาน กศ็ ึกษาตอ ป 3 - 4 ของมหาวทิ ยาลัย นอกจากนี้ การจดั การศกึ ษาในระดบั อาชวี ศกึ ษายงั รวมถงึ สถาบนั ฝก อบรมอาชพี ระยะสน้ั ๆ เฉพาะ กลุมเปาหมาย และระยะยาวในลักษณะชางฝึกหัดงาน หรือลักษณะโรงเรียนในโรงงาน เชน โครงการ ชา งฝก หัด (Apprenticeship) หรือการฝก หดั ระบบทวิภาคี (Dual Training) หรอื โครงการฝกอบรมทจี่ ัดข้ึน เฉพาะเรอ่ื งเฉพาะกลมุ ตามความตองการเฉพาะกลุ่มเปาหมาย (Customized Program) มาตรฐานคุณภาพการอาชีวศึกษาของแคนาดากําหนดโดยรัฐบาลของแตละรัฐ กลาวคือ รัฐบาล แตละรัฐมีคณะกรรมการของรัฐที่ประกอบดวย ภาครัฐ ภาคอุตสาหกรรม และผูเกี่ยวของ เชน สถาบัน 6 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การศึกษาอาชีพ ผูแทนจากกลุ่มผูอุปโภคบริโภค สมาคมวิชาชีพ เขามา กาํ หนดมาตรฐานอาชพี ซง่ึ มี 2 รูปแบบ ได้แก่ 1) ประกาศนียบตั รรบั รอง คุณวุฒิ เปนเอกสารแสดงมาตรฐานอาชีพท่ีออกใหโดยสถาบัน การศกึ ษาอาชพี ทใี่ หป ระกาศนยี บตั ร อนปุ รญิ ญา ปรญิ ญาตร ี 2) ใบรบั รอง คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualifications - VQ)ซ่ึงเปนเอกสาร แสดงผลสําเร็จจากการฝกอบรมอาชีพ โดยทั้งประกาศนียบัตรรับรอง คณุ วฒุ ิ และใบรบั รองคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี จะมเี กณฑม าตรฐานกาํ หนด ซง่ึ ผเู รยี น หรือผูรับการฝกอบรมจะตองผานการทดสอบจึงจะไดรับใบรับรองคุณวุฒิ วชิ าชพี หรอื ใบประกาศนียบตั ร การกําหนดระบบมาตรฐานทักษะของแคนาดาเกี่ยวขอ งกับหนวยงาน ตางๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชน ดงั น้ี 1) รัฐบาลระดับรัฐ สรางเกณฑหรือกรอบของมาตรฐานอาชีพ (Guidelines for Standards) ข้ึนเองโดยมีผูเก่ียวของหลายฝายมารวมทํา โดยท่ัวไปไมนิยมกําหนดเกณฑมาตรฐานของงานเฉพาะ หรืองานยอย (Specific Jobs) แตกําหนดเกณฑมาตรฐานของกลุมงานหลัก เชน กลุมงานอุตสาหกรรม การทองเที่ยว (Tourism Industry) กําหนดมาตรฐานโดยสมาคมมาตรฐานการทองเที่ยว (Tourism Standards Consortium) เพื่อพัฒนามาตรฐานและการใหประกาศนียบัตรแกอุตสาหกรรมทองเที่ยว ในแคนาดาตะวันตก หนวยงานหรือองคกรวิชาชีพที่เขามารวมกันกําหนดมาตรฐานในกรณีดังกลาวนี้ ประกอบดวย Alberta Tourism Education Council, Manitoba Tourism Education Council, Saskatchewan Tourism Education Council และ Pacific Rim Institute of Tourism ซึ่งมาตรฐาน ที่รวมกนั กําหนดโดยหลายองคก ร (Joint Standards) นี้ ไดรบั การยอมรบั เปนมาตรฐานชาติ 2) มาตรฐานแตละกลุม อาชีพมคี วามความยืดหยุน โดยผรู้ บั การฝกอบรมสามารถนาํ ทกั ษะอาชีพ ไปใชรวมกันหรือเทียบเคียงกัน เมื่อผูรับการฝกอบรมประสงคจะรับการฝกอบรมหลายๆ อาชีพ หรือ ตางกลมุ อาชีพ 3) หลายกลุมอาชีพไดรวมกันกําหนดมาตรฐานอาชีพกลางท่ียอมรับกันในระดับชาติ เชน อุตสาหกรรมการทองเทย่ี ว และอีก 40 กลุมอาชีพที่ Canadian Council of Directors of Apprenticeship (CCDA) ไดก้ �ำ หนดไว ้ ซงึ่ มาตรฐานอาชพี กลางระดบั ชาตดิ งั กลา่ ว ชว่ ยใหแ รงงานของแคนาดาเคลอื่ นยา ย การทาํ งานในทุกรฐั ในประเทศแคนาดาได 4) ในอตุ สาหกรรมทไี่ ดพ ฒั นามาตรฐานทกั ษะแลว มอี าชพี จ�ำ นวนไมม ากนกั ทีย่ ังคงกาํ หนดระดับ ของมาตรฐานทักษะไว้ โดยระดับของมาตรฐานทักษะกําหนดขึ้นตามระยะเวลาของการฝกอบรม ความลกึ หรือความยากงายของทกั ษะ และวธิ กี ารประเมิน เชน ตําแหนงเจา พนกั งานควบคุมคุณภาพงาน อุตสาหกรรมการผลิต อาจกําหนดใหมีระดับความลึกหรือระดับมาตรฐานหรือความสามารถในอาชีพ 3 ระดับ คือมาตรฐานระดับที่ 1 ตองมีความรูความสามารถหรือมีทักษะในการวินิจฉัยปริมาณ ผลผลิตท่ีเกิดความเสียหายหรือแยกแยะไดวาผลผลิตช้ินใดมีคุณภาพ ชิ้นใดไมสมบูรณ การจะวินิจฉัย ขั้นตนไดก็ตองขึ้นอยูกับพ้ืนฐานการศึกษาของผูอบรม และระยะเวลาการอบรมตามหลักสูตร เมื่อผาน รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 7 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การประเมนิ และจบหลกั สตู รโดยการสอบขอ เขยี น 1 ฉบบั จงึ จะออกประกาศนยี บตั รมาตรฐานระดบั ท่ี 1 ให มาตรฐานระดับท่ี 2 และระดับท่ี 3 ผูเขารับการฝกอบรมตองสอบขอเขียน 2 ฉบับ สอบภาคปฏิบัติอีก 1 ฉบบั และฝกอบรมยาวนานขึน้ กวา การฝกอบรมมาตรฐานระดบั ที่ 1 ดงั นนั้ การกาํ หนดมาตรฐานทกั ษะ จึงเปน ของแตละกลมุ อตุ สาหกรรมกาํ หนดขนึ้ โดยยงั ไมม รี ปู แบบมาตรฐานกลางระดับชาติ 5) ภาคอุตสาหกรรมตางๆ ของแคนาดาตื่นตัวในการรวมกันกําหนดมาตรฐานทักษะหรือ มาตรฐานอุตสาหกรรมของตนเองทั้งระดับทองถ่ินและระดับชาติ โดยมีการผลักดัน ส่งเสริมให มาตรฐานอุตสาหกรรมชนิดเดียวกันมีมาตรฐานเดียวกันในระดับชาติ เนื่องจากตองตอสูเพ่ือการอยูรอด และการแขงขนั ทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก 6) องคกรวิชาชีพและองคกรมาตรฐานอาชีพตางๆ พยายามรวมตัวกัน เพ่ือกําหนดมาตรฐาน อาชพี ระดบั ชาตแิ ละออกประกาศนยี บตั รรว มกนั ระหวา งรฐั ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการรว มกนั กาํ หนดมาตรฐาน ทางวิศวกรรมและวิทยาศาสตรประยุกตของ Technician โดยคณะกรรมการที่เรียกวา The Canadian Council of Technicians and Technologists ซ่ึงแตเดิมแยกกันกําหนดในแตละรัฐ ผูที่มีสวนอยางยิ่ง ตอ การกําหนดมาตรฐานทกั ษะกลาง ไดแก นายจาง / อตุ สาหกรรม หรอื สมาคมวิชาชีพ ผแู ทนผทู าํ งาน ในวิชาชีพ ผูซ้ือ ผู้บริโภค สวนงานราชการ รวมถึงกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ขั้นตอนการพัฒนามาตรฐาน ทักษะเร่ิมท่ีผูมีสวนได้ส่วนเสียท้ังหมดกําหนดเกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) ของอาชีพ และวิเคราะหอาชีพ (Occupational Analysis) เพ่ือกําหนดมาตรฐานข้ันตนหรือข้ันต่ํา ขณะเดียวกัน ตองแยกแยะภารกิจเฉพาะ (Task) ของอาชีพออกจากกันเพื่อดูวาในแตละภารกิจเฉพาะนั้น มีสวนประกอบท่ีเปนความรูและทักษะเพียงไร จะใหผูรับการฝกอบรมรูทฤษฎีหลักการขอใดและ จะตองปฏิบัติภารกิจขอใด ระดับใด รวมทั้งความรูประกอบหรือความรูสัมพันธเร่ืองใด เม่ือไดเกณฑ มาตรฐานระดับความรูและทักษะทุกภารกิจของอาชีพแลว จึงสามารถสรุปมาตรฐานทักษะของอาชีพ กอ นทจี่ ะสง ใหผแู ทนภาคอตุ สาหกรรมหรือกลุมอาชีพนน้ั ๆ พจิ ารณาและยอมรบั การใช้ 7) มีการทบทวน (Review) และปรับปรุงมาตรฐานทักษะใหทันสมัย โดยหนวยงานผูออก ใบอนุญาตหรือประกาศนียบัตรอยูเสมอ ในปจจุบันไมนิยมท่ีจะออกใบอนุญาต / ประกาศนียบัตร ในรปู แบบตลอดชพี 8) ใบอนญุ าต/ประกาศนียบัตร จำ�แนกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ ดังน้ี 8.1) ใบอนุญาต / ประกาศนียบัตรที่ระบุช่ืออาชีพ เชน นักบัญชี นักเทคโนโลยี นักสํารวจ เปน ตน ซ่งึ จะขน้ึ อยกู บั ระเบียบ กฎเกณฑของอาชพี นัน้ ๆ 8.2) ใบอนุญาต / ประกาศนียบัตรท่ีแสดงผลสําเร็จของการศึกษา / ฝกอบรม โดยแตละ โปรแกรมกําหนดมาตรฐานทักษะตามเวลาของการศึกษา / ฝก อบรม ซ่ึงเรียกวา VQ อาชพี ที่ตอ งการ VQ มีมากมาย รวมถงึ ชา งไม Technician และผูค วบคมุ เคร่อื งมอื กลหนกั 9) การฝกอบรมสูมาตรฐาน เนื่องจากการฝกอบรมอาชีพในแคนาดามีหลายรูปแบบ เชน โปรแกรมชา งฝก หดั การฝก ทกั ษะในงานจรงิ และการฝก อบรมในระบบ (Formal Training) ซง่ึ การฝก อบรม ในระบบ ด�ำ เนนิ การโดยวทิ ยาลยั ชมุ ชน วทิ ยาลยั เทคนคิ โรงเรยี นมธั ยม (ทกี่ าํ หนดเปน ศนู ยฝ ก อบรมอาชพี ) การฝกอบรมอาชีพสาขาใดสาขาหน่ึง โดยปกติจะดำ�เนินการในลักษณะผสม คือ มีทั้งการฝกทักษะ 8 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ในงานจรงิ และการเรยี นรูท ฤษฎี / หลกั การที่จาํ เปน จากสถานศึกษาวชิ าชีพทที่ าํ การฝก อบรมในระบบ 10) การเชื่อมโยงมาตรฐานทักษะกับการฝกอบรม หลักสูตรการฝกอบรมมักขึ้นอยูกับ มาตรฐานทกั ษะทก่ี าํ หนดไวลวงหนา กลา วคือ เม่อื ไดกาํ หนดเน้ือหาของหลักสูตร เวลาของการฝกอบรม และระดับความรูความสามารถ ส่ิงที่ผูรับการฝกอบรมจะตองศึกษาและปฏิบัติไดเมื่อจบหลักสูตร คอื มาตรฐานความรแู ละทกั ษะทก่ี าํ หนดไว โดยหนว ยงานหลกั สตู รและมาตรฐานอาชพี สว นการฝก อบรม โดยหนวยงานฝกอบรมจะตองดําเนินการตามหลักสูตรการฝกอบรมและตองบรรลุผลตามมาตรฐานน้ันๆ จึงจะออกใบอนุญาต/ประกาศนยี บัตรแกผรู ับการฝกอบรมได ◆ ระดบั อุดมศกึ ษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยในประเทศแคนาดา เป็นท่ียอมรับว่ามีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา อยู่ในระดับสูงมาก นักศึกษาจะเลือกเข้าเรียน ตามความสะดวกของสภาพทางภูมิศาสตร์และ ความมีช่ือเสียงของสาขาวิชา การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือ ระดับมหาวิทยาลัยนั้นเป็นความรับผิดชอบของ แตล่ ะรฐั แตอ่ าจไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ สว่ นหนง่ึ มาจากรัฐบาลกลาง ซึ่งในการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาน้ัน สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง ท้ังระดับ วิทยาลัยและระดับมหาวิทยาลัย ท้ังท่ีเป็นสถาบันของรัฐและเอกชน จะมีโปรแกรมการศึกษา ท้ังในรูปแบบวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร และระดับปริญญา ให้เลือกเรียนได้ตามความสนใจ โดยการ บริหารงานการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยจะมีความเป็นอิสระ รัฐบาลจะเข้ามามีส่วนร่วมในเร่ือง ของการกําหนดค่าใชจ้ ่ายทางการศึกษา การลงทะเบยี น หรอื การเปิดโปรแกรมการศกึ ษาใหม่เทา่ นน้ั ทั้งน้ี รัฐบาลระดับรัฐสร้างเกณฑ์หรือกรอบของมาตรฐานอาชีพ (Guidelines for Standards) ขึ้นเอง โดยมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายมาร่วมกําหนดเกณฑ์ของกลุ่มงานใหญ่ และกลุ่มองค์กรวิชาชีพ กาํ หนดมาตรฐานอาชีพ รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 9 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ“ “ ในประเทศแคนาดาแต่ละรัฐมีอิสระท่ีจะออกแบบมาตรฐาน กำ�หนดมาตรการและแนวทาง ในการสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทกี่ �ำ หนดไว้ เนอื่ งจากระบบการปกครองตง้ั อยบู่ นฐาน แนวคิดของสังคมพหุวัฒนธรรม (Multicultural) และสังคมของคนทุกคน (Inclusive society) โดยรัฐบาลกลางของประเทศได้กระจายอำ�นาจให้แต่ละรัฐดำ�เนินการจัดการศึกษาของตนเองได้ อย่างอิสระ รัฐแต่ละแห่งสามารถออกแบบและกำ�หนดยุทธศาสตร์ / แนวทางการดำ�เนินการได้ ตามบริบทของตนเอง แต่มีเป้าหมายหลักใกล้เคียงกัน ภายใต้การศึกษาและติดตามกระแสใหม่ ของการจดั การศึกษาอยู่อยา่ งตอ่ เนือ่ ง อย่างไรก็ตาม การที่รัฐแต่ละแห่งสามารถออกแบบกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ได้เองน้ัน ก็ได้นำ�แกนความรู้ของการจัดการศึกษาที่เป็นสากลมาใช้ร่วมกัน ปรากฏเป็นคำ�สำ�คัญในโปรแกรม การจัดการศึกษา เช่น การจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการ (Developmentally Appropriate) การเรียนรูร้ ะยะเรมิ่ แรก (Early Learning) ◆ ระดบั การศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยมีการส่งเสริมให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ และเต็มตามศักยภาพ โดยออกแบบ โปรแกรมการเรียนที่เช่ือมโยง ตรงประเด็นและเหมาะสมกับ อายุของเด็ก มีความตระหนักว่าปัจจุบันและอนาคตเด็กจำ�เป็น อย่างยิ่งต้องมีการศึกษาดี เพ่ือสามารถสังเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศ ตดั สินใจท่ีถกู ต้อง สอ่ื สารอย่างมีประสิทธภิ าพ และเจริญเตบิ โตไดใ้ นสังคมโลกที่เปลย่ี นแปลง ตลอดเวลา ปี ค.ศ. 2007 รัฐบาลได้เร่ิมโปรแกรมการสอนแบบเต็มวันในระดับปฐมวัย (อายุ 4 - 5 ปี) ท่ีรัฐออนตาริโอ เปล่ียนจากจัดการเรียนการสอนแบบด้ังเดิมมาเป็นเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ รวมท้ัง ได้จัดพิมพ์เอกสารชื่อ Early Learning for Every Child Today : A Framework for Ontario Early Childhood Settings หรือ ELECT ซึ่งมีข้อกำ�หนดเป็นหลักการ 6 ประการ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติสำ�หรับ การศกึ ษาปฐมวยั ของประเทศ ดังนี้ 10 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

  1. การจัดประสบการณเ์ ชงิ บวก วางพน้ื ฐานการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต ด้านพฤตกิ รรม สุขภาพ และ สุขภาวะ (well-being) 2) การยอมรบั ซ่งึ กนั และกนั การมีส่วนร่วมในครอบครวั และสงั คม 3) การเคารพในความหลากหลาย ความเสมอภาค การอยรู่ ว่ มกัน 4) การกำ�หนดเปา้ หมาย วางแผนงาน เพื่อชว่ ยสนับสนุนการเรียนรู้ 5) การเล่นและการสบื ค้น เป็นวธิ ีการเรียนร้ทู ีส่ ง่ เสริมธรรมชาติ ความอยากรูอ้ ยากเหน็ ของเด็ก 6) นกั การศึกษาที่รอบรู้ ทันต่อเหตกุ ารณ์ และมีวิจารณญาณ ต่อมาได้มกี ารจัดทำ�เอกสาร The Kindergarten Program (2016) โดยก�ำ หนดหลักการ การเรยี นรู้ ที่คาดหวัง และวิธกี ารสอนที่พัฒนาข้นึ มาเพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั เด็กอายุ 4 - 5 ปี ซึ่งสอดคลอ้ งและต่อยอด กรอบนโยบายแนวการสอนทป่ี ระกาศใชใ้ นปี 2014 ชื่อ How Does Learning Happen? The Kindergarten Program มีกรอบหรือขอบข่ายของการเรียนรู้ 4 ประการ ที่ใช้เป็นโครงสร้าง ความคดิ เก่ียวกบั การเรยี นรู้ และการประเมินผล ดังน้ี 1) การมีส่วนในการเป็นสมาชิกและการให้ความช่วยเหลือ (Belonging and Contributing) กรอบนี้ครอบคลุมการเรียนรขู้ องเดก็ ในดา้ นต่อไปน้ี  ความรสู้ กึ เชอื่ มโยงสมั พันธ์กับผู้อ่นื  ความสมั พันธ์และช่วยเหลือผ้อู นื่ ในฐานะสมาชกิ ของกล่มุ ชุมชน และชาวโลก  ความเข้าใจในความสัมพันธ์และชุมชน และวิธีการให้ความช่วยเหลือของประชาชน ท่มี ีตอ่ โลกรอบตวั เรา การเรียนรู้ในกรอบนี้ยังครอบคลุมไปถึงการพัฒนาเด็กในด้านคุณลักษณะและเจตคติ ท่ีบ่งบอก ความเปน็ พลเมอื งจากความรู้สึกท่ีเชื่อมโยงสมั พันธ์กับชมุ ชนตา่ งๆ 2) การกำ�กบั ตนเองและสร้างสุขภาวะทีด่ ี Self-regulation and Well-being) 3) แสดงออกถงึ ความฉลาดรแู้ ละความสามารถทางคณติ ศาสตรใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั (Demonstrating Literacy and Mathematics Behaviors) 4) การแก้ปัญหาและสรา้ งสรรค์นวัตกรรม (Problem solving and Innovating) ◆ ระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการของรัฐ มีสภาหลักสูตรซ่ึงประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำ�ชุมชนที่มุ่งม่ันและผู้เชี่ยวชาญการศึกษา ทำ�หน้าที่ ให้คำ�ปรึกษาในเรื่องนโยบายเชิงยุทธศาสตร์ของหลักสูตรระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ได้ทบทวนตรวจสอบหัวข้อวิชาต่างๆ ตามท่ีรัฐมนตรีมอบหมายมา ที่ผ่านมาได้ให้คำ�ปรึกษาเร่ืองสิ่งแวดล้อม ศึกษา หลักสูตรประถมศึกษา และความรอบรู้ทางการเงิน (Financial Literacy) รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 11 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

◆ ระดบั อาชีวศึกษา การฝกอบรมอาชีพในรูปแบบตางๆ นอกจากจะจัดในสถาบัน การศึกษาอาชีพระดับวิทยาลัยตางๆ แลวยังจัดในสถานประกอบการ องคกรของเอกชน ตลอดจนโรงเรียนมัธยมแบบผสม (Composite High School) ท่ีมีศักยภาพ ทั้งเปนการชั่วคราวและถาวร สถาบัน ฝกอบรมอาชีพทุกแหงจะตองประสานรวมมืออยางใกลชิดกับภาคอุตสาหกรรม ในการปรับปรุงหลักสูตร การฝกปฏิบัติงาน การรับรองหลักสูตรวุฒิบัตร มาตรฐานอาชีพและ มาตรฐานทักษะ การประสานความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาอาชีพและสถานประกอบการ ตลอดจนรัฐบาลทองถ่ินของรัฐและรัฐบาลกลางนั้น สวนมากเปนไปตามกฎหมาย กลาวคือ มีกฎหมายวาดวยเรื่องการจัดการศึกษาอาชีวะ เชน กฎหมายชวยเหลือการฝกอบรมเทคนิค และอาชีวะ กฎหมายการฝกอบรมอาชีพผูใหญ ฯลฯ กฎหมายดังกลาวทําใหบุคคลและองคกร ปฏิบัติงานรวมกันในทุกระดับ โดยรัฐบาลกลางมีงบกลางชวยเหลือดานการศึกษาอาชีพตามคําขอ ของแต่ละรัฐ ขณะที่กระทรวงพัฒนาทรัพยากรมนุษย (Human Resources Development of Canada - HRDC) ทําหนาท่ีวางแผน กําหนดนโยบายกําลังคนรวมกับรัฐบาลของรัฐ ประสาน และรวมมือกับอุตสาหกรรมอยางใกลชิด นอกจากนั้น HRDC ยังใหความชวยเหลือทองถิ่นทางด้าน การเงิน คือ ทุนวิจัยและความเชี่ยวชาญดานวิชาการ เพื่อใหภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม ศึกษาวิจัย ปญ หาอปุ สรรค พฒั นาการวชิ าอาชพี เพอ่ื รว มมอื กนั จดั การศกึ ษาอาชพี พฒั นากาํ ลงั คน และพฒั นาวชิ าการ ดานอาชีพแขนงตา งๆ ใหต ามทนั กับการเปล่ียนแปลงทางวชิ าการและเทคโนโลยอี ย่างตอ่ เนื่อง ◆ ระดบั อดุ มศกึ ษา นักศึกษาในประเทศแคนาดา สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตการเรียนรายวิชาต่างๆ ท่ีเรียนมาแล้วได้ การประเมนิ เพอื่ รบั รองการถา่ ยโอนนนั้ กระท�ำ ในลกั ษณะเปน็ รายวชิ าตอ่ รายวชิ า และโรงเรยี นตอ่ โรงเรยี น สิง่ ทีต่ ้องการส�ำ หรับการรับรองกข็ ้ึนอย่กู บั แตล่ ะสถาบนั ยกตวั อยา่ งรฐั ออนตารโิ อทใ่ี ชก้ ลยทุ ธค์ วามส�ำ เรจ็ ของนกั เรยี น (Student Success Strategy) มาใช้ในการคน้ หาจดุ อ่อนของนักเรยี น และใหก้ ารชว่ ยเหลอื แบบพเิ ศษ ใหโ้ อกาสเรยี นซอ่ มเสรมิ แบบตวั ตอ่ ตวั และมีการเพ่ิมประกาศนียบัตรซึ่งภาคอุตสาหกรรมรับรองให้แก่ นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลาย 18 สาขาวิชาที่สอบผ่าน ด้านเทคนิคศึกษา ย่ิงไปกว่านั้น มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยในรัฐ ออนตารโิ อยงั ไดจ้ ดั โปรแกรมการเรยี นออนไลนส์ �ำ หรบั ผสู้ นใจไดเ้ รยี นรู้ และฝึกอบรมอย่างหลากหลาย มีชื่อว่า Ontario’s online learning 12 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

organizations and distance education and training นอกจากนย้ี งั มี eCampus Ontario เปน็ ศนู ยอ์ อนไลน์ และเทคโนโลยีท่ีดีเยี่ยม มกี ารเรียนรู้รว่ มกนั ด�ำ เนินการโดย Ontario’s publicly assisted colleges and universities มี Contact North เปน็ เครอื ขา่ ยการศกึ ษาและฝกึ อบรม จ�ำ นวน 112 ศนู ย์ ทที่ �ำ งานเชอ่ื มโยงกบั ผอู้ าศยั ในรฐั ออนตารโิ อ เพอื่ ใหม้ โี อกาสไดเ้ รยี นรทู้ างไกลและทางออนไลน์ และมี Ontario Learn เปน็ กลมุ่ ของวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges) 24 แห่ง ที่เข้าเป็นผู้ร่วมมือโดยเป็นทางเลือกในการศึกษา ออนไลนเ์ พม่ิ ขนึ้ ให้กบั นกั ศกึ ษา การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ◆ ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ไม่พบเอกสารเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นทางการในการจัดการศึกษา ระดับปฐมวยั แตม่ ีวัฒนธรรมการทำ�งานเพ่อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ดังนี้ ทางโรงเรียนจะจัดงานประชุมผู้ปกครอง เพื่อช้ีแจงสิ่งท่ีลูกหลานจะได้เรียนรู้ในปีน้ันๆ ให้ผู้ปกครองได้รับทราบ และคุณครูประจำ�ช้ันของลูกชายฉันก็ได้อธิบายว่า เด็กแต่ละคนแตกต่างกัน เรียนรู้และมีความสนใจต่างกัน ดังนั้นคุณครูจะมีหน้าที่สังเกตว่าเด็กแต่ละคนชอบอะไร ทำ�อะไร ได้ดีอยู่แล้ว และต้องเสริมอะไร คุณครูจะจดบันทึกไว้ พอถึงปลายเทอมการศึกษา คุณครูจะนัด ผู้ปกครองมาพบเพื่อรายงานความก้าวหน้าของเด็กๆ การเรียนผ่านการเล่นน้ีไม่มีวัดเกรดวัดผล เดก็ อนบุ าลมาโรงเรยี นเพอื่ เรยี นรกู้ ารดแู ลตนเองและการเขา้ สงั คมเทา่ นนั้ ไมม่ กี ารแขง่ ขนั ประกวดประชนั อะไรเลย เดก็ กไ็ ดใ้ ชช้ วี ติ เป็นเด็กไดเ้ ต็มท่ี แต่มรี ะเบียบวินัย และช่วยเหลอื ตนเองได้ เดก็ ทกุ คนไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ แู ลอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ไมว่ า่ จะยากดมี จี นอยา่ งไร การทป่ี ระชาชน จ่ายภาษีค่อนข้างสูง คนรายได้มากจ่ายภาษีมากกว่าคนรายได้น้อย ทำ�ให้สภาพความเป็นอยู่ การใช้ชวี ิตประจ�ำ วัน ไม่ลำ�บากมากนกั แม้ไม่มรี ถขับ ตอ้ งนั่งรถประจ�ำ ทาง กไ็ ม่รู้สึกล�ำ บากอะไรเลย เด็กๆ ทเ่ี กดิ มาในครอบครวั ท่ยี ากจน แตไ่ ดร้ บั การศกึ ษาท่ดี ี และเรยี นฟรีจากรัฐ กส็ ามารถ ใชค้ วามรทู้ ไี่ ดม้ าพฒั นาตวั เองตอ่ ไป การศกึ ษาส�ำ คญั ทสี่ ดุ โลกของเราคงนา่ อยกู่ วา่ นี้ ถา้ เดก็ ๆ ทกุ คนในโลก ไดร้ ับโอกาสในการศึกษา และการเล้ยี งดอู ยา่ งดเี หมอื นเหมอื นกบั เดก็ ๆ ในประเทศแคนาดา (กาญจนา ครชิ ณาณ, ออนไลน)์ รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 13 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ในรัฐออนตาริโอ มีหน่วยงานทดสอบมาตรฐานการศึกษา ช่ือ Education Quality and Accountability Office (EQAO) ซ่ึงทำ�หน้าที่บริหารการทดสอบมาตรฐานหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ (1) การทดสอบการอ่าน การเขียน และคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 เรียกช่ือว่า The Assessment of Reading, Writing and Mathematics, Primary Division (Grades 1 - 3) (2) การทดสอบการอา่ น การเขยี น และคณติ ศาสตร์ สำ�หรับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เรยี กวา่ Grade 6 Junior Division Assessment (3) การทดสอบทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยม ศึกษาปีท่ี 3 เรียกว่า Grade 9 Assessment of Mathematics และ (4) การทดสอบการอ่าน การเขียน ระดบั มัธยมศึกษา เรียกว่า The Ontario Secondary School Literacy Test (OSSLT) เปน็ การวดั วา่ ผเู้ รยี นไดม้ าตรฐานขน้ั ตา่ํ สดุ ของการอา่ น และการเขยี น วิชาต่างๆ ท่ีได้เรียนมาจนถึงปลายปีของช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพอื่ รบั ประกาศนยี บตั รระดบั มธั ยมศกึ ษา ซงึ่ เรียกว่า Ontario Secondary School Diploma ◆ ระดบั อาชีวศกึ ษา การศกึ ษาระดบั อาชวี ศกึ ษาของประเทศแคนาดาใหอ้ สิ ระแตล่ ะหนว่ ยงานหรอื เขตตา่ งๆจดั ท�ำ ระบบ ประกนั คุณภาพของตนเอง ทำ�ให้มีรปู แบบท่หี ลากหลาย เช่น  Maritime Provinces Higher Education Commission  Commission d’évaluation de l’enseignement collégiale du Québec (CEEC)  Higher Education Quality Council of Ontario  Ontario College Quality Assurance Service (OCQAS)  Campus Alberta Quality Council  Manitoba Council on Post-Secondary Education  British Columbia Education Quality Assurance 14 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

◆ ระดับอดุ มศกึ ษา การประกันคุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยในทุกรัฐและเขตปกครอง พิเศษของประเทศแคนาดา มีนโยบายและกระบวนการที่มีระเบียบแบบแผน เป็นขั้นตอน โปร่งใส ครอบคลุม รวมทั้งมีการทบทวนตรวจสอบจากภายนอก โดย เจ้าหน้าที่ระดับรัฐตรงตามสาย สำ�หรับบางโปรแกรมวิชาชีพ จะได้รับการรับรองตามกระบวนการของ วิชาชีพน้ัน นอกจากน้ี ยังได้รับการสนับสนุนจาก A Canadian Degree Qualification Framework ซงึ่ มขี อ้ ผกู พนั กบั CommonFrameworkofQualityStandardทว่ั ทกุ รฐั ในประเทศแคนาดาซงึ่ หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั แคนาดาจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจรว่ มกนั ในเรอ่ื งความเชอ่ื คา่ นยิ มของการรบั รองคณุ ภาพวชิ าการ ของกันและกนั สิ่งนี้ทำ�ให้มาตรฐานคุณภาพอยใู่ นระดบั สูงและเปน็ ทีย่ อมรับในระดบั นานาชาติ ชูชาติ หนุ่ เลิศ (2559) ไดศ้ ึกษาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาระดบั มหาวิทยาลยั ของแคนาดา พบว่า 1) การบรหิ ารจัดการ (Governance) ในทุกตำ�แหน่งจะตอ้ งผา่ นการคัดเลือก คณะกรรมการคัดเลือกซ่งึ ประกอบด้วยตวั แทนของชมุ ชน คณบดี คณาจารย์และนักศึกษา จะทำ�หน้าท่ีคัดเลือกและแต่งตั้งอธิการบดีท่ีถูกเสนอชื่อ ในขณะที่รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวิจัย ฝ่ายวเิ ทศสัมพันธ์ ฝ่ายการคลัง ฝา่ ยกจิ การนกั ศึกษา คณบดีและหัวหนา้ ภาควชิ าของมหาวิยาลยั จะได้รับ การคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือก ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากคณบดี คณาจารย์และนักศึกษา สว่ นผ้ทู รงคณุ วุฒนิ ั้น จะไดร้ ับการคดั เลอื กจากคณะกรรมการคณบดี 2) การสรรหา การวา่ จา้ งและเลอ่ื นระดบั (Agreement on Appointments and Promotion) การวา่ จา้ งบคุ ลากรนน้ั คณะกรรมการสรรหาจะเปน็ ผคู้ ดั เลอื ก โดยการวา่ จา้ ง 2 วาระๆ ละ 3 ปี และมกี ารประเมินบุคลากรกอ่ นที่จะท�ำ สญั ญาจา้ งตอ่ โดยจะมกี ารประเมิน 3 ระดับ ได้แก่ ระดบั ภาควชิ า ระดับคณะ และระดับมหาวทิ ยาลัย โดยแตล่ ะระดับจะมีการแตง่ ต้งั กรรมการให้มาทำ�การประเมิน 3) การประเมินผลประจ�ำ ปี (Yearly Evaluation of Faculty) คณะกรรมการผู้ร่วมวิชาชีพ เป็นผู้ประเมินบุคลากรของคณะทุกคน โดยจะประเมิน จากการเขยี นรายงานความก้าวหนา้ ประจ�ำ ปี การประเมินบนพื้นฐานของความสามารถ 4) การประเมินคณะและภาควิชา (Faculty and Departmental Review) คณะกรรมการจากภายนอก เป็นผู้ประเมินคณะและภาควิชาทุก 5 ปี และมีการรายงาน ผลการประเมนิ ต่อรองอธิการบดฝี ่ายวิชาการ และคณบดี 5) การประกันคุณภาพการวิจยั (Quality Assurance in Research) คณะกรรมการของแต่ละสาขาวิชาพิจารณาให้ทุนอุดหนุนการวิจัย โดยทุนวิจัยเหล่านี้ ส่วนใหญจ่ ะได้มาจากหน่วยงานท่ีให้ทุนอดุ หนุนการวิจยั ตา่ งๆ ในระดบั ชาติ 6) มุ่งมั่นสู่ความเปน็ เลิศ (Commitment to Excellence) มหาวิทยาลัยในแคนาดา จะได้รับการประกันคุณภาพของบุคลากร โดยยึดหลักพันธกิจ มงุ่ สคู่ วามเปน็ เลิศทางการสอน การวจิ ัย และการบริหารการจดั การท�ำ งาน โดยพนั ธกิจทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย น้สี ่งผลให้มหาวทิ ยาลยั ในแคนาดาเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 15 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การก�ำ กับ ติดตาม ประเมินเพ่อื สง่ เสรมิ คุณภาพการศึกษา“ “ แม้ว่ารัฐบาลแคนาดาไม่มีหน่วยงานกลางในระดับประเทศที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษา โดยตรงก็ตาม แต่รัฐบาลกลางก็ได้กําหนดให้แต่ละรัฐและเขตพื้นที่การปกครองอิสระทําหน้าท่ี รับผิดชอบในการจัดการศึกษาของแต่ละรัฐและเขตพ้ืนที่การปกครองอิสระ โดยได้กําหนดโครงสร้าง องค์กรในการบริหารงาน กระบวนการท่ีได้มาของคณะทํางานในการบริหารงานด้านการศึกษา ของแต่ละรัฐ และการบริหารงาน เพื่อให้ดําเนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ การศึกษาของชาติดําเนินการอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ รัฐบาลแคนาดาจึงได้มีการจัดต้ัง สภารัฐมนตรีการศกึ ษาแหง่ ชาติ (The Councils of Ministers of Education, Canada : CMEC) เพ่ือเป็นเวทีสําหรับรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ และผู้บริหารของรัฐต่างๆ ได้ปรึกษาหารือ และ ร่วมมือกันในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นเวที ในการแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การศกึ ษาของชาติ ในปี ค.ศ 1999 CMEC ไดป้ ระกาศกฎบตั รทางการศึกษา เรยี กวา่ Victoria Declaration เนน้ เปา้ หมาย สำ�คัญ คือ การพัฒนาความเป็นพลเมือง และการพัฒนาที่สอดคล้องกับเป้าหมายทางสังคมและเศรษฐกิจ ของประเทศ การกำ�หนดเป้าหมายท่ีสามารถปฏิบัติได้จริง ความร่วมมือในการพัฒนาหลักสูตรและ การปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ การขยายการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา การส่งเสริมการวิจัยที่ใช้นโยบาย เป็นฐาน มีการเช่ือมต่อระหว่าง CMEC กับรัฐบาลกลางมากขึ้น CMEC มีนโยบายให้โรงเรียนในรัฐ ใช้หลักสูตรเดียวกันและเลือกสรรคนเก่งเข้ามาเรียนในแต่ละรัฐ โดยเปิดโอกาสให้ลูกหลานของผู้อพยพ เข้ามาเรียนมากขึ้น หลักสูตรถูกออกแบบเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองที่อยู่อาศัยท่ีรักษา สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและความเป็นระเบียบของสงั คมทก่ี ำ�ลังเปลยี่ นแปลง ◆ ระดับการศกึ ษาปฐมวัย การกำ�กับติดตามคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยเป็นหน้าท่ี ของผบู้ รหิ าร และ / หรอื เจา้ หนา้ ทจี่ ากรฐั ทจี่ ะไปสงั เกตการสอนในชน้ั เรยี น เพ่ือประเมินคุณภาพของครูและโปรแกรมการสอน สำ�หรับโปรแกรม การสอนใหม่ จะมีการทดลองนำ�ร่องและมีการติดตามโดยผู้เชี่ยวชาญ ดา้ นโปรแกรมการสอนมหี นว่ ยงานการประเมนิ การศกึ ษาและวจิ ยั ด�ำ เนนิ การ จัดทำ�รายการ ประกอบด้วย สถิติประจำ�ปี จำ�นวนครูผู้สอน จำ�นวนเด็ก และการทดลองใช้โปรแกรมการสอนต่างๆ (Public Investments in Early Childhood Education and Care in Canada, 2010) 16 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

◆ ระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มีกลไกในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ตามมาตรฐานและเปา้ หมายท่ีก�ำ หนด โดยแตล่ ะรฐั หรอื สถานศกึ ษาสามารถออกแบบการก�ำ กบั คณุ ภาพการศกึ ษา ได้อิสระ กรอบแนวคิดสำ�หรับกำ�กับคุณภาพการศึกษา ได้แก่ (1) การเชือ่ มโยงทางการศกึ ษาและตลาดแรงงาน New Brunswick ไดเ้ สนอยทุ ธศาสตรแ์ รงงาน และการพัฒนาทักษะ (Labor Force and Skill development) ที่จะช่วยสร้างความเข้มแข็งในเส้นทาง อาชีพของผู้เรียน การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาศักยภาพและทักษะท่ีเร่ิมฝึกตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงเกรด 12 จนสำ�เร็จการศึกษาและทำ�งาน (2) ระบบ Special High Skills Majors Program ของรฐั ออนตารโิ อ เปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ใี นการออกแบบ ใหน้ กั เรยี นทสี่ �ำ เรจ็ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาไดม้ โี อกาสศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ และมจี ดุ เรม่ิ ตน้ การท�ำ งานทดี่ ี โดยจะได้ประกาศนียบัตรจากสถานประกอบการ เป็นหลักสูตรแบบทวิศึกษา (Dual Credit Program) ชว่ ยใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นควบคกู่ บั การฝกึ งาน โปรแกรม The Ontario Youth Apprenticeship (OYAP 1995) (3) กฎหมาย Accepting Schools Acts ของรัฐออนตาริโอ เน้นให้กรรมการสถานศึกษา ไดม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในการจดั บรรยากาศท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ และมคี วามปลอดภัย (4) ข้อมลู จากรายงานของ The Prince Edward Island ซึง่ ไดก้ ล่าวถึง Professional Learning Report (2013) ว่า มุ่งพัฒนาการเรียนรู้ของครู โดยการจัดปฏิทินของโรงเรียนให้นับรวมวันท่ีครูใช้ ในการพัฒนาวิชาชีพเข้าไปด้วย ปรับหลักสูตรให้ครูใช้ได้ง่ายข้ึน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้ โรงเรยี นเปน็ ฐานและใหค้ รูวางแผนการประเมินตนเอง (5) The Nova Scotia Instructional Leadership Academy Program (NSYLA, 2010) เป็นโปรแกรมอิงมาตรฐานท่พี ฒั นาผบู้ ริหารและผู้นำ�ในโรงเรยี น ใหม้ ีความสามารถเป็นผนู้ �ำ ด้านการสอน และการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ใหแ้ ก่เดก็ (6) School Effective Framework เป็นกรอบที่ช่วยให้โรงเรียนได้วางแผนการพัฒนาคุณภาพ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นบรรลตุ ามเปา้ หมายทหี่ ลกั สตู รก�ำ หนด การสรา้ งเสรมิ สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี ออื้ การเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ ให้ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรียนรู้ รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 17 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั อาชวี ศกึ ษา 1.1 การหลอมรวมการศึกษาเพ่อื อาชีพ (Career Education) ลงในระบบการศึกษา สามารถสรางเจตคติที่ดีตออาชีพของ ประชาชน ทําใหประชาชนเห็นความสําคัญจําเปนในการศึกษา วิชาในสายอาชีพกอนเขาสูการทำ�งาน ส่ิงสนับสนุนเรื่องนี้ ไดแก การใชการศึกษาเพื่ออาชีพหลอมรวมในระบบการศึกษาต้ังแตระดับ อนบุ าล ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา โดยมี Career Awareness, Career Orientation, Career Exploration, Career Preparation และ Career Specialization อยูในการศึกษาระดับตางๆ เหลาน้ัน และการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายก็เปนการเตรียมตัว ผูเ รียนใน 2 ทาง คือ เขาสมู่ หาวทิ ยาลัย หรือเขา สกู ารศกึ ษาอาชีพ (อาชีวศกึ ษา) 1.2 ความมเี อกภาพในนโยบายรว มกนั เกย่ี วกบั การอาชวี ศกึ ษาของประเทศ เพอ่ื ใหแตละรฐั แกไ ข ปญหากําลังคน (แรงงาน) ของชาติ ไดอยางตรงเปาและมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตรที่ประเทศแคนาดา ใชอยูคือ กระทรวงพัฒนาทรัพยากรมนุษยเปนแกนกลาง กระทรวงอื่นๆ ของรัฐบาลกลาง เชน กระทรวงการจางงานและตรวจคนเขาเมือง กระทรวงพาณิชย ตลอดจนรัฐบาล เขตปกครอง ลงไปถึง สถานศึกษาอาชีพ คณะกรรมการการศึกษาของรัฐ เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาจะถูกเช่ือมโยง เขาหากัน สนองนโยบายและเปาหมายการพัฒนากําลังคนในสาขาตางๆ ระดับตางๆ จึงไมมีขอขัดแยง ความซํ้าซอนหรอื แยง งานกันทาํ 1.3 การมีกฎหมายสนับสนุนการจัดอาชีวศึกษา ถือเปนยุทธศาสตรแหงความสําเร็จอยางย่ิง ในการทํางาน ไมวาจะเปนกฎหมายการอาชีวศึกษา กฎหมายการฝกอบรมอาชีพ ตลอดจนกฎหมาย ประกอบอ่ืนๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษา อบรม แรงงานสัมพันธ การศึกษาอาชีพสำ�หรับผู้ใหญ่ คนพิการ ผูดอยโอกาส เยาวชน สตรี การประกันการจางงาน สวัสดิการแรงงาน และอ่ืนๆ เน่ืองจากกฎหมาย เปน บทบญั ญตั ใิ หต อ งปฏบิ ตั ติ ามเพอื่ ใหเ กดิ เปน รปู ธรรมตามกฎหมายจงึ ชว ยใหพ นั ธกจิ เกดิ ความสาํ เรจ็ ได้ 1.4 การสรางสถาบันการศึกษาอาชีพ เปนศูนยกลางการพัฒนาอาชีพและแก้ปัญหาของชุมชน ทองถิ่น รวมทั้งเป็นศูนยการศึกษาวิจัยดานอาชีพ สถาบันการศึกษาอาชีพในรูปของวิทยาลัย มหาวิทยาลัย วิทยาลัยอาชีพ วิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยเทคนิค และสถาบันเทคโนโลยีเปนสถาบัน อุดมศึกษาที่มีอิสรภาพทางวิชาการสามารถสรางความหลากหลายในโปรแกรมอาชีพในการศึกษา อบรมวิชาอาชีพแกชุมชนสังคมไดอยางกวางขวาง ทําใหประชาชนพ่ึงพาสถาบันการศึกษาอาชีพ ไดอยางแทจริง การเปดสาขาอาชีพใหม ยุบสาขาอาชีพเกาๆ การพัฒนาทักษะความรูความสามารถ ของประชาชนใหตามทันความตองการอาชีพ ตามทันตอการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการและเทคโนโลยี เปนบทบาทความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาอาชีพจึงถือเปนยุทธศาสตรท่ีสําคัญตอการสราง ความเล่อื มใสศรทั ธาหรอื ความเชือ่ ถอื ตอชุมชน 18 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

1.5 จัดต้ังกองทุนเพื่อการพัฒนาการอาชีวศึกษาและการฝกอบรม โดยเฉพาะในการสงเสริม ใหภาคเอกชนในแตละกลุมอาชีพรวมตัวกันทําการศึกษาวิจัยโครงสรางของอาชีพ การพัฒนาอาชีพ อาชีพใหมที่เกิดขึ้นบนฐานอาชีพเกา มาตรฐานทักษะของอาชีพ มาตรฐานอาชีพ ขอมูลแนวโนม ความกาวหนาของอาชีพ เป็นต้น การกระทําดังกลาวทําใหไดขอมูลสารสนเทศที่สามารถนํามาพัฒนา อาชีพในแตละกลุมอาชีพ ทําใหมีการเคล่ือนไหวปรับปรุงเปล่ียนแปลงการจัดการศึกษาอาชีพ อยูอยางตอเน่ืองและทันสมัยอยูเสมอ ยุทธศาสตรนี้จึงไมเพียงแตสรางความตระหนักในการมีสวนรวม ของภาคเอกชนหรือสถานประกอบการ แตภาครัฐไดข้อมูลเพ่ือการกําหนดแผน นโยบาย มาตรการ ในการสงเสริมพัฒนาการศึกษาอาชีพ การฝกอบรม อาชพี ตลอดจนการพฒั นาแรงงานในการทาํ งานมากขนึ้ 1.6 การสรา งมาตรฐานทกั ษะอาชีพและมาตรฐาน อาชีพให้สูงเทียบเท่าระดับสากล ผลิตภัณฑ์ท่ีได มาตรฐานสากลเทา นน้ั จงึ จะสามารถแขง ขนั ในตลาดโลกได้ ก า ร ศึ ก ษ า อ า ชี พ ท่ี ข า ด ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ห รื อ ด  อ ย คุณภาพ จะสรางความออนดอยทางเศรษฐกิจและ ความออนแอทางปญญาของสังคมชาติ ดังนั้น การอยูรอดของระบบจึงข้ึนอยูกับคุณภาพและมาตรฐานของการศึกษาอาชีพ ซึ่งตองปรับปรุงอยูเสมอ การสรางมาตรฐานทักษะ (Skill Standards) ในประเทศแคนาดา จึงเปนความจําเปนระดับชาติ เพราะแรงงานทักษะสูงเทา นัน้ จงึ จะตอบสนองความตองการทางเศรษฐกิจของแคนาดาได้ สรุปสาระสำ�คัญของการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ สาระสำ�คัญของการนำ�มาตรฐานการศึกษาชาติสู่การปฏิบัติของประเทศแคนาดา สรุปได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 19 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดับ 1. ปฐมวัย การกำ�หนดมาตรฐาน  สภารัฐมนตรีศึกษาธิการของแคนาดา (The Council of Ministers of Education, CANADA: CMEC) ได้ก�ำหนดกรอบวิสัยทัศน์ส�ำหรับการเรียนรู้ระยะแรก เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ใช้เป็นกรอบในการด�ำเนินการจัดการศึกษา เรียกว่า Early Learning and Development Framework  รัฐแต่ละแห่งสามารถออกแบบกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัยได้เอง อย่างไรก็ตาม ยังคงมีแกนความรู้ของการจัดการศึกษาท่ีเป็นสากล ท่ีครูได้รับการพัฒนามา และใช้ร่วมกัน ปรากฏเป็นค�ำส�ำคัญในโปรแกรมการจัดการศึกษา เช่น การจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับวัย และพัฒนาการ (Developmentally Appropriate) การเรยี นรรู้ ะยะเร่มิ แรก (Early Learning) การน�ำ มาตรฐานสหู่ ลักสตู ร  หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เน้นความเชื่อมโยงกับชีวิตเด็ก ให้ความส�ำคัญกับความต้องการ ที่หลากหลายของเด็ก และมุ่งช่วยเด็กในการพัฒนาความรู้ ทักษะ ทัศนคติท่ีจ�ำเป็นเพ่ือให้เป็น ผู้ท่ีรอบรู้ มีผลงาน มีเมตตา รับผิดชอบ และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งในสังคมของตนและสังคมโลก การประกันคุณภาพการศกึ ษา  ระบบควบคุมคุณภาพอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การใช้การรายงานและส่ือสารกับผู้ปกครอง การกำ�กับตดิ ตาม  เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร และ / หรือเจ้าหน้าที่จากรัฐ ท่ีจะไปสังเกตการณ์สอนช้ันเรียนเพื่อประเมิน คุณภาพของครแู ละโปรแกรมการสอน 20 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดบั 2. ประถมศึกษา การก�ำ หนดมาตรฐาน แต่ละรัฐมอี ิสระท่ีจะด�ำเนนิ การแตกตา่ งกัน เชน่  รฐั ออนตาริโอ ใช้กลยทุ ธค์ วามส�ำเรจ็ ของนักเรียน (Student Success Strategy) ในการค้นหา จุดอ่อนของนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และให้การชว่ ยเหลอื แบบพเิ ศษ  รัฐบริทิชโคลัมเบียจัดการศึกษาระดับอนุบาลถึงประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยให้เรียน 4 หมวดวิชา คอื (1) การอา่ น การเขยี น และการคดิ เลข (2) สงั คมศกึ ษา (3) วทิ ยาศาสตร์ และ (4) การคน้ ควา้ / ส�ำรวจ โดยให้เรยี นกับครปู ระจ�ำวชิ าและครูประจ�ำศูนยก์ ารเรยี น การนำ�มาตรฐานสหู่ ลกั สูตร  กระทรวงศึกษาธิการของรัฐ มีสภาหลักสูตรซ่ึงประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้น�ำชุมชนที่มุ่งม่ัน และผู้เชี่ยวชาญการศึกษา ท�ำหน้าที่ให้ค�ำปรึกษากระทรวงฯ ในเร่ืองนโยบายเชิงยุทธศาสตร์ ของหลักสตู รระดับประถม การประกนั คณุ ภาพการศึกษา  ในรัฐออนตาริโอ มีหน่วยงานทดสอบมาตรฐานการศึกษา ชื่อ Education Quality and Accountability Office (EQAO) ซงึ่ ท�ำหน้าทบี่ ริหารการทดสอบมาตรฐานหลากหลายรูปแบบ การก�ำ กบั ติดตาม  มีกลไกในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานและเป้าหมายท่ีก�ำหนด โดย แต่ละรัฐ หรือสถานศึกษาสามารถออกแบบยุทธศาสตร์การท�ำงาน กรอบแนวคิดส�ำหรับ ก�ำกบั คณุ ภาพการศกึ ษา รายงานผลการศึกษา เรื่อง 21 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดับ 3. มธั ยมศึกษา การก�ำ หนดมาตรฐาน  การกําหนดมาตรฐานทักษะ เปนของแตละกลุมอุตสาหกรรมกําหนดข้ึน ยังไมมีรูปแบบ มาตรฐานกลางระดบั ชาติ  การมัธยมศึกษา ส่วนใหญ่จะให้เลือกเรียนวิชาทางเทคนิคอาชีวศึกษาซึ่งข้ึนอยู่กับโรงเรียน และภมู ภิ าค ในแต่ละปี วิชาท่อี ย่ใู นหลักสตู รพ้นื ฐาน เชน่ ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ทัศนศิลป์ (visual arts) และพลศึกษา จะถูกเสริมด้วยวิชาเฉพาะท่ีสัมพันธ์กัน ในระดับสงู ขึ้น เช่น วชิ าภาษาองั กฤษ การน�ำ มาตรฐานส่หู ลักสตู ร  กระทรวงฯ มนี โยบายและยทุ ธศาสตร์ ก�ำหนดหลักสตู รระดบั มัธยมศึกษา การประกันคณุ ภาพการศึกษา  ในรฐั ออนตารโิ อมหี นว่ ยงานทดสอบมาตรฐานการศกึ ษาชอ่ื EducationQualityandAccountability Office (EQAO) ซ่ึงท�ำหนา้ ทีบ่ รหิ ารการทดสอบมาตรฐานหลากหลายรูปแบบ การกำ�กบั ติดตาม  มีกลไกในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานและเป้าหมายที่ก�ำหนด โดย แต่ละรัฐ หรือสถานศึกษาสามารถออกแบบบยุทธศาสตร์การท�ำงาน กรอบแนวคิด ส�ำหรับ ก�ำกับคุณภาพการศึกษา ได้แก่ การเช่ือมโยงความเข้มแข็งทางการศึกษาและตลาดแรงงาน New Brunswick ได้เสนอยุทธศาสตร์แรงงานและการพัฒนาทักษะ (Labor Force and Skill Development) ท่ีจะช่วยสร้างความเข้มแข็งในเส้นทางอาชีพของผู้เรียน การเรียนรู้เพื่อพัฒนา ศกั ยภาพและทกั ษะ ทเี่ รมิ่ ฝกึ ตง้ั แตร่ ะดบั อนบุ าลไปจนถงึ เกรด 12 จนส�ำเรจ็ การศกึ ษาและการมงี านท�ำ 22 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดับ 4. อาชีวศกึ ษา การกำ�หนดมาตรฐาน  มาตรฐานคณุ ภาพการอาชวี ศึกษากาํ หนดโดยรัฐบาลของแตล ะรฐั  มีรูปแบบหลากหลาย สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แบบประกาศนียบัตรรับรองคุณวุฒิ (CertificateofQualification-CQ) และใบรบั รองคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (VocationalQualifications-VQ) ซึง่ เปน็ เอกสารแสดงผลสาํ เรจ็ จากการฝกอบรมอาชีพ การน�ำ มาตรฐานสหู่ ลกั สูตร  การฝกอบรมอาชีพในรูปแบบตางๆ นอกจากจะจัดในสถาบันการศึกษาอาชีพระดับวิทยาลัย ชนดิ ตางๆ แลว ยังจัดในสถานประกอบการ องคก รของเอกชน ตลอดจนโรงเรยี นมัธยมแบบประสม (Composite High School) การประกนั คณุ ภาพการศึกษา  การศึกษาระดับอาชีวศึกษาของประเทศแคนาดาให้อิสระแต่ละหน่วยงานหรือเขตต่างๆ จัดท�ำ ระบบประกันคณุ ภาพของตนเอง ท�ำให้มรี ปู แบบทห่ี ลากหลาย การก�ำ กับตดิ ตาม  การหลอมรวมการศึกษาเพื่ออาชีพ (Career Education) ลงในระบบการศึกษา ตั้งแต ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา ทําใหสามารถสรางเจตคติท่ีดีตออาชีพของประชาชน ทําใหประชาชนเห็นความสําคัญจําเปน ในการศึกษาวิชาอาชพี กอ นเขาสตู ลาดแรงงาน รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 23 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระดบั 5. อุดมศกึ ษา การกำ�หนดมาตรฐาน  การจดั การศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา หรอื ระดบั มหาวทิ ยาลยั นนั้ ยงั เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะรฐั  รัฐบาลระดับรัฐสรางเกณฑหรือกรอบของมาตรฐานอาชีพ (Guidelines for Standards) ขึ้นเอง โดยมีผเู กี่ยวขอ งหลายฝา ยมารว มด�ำเนินการ การน�ำ มาตรฐานส่หู ลกั สตู ร  มีโปรแกรมการเรยี นออนไลน์ส�ำหรบั ผสู้ นใจไดเ้ รียนรแู้ ละฝึกอบรมหลากหลายโปรแกรม  สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตการเรียนรายวิชาต่างๆ ที่เรียนมาแล้วได้ การประเมินเพื่อรับรอง การถ่ายโอนน้ัน กระท�ำในลักษณะเป็นรายวิชาต่อรายวิชา และโรงเรียนต่อโรงเรียน สิ่งที่ต้องการ ส�ำหรับการรับรองก็ขนึ้ อยู่กับแต่ละสถาบัน การประกันคุณภาพการศึกษา  การประกันคุณภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยในทุกรัฐและเขตปกครองพิเศษของ ประเทศแคนาดา มีนโยบายและกระบวนการท่ีมีระเบียบแบบแผน เป็นขั้นตอน โปร่งใส ครอบคลุม สมบูรณ์ และเคร่งครัด รวมทั้งมีการทบทวนตรวจสอบจากภายนอกโดยเจ้าหน้าที่ตรงสายงาน ระดับรัฐ 24 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การนำ�มาตรฐานการศกึ ษา สู่การปฏิบตั ขิ องตา่ งประเทศ : สาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ ข้อมลู ทั่วไป ฟนิ แลนดเ์ ปน็ ประเทศในภมู ภิ าคยโุ รปเหนอื ในกลมุ่ ประเทศนอรด์ กิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยเดนมารก์ ฟนิ แลนด์ ไอซแ์ ลนด์ นอรเ์ วย์ และสวเี ดน ฟนิ แลนดเ์ ปน็ สมาชกิ สหภาพยโุ รป แตไ่ มเ่ ปน็ สมาชกิ นาโต้ (NATO) เนอื่ งจาก มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซียที่ไม่ต้องการให้ประเทศเพ่ือนบ้านท่ีติดกันเป็นสมาชิกนาโต้ ฟินแลนด์ จึงพยายามวางตัวเป็นกลางระหว่างประเทศมหาอำ�นาจ โดยยึดหลักการสำ�คัญในการดำ�เนินนโยบาย ต่างประเทศ คือ ยึดม่ันในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมโลกบนพื้นฐานแห่งความเป็นประชาธิปไตย หลกั นติ ิธรรม การเคารพในหลักสิทธมิ นษุ ยชน ความเท่าเทียมกัน (Equality) และความเทา่ เทียมกนั ทางเพศ (Gender Equality) รวมท้ังการใหค้ วามส�ำ คญั กับการเปล่ียนแปลงทางภมู อิ ากาศ (Climate Change) รฐั บาลฟนิ แลนดไ์ ดป้ ฏริ ปู ระบบการศกึ ษา ตง้ั แตค่ รสิ ตท์ ศวรรษท่ี 1970 ปจั จบุ นั ฟนิ แลนดเ์ ปน็ ประเทศ ที่มีระบบการศึกษาระดับประถมศึกษาดีท่ีสุดในโลก อัตราการรู้หนังสือของประชากรเกือบร้อยละ 100 และยังเป็นประเทศที่มีการคอร์รัปชันน้อยเป็นอันดับ 3 ของโลก (ปี ค.ศ. 2016) ในปี ค.ศ. 2017 ฟินแลนด์ ถือเปน็ ประเทศทีม่ ีเสถียรภาพและปลอดภัยทสี่ ดุ ในโลก ฟินแลนด์เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีประชากรประมาณ 5.5 ล้านคน แบ่งเขตปกครองออกเป็น 19 เขต มีเทศบาลเป็นองค์กรปกครองท้องถน่ิ (Municipality) ทวั่ ประเทศมีเทศบาลจ�ำ นวน 311 แหง่ โดยมี สภาเทศบาล (Municipality Council) ที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนเป็นผู้บริหาร และ จ้างปลัดเทศบาล (Mayor) เป็นผู้บริหารงานประจำ� ทุกเทศบาลมีสถานะเท่าเทียมกันยกเว้นกรุงเฮลซิงกิ ซึ่งเปน็ เมืองหลวง (City of Helsinki) ใชภ้ าษาทางการ 2 ภาษา คอื ภาษาฟินนิช (Finnish) และภาษาสวดี ิช (Swedish) โดยประชากรส่วนใหญเ่ กอื บรอ้ ยละ 90 ใช้ภาษาฟินนชิ รายงานผลการศึกษา เรื่อง 25 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศกึ ษา การศึกษาของฟินแลนด์มีคุณภาพสูงด้วยต้ังอยู่บนฐานคิดว่า “คนเป็นสินทรัพย์ท่ีสำ�คัญท่ีสุดของประเทศ เด็กทุกคนมีสิทธิ์ ท่ีจะได้รับการศึกษาที่ยอดเยี่ยม ซึ่งจะช่วยเพ่ิมศักยภาพและ ได้ทำ�ในสิ่งที่ต้องการ” ปรัชญาน้ีทำ�ให้ฟินแลนด์พัฒนาขึ้น อย่างรวดเร็วจากประเทศที่ยากจนที่สุดในโลกกลายเป็น 1 ใน 100 ของประเทศที่รํ่ารวยที่สุดของโลก ฟินแลนด์มุ่งมั่น พัฒนาคนให้สามารถแก้ปัญหาได้ ให้โอกาสในการศึกษา ตลอดชีวิต ให้ทุกคนได้พัฒนาตนเอง โดยใช้งบประมาณจากภาษี ของประเทศ สถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน มีวัตถุประสงค์ และมาตรฐานเดียวกันในการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้งบประมาณของรัฐ โดยงบประมาณที่ใช้ในการศึกษา มากกว่ารอ้ ยละ 11 ของกองทุนสาธารณะทัง้ หมด การศึกษาในประเทศฟินแลนด์ เป็นการศึกษาท่ีรัฐบาลให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่นักเรียน ท่เี รยี นเตม็ เวลาในโรงเรียน ระบบการศกึ ษาปจั จุบนั ในฟินแลนดป์ ระกอบด้วย  โครงการเล้ียงเด็กช่วงกลางวัน (Daycare) เป็นโครงการสำ�หรับเด็กทารกและเด็กเล็ก ท่ีมีอายุประมาณ 1 - 6 ปี เป็นการเตรียมเด็กก่อนวัยเรียน (Preschool) หรือระดับอนุบาล ถือว่าเป็น ช่วงเวลาในการเตรียมความพรอ้ มให้เด็กก่อนทีจ่ ะเข้าสกู่ ารศกึ ษาภาคบงั คบั ตอ่ ไป  การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานแบบประสมภาคบงั คบั (Compulsory Basic Comprehension School) ใช้เวลา 9 ปี (อายุ 7 - 16 ป)ี  การศกึ ษาหลังภาคบังคบั ระดับมธั ยมทง้ั สายวิชาการและสายอาชพี  การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา (มหาวทิ ยาลยั ทว่ั ไปและมหาวทิ ยาลยั ทางวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต)์  การศึกษาสำ�หรบั ผู้ใหญ่ (การศึกษาตลอดชวี ิตและการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง) กลยทุ ธข์ องฟนิ แลนดใ์ หค้ วามส�ำ คญั ดา้ นความเทา่ เทยี มและความเปน็ เลศิ ทางการศกึ ษา มพี น้ื ฐาน มาจากการก่อตั้งโรงเรียนแบบประสม หลักการสำ�คัญของกลยุทธ์นี้ คือ การสร้างเครือข่ายโรงเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เข้าเรียนในโรงเรียนใกล้บ้านมากที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ แต่ถ้าอยู่ห่างไกลในชนบท รัฐจดั หารถรบั ส่งนกั เรยี นโดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ยไปยังโรงเรียนท่ีกระจายออกไปหา่ งไกลบา้ น มจี ดั การศึกษาพิเศษ แบบเรียนร่วม (Inclusive Special Education) ในชน้ั เรยี นปกติ และการชว่ ยเดก็ ที่ไม่ประสบความสำ�เร็จ ทางการเรียนให้เรยี นไดเ้ ท่าทนั เพือ่ น หลังจากส�ำ เรจ็ การศึกษาข้ันพืน้ ฐานแบบประสม ซึ่งมรี ะยะเวลาในการเรียน 9 ปี นักเรยี นจะมอี ายุ 16 ปี สามารถเลือกเรยี นต่อในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ (Academic track - lukio) หรอื สายอาชีพ (Vocational track - ammattikoulu) ซ่ึงมีระยะเวลา 3 ปี เมือ่ จบการศกึ ษาระดบั นี้แล้วนักเรยี นสามารถ 26 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

เรียนต่อในระดับอุดมศึกษา (Tertiary Education) ซึ่งการอุดมศึกษาแบ่งออกเป็นมหาวิทยาลัย และ โปลิเทคนิค (Amattikorkeakoulu หรือมีชื่อว่ามหาวิทยาลัยทางวิทยาศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัย ให้ปรญิ ญา 2 ระดบั คือ licentiate และปรญิ ญาเอก (Doctoral - Level) แตเ่ ดิมนั้นนักศกึ ษาท่จี บปริญญาตรี สามารถเรียนต่อแล้วได้รับ Postgraduate degree แต่ในปัจจุบันมีการนำ� Bologna Process มาใช้ ในมหาวิทยาลัย โดยบัณฑิตที่จบปริญญาตรีสามารถศึกษาต่อในระดับสูงต่อไปได้ ปัจจุบันฟินแลนด์ มมี หาวทิ ยาลัย จ�ำ นวน 17 แหง่ และมหาวิทยาลัยทางวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ จำ�นวน 27 แหง่ ดรรชนีการพัฒนามนุษยข์ ององคก์ ารสหประชาชาติ ในปี ค.ศ. 2008 โดยใชข้ อ้ มูลของปี ค.ศ. 2006 แสดงให้เห็นว่าฟินแลนด์มีระดับดรรชนีการศึกษาท่ี 0.993 เทียบเท่ากับประเทศเดนมาร์ก ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของฟินแลนด์กล่าวว่า ความสำ�เร็จทางการศึกษา ของประเทศเกิดได้เพราะกระทรวงศึกษาธิการฯของฟินแลนด์ได้กำ�หนดระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Basic Education) มีรูปแบบเดียวกันและมีครูท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญ ตลอดจนให้โรงเรียนทุกแห่ง มอี �ำ นาจในการจัดการศกึ ษาของตน รายละเอยี ดของระบบการศึกษาประเทศฟนิ แลนด์ แสดงได้ดงั ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ระบบการศกึ ษาในประเทศฟนิ แลนด์ ปริญญาสายอาชีพ อายุทก่ี �ำ หนด ท�ำ งาน ปริญญาสายวิชาการ +2-3 ปริญญาเอก (Doctor) ปรญิ ญาโท (ปจั จุบัน) +3-4 ปรญิ ญาโทจากบางมหาวิทยาลัยในยุโรป ปรญิ ญาตรี 17 - 48 (Licentiate) ประกาศนียบตั ร 16 - 17 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 15 - 16 ปรญิ ญาโท (Master) สายอาชีพ (ภาคสมคั รใจ) 14 - 15 ปริญญาตรี (Bachelor) มัธยมตน้ 3 ปี เรยี กว่า 13 - 14 ประกาศนยี บัตร alakoulu หรือ ala - aste 12 - 13 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 11 - 12 สายสามัญ (ภาคสมคั รใจ) 10 - 11 โรงเรียนการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 9 - 10 แบบประสมภาคบงั คบั 7-8 6-7 ประถมศึกษา 6 ปี เรยี กวา่ 5-6 alakoulu หรอื ala - aste กอ่ นวยั เรียน การศกึ ษาปฐมวัย รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 27 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั การศึกษาปฐมวยั การศึกษาปฐมวัยในฟินแลนด์มุ่งพัฒนาทักษะด้านการ อยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ทกั ษะการส่อื สาร พฒั นาทกั ษะทางสงั คมและ ทักษะปฏิบัติต่อกันและกัน พัฒนาเด็กให้เป็นบุคคลที่มี คุณลักษณะเฉพาะตน ให้เด็กสามารถดูแลตนเองและเป็น ผู้ใหญ่ที่สามารถตัดสินใจอย่างมีความรับผิดชอบ มีส่วนร่วม ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในฐานะทเี่ ปน็ พลเมอื งทม่ี คี ณุ ภาพ รวมทัง้ สามารถดูแลผ้อู ่ืนท่ตี อ้ งการความช่วยเหลือ พ่อแม่ของเด็กท่ีเกิดใหม่จะได้รับแจกหนังสือ 3 เล่ม คือ หนังสือสำ�หรับบิดาและมารดา คนละ 1 เล่ม และอกี 1 เลม่ ส�ำ หรับเด็กทารก ซึง่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของ “ชุดสำ�หรบั มารดา” Eeva Hujala ผู้เช่ียวชาญ พเิ ศษดา้ นพฒั นาการเดก็ ชาวฟนิ แลนด์ กลา่ วไวว้ า่ “การศกึ ษาปฐมวยั เปน็ ขน้ั เบอ้ื งตน้ ทมี่ คี วามส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ ทม่ี ผี ลต่อการศกึ ษาตลอดชวี ิต” ท้ังน้ีมีงานวิจัยทางประสาทวทิ ยาแสดงให้เห็นว่า สมองมีการเจริญเตบิ โต ถงึ ร้อยละ 90 ในช่วง 5 ปแี รก และทางเดินของเสน้ ประสาทพัฒนาถึงร้อยละ 85 (ในฟินแลนด์ 7 ปี ถอื ว่า เป็นอายกุ อ่ นวยั เรียนหรอื ปฐมวัย) การศึกษาปฐมวัยในฟินแลนด์เป็นการดูแลเด็กให้เจริญเติบโต โดยความร่วมมือระหว่างพ่อแม่ ผปู้ กครอง และสงั คม เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มใหเ้ ดก็ ดา้ นรา่ งกาย เชน่ การมมี ารยาทในการรบั ประทานอาหาร สามารถรักษาความสะอาดตนเองได้ เปน็ ตน้ ดา้ นจิตใจ สามารถสือ่ สาร มีความสนใจตอ่ สังคม มคี วามร้สู กึ รว่ ม และเอาใจใส่ รวมทั้งสะท้อนความเป็นตัวตนก่อนที่เด็กจะเข้าเรียนในโรงเรียนเม่ืออายุ 7 ปี โดยเด็ก อายุก่อน 7 ปี จะเรียนรู้ได้ดีผ่านการเล่น และเมื่อถึงเวลาที่เข้าเรียนในโรงเรียน ก็จะกระตือรือร้นพร้อม ทีจ่ ะเรม่ิ เรยี นอยา่ งแท้จริง ในปี ค.ศ. 1990 ประเทศฟินแลนด์ให้เด็กทุกคนได้เข้าโครงการเล้ียงเด็กช่วงกลางวัน (Daycare) ตั้งแต่อายุ 8 เดือน จนถึง 5 ปี และเข้าโรงเรียนอนุบาล (Preschool Kindergarten) เม่ืออายุ 6 ปี โดยในปี ค.ศ. 1996 โครงการเลี้ยงเด็กช่วงกลางวันมี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบแรกเล้ียงในศูนย์เลี้ยงเด็ก เต็มวัน และรูปแบบที่สองเล้ียงในสนามเด็กเล่นของท้องถ่ินโดยมีผู้ใหญ่เป็นผู้ดูแล โดยพ่อแม่สามารถ มาทสี่ นามเดก็ เลน่ พร้อมกับเดก็ ภายใตป้ รชั ญาการเรยี นรผู้ า่ นการเลน่ โดย Pepa O’dena ชาวฟนิ แลนดท์ ที่ �ำ งานในศนู ยเ์ ลย้ี งเดก็ เหลา่ นี้ กล่าวว่า “คุณไม่ได้รับการสอน แต่คุณเรียนรู้ เด็กๆ เรียนรู้ผ่านการเล่น มีการนำ�ปรัชญาน้ีมาใช้ในทุกๆ โรงเรยี นท่เี ราได้ไปเย่ียมเยยี น ไม่ว่าครูจะพดู อะไร และไม่ว่าเราจะเห็นอะไร ทุกอย่างกเ็ ป็นไปตามปรชั ญานัน้ ” องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จะจา่ ยเงนิ ใหแ้ มใ่ นกรณที ตี่ อ้ งการดแู ลเดก็ เองทบี่ า้ น (Home Daycare) ในชว่ งเวลา3ปแี รกของเดก็ ทงั้ นี้ในบางกรณจี ะมผี ดู้ แู ลไปทบี่ า้ นของเดก็ เปน็ บางครงั้ เพอ่ื ดวู า่ สภาพแวดลอ้ ม ของบ้านน้ันๆ เหมาะสมหรือไม่ โดยอัตราส่วนของผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็กในศูนย์เด็กเล็กของท้องถ่ิน (ท้ังที่ เปน็ ศนู ยข์ องเอกชนทที่ อ้ งถนิ่ สนบั สนนุ ดา้ นการเงนิ หรอื ศนู ยซ์ งึ่ รฐั บาลกลางจา่ ยเงนิ โดยผา่ นองคก์ ารบรหิ าร สว่ นทอ้ งถิน่ ) จะเป็นดังน้ี 28 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

 สำ�หรับเดก็ 3 ปี หรอื ตํา่ กว่านนั้ อัตราสว่ น คอื ผู้ใหญ่ 3 คน (ครู 1 คน พยาบาล 2 คน) ตอ่ เด็ก 12 คน (1 ต่อ 4)  ส�ำ หรบั เดก็ อายุ 3 ถงึ 4 ปี อัตราสว่ น คอื ผู้ใหญ่ 3 คน (ครู 1 คน พยาบาล 2 คน) ต่อเด็ก 20 คน (1 ตอ่ 7) ทัง้ น้ี การเก็บค่าใช้จา่ ยจะขน้ึ อยู่กับรายได้ของครอบครวั ซึง่ ก็มตี ัง้ แตไ่ มต่ ้องจ่ายเงินเลย จนถึงตอ้ ง จ่ายมากทสี่ ดุ ไมเ่ กิน 200 ยูโรตอ่ เดือน การศกึ ษาปฐมวยั ไมไ่ ดเ้ ปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั แตค่ นฟนิ แลนดเ์ กอื บทงั้ หมดกน็ �ำ ลกู เขา้ รบั บรกิ าร ซงึ่ Eeva Penttila นักการศกึ ษาใน Helsinki กลา่ ววา่ “ศนู ยเ์ ล้ยี งเด็กไมใ่ ช่สถานที่ท่คี ุณท้ิงเด็กไว้ในขณะท่ี คุณไปทำ�งาน มันเป็นที่ท่ีลูกของคุณได้เล่น ได้เรียนรู้ ได้มีเพ่ือน พ่อแม่ท่ีเห็นความสำ�คัญก็จะพาเด็ก ไปเข้ารับบริการจากศูนย์ดูแลเด็กช่วงกลางวัน ซ่ึงเร่ืองน้ีไม่เก่ียวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม” Ms. Penttila กล่าวว่า เราเน้นให้เด็กอนุบาล “เรียนรู้วิธีการเรียน” แทนท่ีเราจะสอนอย่างเป็นทางการ แกเ่ ดก็ ในเรอื่ งการอา่ น และคณติ ศาสตร์ แตส่ อนเดก็ เรอื่ งของธรรมชาตสิ ตั ว์ “วงจรแหง่ ชวี ติ ” และการเรยี นรู้ จากของจริง มีความเชื่ออย่างชัดแจ้งว่า เมื่อเด็กพัฒนาการเรียนรู้ รู้วิธีการเรียนซ่ึงเป็นทักษะแห่งชีวิต และได้น�ำ ความรทู้ ่เี ขาไดส้ ง่ั สมไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ เขาก็จะเปน็ ผ้ซู ง่ึ สามารถเรียนร้ไู ดต้ ลอดชวี ิต “จุดสำ�คัญของการศึกษาท่ีฟินแลนด์เน้น ไม่ใช่การให้ความรู้ทางวิชาการและความรู้ด้านวิชาชีพ แต่ระบบการศึกษาต้องมุ่งให้ผู้เรียนได้มีทักษะการเรียน เพื่อให้เขามีความสามารถ “เรียนรู้วิธีการเรียน” (Learn how to learn) มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจอย่างมเี หตผุ ล และสามารถแสดงออกซึ่งสทิ ธแิ ละ เสรภี าพในระบอบประชาธิปไตย” ◆ ระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานแบบประสมภาคบงั คับ ในฟินแลนด์ โรงเรียนแบบประสมใช้เวลา 9 ปี เร่ิมจาก เกรด 1 ถึงเกรด 9 ตั้งแต่อายุ 7 - 16 ปี (ในภาษาฟนิ ชิ คอื Peruskoulu ในภาษาสวีดิช คือ Grundskola) หมายถึงโรงเรียนข้ันพื้นฐาน (Basic School) ซ่ึงเป็นการศึกษาภาคบังคับ ในช่วงอายุดังกล่าวอาจมี การเรียนทบี่ ้าน (Homeschooling) ไดบ้ า้ งแต่ไมค่ ่อยมีกรณีนี้ ไมม่ โี ปรแกรม สำ�หรับเด็กที่มีพรสวรรค์ (Gifted) แต่ต้องการให้เด็กท่ีเรียนเก่งช่วยเหลือเด็กที่เรียนช้าให้ได้เรียนไป พรอ้ มๆ กนั ประเทศตา่ งๆ สว่ นใหญใ่ ชค้ �ำ วา่ โรงเรยี นแบบประสม (Comprehension School) หมายถงึ โรงเรยี น แบบประสมหลงั จบประถมศกึ ษาจนกระทงั่ ถงึ เกรด 12 และ 13 แตใ่ นฟนิ แลนด์ ค�ำ วา่ โรงเรยี นแบบประสม ครอบคลมุ ระดับประถมศกึ ษาด้วย กล่าวคือ โรงเรยี นแบบประสมในฟินแลนด์ คือ เกรด 1 ถึงเกรด 9 หรือ อาจกล่าววา่ การศึกษาภาคบงั คับในฟินแลนด์มรี ะดบั ช้นั ประถมศกึ ษา 6 ปี เรียกวา่ alakoulu หรอื ala-aste และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น 3 ปี เรียกว่า ylakoulu หรือ ylacste รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 29 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

โรงเรียนท้ังหมดรวมถึงมหาวิทยาลัยได้รับการอุดหนุนด้านการเงิน และมีการบริหารโดยองค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินหรือเทศบาล มโี รงเรยี นเอกชนแตจ่ �ำ นวนไม่มากนกั สภาแหง่ รัฐ (Council of State) เป็นผู้อนุมัติให้เปิดโรงเรียนเอกชน รัฐบาลสนับสนุนด้านการเงินแก่โรงเรียนเอกชนเท่าเทียมกับโรงเรียน ของรัฐซ่ึงมีขนาดเท่าๆ กัน ถึงแม้ว่าจะเป็นโรงเรียนเอกชนก็ไม่สามารถเก็บเงินค่าเล่าเรียนและสอบ คดั เลอื กเขา้ เรยี น นอกจากน้ี โรงเรยี นเอกชนตอ้ งใหก้ ารศกึ ษาและผลประโยชนท์ างสงั คมเทา่ เทยี มกบั นกั เรยี น ในโรงเรยี นรฐั บาล ดงั นน้ั ครทู กุ คนอยภู่ ายใตส้ หภาพแรงงาน ตอ้ งท�ำ ตามค�ำ แนะน�ำ ในหลกั สตู ร แตว่ า่ ไดร้ บั อิสระทจ่ี ะเลอื กใชว้ ธิ ีการเรยี นการสอนอยา่ งเต็มท่ี และสามารถเลือกหนงั สอื แบบเรยี นด้วยตนเองได้ ห้องเรียนจะมีขนาดเล็ก คือ มีนักเรียนไม่เกิน 20 คน เมื่อแรกเริ่มนักเรียนจะต้องเรียน 2 ภาษา นอกเหนือจากภาษาท่ีใช้ในห้องเรียน (ซึ่งมักจะเป็นภาษาฟินนิช หรือ สวีดิช) และนักเรียนช้ัน 1 ถึง 9 ใชเ้ วลา 4 ถงึ 11 คาบ ในแตล่ ะสปั ดาหเ์ พอื่ เรยี นศลิ ปะ ดนตรี การท�ำ อาหาร งานไม้ งานโลหะ และงานถกั ทอ สหภาพครูต้องการให้มีห้องเรียนขนาดเล็ก เนื่องจาก มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพของนักเรียนในการเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาวิทยาศาสตร์ บรรยากาศภายใน โรงเรียนผ่อนคลายและไม่เป็นทางการ อาคารสถานที่ เน้นความสะอาด นักเรียนสามารถสวมเพียงถุงเท้า เดนิ ไปเดนิ มา โดยไมส่ วมรองเทา้ มกี ารเนน้ กจิ กรรมกลางแจง้ แม้วา่ จะมอี ากาศหนาวเย็นจดั มกี ารใหก้ ารบ้านน้อยมาก เพื่อให้นักเรียนมีเวลาทำ�กิจกรรมเสริมหลักสูตร อีกท้ัง มีการสอนดนตรีในโรงเรียน โดยมีนักเรียนจำ�นวนมาก ไปเรียนดนตรีในโรงเรียนดนตรีท่ีได้รับการอุดหนุนด้านการเงินจากรัฐบาลในเวลาหลังเลิกเรียน นักเรียน จ่ายค่าเล่าเรียนเพียงเล็กน้อยเพ่ือเรียนเล่นดนตรีเป็นงานอดิเรก และเรียนการร้องเพลงตามโน้ตเพลง (Salfege) และเรยี นทฤษฎดี นตรีด้วย นอกจากนยี้ งั มกี ารสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ อา่ นเพอื่ ความเพลดิ เพลนิ (Reading for Pleasure) (ประเทศฟนิ แลนด์ พมิ พห์ นงั สอื ส�ำ หรบั เดก็ มากกวา่ ประเทศอนื่ ๆ) สถานโี ทรทศั นท์ อี่ อกอากาศรายการโทรทศั นข์ องตา่ งประเทศ มีค�ำ บรรยายในภาษานนั้ ๆ เพอื่ ใหเ้ ด็กชาวฟนิ นิชสามารถอา่ นภาษาตา่ งประเทศไปดว้ ยขณะดูโทรทศั น์ ในโรงเรียนแบบประสม เมื่อนักเรียนเริ่มเรียนในปีแรกๆ ให้วัดผลการเรียนจากความสามารถ ด้านการพูดมากกว่าการสอบอย่างเป็นทางการ แต่ละท้องถ่ินท่ีรับผิดชอบโรงเรียนเป็นผู้ตัดสินใจว่า ควรเริ่มให้เกรดนักเรียนเป็นตัวเลขเมื่อใด โดยปกตินักเรียนได้รับสมุดรายงานผลการเรียนปีละ 2 คร้ัง คือ เม่ือสิ้นสุดภาคเรียนฤดูใบไม้ร่วง และภาคเรียนฤดูใบไม้ผลิ ท้ังนี้ ไม่มีการสอบไล่อย่างเคร่งเครียด หรอื มีการแข่งขันทสี่ ูง การให้คะแนน หรือ เกรด ให้เป็นตัวเลขจาก 4 ถึง 10 ในกรณีท่ีนักเรียนในโรงเรียนแบบประสม ได้เกรด 4 ในบางวิชาเมื่อส้ินสุดภาคเรียนฤดูใบไม้ผลิ นักเรียนจะต้องแสดงความก้าวหน้าหรือปรับปรุง การเรียนวิชานั้น โดยสอบใหม่เม่ือส้ินสุดภาคเรียนฤดูร้อน ถ้าสอบตกหรือได้คะแนนไม่ดีในหลายๆ วิชาจะต้องเรียนซํ้าช้ัน แต่ก็ไม่ค่อยมีกรณีนี้ เพราะโรงเรียนย่อมต้องช่วยเหลือในการสอนพิเศษให้เด็ก 30 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

เหล่านี้ ถ้าเด็กจำ�เป็นต้องเรียนซ้ําชั้น ครูและอาจารย์ใหญ่ต้องสัมภาษณ์พูดคุยกับเด็กและผู้ปกครอง หรือพอ่ แม่ กอ่ นตัดสนิ ใจให้เด็กซา้ํ ชั้น นักเรียนในโรงเรียนแบบประสมมีสิทธิในสวัสดิการสังคมหลายประการท่ีไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เช่น ได้รับสิทธิสวัสดิการด้านสุขภาพของโรงเรียน ได้รับอาหารกลางวัน หนังสือแบบเรียนและอุปกรณ์ การเรียน รถรับส่ง หรือในบางกรณีจะได้ท่ีอยู่อาศัยโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายถ้าการเดินทางมาโรงเรียนเป็น ความยากล�ำ บาก ◆ ระดับการศกึ ษามธั ยมศึกษาและอาชวี ศึกษา นักเรียนต้ังแต่อายุ 16 ปี จะเข้าสู่ระบบการศึกษาตอนปลาย ซึ่งมี 2 แบบ คือ สายสามัญ (Academic - lukio) และสายอาชพี (Ammattikoulu) โดยใชเ้ วลาประมาณ 3 - 4 ปี (เทยี บเทา่ 2 ปสี ดุ ท้าย ในโรงเรยี นมัธยมปลาย (High School) ในสหรฐั อเมรกิ า และรวม 2 ปี ในวทิ ยาลยั ชมุ ชนในอเมริกา) การศกึ ษา ในระดับนี้ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ โดยเมื่อนักเรียนจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายแล้ว อาจจะเลือกไปฝึกงานอาชีพเพื่อพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ และ / หรือ เลือกไปเรียนสถาบันโปลิเทคนิค หรือเลือกเข้าศึกษาต่อใน โรงเรียนระดับสูงทางด้านวิชาการ เพ่ือเตรียมเข้าเรียนในระดับ มหาวทิ ยาลยั (ปรญิ ญาตร)ี และระดบั มหาวทิ ยาลยั ทสี่ งู กวา่ ปรญิ ญาตรใี นสาขาวชิ าต่างๆ เช่น นติ ิศาสตร์ แพทยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ครุศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ การเข้าเรียน ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายจะพจิ ารณาจากเกรดเฉลยี่ (GPA) และในบางกรณจี ะพิจารณาจากการสอบด้านวิชาการ และการสมั ภาษณ์ ระบบนี้ค่อนข้างยืดหยุ่น ไม่มีกฎข้อบังคับตายตัว นักเรียน ที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพบางคนสามารถเรียนต่อในมหาวิทยาลัย สายวิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือบางคนอาจเรียนสายครุศาสตร์ อย่างไรก็ตาม ในทางตรงกันข้าม นักเรียนที่จบมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญอาจเข้าเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยสายอาชีพได้ และเป็นไปได้ที่นักเรียนบางคนอาจเรียนทั้งในโรงเรียนมัธยมปลายสายอาชีพและสายสามัญในเวลา เดยี วกนั ไมม่ กี ารเกบ็ เงนิ คา่ เลา่ เรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายทง้ั นกั เรยี นสายอาชพี และสายสามญั นักเรียนได้รับบริการดูแลสุขภาพของโรงเรียนและได้รับอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่นักเรียนต้องซ้ือ หนังสอื เรียนและอุปกรณก์ ารเรียนของตนเอง เม่ือจบการศึกษาระดับนี้ นักเรียนมัธยมศึกษาสายอาชีพจะได้รับประกาศนียบัตรมัธยมศึกษา ตอนปลายสายอาชีพ นักเรียนมัธยมศึกษาสายสามัญได้รับทั้งประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย และผ่านการสอบเพื่อจบการศึกษามัธยมปลายระดับชาติ เรียกว่า Matriculation Examination (Ylioppilastutkinto ในภาษาฟินนิช) การสอบวัดความรู้ (Matriculation) ถูกใช้ในการสอบเข้า รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 31 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

มหาวิทยาลัย เช่น มหาวิทยาลัย Helsinki เนื่องจากเป็นมหาวิทยาลัยท่ีได้รับความนิยมมาก นักเรียน ในโปรแกรมพิเศษจะได้รับประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ และเข้าสอบวัดความรู้ เพื่อจบการศึกษามัธยมปลายระดับชาติ (Matriculation) หรือได้รับประกาศนียบัตรทั้ง 3 อย่าง (Kolmoistulkinto) ซ่งึ ประมาณรอ้ ยละ 83 ของนกั เรียนมธั ยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ หรือรอ้ ยละ 42 ของนกั เรยี นวยั 16 ปี หรอื 17 ปี สอบผา่ นการสอบเพอ่ื จบการศกึ ษามธั ยมปลายระดบั ชาติ (Matriculation) วิทยาลัยโปลิเทคนิคจะรับนักเรียนท่ีมีประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วนมหาวิทยาลัย รับนักเรียนที่สอบวัดความรู้ (Matriculation) ผ่าน อย่างไรก็ตาม โปรแกรมอุดมศึกษาบางโปรแกรม ใช้ข้อสอบของตนเองในการคัดเลือกนักเรียน หรือบางทีเป็นการผสมผสานข้อสอบของตนเองกับข้อสอบ วัดความรู้ (Matriculation) ◆ ระดับการศึกษาอุดมศึกษา การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ มหาวิทยาลัยแบบทั่วไป (Yliopisto หรือ Universitet) และมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Ammatti Korkeakoulu, Yrkesshogskola หรือ เรียกยอ่ ๆ วา่ AMK / YH) การคัดเลือกเข้าเรียนอุดมศึกษาใช้ 1) คะแนนเฉล่ีย (GPA) 2) คะแนนสอบ จบการศกึ ษามธั ยมปลาย (Abitur) 3) คะแนนสอบเข้ามหาวทิ ยาลยั กระบวนการคัดเลือกนักศึกษาที่ฟินแลนด์แตกต่างไปจากกระบวนการในหลายๆ ประเทศ มีความโปร่งใส มีคุณธรรม ตรงไปตรงมา ไม่มีการเขียนใบสมัครแบบเรียงความ ไม่มีการให้สิทธิพิเศษ แก่ชนกลุ่มน้อย (ยกเว้นการให้โควต้าแก่นักเรียนท่ีพูดภาษาสวีดิชเป็นภาษาแม่) และไม่มีการ ให้คะแนนเพ่ิมเนื่องจากนักศึกษามีกิจกรรมนอกหลักสูตร ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ค่อยมีข้อสอบ แบบตัวเลือกหลายข้อ (Long multiple choice) แต่เป็นแบบคำ�ถามที่ซับซ้อนและมีจำ�นวนข้อไม่มาก เพราะต้องการสอบความรู้นักศึกษาท่ีไม่ใช่เป็นการจำ� และไม่ใช่การแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว ดังนั้น กระบวนการคัดเลือกนักศกึ ษาทฟี่ ินแลนด์จึงแตกต่างไปจากกระบวนการคัดเลอื กในหลายประเทศ เดมิ มหาวิทยาลัยท้งั หมดในฟินแลนดเ์ ป็นของรัฐบาล จนกระท่ังปี ค.ศ. 2010 ไดม้ ีการแบง่ ออกเป็น มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำ�กับมูลนิธิหรือเทศบาล ภายใต้กฎหมายมหาชน (Public law) เทศบาลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำ�กับดูแล โรงเรียนอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัย วิทยาศาสตร์ประยุกต์ แต่บางแห่งก็เป็นของเอกชน (ยกเว้นกระทรวงมหาดไทยจะดูแลวิทยาลัยตำ�รวจ) หลกั สตู รปรญิ ญาตรใี ชเ้ วลาศึกษา 3 - 4 ปี ขน้ึ อยู่กบั แตล่ ะหลกั สตู ร หลกั สูตรปรญิ ญาตรใี นมหาวทิ ยาลยั วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ (Polytechnic Degrees) ใช้เวลาศึกษา 3.5 - 4.5 ปี เนน้ การสอนเพื่อการทำ�งาน ได้จริง เพราะโดยมากจะเก่ียวข้องกับโครงการพัฒนาอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสอนทฤษฎีและเน้น ใหผ้ เู้ รยี นท�ำ วจิ ยั ดว้ ย โดยงานวจิ ยั เนน้ การปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ สว่ นทฤษฎขี องงานวจิ ยั จะเกย่ี วขอ้ งกบั การแกป้ ญั หา ระดับสงู 32 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

บัณฑิตท่ีจบจากมหาวิทยาลัยทั่วไปและมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์สามารถศึกษา ต่อในระดับปริญญาโทในมหาวิทยาลัยทั้ง 2 ประเภทดังกล่าว โดยปกติในฟินแลนด์ แพทย์จะ จบมหาวิทยาลัยแบบทั่วไป แต่พยาบาลท่ีมีการลงทะเบียนและวิศวกรจะจบจากมหาวิทยาลัย วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (มหาวิทยาลัยแบบทั่วไปก็ให้ปริญญาพยาบาลศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้) บณั ฑติ ปรญิ ญาตรที ฝ่ี กึ งานในสาขาของตนครบ 3 ปี จะมสี ทิ ธเิ รยี นในหลกั สตู รปรญิ ญาโทในมหาวทิ ยาลยั วิทยาศาสตร์ประยุกตท์ เ่ี น้นท้ังการฝึกงานและเน้นการทำ�วจิ ยั สว่ นบณั ฑติ ท่ีจบปริญญาในระดบั ท่ีตาํ่ กว่า ก็สามารถสมัครเรียนหลักสูตรปริญญาโทได้แต่ต้องศึกษาเพิ่มเติมในบางวิชา หลักสูตรปริญญาโท ในมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ตใ์ ชเ้ วลาศกึ ษา 2 ปี และอาจเรยี นไปพรอ้ มๆ กบั ท�ำ งานประจำ�ไดด้ ว้ ย การศึกษาหลังปริญญาโทและปริญญาที่สูงกว่านั้น คือ Licentiate และปริญญาเอก (Doctor) ซงึ่ บัณฑิตปริญญาโททงั้ หมดสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับปรญิ ญาเอกได้ ในระดับมหาวิทยาลัยไมม่ กี ารเกบ็ ค่าเลา่ เรียน แต่ ในปี ค.ศ. 1990 รัฐบาลเคยมีแผนการที่จะเก็บค่าเลา่ เรยี น จากนักศึกษาท่ีมาจากประเทศนอกกลุ่มสหภาพ ยุโรป (European Union / EEA) แต่องค์การ นักศึกษาได้คัดค้านแผนการน้ี นักศึกษาท้ังหมด ในมหาวิทยาลัยต้องสังกัดองค์การนักศึกษา (Students’ Union) ในมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตร์ ประยุกต์ มีการระบุไว้ในกฎของมหาวิทยาลัย แต่ไม่ได้บังคับให้นักศึกษาต้องสมัครเป็นสมาชิก ขององค์การ กฎของมหาวิทยาลัยน้ีไม่รวมถึงการดูแล สขุ ภาพนักศกึ ษาประเภทพิเศษ (ซ่ึงการดูแลสุขภาพนี้ องค์การนกั ศกึ ษา เป็นผู้บริหารจัดการและสนับสนุนการเงินด้วยส่วนหน่ึง) นักศึกษาฟินแลนด์ทุกคนมีสิทธิได้รับสวัสดิการ ของนกั ศกึ ษาแตจ่ ะถูกยกเลิกในกรณีที่ผลการเรียนตํ่ากว่าท่กี �ำ หนดอยา่ งตอ่ เน่อื ง มหาวิทยาลัยบางแห่งที่ให้ปริญญาวิชาชีพ (Professional Degrees) จะให้นักศึกษามีผลงาน เพ่ิมเตมิ นอกเหนือจากดา้ นทฤษฎี โดยนกั ศกึ ษาต้องแสดงให้เหน็ ถงึ ความชำ�นาญในการท�ำ งาน ตวั อย่าง เช่น แพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต Licentiate of Medicine (Laaketienteen, Medicine Licentiate) บัณฑิตแพทยศาสตร์ (Bachelor of Medicine) สามารถฝึกงานในคลินิกภายใต้การดูแลของทีมแพทย์ ผู้ช�ำ นาญ (Senior Medicine Staff) การศึกษาหลังปริญญาโท มี 2 แบบ คือ ปริญญาหลังปริญญาโท (Postgraduate Degrees) เรียกว่า Licentiate และระดับปริญญาเอก (Doctorate) การศึกษา Licentiate มีหลักสูตรเหมือน โปรแกรม Doctor แต่ว่างานวิทยานิพนธ์มีข้อบังคับน้อยกว่า (Fewer Requirements) ส่วนงาน วิทยานิพนธ์โปรแกรม Doctor เปน็ งานวทิ ยานิพนธ์ทมี่ ีรายละเอยี ดลึกซงึ้ และได้องคค์ วามรู้ ดษุ ฎบี ัณฑติ ของฟินแลนด์ เรียกว่า Doctor of Philosophy (Filosofian tohtori Doktesexcene) ส่วนมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ประสาทปริญญา Doctor of Science (Technology Ctekniiken Tohtori) และมีสาขาวิชา รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 33 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

หลายสาขาจึงมีชื่อปริญญาหลากหลาย เช่น ด้านแพทยศาสตร์ คือ Lacketieteen tohtori, medicin cloklwsexannen ด้านศิลปะ คือ Taiteen thotori ดา้ นสงั คมศาสตร์ คอื Valtiotieteen tohtori, politices doklersexam จากระบบการศกึ ษาทกี่ ลา่ วมาขา้ งต้น สามารถนำ�เสนอเปน็ แผนภาพได้ดังนี้ ภาพที่ 2 ระบบการศกึ ษาของประเทศฟนิ แลนด์ ท่ีมา https://toolbox.finland.fi/wpcontent/uploads/sites/2/2017/07/finfo_education_in_finland_en.pdf 34 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษา ตงั้ แต่ปี ค.ศ. 2014 - 2017 ฟินแลนด์ได้ปรับปรงุ หลกั สูตรแกนกลางแห่งชาตใิ นทกุ ระดบั การศกึ ษา ท้ังการศึกษาปฐมวัย ก่อนประถมศึกษา การศึกษาข้ันพื้นฐาน (ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น) และมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นผลให้หลักสูตรแกนกลาง ของฟินแลนด์ในขณะนี้สอดคล้องกันตลอดท้ังระบบ โดย จดุ มุ่งหมายของการปฏิรูปการศึกษา คือ การสร้างจุดแขง็ ของระบบการศกึ ษาฟนิ แลนด์ และตอบสนองความทา้ ทาย ในโลกที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อน หลักการ สำ�คัญของการพัฒนาการศึกษาของฟินแลนด์ คือ ความเสมอภาคทางการศึกษาที่มีความเท่าเทียมกัน และการศึกษาที่มีคุณภาพสูง เพื่อสร้างอนาคตที่ยั่งยืน ท้ังตัวบุคคลและประเทศ จุดประสงค์หลักของการศึกษาคือเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ การใช้ชีวิตแบบองค์รวม การพัฒนาความเป็นอยู่ของผู้เรียนทุกคน รวมถึงการพัฒนาทักษะต่างๆ ในการใช้ชวี ติ อย่างยงั่ ยืน ความสำ�เร็จของระบบการศึกษาของฟินแลนด์ข้ึนอยู่กับการกำ�หนดนโยบาย โดยเน้นการศึกษา เป็นความสำ�คัญระดับชาติ ท่ีคำ�นึงถึงลักษณะทางวัฒนธรรม ส่งผลให้การศึกษาของฟินแลนด์เป็นการศึกษา ที่มีคุณภาพสูง โดยคนฟินแลนด์เชื่อในความสำ�คัญของการศึกษาว่า จะช่วยขับเคลื่อนให้ประเทศ ประสบความสำ�เร็จ การศึกษาเป็นวิธีการท่ีสำ�คัญในการจัดการกับความท้าทายในโลกที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ซึ่งแนวคิดเรื่องการศึกษาถูกเชื่อมโยงสัมพันธ์ และสอดคล้องโดยไม่ได้หยุดอยู่เพียง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเทา่ นน้ั แตต่ อ่ เนอื่ งไปจนถงึ การผลติ และพฒั นาครใู หม้ คี วามเชย่ี วชาญเพอ่ื การพฒั นา คุณภาพของนักเรยี น ◆ ระดบั การศึกษาปฐมวัย ส่วนใหญ่จัดการศึกษาปฐมวัยในสถาบันดูแลเด็กในครอบครัว สำ�หรับเด็กทุกคนท่ีอายุ 0 - 6 ปี เนน้ การมสี ว่ นรว่ มในการศกึ ษาและการใหส้ ทิ ธกิ บั เดก็ ทกุ คน มคี า่ ธรรมเนยี มในระดบั ปานกลาง เดก็ ทกุ คน จะตอ้ งไดร้ บั การศกึ ษาในระดบั ปฐมวยั หรือก่อนประถมศกึ ษา (Esiopetus) 1 ปี กอ่ นการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เม่อื อายุ 6 ปี โดยเทศบาลจะตอ้ งจดั การศึกษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษาอย่างนอ้ ย 700 ชัว่ โมงตอ่ ปี เป้าหมายการจัดการศึกษาปฐมวัย จะเน้นการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ฝึกทำ�งานเป็นกลุ่ม ผา่ นการเลน่ ออกก�ำ ลงั กาย และการใชช้ วี ติ รว่ มกบั ผอู้ น่ื ครอบครวั สามารถเลอื กใหเ้ รยี นในโรงเรยี นเทศบาล รายงานผลการศึกษา เรื่อง 35 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

หรอื เอกชน โดยไดร้ ับการสนับสนนุ ทางการเงนิ จากรัฐ โดยครูผสู้ อนและผูด้ ูแลเด็กจะตอ้ งมีวฒุ ิการศกึ ษา ระดบั มหาวทิ ยาลัย ฟินแลนด์รับรองการแก้ไขพระราชบัญญัติการศึกษาปฐมวัยในปี ค.ศ. 2015 ดังน้ัน หน่วยงาน การศึกษาแห่งชาติของฟินแลนด์ได้กลายเป็นหน่วยงานผู้เชี่ยวชาญระดับชาติสำ�หรับ ECEC และในปี ค.ศ. 2015 มกี ารออกหลกั สตู รแกนกลางแหง่ ชาตใิ หม่ ซึง่ มีผลบังคับใชใ้ นปี ค.ศ. 2017 ◆ ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานถือเป็นการศึกษาภาคบังคับสำ�หรับเด็กทุกคนในฟินแลนด์ โดยเริม่ ต้นเขา้ เรียนตงั้ แตอ่ ายุ 7 ปี ครอบคลมุ ระยะเวลา 9 ปี หรอื 10 ปี นอกจากนีก้ ารศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ยังเปดิ โอกาสให้กับผใู้ หญ่เช่นกลุ่มคนอพยพด้วย วัตถุประสงค์ของการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ การพัฒนาศักยภาพของเด็กเป็นรายบุคคลควบคู่กับ การเปน็ พลเมอื งในฐานะสมาชกิ ของสังคม รวมไปถงึ การสอนองค์ความรูส้ �ำ คัญและทกั ษะทจ่ี ำ�เป็น การศึกษาขั้นพื้นฐานเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงและได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพเท่าเทียมกัน โดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย รวมถงึ เครอ่ื งมอื อปุ กรณใ์ นการเรยี น สอ่ื และอปุ กรณก์ ารสอนตา่ งๆ กไ็ มม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยใดๆ ทั้งสิ้น ฟินแลนด์ได้มีมาตรการใหม่ในปี ค.ศ. 2017 - 2019 เร่ืองการส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของเด็ก และเยาวชน ปอ้ งกนั การกดี กนั และลดจ�ำ นวนคนหนมุ่ สาวทไี่ มไ่ ดท้ �ำ งานหรอื เขา้ รบั การศกึ ษาอบรม (NEET) รวม 19 มาตรการ การดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขมุ่งเน้นไปท่ีเด็ก วัยรุ่น และครอบครัวท่ีประสบปัญหา ซ่ึงมาตรการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากฝ่ายบริหารและถูกบรรจุในโครงการสำ�คัญๆ ของรัฐบาลท่ีกำ�ลังดำ�เนินการอยู่ในปัจจุบัน เงินจำ�นวน 45 ล้านยูโร จะถูกจัดสรรให้แก่มาตรการ เหล่านี้ ในปี ค.ศ. 2018 และ 2019 (สำ�นักนายกรฐั มนตรีฟนิ แลนด,์ 2017) ◆ ระดับการอาชีวศกึ ษา การศึกษาระดับการอาชีวศึกษาช่วยให้นักเรียนมีท้ังความรู้พื้นฐาน ทักษะสำ�คัญ และความพร้อม ในการประกอบอาชีพ การศึกษาสายอาชีพเริ่มต้นได้ท้ังโดยตรงหลังจากจบมัธยมศึกษาตอนปลาย และในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งก็มีหลักสูตรอาชีวศึกษา มีการให้บริการท่ีหลากหลาย เช่น โรงเรียนอาชีวศึกษา โรงเรยี นมธั ยมปกตทิ น่ี กั เรยี นผ่านการฝกึ อบรมการฝกึ งานหรอื การเรียนรูใ้ นท่ีทำ�งาน โดยระยะเวลาของการศกึ ษาประมาณ 2 - 4 ปี ขน้ึ อยู่กับวุฒิการศึกษาของนักเรียน นอกจากน้ี นักเรียน ยงั สามารถสำ�เร็จได้ตามวุฒิหากมสี มรรถนะตามท่กี �ำ หนด ในปี ค.ศ. 2018 การปฏริ ปู การอาชวี ศกึ ษา (VET) ได้มผี ลบงั คับใช้ ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพอ่ื ปรบั ปรงุ อัตราการสำ�เร็จการศึกษาและการเปล่ียนเส้นทางเข้าสู่ตลาดแรงงาน ซ่ึงเป็นการปฏิรูปการอาชีวศึกษา ท่ีครอบคลุมมากที่สุดในรอบ 20 ปี เป็นการเปลี่ยนจากแนวทางที่มุ่งเน้นการจัดหาไปเป็นวิธีที่มุ่งเน้น 36 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ความตอ้ งการก�ำ ลงั คน (อปุ สงค)์ โดยรวมแลว้ การศกึ ษาจะตอ้ งเปน็ ไปตามความสามารถและความตอ้ งการ ของลูกค้า มุ่งพัฒนา เพ่ิมการฝึกอบรม การฝึกงานและรูปแบบอื่นๆ ของการเรียนรู้จากการทำ�งาน (กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม, 2018) การระดมทุนรูปแบบใหม่สนับสนุนให้ผู้ให้บริการการศึกษา ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพการศกึ ษา โดยมเี ปา้ หมายคอื การท�ำ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนมคี ณุ สมบตั คิ รบถว้ น หรืออย่างน้อยก็ให้ไดค้ ณุ สมบัติทีเ่ กือบครบถ้วน ◆ ระดับการอุดมศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการได้ดำ�เนินการปรับปรุงระบบ โครงสร้างใหม่ของการอุดมศึกษา ต้ังแต่ ค.ศ. 2006 เนื่องด้วยเหตุผลของกระแสโลกาภิวัตน์และการแข่งขัน รับนักศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัย การปรับปรุง ระบบโครงสร้างใหม่ของอุดมศึกษาเน้นความร่วมมือ ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาให้มากขึ้นและควบรวม มหาวิทยาลัยเพื่อลดจำ�นวนสถาบันอุดมศึกษาลงอย่างมี นยั สำ�คญั ภายใน 10 - 15 ปี การร่วมมอื กันระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยโดยการรวมมหาวิทยาลยั เริ่มในปี ค.ศ. 2007 ไดแ้ ก่  ปี ค.ศ. 2007 คือ มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ Haaga และ Helia ได้รวมกันเป็น มหาวิทยาลยั Haaga-Helia  ปี ค.ศ. 2009 มหาวิทยาลยั ท้องถน่ิ 3 แห่ง ที่ต้งั ในเมอื ง Helsinki คอื Helsinki University of Technology, Helsinki School of Economics และ University of Art and Design Helsinki รวมกนั เปน็ Aalto University  ปี ค.ศ. 2010 University of Kuopio กับ University of Joensun รวมกนั เป็น University of Eastern Finland ท่เี มืองเฮลซงิ กิ (Helsinki) นอกจากนน้ั ยงั มกี ารรวมกลมุ่ ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั แบบทว่ั ไปกบั มหาวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ เช่น รวม University Kuopio กบั Savonia University of Applied Sciences เป็น Northern Savonia Higher Education Consilium หรือการรวมมหาวิทยาลัยเป็นสมาคม (Consortie) และสหภาพ (Federation) เช่น University of Turku and Turku School of Economics ซึ่งโดยท่ัวไปแล้ว การเปลี่ยนแปลงระบบอุดมศึกษานี้ ได้เลียนแบบการรวมมหาวิทยาลัยในยุโรปตอนกลาง สหรัฐอเมริกา สเปน ฮังการี โดยท้ังหมดร่วมกันกำ�หนดนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษาร่วมกับรัฐบาลกลาง เพอ่ื หาวิธีการและแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นรว่ มกนั รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 37 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ “ “ การนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของฟินแลนด์ ให้ความสำ�คัญอย่างมากกับครู โดยมุ่งเน้นที่การพัฒนาครูให้มีความเช่ียวชาญ เพ่ือให้สามารถจัดการศึกษาได้ตามเป้าประสงค์ และมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ โดยมหี ลกั การสำ�คญั คอื  การศึกษาและการพัฒนาครู ครูที่สามารถสอนในโรงเรียนได้จะต้องสำ�เร็จการศึกษาระดับ ปรญิ ญาโทขนึ้ ไปตามกฎการศึกษาของฟินแลนด์ โดยในเกรด 1 - 6 ครูประจำ�ชน้ั จะต้องเปน็ ผู้สอนทุกวิชา ครูจะสำ�เร็จการศึกษาปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษา ที่เน้นเทคนิคและกลวิธีต่างๆ ในการสอน ส่วนในเกรด 7 - 9 และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย วิชาเฉพาะจะถกู สอนโดยครทู ีจ่ บปริญญาโท ในสาขาวชิ าเฉพาะนนั้ ๆ และตอ้ งส�ำ เร็จการศกึ ษาดา้ นเทคนิคและกลวิธีการสอนด้วย การฝกึ อบรมและการพฒั นาครเู ปน็ ทนี่ ยิ มและเปน็ ทตี่ อ้ งการสงู มาก โดยยอดผสู้ มคั รเขา้ รบั การอบรม ในแตล่ ะครัง้ มักจะสูงเปน็ 5 เทา่ ของจำ�นวนผเู้ ข้าอบรมท่ีสามารถรบั ได้จริง  ครูสามารถเลือกวิธีการสอนของตนเอง ครูต้องสอนตามหลักสูตร แต่มีอิสระในการเลือก วิธีการ อุปกรณ์และสื่อในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ครูเป็นผู้มีอิสระและถือเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ในหอ้ งเรยี นทจี่ ะรูจ้ กั เข้าใจความต้องการของผู้เรียน รคู้ วามตอ้ งการจ�ำ เปน็ และจุดเด่นจดุ ดอ้ ยของผู้เรียน ทอี่ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของตนเอง โดยสามารถใชส้ อ่ื การเรยี นรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพสงู หรอื สอ่ื ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ และ แกป้ ญั หาผเู้ รยี นได้ ถอื วา่ เปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ในการปฏบิ ตั งิ านในโรงเรยี น โดยเฉพาะการเรยี นรเู้ รอ่ื งของภาษา ท่ีฟนิ แลนดใ์ ช้ภาษาฟนิ นิชและสวีดชิ แต่ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาไดด้ ี ทัง้ น้ี เน่ืองจากมสี อ่ื อปุ กรณ์และเคร่ืองมือ ที่เขา้ ถึงผ้เู รยี น โดยเปดิ กวา้ งใหศ้ ึกษาผ่านทางอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละส่ือออนไลน์ ในแตล่ ะระดบั ไดม้ ีการน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ ◆ ระดบั การศึกษาปฐมวยั โรงเรียนได้สร้างหลักสูตรท้องถิ่นเก่ียวกับการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย บนพ้ืนฐาน หลักสูตรใหม่ของปี ค.ศ. 2017 โดยจุดเน้น คือ การพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการคิดเพ่ิมข้ึน มีความสุข และเรียนรู้อย่างมีความหมาย เรียนรู้วิธีการเรียนรู้เช่นเดียวกับทักษะอื่นๆ และสนับสนุนการพัฒนา โรงเรียนให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน เน้นการบูรณาการวิธีการสอนแบบสหวิทยาการโดยคณะครู ได้รบั การอบรมจากหนว่ ยงานกลางเพ่อื ใหค้ รสู ามารถบรู ณาการข้ามขอบเขตของวิชาได้ 38 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ฟนิ แลนดเ์ รมิ่ ปฏริ ปู การศกึ ษาชว่ งปี ค.ศ. 2016 - 2017 โดยในระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (ทส่ี อน เดก็ นักเรยี นอายุ 7 - 16 ป)ี กระทรวงศกึ ษาธิการและวัฒนธรรมไดส้ ัง่ การให้โรงเรยี นท�ำ การสอนโดยเนน้ สถานการณ์จริงรอบตัว ปรากฏการณ์ที่มีอยู่จริง (Phenomena-based Learning) ควบคู่ไปกับ การสอนเนน้ เนอื้ หาวชิ า (Subject-based Instruction) ซงึ่ ค�ำ สงั่ นเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของกรอบหลกั สตู รแหง่ ชาติ ถึงแม้ว่าโรงเรียนในฟินแลนด์ได้เริ่มใช้การสอนแบบน้ีมาแล้วต้ังแต่ทศวรรษท่ี 1980 แต่ในขณะนั้น ยังไม่มีการบังคับ เป็นที่คาดกันว่านักการศึกษาท่ัวโลกจะศึกษาการพัฒนาระบบการศึกษาของฟินแลนด์ เพราะว่าระบบการศึกษาของฟินแลนด์ได้รับการยกย่องว่าเป็นต้นแบบของความสำ�เร็จทางการศึกษา จากหลายประเทศ การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาครั้งน้ีเกิดข้ึนในเวลาเดียวกับการเปลี่ยนแปลงอ่ืนๆ ซ่ึงสนับสนุนการพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 เช่น การทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืน การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ สรา้ งสรรค์ และกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ ◆ ระดับการศกึ ษาอาชีวศึกษา ในฟินแลนด์ประมาณครึ่งหนึ่งของนักเรียนท่ีจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเลือกเรียนต่อสายอาชีพ แทนการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาทว่ั ไปซง่ึ ระบบการศกึ ษาของฟนิ แลนดเ์ ออ้ื ใหผ้ เู้ รยี นอาชวี ศกึ ษาไดส้ ามารถ ศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ วัตถุประสงค์ของการอาชีวศึกษาและฝึกอบรม (VET) ของฟินแลนด์น้ัน เป็นการเพ่ิมและรักษาทักษะอาชีพ การพัฒนาพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ตอบสนองต่อสมรรถนะ ตามความตอ้ งการ VET สนบั สนนุ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และการพฒั นานกั เรยี นในฐานะมนษุ ยแ์ ละสมาชกิ ของสงั คม ใหค้ วามรแู้ ละทกั ษะแกน่ กั เรยี นในการศกึ ษาต่อและส่งเสรมิ การจา้ งงาน กุญแจสำ�คัญในหลักการของการอาชีวศึกษาฟินแลนด์ คือ เน้นสมรรถนะและความยืดหยุ่น โดย การปฏิรูปอาชีวศึกษาของฟินแลนด์ครั้งล่าสุด (มีการปฏิรูปมาหลายคร้ัง) มีการลดจำ�นวนสาระความรู้ ลงเพ่ือสร้างเส้นทางการเรียนรู้ของแต่ละบุคคล มีการสร้างทักษะที่จำ�เป็นในชีวิตการทำ�งาน ให้สามารถ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็วยิ่งขึ้นตามความต้องการ มีการพัฒนาคุณวุฒิวิชาชีพเพ่ือให้ แน่ใจว่า คุณสมบัติเหล่าน้ันเหมาะสม ยืดหยุ่น สอดคล้อง และเป็นการเปล่ียนแปลงท่ีมีประสิทธิภาพ พรอ้ มท่ีจะเข้าสู่ตลาดแรงงาน เพ่อื ให้สามารถพัฒนาอาชีพ ปรับตวั เขา้ กับการเปล่ียนแปลงได้ นอกจากนี้ ยังส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อการสร้างโอกาสให้แต่ละบุคคล เกิดความยืดหยุ่นในเส้นทาง การเรยี นรู้ เปน็ การชว่ ยสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มกนั ในการศกึ ษา สถานศกึ ษาเตรยี มความพรอ้ มและการฝกึ อบรม ให้นักเรียน เพ่ือให้มีคุณสมบัติท่ีเหมาะสม มีสมรรถนะท่ีจำ�เป็นตามความต้องการของตลาดแรงงาน และเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามใฝร่ แู้ ละยดื หยนุ่ รวมถงึ ชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ และใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาและคณุ ภาพชวี ติ ของผเู้ รยี นอยา่ งรอบด้าน รายงานผลการศึกษา เรื่อง 39 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั การศกึ ษาอุดมศึกษา การศึกษาในมหาวิทยาลัยเน้นให้ผู้เรียนเรียนทฤษฎีและทำ�งานวิจัย ถ้านักศึกษาเลือกศึกษา หลายหลักสูตร นักศึกษาสามารถท่ีจะสำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทได้ทันที ทั้งน้ี ระบบ การสอบเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยจะไม่แยกการสอบเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือปริญญาโท ถ้าเป็นหลักสูตรปริญญาตรีจะใช้เวลาเรียน 3 - 4 ปี ข้ึนอยู่กับโปรแกรมท่ีเลือกเรียน การศึกษาระดับ ปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์จะเน้นการสอนเพื่อตอบสนองการทำ�งานจริง ใช้เวลา เรียน 3.5 - 4 ปี หลักสูตรปริญญาโทในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์ใช้เวลาเรียน 2 ปี นักศึกษา อาจเรยี นไปพรอ้ มกบั ท�ำ งานประจ�ำ บณั ฑติ ทสี่ �ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรแี ละไดท้ �ำ งานในสาขาของตน ครบ 3 ปี มีสิทธ์เิ ข้าศึกษาในระดบั ปริญญาโทในมหาวทิ ยาลยั วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ยกตวั อยา่ งบรษิ ทั Eliademy.comซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ทมี่ ชี อ่ื เสยี งระดบั 20บรษิ ทั ตน้ ๆของโลกในเรอื่ งระบบ การจัดการเรียนการสอน ได้พัฒนาซอฟแวร์ข้ึนในฟินแลนด์เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนผ่านอินเทอร์เน็ต เรียกว่าระบบ Cloud เป็นบริการ CSR โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายแก่บุคคลที่ต้องการเรียน บริษัท Eliademy จัดทำ�หลักสูตรเป็นแบบ Cloud แล้วขายหรือให้แก่ OERs โดยบริษัทได้ตั้งเป้าหมายว่าจะสร้างให้เป็น ห้องสมุดท่ีใหญ่ที่สุดเพ่ือเป็นแหล่งการศึกษาหลักสูตรออนไลน์ในรูปแบบเปิด หรือในปี ค.ศ. 2018 มหาวทิ ยาลยั เฮลซงิ กไิ ดป้ ระกาศรว่ มมอื กบั บรษิ ทั Reaktor ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั เกย่ี วกบั เทคโนโลยขี องฟนิ แลนดว์ า่ จะท�ำ ใหฟ้ นิ แลนดเ์ ปน็ ประเทศทม่ี กี ารศกึ ษาสงู สดุ ดา้ นปญั ญาประดษิ ฐโ์ ดยใหก้ ารศกึ ษาผา่ นทางออนไลน์ โดยไมค่ ดิ คา่ ใชจ้ า่ ยเรอื่ ง ปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI) ขนั้ พนื้ ฐาน ทง้ั น้ี ไดม้ ผี สู้ มคั รสมาชกิ แลว้ มากกวา่ 24,000 คน โดยก�ำ หนดเปา้ หมายไวท้ ่ี 54,000 คน 40 รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การประกนั คุณภาพการศึกษา ในฟินแลนด์ไม่มีระบบประกันคุณภาพภายใน การประกันคุณภาพการศึกษาในฟินแลนด์ ประกอบด้วย การจัดการคุณภาพของผู้ให้บริการการอาชีวศึกษา การควบคุมคุณภาพระดับชาติ และ การประเมินคุณภาพภายนอก หน่วยงานท่ีทำ�หน้าที่ประเมินคุณภาพภายนอก ได้แก่ ศูนย์ประเมินผล การศึกษาของฟินแลนด์ (FINEEC) ดำ�เนินงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมซ่ึงเป็น หน่วยงานแยกต่างหากภายในส�ำ นกั งานการศกึ ษาแหง่ ชาตขิ องฟนิ แลนด์ (EDUFI) การประเมินคณุ ภาพ ภายนอก ดำ�เนินการโดยสภาประเมินผลการศึกษาระดับอุดมศึกษาของฟินแลนด์ (FINHEEC) ซึ่งก่อตั้งข้ึนจากการรวมกิจกรรมการประเมินของ FINHEEC สภาการประเมินการศึกษาของฟินแลนด์ และคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติของฟินแลนด์เข้าด้วยกัน ข้อกำ�หนดเก่ียวกับงานและองค์กร ของ FINEEC รวมอยู่ในพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลในศูนย์ประเมินการศึกษาของ ประเทศฟินแลนด์ ศนู ย์ FINEEC รับผดิ ชอบในงาน  ประเมินการศกึ ษา การสอน ผ้ใู ห้บริการการศกึ ษา และ กิจกรรมของสถาบนั อดุ มศกึ ษา  พัฒนาการประเมนิ ผลการศึกษา  ประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน การศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายและการฝกึ อบรม  สนับสนุนผู้ให้บริการการศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา ในเรื่องที่เก่ยี วขอ้ งกบั การประเมินและการจดั การคุณภาพการศกึ ษา  ด�ำ เนนิ การประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและการฝึกอบรม และ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานสายศลิ ปะ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของฟนิ แลนดถ์ อื เปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ คญั ในการขบั เคลอื่ นและการพฒั นา ในโรงเรียนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางระดับชาติ ซ่ึงศูนย์ FINEEC ทำ�หน้าที่ประเมิน การเรยี นรรู้ ะดบั ชาติ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการพฒั นาและการตดั สนิ ใจ รวมทง้ั รบั ประกนั ความเสมอภาค การศึกษาและคุณภาพการสอน โดยติดตามผลการประเมินนักเรียนเป็นรายบุคคล เช่น การประเมิน ความแตกต่างในระดับภูมิภาคและความแตกต่างที่อิงตามเพศ รวมถึงการศึกษาทัศนคติของนักเรียน และแรงจูงใจท่ีมตี อ่ การศึกษา รายงานผลการศึกษา เร่ือง 41 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ในการประกันคณุ ภาพระดับการศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ผใู้ หบ้ รกิ ารการศึกษาและ โรงเรียนจะต้องมีแผนสำ�หรับการประเมินผลและการพัฒนา ผู้ให้บริการมีอิสระในการตัดสินใจกำ�หนด วัตถุประสงค์ด้วยตนเอง โดยอาจใช้วิธีการของตนเองหรือคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินผลการเรียนรู้ระดับชาติ เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มตัวอย่าง ดำ�เนินการโดย ศูนย์ FINEEC ผู้ให้บริการการศึกษาสามารถเลือกท่ีจะเข้าร่วมการประเมิน แม้ว่าพวกเขาจะไม่อยู่ ในกลุ่มตัวอย่างก็ตาม ผลการประเมินจะถูกรายงานกลับไปยังเจ้าหน้าท่ีฝ่ายบริหารและการสอน ของโรงเรียนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่รับผิดชอบด้านการศึกษา โรงเรียนจะได้รับผล การประเมินของตนเองและข้อมูลเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของชาติ สำ�หรับการประกันคุณภาพระดับการอาชีวศึกษา ประกอบด้วยระบบการจัดการคุณภาพของผู้ให้ บรกิ ารการศกึ ษา การควบคมุ ภายใน และการควบคมุ ระดบั ประเทศ รวมไปถงึ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก กฎหมายที่บังคับใช้ กำ�หนดให้ผู้ให้บริการการศึกษาประเมินคุณสมบัติการศึกษาและกิจกรรมอื่นๆ ท่ีจัด ให้รวมถึงคุณภาพและประสิทธิภาพ ผู้ให้บริการการศึกษาต้องมีส่วนร่วมอย่างสม่ําเสมอในการประเมิน กิจกรรมและระบบการจดั การคุณภาพภายนอก ซึ่งเป็นการประเมนิ แบบต่อเนือ่ งดว้ ยตนเอง นอกจากนั้น ในการประกันคุณภาพการศึกษา ยังข้ึนอยู่กับความสามารถของครูและบุคลากรอื่นๆ ด้วย โดยบุคลากร ผสู้ อนจะตอ้ งส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท บคุ ลากรทกุ คนไดร้ บั การสนบั สนนุ ใหพ้ ฒั นางานของตนเอง รวมถึงมีสว่ นร่วมในการจัดการคณุ ภาพของสถาบัน ภายใต้ความคดิ ทีว่ า่ ทุกคนเปน็ ผู้จดั การคณุ ภาพงาน ของตนเอง 42 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

“ ส่วนการประกนั คณุ ภาพการศึกษาระดบั อดุ มศึกษา ศูนย์ FINEEC มีกรรมการทีไ่ ด้รับการแต่งตง้ั จากรัฐบาล มีผู้อำ�นวยการเป็นผู้นำ�องค์กรและรับผิดชอบต่อประสิทธิผลขององค์กร รัฐบาลยังแต่งต้ัง คณะกรรมการประเมินผล ร่างข้อเสนอแผนการประเมินผลการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งได้รับอนุมัติ จากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม การประเมนิ ผลจะด�ำ เนนิ การตามแผนทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั ิ โดยกระทรวง ศึกษาธิการและวัฒนธรรมแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีดำ�เนินงาน เกี่ยวกับ FINEEC คณะกรรมการตัดสินแผนงานโครงการในการประเมิน HEIs องค์ประกอบของ การวางแผนและการทบทวนทีมและผลลัพธ์สุดท้ายของการตรวจสอบ โดยศูนย์ FINEEC เป็นสมาชิก ของ European Quality Assurance Register สำ�หรบั อุดมศกึ ษา (EQAR) และเปน็ สมาชกิ เตม็ รปู แบบ ของสมาคมยโุ รปเพอื่ การประกนั คณุ ภาพในระดับอุดมศึกษา (ENQA) การกำ�กับ ติดตาม ประเมนิ เพอ่ื ส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา “ โรงเรยี นในฟินแลนดม์ ีระดบั คุณภาพท่ีเทา่ เทียมกนั ท้งั ประเทศ โรงเรียนจะต้องไดร้ บั การพัฒนา แบบเทา่ เทียมกนั เพอ่ื สรา้ งมาตรฐานและความพอใจให้กับผู้ปกครอง ไม่มีโรงเรยี นหัวกะทิช้ันน�ำ ทกุ โรงเรียน ต้องปฏิบัติตามกฎของรัฐและปฏิบัติตามหลักสูตรแกนกลางแห่งชาติ การศึกษาของฟินแลนด์พัฒนา การเรียนรู้จากภายใน และการสร้างก�ำลังใจให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ไม่เน้นการสอบวัดประเมินผล ผลการเรียนมาจากการเรียนรู้ระหว่างกันของผู้เรียน การสอนของครูมุ่งเน้นไปท่ีการสร้างหรือค้นหาวิธี การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมและดที ส่ี ดุ ส�ำหรบั ผเู้ รยี นแตะ่ คน เปน็ วธิ ที ส่ี นบั สนนุ ผเู้ รยี นทต่ี อ้ งการความทา้ ทาย ในการเรียนรู้ และสนับสนุนผู้เรียนที่ต้องการเสริม โดยผู้เรียนทุกคนจะได้รับโอกาสในการศึกษา เป็นเส้นทางการศึกษาที่มีความตอ่ เนอื่ งและไม่มจี ดุ จบ ความเสมอภาคและโอกาสการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกันส�ำหรับเด็กทุกคนเป็นเร่ืองท่ีมีความส�ำคัญมาก ดังน้ันโรงเรียนจะได้รับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อน�ำมาดูแลบริการสุขภาพให้กับนักเรียน รวมถึง การจัดบรกิ ารต่างๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนท์ างสังคมส�ำหรับนกั เรยี นดว้ ย ซ่ึงเปน็ การสนบั สนุนจากสวสั ดกิ าร สงั คม รายงานผลการศึกษา เรื่อง 43 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◆ ระดบั การศึกษาปฐมวัย การจัดการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาช่วงปฐมวัย พอ่ แมอ่ าจขอจดั ใหล้ กู ตวั เองทบี่ า้ นได้ ในรปู แบบ Home daycare ช่วงเด็กอายุ 3 ปีแรก รัฐยังให้การสนับสนุนงบประมาณ แต่จะกำ�กับดูแลโดยมีผู้ดำ�เนินการจากศูนย์ฯ ของรัฐ (Care worker) ไปตรวจเย่ียมที่บ้าน ว่ามีการจัดสภาพแวดล้อม ท่ีเหมาะสมต่อการเรยี นรู้ของเดก็ หรือไม่ ◆ ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รัฐให้ความสำ�คัญอย่างมากกับการสอนของครูและการเรียนรู้ ของนักเรียน โดยส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้มากท่ีสุด ครูของฟินแลนด์มีอิสระมากที่จะใช้ความรู้ทางวิชาชีพและอำ�นาจการตัดสินใจจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ (Learn How to Learn) ครูจะเป็นผู้ควบคุมหลักสูตร ประเมินนักเรียน พัฒนาโรงเรียน ตลอดจนเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชน บทบาทของครูจำ�เป็นต้องเป็นครูมืออาชีพและกำ�หนดให้ครูได้ ประเมินตนเอง (Self-evaluation) เพื่อนำ�ข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาตนเอง ฟินแลนด์จึงได้รับ การยอมรบั วา่ สรา้ งหลกั สตู รผลติ ครทู ม่ี คี ณุ ภาพสงู ระดบั โลก โดยรฐั พยายามคดั เลอื กผทู้ จ่ี ะเรยี นวชิ าชพี ครู ใหม้ คี ุณสมบตั ิเหมาะสมท่ีสุด มีความเกง่ และปราดเปรอ่ื ง และต้องสำ�เร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาโท ◆ ระดับการศึกษาอาชีวศึกษา การอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรม(VET)ของฟนิ แลนดน์ นั้ ผู้ให้บริการการศึกษามีบทบาทสำ�คัญท่ีส่งผลต่อการสร้าง ความเชอื่ มน่ั ในคุณภาพ ฝา่ ยนโยบาย (รฐั สภา) เป็นผูต้ ดั สินใจ เก่ียวกับกฎหมายและการจัดสรรงบประมาณประจำ�ปีให้กับ VET รัฐบาลตัดสินใจเกี่ยวกับการพัฒนา VET ในโครงการ ของรัฐบาล รวมถึงโครงสร้างของคุณสมบัติทางวิชาชีพใน กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม จดั ท�ำ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับ VET และผู้บังคับทิศทาง ควบคุมการเงินและตรวจสอบอุตสาหกรรม สำ�นักงานการศึกษาแห่งชาติ ฟินแลนด์ (EDUFI) เตรียมการรับรองระดับชาติ ข้อกำ�หนดสำ�หรับวุฒิการศึกษาสายอาชีพและ การศึกษาเพื่อเตรียมการและการฝึกอบรมสำ�หรับ VET นอกจากนั้น สำ�นักงานการศึกษาแห่งชาติ 44 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ฟินแลนด์ (EDUFI) ยังพัฒนาการศึกษาและฝึกอบรมผ่านโครงการเงินทุนเพิ่มผลิตภาพของการศึกษา และการสนบั สนนุ สรา้ งความเปน็ สากลโดยใหใ้ บอนญุ าตรบั รองส�ำ หรบั ผเู้ รยี นทม่ี สี มรรถนะและคณุ สมบตั ิ ตรงตามเงอ่ื นไขหรอื มคี ณุ ภาพสงู ครอบคลมุ ไปถงึ วยั ท�ำ งานมกี ารสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธิผล ระบบระดมเงินทนุ ให้รางวัลแก่การศึกษาด้วย ◆ ระดับการศึกษาอุดมศกึ ษา ในระดบั การอดุ มศกึ ษา HEIs เปน็ ผกู้ �ำ กบั ตดิ ตาม ตามระบบการประกนั คณุ ภาพ โดย FINEEC ไดต้ อ่ อายรุ ปู แบบการตรวจสอบส�ำ หรบั รอบทส่ี ามของการตรวจสอบ HEIs (2018 - 2024) โดยรปู แบบการตรวจสอบ เป็นไปตามมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ในมาตรฐานและแนวทางการประกันคุณภาพในระดับอุดมศึกษา ของยโุ รป (ESG) การก�ำ กบั ตดิ ตาม ตามระบบการประกนั คณุ ภาพของ HEIs ระหว่างปี 2018 - 2024 คอื  เพือ่ ประเมินคณุ ภาพงานว่าตรงตามมาตรฐานการประกันคุณภาพของยุโรปหรอื ไม่  เพ่ือประเมินระบบคุณภาพการสร้างข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำ�หรับการพัฒนา เป็นไปอย่างต่อเน่ือง หรือไม่ และสง่ ผลให้เกดิ การพัฒนาท่ีมีประสทิ ธิภาพหรือไม่  เพ่อื ส่งเสริมความเปน็ สากล การทดลอง และบรรยากาศทส่ี ร้างสรรค์  เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู ท่เี ปิดเผยและโปรง่ ใสเก่ยี วกับงานท่ีมีคณุ ภาพ ในทมี ประเมนิ ของ HEIs สามารถเลอื กระบบทมี่ ใี นประเทศหรอื ระบบระหวา่ งประเทศเพอ่ื ด�ำ เนนิ การ ตรวจสอบกไ็ ด้ โดยทีมตรวจสอบระหวา่ งประเทศต้องประกอบด้วยสมาชกิ ฟินแลนด์อย่างน้อย 1 คน ที่มี ความเช่ียวชาญในระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ของประเทศฟินแลนด์ โดยคณะกรรมการประเมินผล การศึกษาระดับอุดมศึกษาจะแต่งต้ังทีมตรวจสอบ และตำ�แหน่งของสมาชิกในทีม โดยปกติจะมีสมาชิก 4 คน ได้แก่ ผ้แู ทนของภาคอุดมศกึ ษา 2 คน ตวั แทน นกั เรยี น 1 คน และตวั แทนคนท�ำ งาน 1 คน เปน็ คนนอก HEIs นอกจากน้ี ผจู้ ดั การโครงการจากศนู ย์ FINEEC จะเข้าร่วมทีมตรวจสอบในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้าน การตรวจสอบ ทีมตรวจสอบโดยรวมต้องมีความรู้ในระบบคุณภาพและระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งถึงผลกระทบทางสังคม ประสบการณ์ในการทำ�งานหรือการประเมินคุณภาพ และประสบการณ์ในการพัฒนาและความเช่ียวชาญในด้านการเรียนการสอน นอกจากนี้ สมาชิกในทีม อย่างน้อยหน่ึงคนจะต้องมีความเช่ียวชาญในด้านการประเมินที่เลือกโดย HEIs ประธานของทีม ตรวจสอบต้องมีประสบการณ์ในการประเมินการดำ�เนินงานของ HEIs และมีความรู้ในแนวกว้างและ ในเชงิ ลกึ เกยี่ วกับระบบการศกึ ษาท่สี ูงขึน้ รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 45 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

HEIs ดำ�เนินการประเมนิ ตนเองผ่าน Digital Platform ทำ�หนา้ ทเ่ี ปน็ Templete ส�ำ หรับการประเมนิ ทีมตรวจสอบ หลังจากประเมนิ พื้นที่แลว้ ทีมงานตรวจสอบไดน้ ำ�เสนอข้อเสนอต่อคณะกรรมการประเมินผล การศึกษาระดับอุดมศึกษาว่าควรผ่านการตรวจสอบ HEIs หรือไม่ หรือจำ�เป็นต้องมีการตรวจสอบ ซํ้าอีกคร้ัง การตัดสินใจข้ันสุดท้ายในการสอบผ่านนั้น ทำ�โดยคณะกรรมการประเมินผล จะกำ�หนด ความจำ�เป็นในการตรวจสอบซ้ําและพ้ืนที่ท่ีจำ�เป็นต้องได้รับการปรับปรุง พ้ืนที่การประเมินของการ ตรวจสอบซา้ํ จะต้องพฒั นาอยา่ งนอ้ ยทีส่ ุดถึงระดับดี หลงั จากผา่ นการตรวจสอบ HEIs จะได้รับใบรบั รอง การตรวจสอบและฉลากคุณภาพอิเล็กทรอนิกส์ HEIs จะเข้าสู่การลงทะเบียนตรวจสอบสำ�หรับสถาบัน อุดมศกึ ษา ด้านประสิทธผิ ลและคุณภาพของการประเมนิ นนั้ ศูนย์ FINEEC จัดสัมมนาติดตามผลการพัฒนา ระบบคุณภาพอย่างสม่ําเสมอ จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา คือ การให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนางาน หลังการตรวจสอบกับ HEIs และเพื่อให้โอกาสในการแบ่งปันประสบการณ์และแนวปฏิบัติท่ีดีเกี่ยวกับ งานที่มีคุณภาพ ในภารกิจของคณะกรรมการประเมินผลการศึกษาระดับอุดมศึกษา คือ การรับรอง ความเป็นธรรมและความเท่าเทียมกันของการตัดสินใจของคณะกรรมการ การปฏิบัติตามบทบัญญัติ ของพระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครองเก่ียวกบั ความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์ของสมาชิก ในระบบการประเมนิ คณุ ภาพ จะประเมนิ เฉพาะเรอื่ งและมงุ่ เนน้ ในบางหวั ขอ้ ในการประเมนิ ผลระบบ มีเป้าหมาย คือ ระบบการศึกษาท้ังหมดหรือบางส่วน นอกจากนี้ ยังสามารถประเมินนโยบายการศึกษา หรือการพัฒนาระบบการศึกษาได้ การประเมินเฉพาะเรื่องและระบบสามารถมุ่งเน้นเฉพาะการศึกษา ระดับอุดมศึกษาหรือในหลายระดบั ของระบบการศึกษาในเวลาเดียวกัน ทมี ผเู้ ชี่ยวชาญจากภายนอก จดั ท�ำ แผนงานโครงการส�ำ หรับการประเมนิ ผล ทีมประเมินผลทีไ่ ดร้ บั การแตง่ ต้ัง แยกด�ำ เนินการประเมนิ ผลตา่ งหาก จากข้อมลู การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การจัดการศกึ ษาของฟนิ แลนด์ สรุปไดด้ ังตอ่ ไปน้ี สรุปสาระส�ำ คัญของการน�ำ มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ สาระสำ�คัญของการนำ�มาตรฐานการศึกษาชาติสู่การปฏิบัติของประเทศฟินแลนด์ สรุปได้ ดังตอ่ ไปน้ี 46 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดับ 1. ปฐมวัย การกำ�หนดมาตรฐาน  การศึกษาและการดูแลเด็กเล็กก่อนวัยเรียน (Varhaiskasvatus) เน้นการมีส่วนร่วมในการศึกษาและ การใหส้ ทิ ธิส�ำหรับเดก็ ทกุ คน  เปา้ หมายการจดั การศกึ ษาปฐมวยั จะเนน้ การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรค์ ฝกึ ท�ำงานเปน็ กลมุ่ ผา่ นการเลน่ ออกก�ำลังกายและใช้เวลานอกบ้าน การนำ�มาตรฐานสู่หลักสตู ร  โรงเรียนได้สร้างหลักสูตรท้องถ่ินเกี่ยวกับการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัย การเรียนการสอน บนพน้ื ฐานของหลกั สตู รใหม่ ปี ค.ศ. 2017 โดยจดุ เนน้ ของการปฏิรปู คือ การปรับปรงุ ใหน้ ักเรยี นมีทกั ษะ การคดิ เพิ่มขึน้ มคี วามสขุ และเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย  สนบั สนนุ การพฒั นาโรงเรยี นให้เป็นชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ร่วมกนั  การบูรณาการวธิ ีการสอนแบบสหวทิ ยาการ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา  การศึกษาปฐมวัยและการศึกษาข้ันพื้นฐานได้รับการประเมินโดยศูนย์ประเมินผลการศึกษาของฟินแลนด์ (FINEEC) ซง่ึ ด�ำเนนิ การประเมนิ การเรยี นรรู้ ะดบั ชาติ โดยมจี ดุ มงุ่ หมาย เพอื่ การสรา้ งความรปู้ ระกอบการ พฒั นาและการตดั สนิ ใจ  รับประกันความเสมอภาคการศึกษาและคุณภาพการสอน ท�ำหน้าท่ีเป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือน และการพัฒนาในโรงเรียน เป็นการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้เพ่ือให้การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา และข้ันพื้นฐานบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางระดับชาติ เป็นการติดตามผลการประเมิน นักเรียนเป็นรายบุคคล เช่น การประเมินความแตกต่างในระดับภูมิภาคและความแตกต่างท่ีอิงตามเพศ รวมถึงการศกึ ษาทศั นคติของนกั เรียนและแรงจูงใจท่ีมตี ่อการศกึ ษา  ผู้ใหบ้ ริการมอี ิสระในการตดั สินใจเกี่ยวกบั วัตถปุ ระสงค์ด้วยตนเอง  การประเมนิ ผลการเรยี นรูร้ ะดบั ชาติ คือ การประเมินตามกลมุ่ ตวั อย่างและด�ำเนนิ การโดยศนู ยป์ ระเมนิ ผล การศกึ ษาของฟินแลนด์ (FINEEC) การกำ�กับติดตาม  ครูใหญใ่ นโรงเรยี นท้องถิ่นอยใู่ นวัฒนธรรมแห่งความไวว้ างใจ โดยโรงเรียนจะไดร้ บั เงินทนุ จากรัฐ แต่ทกุ โรงเรยี น ต้องปฏิบัติตามกฎของรัฐและปฏิบตั ติ ามหลักสูตรแกนกลางแหง่ ชาติ  การสรา้ งก�ำลังใจทดแทนการควบคุม การศกึ ษาของฟนิ แลนดพ์ ฒั นาการเรียนรจู้ ากภายใน และการสรา้ ง ก�ำลงั ใจให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ ไม่เนน้ การสอบวดั ประเมินผล  โรงเรียนจะได้รับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อน�ำมาดูแลในบริการสุขภาพให้กับนักเรียน รวมถึงการจัด บริการต่างๆ ทเ่ี ป็นประโยชน์ทางสังคมส�ำหรับนักเรียนด้วย รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 47 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดบั 2. การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน (ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา) การก�ำหนดมาตรฐาน  การศกึ ษาในระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานเปน็ การศึกษาภาคบังคบั ของเดก็ ชาวฟินแลนดท์ ุกคน  การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานเปดิ โอกาสใหท้ กุ คนเขา้ ถงึ และไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพเทา่ เทยี มกนั โดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย รวมไปถงึ เครอ่ื งมอื อปุ กรณก์ ารเรยี นแมก้ ระทงั่ สอ่ื และอปุ กรณ์ในการสอนตา่ งๆก็ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยใดๆทง้ั สนิ้  วัตถุประสงค์ของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คือ การสนับสนุนศักยภาพและการเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล ควบคกู่ บั การเปน็ พลเมอื งในฐานะสมาชกิ ของสงั คม รวมไปถงึ การสอนองคค์ วามรสู้ �ำคญั และทกั ษะทจี่ �ำเปน็ การน�ำมาตรฐานสู่หลกั สตู ร  การสอนโดยเน้นสถานการณ์จริงรอบตัว ปรากฏการณ์ที่มีอยู่จริง (Phenomena-based Learning) ควบคู่ไปกบั การสอนเนน้ เนอื้ หาวชิ า (Subject-based Instruction) ถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของกรอบหลกั สตู ร แหง่ ชาติ การประกนั คุณภาพการศึกษา  การศกึ ษาปฐมวยั และการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานไดร้ บั การประเมนิ โดยศนู ยป์ ระเมนิ ผลการศกึ ษาของฟนิ แลนด์ (FINEEC) ด�ำเนนิ การประเมินการเรียนรู้ระดบั ชาติ โดยมีจดุ มงุ่ หมาย เพ่อื การสร้างความรู้ประกอบการ พฒั นาและการตดั สินใจ  รับประกันความเสมอภาคการศึกษาและคุณภาพการสอน ท�ำหน้าที่เป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อน และการพัฒนาในโรงเรียน เป็นการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้เพ่ือให้การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา และขั้นพื้นฐานบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางระดับชาติ เป็นการติดตามผลการประเมิน นักเรียนเป็นรายบุคคล เช่น การประเมินความแตกต่างในระดับภูมิภาคและความแตกต่างท่ีอิงตามเพศ รวมถึงการศกึ ษาทัศนคติของนักเรยี นและแรงจงู ใจทีม่ ีต่อการศกึ ษา  ผู้ให้บริการมอี สิ ระในการตดั สินใจเกยี่ วกบั วตั ถปุ ระสงค์ดว้ ยตนเอง  การประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ะดบั ชาติ คอื การประเมนิ ตามกลมุ่ ตวั อยา่ งและด�ำเนนิ การโดยศนู ยป์ ระเมนิ ผล การศกึ ษาของฟนิ แลนด์ (FINEEC) การก�ำกบั ติดตาม  ในการจัดการศึกษาให้ได้คุณภาพ รัฐให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการสอนของครูและการเรียนรู้ของนักเรียน โดยส่งเสริมสนับสนนุ ให้โรงเรยี นปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสมกับการเรยี นร้มู ากท่ีสุด  ครูของฟินแลนด์มีอิสระมากท่ีจะใช้ความรู้ทางวิชาชีพและอ�ำนาจการตัดสินใจจัดการเรียนรู้ให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ (Learn How to Learn) ครูจะเป็นผู้ควบคุมหลักสูตร ประเมินนักเรียน พัฒนาโรงเรียน ตลอดจนเขา้ ไปมีสว่ นร่วมกบั ชุมชน 48 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดบั 3. อาชวี ศึกษา การก�ำหนดมาตรฐาน  การศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษาชว่ ยใหน้ ักเรียนมคี วามรูพ้ ้นื ฐานและความพร้อมในการท�ำงานอาชีพ  การปฏิรปู การอาชีวศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ซ่ึงมีผลบังคบั ใช้ในปี ค.ศ. 2018 มวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื ปรบั ปรงุ อตั ราการส�ำเร็จการศกึ ษาและการเปลยี่ นเข้าสู่ตลาดแรงงาน การน�ำมาตรฐานสู่หลกั สตู ร  สนบั สนนุ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ และการพฒั นาของนกั เรยี นในฐานะมนษุ ยแ์ ละสมาชกิ ของสงั คม ใหค้ วามรู้ และทกั ษะแก่นักเรียนในการศกึ ษาตอ่ และส่งเสรมิ การจา้ งงาน  สถานศึกษาเตรียมความพร้อมและการฝึกอบรมให้นักเรียน เพื่อให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสม มีสมรรถนะ ท่ีจ�ำเปน็ ตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และเป็นผูท้ ่ีมคี วามใฝร่ ู้และยดื หยนุ่ ไดเ้ สมอ  ช่วยเหลือสนบั สนนุ และให้บรกิ ารทางการศึกษาและคณุ ภาพชวี ติ ของผ้เู รียนโดยรอบดา้ น  ใหค้ �ำแนะน�ำแก่นักเรยี นตามเปา้ หมายและความสามารถส่วนบุคคล การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา  กระทรวงการศึกษาและวัฒนธรรมได้จัดท�ำโครงร่างของการประกันคุณภาพการศึกษาแห่งชาติ มีหน้าท่ีรับผิดชอบการพัฒนาการประกันคุณภาพของ VET ร่วมกับส�ำนักงานการศึกษาแห่งชาติ ฟนิ แลนด์ EDUFI ยังใหก้ ารสนับสนุนผู้ใหบ้ ริการการศึกษาในเรอื่ งของการประกันคณุ ภาพ การประเมิน ภายนอก ด�ำเนินการในระดบั ประเทศโดยศนู ย์ประเมินการศึกษาของประเทศฟนิ แลนด์ (FINEEC)  ในประเทศฟนิ แลนด์ไมม่ ีระบบประกันคณุ ภาพภายใน  หน้าท่สี �ำคญั ของฝ่ายนโยบาย คือ การส�ำรวจขอ้ มลู การสนับสนนุ และเงนิ ทนุ การก�ำกบั ติดตาม  การอาชวี ศกึ ษา (VET) สรา้ งขน้ึ ดว้ ยความเชอื่ มนั่ และความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั บนพนื้ ฐานของความไวว้ างใจและ ความรบั ผิดชอบร่วมกนั  เครือข่ายอาชีพ ผู้ให้บริการด้านการศึกษาและการฝึกอบรมมีบทบาทส�ำคัญในการใช้ VET สร้างความมั่นใจ ในคุณภาพของการฝึกอบรมและพัฒนาคุณสมบัติ ฝ่ายนโยบาย (รัฐสภา) ตัดสินใจเก่ียวกับกฎหมายและ การจัดสรรงบประมาณประจ�ำปใี ห้กบั VET  ส�ำนักงานการศึกษาแห่งชาติฟินแลนด์ (EDUFI) พัฒนาการศึกษาและฝึกอบรมผ่านโครงการเงินทุนเพิ่ม ผลติ ภาพของการศกึ ษาและการสนับสนนุ  สร้างความเป็นสากลโดยให้ใบอนุญาตรับรองส�ำหรับผู้เรียนที่มีสมรรถนะและคุณสมบัติตรงตามเง่ือนไข หรือมคี ณุ ภาพสงู รายงานผลการศึกษา เรื่อง 49 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดบั 4. อดุ มศึกษา การก�ำหนดมาตรฐาน  การร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัยเริ่มโดยการรวมมหาวิทยาลัย 2 แห่งขึ้นไป เพื่อให้ทั้งหมดร่วมกัน ก�ำหนดนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษาร่วมกับรัฐบาลกลาง เพ่ือหาวิธีการและแนวทางในการ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนร่วมกัน การน�ำมาตรฐานสหู่ ลักสูตร  ระบบการสอบเขา้ เรยี นในมหาวทิ ยาลยั จะไมแ่ ยกการสอบเพอื่ เขา้ ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื ปรญิ ญาโท  เนน้ ใหเ้ รยี นทง้ั ทฤษฎแี ละท�ำงานวจิ ยั ถา้ เลอื กเรยี นหลายหลกั สตู ร สามารถส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท ไดท้ นั ที  ระยะเวลาการเรียนขึน้ อยกู่ บั โปรแกรมท่ีเลือกเรยี น การประกนั คณุ ภาพการศึกษา  ศูนย์ FINEEC เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการประกันคุณภาพภายนอกในระดับอุดมศึกษาต้ังแต่ ปี ค.ศ. 2015 โดยด�ำเนินงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมซ่ึงเป็นหน่วยงานแยกต่างหาก ภายในส�ำนักงานการศึกษาแห่งชาติของฟินแลนด์ (EDUFI) การประเมินภายนอกได้ด�ำเนินการโดย สภาประเมินผลการศึกษาระดับอุดมศึกษาของฟินแลนด์ (FINHEEC) ซ่ึงก่อตั้งขึ้นจากการรวมกิจกรรม การประเมนิ ของ FINHEEC สภาการประเมนิ การศกึ ษาของฟนิ แลนด์ และคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ ของฟนิ แลนด์ การก�ำกับติดตาม  การก�ำกับติดตาม ระบบประกันคุณภาพของ HEIs น้ัน FINEEC ได้ต่ออายุรูปแบบการตรวจสอบ ส�ำหรบั รอบท่ี 3 ของการตรวจสอบ HEIs (2018-2024) เรม่ิ ทดลองในชว่ งปี ค.ศ. 2018 และ 2019 โดยรูปแบบใหมน่ �ำมาพร้อมกับแนวคิดใหมท่ ีน่ า่ สนใจ คอื  แนวทางทเี่ น้นนักเรียนเปน็ ศนู ย์กลางมากข้นึ  ใหค้ วามส�ำคัญกับผลกระทบทางสงั คม  การเปรยี บเทยี บจากองคก์ รอน่ื  Digital Platform  เครอ่ื งหมายคณุ ภาพเพอื่ ความเป็นเลิศ 50 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

จากผลการศกึ ษาแนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาตแิ ละการน�ำ มาตรฐาน การศึกษาสู่การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน กล่าวโดยสรุปได้ว่า มาตรฐานการศึกษา ปฐมวัย กำ�หนดด้านการมีส่วนร่วมในการศึกษาและสิทธิของเด็กทุกคนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย มาตรฐานระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานใหค้ วามส�ำ คญั กบั การใหโ้ อกาสเดก็ ทกุ คนเขา้ ถงึ และไดร้ บั การศึกษาท่ีมีคุณภาพเท่าเทียมกัน ส่วนมาตรฐานการอาชีวศึกษาเน้นด้านความรู้พื้นฐานและ ความพร้อมในการทำ�งานในอาชีพ และมาตรฐานการอุดมศึกษาเน้นการทำ�งานจริงท่ีประยุกต์ ทง้ั การฝกึ งาน ความชำ�นาญในการทำ�งาน และการท�ำ วิจยั โดยฟนิ แลนดไ์ มม่ รี ะบบการประกัน คณุ ภาพภายในทกุ ระดบั การศกึ ษาแตใ่ ชผ้ ลการประเมนิ คณุ ภาพนกั เรยี นจากหลกั สตู รทสี่ ถาบนั การศึกษาดำ�เนินการ เป็นการตรวจสอบคุณภาพ และกำ�หนดให้ศูนย์ประเมินการศึกษาของ ประเทศ (FINEEC) ใชร้ ะบบการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกในการตรวจสอบผลการจดั การศกึ ษา ในภาพรวมของประเทศ สว่ นในดา้ นการก�ำ กบั ตดิ ตามการด�ำ เนนิ งาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ วฒั นธรรมดแู ลก�ำ กบั ตดิ ตามและสนบั สนนุ งบประมาณโดยรฐั สภาจะตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั กฎหมาย ที่เก่ียวข้องและการจัดสรรงบประมาณประจำ�ปีให้กับสถานศึกษาและสถาบันการศึกษาของ ประเทศ รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 51 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

52 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษา สูก่ ารปฏบิ ตั ิของตา่ งประเทศ : ประเทศญ่ปี ุ่น ขอ้ มลู ทั่วไป ประเทศญ่ีปุ่นเป็นประเทศหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก แบง่ การปกครองออกเป็น 47 จงั หวดั 8 ภมู ภิ าค โดยมกั จะถกู จับเขา้ กลุม่ ตามเขตแดนตดิ กนั ทม่ี วี ฒั นธรรม และสำ�เนียงการพูดใกล้เคียงกัน รูปแบบการปกครองเป็นระบอบเสรีประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ รัฐสภาเป็นสถาบันสูงสุดของรัฐ เรียกชื่อว่า “สภาไดเอท” ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร (House of Representatives) มีสมาชิก 480 คน มาจากการเลือกตั้งท่ัวประเทศ มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 4 ปี และวฒุ สิ ภา (House of Councillors) มสี มาชกิ 242 คน มวี าระในการด�ำ รงตำ�แหนง่ 6 ปี โดยเลือกต้ัง จำ�นวนครึ่งหนึ่งสลับกันไปทุก 3 ปี รัฐบาลของญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล ขณะท่ีสมเด็จ พระจักรพรรดเิ ป็นสัญลักษณข์ องประเทศไมใ่ ช่องคป์ ระมุขและไมม่ อี ำ�นาจในการบรหิ ารประเทศ รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง 53 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศกึ ษา ระบบการศกึ ษาของญป่ี นุ่ เปน็ ระบบ 6 : 3 : 3 : 4 โดยการศกึ ษาภาคบงั คบั มรี ะยะเวลา 9 ปี ครอบคลมุ ระดับชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น หน่วยงานที่ดูแลการศึกษาภาคบังคับคือ กระทรวง การศกึ ษา วฒั นธรรม กฬี า วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology : MEXT) สำ�หรบั การศกึ ษาปฐมวยั (ระยะเวลา1-3ป)ี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายอาชวี ศกึ ษา และปรญิ ญาตรี ไม่ใชก่ ารศกึ ษาภาคบงั คบั นักเรียนญี่ปุ่นส่วนใหญ่ ร้อยละ 97 ที่เรียนจบ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจะเลือกเรียนต่อ มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยร้อยละ 75 เลือกเรียน หลักสูตรทั่วไปสำ�หรับศึกษาต่อมหาวิทยาลัยหรือ ทำ�งานหลังศึกษาจบ ร้อยละ 19 เลือกเรียนหลักสูตร เฉพาะสำ�หรับสาขาวิชาเฉพาะทส่ี นใจ และร้อยละ 6 เลอื กเรยี นหลกั สูตรบูรณาการ เรยี นวิชาเลือกจากทัง้ แบบท่ัวไปและแบบพิเศษ ส่วนนักเรียนที่ไม่เรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจะเรียนสายอาชีวศึกษา คือ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีหรือวทิ ยาลัยฝกึ อบรมเฉพาะทาง ซ่ึงวทิ ยาลัยเทคโนโลยีจะตอ้ งสอบเข้าไปเรียนต่อ บางแหง่ เปดิ หลกั สตู รขนั้ สงู รองรบั นกั เรยี นทต่ี อ้ งการเรยี นตอ่ ปรญิ ญาตรโี ดยใชเ้ วลา 2 ปี สว่ นใหญน่ กั เรยี น ที่จบการศึกษาจากวิทยาลัยเทคโนโลยีจะทำ�งานแบบเต็มเวลาแม้ว่าจะเลือกเรียนต่อระดับปริญญาตรี กต็ าม สว่ นวทิ ยาลยั ฝกึ อบรมเฉพาะทางไมต่ อ้ งสอบเขา้ เปดิ โอกาสใหท้ กุ คนสามารถเขา้ ศกึ ษาตอ่ ได้ผสู้ �ำ เรจ็ การศึกษาได้รับประกาศนียบัตรหลังเรียนจบช้ันมัธยมและสามารถเรียนในหลักสูตรหลังมัธยมศึกษา เพื่อรบั ประกาศนยี บตั รขน้ั สูงได้ ◆ บทบาทของกระทรวงการศกึ ษาฯ (MEXT) กระทรวงการศึกษาฯ (MEXT) มีบทบาทสำ�คัญยิ่ง เป็นหน่วยงานในการจัดการศึกษาของ ประเทศญ่ีปุ่น MEXT รับผิดชอบการจัดทำ�นโยบายการศึกษา แผนการศึกษา กำ�หนดงบประมาณ การศึกษา กฎหมายแม่บทการศึกษา ตลอดจนหลักสูตรการศึกษาในทุกระดับ รวมทั้งกำ�หนดมาตรฐาน การศึกษา มาตรฐานใบประกอบวิชาชพี ครู และกำ�กบั ดูแลให้จดั การศึกษาเปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับจากกระทรวงท่ีได้ก�ำ หนดไว้ ส�ำ หรบั การน�ำ นโยบาย แผน งบประมาณ หลกั สตู ร มาตรฐานการศกึ ษา ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เปน็ บทบาท หน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาภายใต้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ระดบั รฐั และเทศบาล โดย 54 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

คณะกรรมการการศกึ ษาระดบั รฐั ดแู ลรบั ผดิ ชอบการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คณะกรรมการการศกึ ษาระดบั เทศบาล ดแู ลรบั ผดิ ชอบการจดั การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยม ศกึ ษาตอนตน้ ซ่งึ เปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั MEXT สนับสนุนงบประมาณอุดหนุนการศึกษาภาคบังคับ โดยคิดสัดส่วนของงบประมาณ เป็น เงนิ เดือนครูครึง่ หนง่ึ ของคา่ ใช้จา่ ยทัง้ หมด อกี ครึ่งหนึง่ ให้เปน็ งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในดก้ารนกวอ่ ิชสารา้กงาอราคMาEรสXถTาคนวทบี่ สค�ำ หุมรอบั ยก่ารงจเขดั ห้มางซวอ่ดมโบด�ำ ยรงุ เอฉาพคาาะรสอถยา่านงทย่ี ใิ่งหเใ้ รชื่อง้ บงปหรละักมสาณูตขรอกงทาอ้รงใถชน่ิ้แเบองบเรียน เ พ ื ่ อ ค ว บด้าคนุ วมิชคากุ ณารภMาEพXTกคาวรบคศุมึ กอยษ่างาเขใ้มหงว้ ไดดโ้ดมยาเฉตพาระฐอาย่านงยทิ่งีเ่รกื่องำหหลักนสดูตรไ วกา้ ตรใาช้แมบหบเลรียั กนส ู ต ร โดยกรเพะอ่ื จคาวยบอคำมุ นคาณุ จภใาหพ้สกถาารศนกึ ศษึกาษใหาไ้ จดัดม้ หาตลรักฐาสนูตทรก่ี ส�ำ ถหานนดไศวึกต้ ษามาหไลดกั้รส้อตู ยรลโดะยก1ร0ะจขาอยงอเ�ำ นนื้าอจหใหาแส้ ถลาะนชศั่วกึ โษมางเรียน เรซMึ่งวEพมXมีหTื ทลซเคจ่ ปไา่ัึงดอวดั น็ก้มาหอ้งแหีมหอนลเบลลสัมุกปบอาานัตสยเิกใิใูรตดโกหจหียดรโ้เขนลสยอแออเาถใกฉหงยกาชบพน้อนนาาโักิสศจบดะเสรัดทึกรยะีพยใ่ีกษใMกหนมิหาับEิ้พอไ้Xเรจดิเส์ทวT้อรรศมก้อะไกบทดกยรา้ั้องัชบลลเนะเปนรแทมุ ิดลศ1จัตมโะ0บใิ อั สหดาทกขถ้เลพอาอาแีกสนงิ่ลชมใเศนตหะนึกพ้ือส้จเษอรหถัด์ แากพาางเชนแลบิมนศลืกอพบจึกะกเ์ ัทดัชเแษา่บพั่วรบานโิมบเี ม้นัยลคพเงือรน์แเวียกรบทนีแยาบไบนี ด่เบไมร้เเียอดเพรสนง่ืียอ้ ตรทนอานี่ัไอไบมดดกบใ้รอ้เแัรบอจนบิบงอตบทนุขมากุมแมิจอััตตตบกิจ่ตงิรราจ้ิอบรกนมงาทกเทกปรัแ่ีตะ็นกกตรทแง่รตรบเก้อวะบับรงงทเรี ีรยยนวทนงี่ ภาพที่ 2 ระบบการศกึ ษาข(ทอี่มงปาร:ะhเtทtpศ:ญ//ภw่ีปาwุ่นพwท(ท.m่ี ี่ม3eารxะ:t.บhgบtot.กpjpา://รe/ศwnึกgwษliwsาhข.m/อinงetปrxoรtdะ.guเoทc.ศjtpiญo/neปี่ /n1นุ่ 3gl0is3h9/5in2t.hrotmd)uction/1303952.htm) % กฎหปมารยแะละเนทโยบศาญยสำี ค่ ัญป ดุ ้า่ นนกาใรศหกึ ษ้ คากขาวอรนงา�ำญมา่ปีมตนุ่รสฐานำการคศึกั ษญาของกชาัตบสิ กู่ าหรปฏลิบตั ริ ั: าบกยทงเารสนยี ผนลจู กาตากรตศา่ รกึ งษปารกเะรเทื่อาศง 55 ร ศึ ก ษ า การศึกษาทุกระดับจะดำเนินการตามกรอบของหลักสูตรซึ่งจัดทำโดย MEXT และมีสภากลางทางการศึกษา (The

กฎหมายและนโยบายสำ�คัญดา้ นการศกึ ษา ประเทศญ่ีปุ่นให้ความสำ�คัญกับหลักสูตรการศึกษา การศึกษาทุกระดับจะดำ�เนินการตามกรอบ ของหลกั สูตรซ่งึ จัดทำ�โดย MEXT โดยมีสภากลางทางการศึกษา (The Central Council for Education) ทำ�หน้าที่ให้คำ�ปรึกษาเชิงนโยบาย ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน ความสามารถทางวิชาการ มาตรฐาน และการประกันคุณภาพ จะดีข้ึนหรือลดลง ขึ้นอยู่กับเป้าหมายและรายละเอียดที่กำ�หนดไว้ ในหลักสูตร กฎหมายแม่บทการศึกษา และกฎหมายการศึกษา ในระบบโรงเรียน กฎหมายแม่บทการศึกษา (The Fundamental Law of Education) ประกาศใชเ้ ม่อื วันท่ี 31 มีนาคม 2490 (ค.ศ. 1947) ได้รับการปรับปรุงเม่ือวันท่ี 22 ธันวาคม 2549 (ค.ศ. 2006) สาระส�ำ คญั ท่ไี ดร้ ับการปรบั ปรงุ เชน่ มาตรา 2 จดุ มุง่ หมายของ การศึกษา ข้อ (3) (4) และ (5) กลา่ วถงึ การปลูกฝงั จติ สาธารณะ และความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโดยตรง ดงั นี้ ข้อ (3) เพ่ือปลูกฝังให้มีความยุติธรรมและความรับผิดชอบ มีความเสมอภาคระหว่าง ชาย - หญงิ รกั บ้านเกดิ ใหค้ วามร่วมมือกับชมุ ชน มีจติ สาธารณะ เต็มใจที่จะมีสว่ นรว่ มสรา้ งสรรคส์ งั คม และมจี ิตอาสาทจี่ ะพฒั นา ขอ้ (4) เพอื่ ปลกู ฝังให้ตระหนกั ถงึ ความสำ�คัญของการมชี ีวติ อยู่ ความสำ�คญั ของธรรมชาติ และมีจิตอาสาทจ่ี ะอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ขอ้ (5) เพือ่ ปลูกฝังให้มีความเคารพตอ่ วฒั นธรรมและประเพณีด้งั เดิม รกั ประเทศชาตแิ ละ ถนิ่ ก�ำ เนดิ ใหก้ ารยอมรบั นบั ถอื แกป่ ระเทศอน่ื และมจี ติ อาสาทจี่ ะสรา้ งสนั ตภิ าพและการพฒั นาความเจรญิ ใหก้ บั สงั คมโลก กฎหมายการศึกษาในระบบโรงเรียน (School Education Law) ปรับปรุงตามกฎหมายแม่บท การศึกษา เม่ือวันที่ 27 มิถุนายน 2550 สาระการปรับปรุง คือ หมวด 2 มาตรา 21 จุดมุ่งหมาย การศึกษาภาคบังคับ 10 ข้อ ซ่ึงเป็นเร่ืองเกี่ยวข้องกับการปลูกฝังจิตสาธารณะและความรับผิดชอบ ต่อสังคม และในหมวด 4 มาตรา 31 เป็นเร่ืองการจัดการแนะแนวการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา โดยเน้นให้เด็กทำ�กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นประสบการณ์ โดยเฉพาะกิจกรรมอาสาสมัครการให้ บริการทางสังคม การเข้าร่วมกับกลุ่มหรือองค์กรเก่ียวข้องกับสังคม มาตรา 45 กำ�หนดให้โรงเรียน มัธยมศึกษาตอนต้นจัดการศึกษาต่อจากโรงเรียนประถมศึกษา เพื่อพัฒนาจิตใจและร่างกายของเด็ก และให้การศกึ ษาทัว่ ไป 56 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

หลกั สตู รการศึกษา การจัดการศึกษาทุกระดับของประเทศญี่ปุ่น จะต้องเป็นไปตามที่กำ�หนดไว้ในหลักสูตรการศึกษา ระดบั ชาตขิ องญป่ี นุ่ ซง่ึ ก�ำ หนดโดยกระทรวงการศกึ ษาฯ หรอื MEXT หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั ชาตขิ องญป่ี นุ่ มีความยืดหยุ่นและเอื้อให้สถานศึกษาสามารถนำ�ไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาได้ตามบริบท ของสถานศึกษา ภายใต้หลักการยกระดับการพัฒนาทางจิตใจและร่างกาย ตามท่ีกำ�หนดไว้ในหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาระดับชาติของญ่ีปุ่นจะมีการปรับเปล่ียนทุกๆ 10 ปี ซึ่งหลักสูตรท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน จดั ท�ำ ข้นึ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2551 แนวคิดพ้ืนฐานของหลักสูตร เนน้ การสรา้ งบุคลิกภาพดว้ ยแนวคิดพลังในการดำ�เนนิ ชีวิต (Zest for Life) ประกอบดว้ ย จิ โตะคุ ไท คอื การมคี วามรดู้ ี (จ)ิ เปยี่ มดว้ ยคณุ ธรรม (โตะค)ุ และมรี า่ งกายแขง็ แรง (ไท) ครผู สู้ อนของญป่ี นุ่ จะตอ้ งยดึ หลกั จิโตะคุไทเปน็ หลกั ในการพฒั นาเดก็ จะตอ้ งสอนวชิ าความรู้การแนะแนว นกั เรยี น ใหค้ �ำ ปรึกษาในการทำ�กจิ กรรมชมุ นมุ ตา่ งๆ โรงเรียนของญปี่ ุ่นคอื ศูนยก์ ลางของสังคมในทอ้ งถิน่ มีบทบาทสำ�คัญอยา่ งย่งิ ในการกระตนุ้ ความมีชวี ิตของชมุ ชนในท้องถิน่ เหตุผลสำ�คัญของการปรับหลักสูตรของญ่ีปุ่นในปี ค.ศ. 2008 หรือ พ.ศ. 2551 คือ สังคมมีการ เปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมฐานความรู้ (Knowledge-based society) ซึ่งหลักสูตรที่ปรับจะต้องทำ�ให้ นกั เรียนสามารถเชอ่ื มโยงความรแู้ ละทกั ษะเขา้ กบั รายวชิ าทเ่ี รียนได้ เปิดโอกาสใหเ้ ด็กใชท้ กั ษะการสงั เกต การทดลอง การรายงาน การศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื พฒั นาตนเอง โดยบา้ นและชมุ ชนตอ้ งใหเ้ วลาในการพฒั นา ดา้ นจติ ใจและสขุ ภาพของเดก็ ด้วย ◆ ระดับการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนระดับการศึกษาปฐมวัยของญี่ปุ่นมี 2 สังกัดหลัก คือ โรงเรียนอนุบาลภายใต้สังกัดกระทรวงการศึกษาฯ (MEXT) และโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กภายใต้สังกัดกระทรวงสาธารณสุข แรงงาน และสวสั ดกิ าร นอกจากนย้ี งั มอี กี 1 ส�ำ นกั งาน คอื ส�ำ นกั งาน คณะรัฐมนตรีดูแลโรงเรียนเด็กเล็ก (Kodomoden) ซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานจากรัฐ ที่เพ่ิงก่อกำ�เนิด ไดไ้ มน่ านและยงั มีจำ�นวนน้อย (วรนิ ธร วูวงศ,์ Ttsuko Fukui, ม.ป.ป.) ประเทศญ่ีปุ่นได้กำ�หนดให้การศึกษาปฐมวัยเป็นช่วงสำ�คัญท่ีจะหล่อเล้ียงและเสริมสร้างพื้นฐาน ของการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ และใหถ้ อื เปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการจดั การศกึ ษา ปฐมวัยแม้ว่าจะไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ รวมท้ังได้กำ�หนดแนวทางการเรียนการสอนแบบกว้าง เช่น แนะนำ�ให้ใช้การเล่นและกิจกรรมแทนท่ีจะใช้กระดานและกระดาษ โดยครูผู้สอนจะเข้าไปร่วมเล่น และท�ำ กจิ กรรมรว่ มกับเดก็ รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 57 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

เป้าหมายผลสัมฤทธิ์ท่ีกระทรวงการศึกษาฯ ต้องการให้บรรลุ สำ�หรับการศึกษาระดับปฐมวัย มี5ดา้ น(MEXT,2009)คอื 1) การมจี ติ ใจและรา่ งกายทแี่ ขง็ แรง ดว้ ยการเสรมิ สรา้ งใหร้ า่ งกายมพี ละก�ำ ลงั เช่น ให้ว่ิงเล่นอย่างเต็มท่ีในสนามของโรงเรียน และสร้างนิสัยการใช้ชีวิตประจำ�วันที่ดี เช่น การล้างมือ กอ่ นรบั ประทานอาหาร2) การเปน็ ตวั ของตวั เองและความสามารถในการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ การฝกึ ใหเ้ ปน็ ตัวของตัวเอง เช่น ฝึกให้เกิดความต้องการทำ�สิ่งต่างๆ รอบตัวด้วยตัวเอง ฝึกให้คิดด้วยตัวเอง ก่อนลงมือทำ� 3) การสร้างพื้นฐานความสามารถในการคิด เช่น ให้ลองคิด ทดลอง หรือดัดแปลง ระหว่างการเล่น ซ่ึงช่วยพัฒนาความสามารถในการคิด รวมท้ังพยายามให้เด็กมีความสนใจในเรื่อง คณติ ศาสตร์ เชน่ ใหเ้ ดก็ หดั นบั จ�ำ นวนสง่ิ ของ หรอื คนระหวา่ งการเลน่ 4) การเขา้ ใจภาษา เนน้ การพดู และฟงั เช่น ใหเ้ ด็กสนกุ สนานกับการพดู คุยกับเพือ่ นและครู จนเด็กสามารถเลา่ เร่ืองหรอื พดู ใหค้ ู่สนทนาเขา้ ใจได้ และเมื่อคุ้นเคยกับเพ่ือนมากขึ้น เด็กก็จะมีความสนใจท่ีจะรับฟังเร่ืองราวของเพ่ือน และพยายามทำ� ความเขา้ ใจ 5) ความสามารถในการแสดงความรสู้ กึ และความสามารถในการรบั รู้ จะพฒั นาดขี น้ึ ได้ ด้วยการให้เดก็ สมั ผัสธรรมชาติ จากน้นั จงึ ใหเ้ ดก็ แสดงออกถงึ ความรู้สึกเหลา่ น้นั โดยผา่ นการเล่นหรอื วาดรูป ◆ ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา การเปลยี่ นแปลงหลกั สตู ร พ.ศ. 2551 ยงั คงยดึ หลกั จิ โตะคุ ไท หรอื การสรา้ งบคุ ลกิ ภาพดว้ ยแนวคดิ พลงั ในการดำ�เนนิ ชีวติ แตเ่ พ่ิมเติมเร่ืองความสามารถในการส่งเสรมิ และสร้างความสมดุลทัง้ ดา้ นความรู้ ทักษะการคดิ การตดั สินใจ การสร้างความเขา้ ใจเก่ยี วกบั รา่ งกายและจิตใจ ดงั น้ี ประถมศกึ ษา เพม่ิ คาบเรยี นวชิ าภาษาญปี่ ุน่ สงั คมศกึ ษา คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละพลานามยั โดยระดับประถมศึกษาตอนต้นเพ่ิมเวลาเรียน 2 คาบต่อสัปดาห์ ระดับประถมศึกษาตอนปลายเพ่ิมเวลา เรยี น 1 คาบต่อสัปดาห์ มัธยมศึกษาตอนต้น เพ่ิมคาบเรียนวิชาภาษาญ่ีปุ่น สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ และพลานามัย และเพิ่มเวลาเรยี น 1 คาบตอ่ สปั ดาห์ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย นกั เรยี นตอ้ งเกบ็ หนว่ ยกติ อยา่ งนอ้ ย 74 หนว่ ยกติ เนน้ การสรา้ งความสมดลุ ระหวา่ งวชิ าบงั คับและวชิ าเลือกในหลักสตู ร ซึ่งนักเรยี นมโี อกาสไดร้ ับการสอนซอ่ มเสริมด้วย ◆ ระดับอาชีวศกึ ษา หลักสูตรอาชีวศึกษาของญี่ปุ่นเช่ือมโยงการจัดการศึกษาสายอาชีพกับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศกึ ษา ในญีป่ นุ่ การศกึ ษาระดับอาชีวศึกษามีหนว่ ยงานท่ีจัดการศกึ ษา ดงั นี้ วิทยาลัยอาชีวศึกษา เรียกเป็นภาษาญี่ป่นุ ว่า Senmon Gakkou สอนหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะทาง เน้นให้ความรู้ต้ังแต่พื้นฐาน เทคนิคและทักษะการปฏิบัติ เพ่ือให้ผู้เรียนมีความชำ�นาญเฉพาะทาง เมอ่ื เรียนจบแลว้ สามารถนำ�ทกั ษะความร้มู าใชไ้ ดจ้ ริง 58 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

วทิ ยาลยั แหง่ ชาตเิ ทคนคิ เรียกเปน็ ภาษาญปี่ นุ่ ว่า โคเซน มที งั้ หมด 57 แหง่ ท่วั ประเทศ สาขาวชิ า ท่ีเปิดสอนคือ ด้านอุตสาหกรรม วิศวกรรมด้านต่างๆ เรียนต่อเนื่อง 5 ปี ยกเว้นสาขาพาณิชย์นาวี เรยี นตอ่ เนอ่ื ง 5 ปคี รงึ่ โดยเนน้ การสอนดา้ นเทคนคิ การเรยี นการสอนเนน้ การทดลอง ฝกึ ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื รองรบั การปฏิบัติงานจริง จัดการเรียนการสอนเป็นกลุ่มเล็กๆ อัตราการได้งานทำ�ภายหลังเรียนจบและอัตรา การสอบโอนหน่วยกิตเข้าระดับมหาวิทยาลัยคิดเป็นเกือบ รอ้ ยละ 100 ผู้ทจี่ บการศกึ ษาหลกั สูตร 5 ปี ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หากจบการศึกษาหลักสูตรระดับสูงและ ผ่านการประเมินจาก National Institution for Academic Degrees and Quality Enhancement of Higher Education (NIDA)จะไดร้ บั วฒุ เิ ทคโนโลยบี ณั ฑติ หลกั สตู ร ในแตล่ ะชัน้ ปี ประกอบดว้ ย 2 กล่มุ คือ กลุ่มวิชาศลิ ปศาสตร์ (ภาษาญี่ปุ่นและวรรณคดี คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ภาษาอังกฤษ เคมี ฟิสิกส์ พลศึกษา ปรัชญา และอ่ืนๆ) และกลุ่มวิชาหลัก (ความรู้ทักษะ การลงมือปฏิบัติ การศึกษาวิจัย) หลักสูตรออกแบบเป็นเกลยี วสว่าน เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาทักษะการเรยี นรูผ้ า่ น 3 ระยะ คอื ระยะการฟงั บรรยาย ระยะการทดลองใชค้ วามรู้ และระยะการฝกึ ปฏิบตั ิ ◆ ระดบั อดุ มศึกษา MEXT ควบคุมการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาซึ่งจัดการโดยรัฐบาล ท้องถ่ิน และเอกชน มาตรฐานของมหาวิทยาลัยและมาตรฐานของวิทยาลัย กำ�หนดโดยธรรมนูญของสภามหาวิทยาลัย ประกอบด้วย กระบวนการเลือกนักศึกษา คณุ ภาพของเจ้าหนา้ ท่ี สัดสว่ นของนกั ศกึ ษา ทีมงาน โปรแกรม การจดั การศกึ ษา การจัดการองค์กร และโครงสรา้ งการบรหิ าร ปี ค.ศ. 1991 หรือ พ.ศ. 2534 รัฐบาลกำ�หนดกรอบแนวคิดและหลักการเรื่องการจัดทำ�หลักสูตร อิสระ โดยให้มหาวทิ ยาลัยรายงานตนเองเกีย่ วกับวิธกี ารสอนและการวิจยั ปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548 สภากลางทางการศึกษาเสนอวสิ ยั ทัศน์ของอนาคตการอุดมศกึ ษา ของญี่ป่นุ ในระยะกลางและระยะยาว จากปี ค.ศ. 2005 - 2027 เรียกว่า A Future Vision for Higher Education in Japan ประกอบด้วย ศตวรรษท่ี 21 เปน็ ยคุ ของสังคมฐานความรู้ ตอ้ งให้ความสำ�คญั กับ การพัฒนาบุคคลในฐานะเป็นยุทธศาสตร์สำ�คัญของชาติ นโยบายอุดมศึกษาต้องรับผิดชอบต่ออนาคต ของประเทศ และยกระดับการวางแผนการศึกษาและวางแผนระบบก�ำ กับที่หลากหลายเป็นการนำ�เสนอ วิสยั ทัศนแ์ ละนโยบาย รายงานผลการศึกษา เรื่อง 59 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏิบัติ “ “ ประเทศญป่ี นุ่ ใชก้ ารศกึ ษาเปน็ ฐานในการพฒั นายกระดบั คณุ ภาพคนญปี่ นุ่ โดย ปี ค.ศ. 2006 ไดจ้ ดั ท�ำ แผนปฏบิ ตั กิ ารทจี่ �ำ เปน็ ส�ำ หรบั การปฏริ ปู การศกึ ษาตามการประกาศใชแ้ ผนพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษา (ค.ศ. 2008 - 2012) เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนแต่ละระดบั เมอ่ื ปี ค.ศ. 2005 ◆ ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั โรงเรยี นอนบุ าลในญป่ี ุน่ จ�ำ นวน 13,170 แหง่ (MEXT, 2013) สว่ นใหญเ่ ปน็ โรงเรยี นประเภทเอกชน รอ้ ยละ 62.3 (8,197 แหง่ ) และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รอ้ ยละ 37.4 (7,924 แหง่ ) สว่ นประเภทรฐั มเี พียงรอ้ ยละ 0.3 (49 แห่ง) ซงึ่ การจัดการศึกษาปฐมวัย ของญ่ีปุ่นมีหลายแนวคิด หลายสำ�นัก มีท้ังเน้น การเรียนรู้ทางวิชาการ เน้นการเสริมสร้างทักษะการใช้ ชีวิตในสังคม รูปแบบการจัดมีทั้งแบบสถานรับเล้ียงดู เด็ก (กระทรวงสาธารณสุข แรงงานและสวัสดิการ) โรงเรียนเล้ียงดูเด็กเล็ก (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) และโรงเรียนอนุบาล (กระทรวงการศึกษาฯ) การศึกษา ระดับปฐมวัยของญี่ปุ่นได้รับการยกย่องว่าจัดการเรียน การสอนได้ดีโดยเฉพาะเร่ืองการฝึกให้เด็กช่วยเหลือ ตัวเอง ใช้ชีวิตประจำ�วันที่ถูกสุขลักษณะ และใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนได้ โดยใช้การเล่นและกิจกรรมเป็นหลัก สำ�หรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดศึกษาระดับปฐมวัยคือ กระทรวงการศึกษาฯ และกระทรวง สาธารณสขุ ฯ จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรและสภาพเศรษฐกิจ รัฐบาลได้เพ่ิมจำ�นวนโรงเรียน เลี้ยงดูเด็กให้มากขึ้นเพ่ือรองรับกับความต้องการในการเข้าเรียน แต่โรงเรียนที่สร้างขึ้นมาใหม่หลายแห่ง กลับไม่สอดคล้องกับจำ�นวนความต้องการจริงของผู้ปกครอง หลายโรงเรียนไม่สามารถรับเด็กเข้าเรียน ได้เต็มจำ�นวนรับ ขณะท่ีบางโรงเรียนมีเด็กท่ีต้องการเข้าเรียนมากเกินจำ�นวนท่ีโรงเรียนสามารถรับได้ จนตอ้ งลงช่อื เพอื่ รอให้มีที่วา่ ง จงึ เกดิ วิธีการแก้ปญั หาอีกแนวทางหน่ึง คือ การบรู ณาการโรงเรียนอนบุ าล และโรงเรียนเลย้ี งดูเด็กเลก็ เพื่อใช้ทรัพยากรรว่ มกัน เป็นการแกป้ ัญหาการรบั เดก็ ใหไ้ ดม้ ากขึ้น ซ่งึ รปู แบบ 60 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การบรู ณาการมีทง้ั แบบรวมตัวกนั และแบบเป็นหนงึ่ เดยี วกนั กล่าวคอื แบบรวมตัวกัน โรงเรยี นอนุบาล และโรงเรียนเล้ียงดูเด็กเล็กจะอยู่ในพ้ืนท่ีหรือสถานที่เดียวกัน ร่วมมือกันในการจัดการเรียนการสอนและ เลยี้ งดูเด็กเพือ่ บรรลเุ ป้าหมายทางการศึกษาและพฒั นาการของเด็ก มีการแลกเปลีย่ นปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ครูและเด็กนักเรียน ใช้สิ่งอำ�นวยความสะดวกร่วมกัน แต่ทั้งโรงเรียนอนุบาลและโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็ก ยังคงสถานะองค์กรของตัวเองภายใต้กฎหมายที่แตกต่างกัน ส่วนการบูรณาการแบบเป็นหน่ึงเดียวกัน โรงเรยี นอนบุ าลและโรงเรยี นเลยี้ งดเู ดก็ เลก็ จะอยใู่ นพน้ื ทหี่ รอื สถานทเ่ี ดยี วกนั และรวมตวั เปน็ โรงเรยี นเดยี ว เพอ่ื การดแู ลและใหก้ ารศกึ ษาแก่เดก็ ภายใต้กฎเกณฑใ์ หม่ทไี่ ด้จากการปรบั ปรงุ ข้อกฎหมายของโรงเรยี น อนบุ าลและโรงเรยี นเลยี้ งดเู ดก็ เลก็ แตก่ ารด�ำ เนนิ งานแบบบรู ณาการเปน็ หนงึ่ เดยี วกนั ไมม่ โี รงเรยี นใด ดำ�เนินการรูปแบบน้ีเลย ขณะที่บูรณาการแบบรวมตัวกันก็ไม่ค่อยได้รับความนิยม ท้ังน้ีเนื่องจาก โครงสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกระทรวงของญป่ี ุน่ เปน็ แนวตง้ั ความรว่ มมอื ระหวา่ งกระทรวงในแนวนอน จึงทำ�ได้ยาก อย่างไรก็ตาม เมื่อการแก้ปัญหาการจัดการศึกษาปฐมวัยแบบบูรณาการไม่ประสบ ความสำ�เร็จ รัฐบาลจึงได้แก้ไขปัญหาด้วยการใช้แนวคิด “โรงเรียนเด็กเล็กท่ีได้รับการรับรอง มาตรฐานจากรฐั ” เปน็ โรงเรยี นทบ่ี รู ณาการโรงเรยี นอนบุ าลและโรงเรยี นเลยี้ งดเู ดก็ เลก็ อยภู่ ายใต้ สังกัดสำ�นักงานคณะรัฐมนตรี ผู้ออกใบรับรองให้แก่โรงเรียน คือ ผู้ว่าราชการจังหวัดน้ันๆ จัดต้ังขึ้น คร้ังแรกปี ค.ศ. 2001 โรงเรียนเด็กเล็กท่ีได้รับการรับรองมาตรฐานจากรัฐ ทำ�หน้าที่ให้การศึกษา แบบโรงเรียนอนบุ าล ให้การเลย้ี งดูแบบสถานเลี้ยงดูเดก็ และชว่ ยสนับสนนุ ผปู้ กครองในการอภิบาลเดก็ ◆ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ของญี่ปุ่น ดำ�เนินการผ่านนโยบายและยุทธศาสตร์การจัดการ พฒั นาและจดั การศกึ ษา ประกอบดว้ ย การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น การพัฒนาคุณภาพครู การพัฒนาโรงเรียนและส่ิงแวดล้อม การเรยี นรู้ สรุปไดด้ ังนี้ 1) การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น มยี ุทธศาสตรส์ ำ�คัญในการพฒั นา คือ (1) การยกระดับความสามารถทางวิชาการของผู้เรียนโดยการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา ภาคบังคบั เพื่อให้ผเู้ รียนมคี วามรูพ้ ื้นฐานทเี่ พียงพอ มีความสามารถในการเรียน การคิด การท�ำ งานด้วย ตนเอง และใฝเ่ รียนใฝ่รู้ตลอดชวี ิต โดยจดั ทำ�มาตรการตา่ งๆ เช่น การปรบั ปรุงหลักสตู รประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ให้บรรลุเป้าหมายการสร้างบุคลิกภาพด้วยแนวคิดพลังในการดำ�เนินชีวิต (Zest for life) ซ่ึงเป็นแนวคิดพ้ืนฐานของหลักสูตร การจัดการสอบวัดความรู้ท่ัวประเทศด้วยวิธีการสุ่มร้อยละ 10 การส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ของเด็กเพ่ือลดปัญหาพฤติกรรมความก้าวร้าว และไม่มาโรงเรียน การเปิดโอกาสให้เยาวชนที่ไม่เรียนหนังสือ ไม่ทำ�งาน ไม่ได้รับการฝึกอบรม ได้กลับ เขา้ เรยี นใหม่ การสรา้ งทกั ษะการพง่ึ ตนเองและสามารถเผชญิ กบั สง่ิ ทท่ี า้ ทายของวยั รนุ่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กาย สุขภาพจติ ของเดก็ ใหเ้ กดิ การพัฒนาทส่ี มดลุ เปน็ ต้น รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 61 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

(2) การยกระดบั คณุ ภาพนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายสามญั และสายอาชพี และสง่ เสรมิ คุณภาพและความสนใจในการศึกษาเพื่ออาชีพและอาชีวศึกษา โดยอาศัยทรัพยากรบุคคลในท้องถ่ิน และภาคเอกชนมาเป็นผู้ให้ความรู้และให้การฝึกอาชีพแก่นักเรียนสายอาชีพเพ่ือส่งต่อมหาวิทยาลัย ซง่ึ จะต้องพัฒนาเข้าสู่ระดบั สากล 2) การพฒั นาคุณภาพครู MEXT มีนโยบายการพฒั นาครู คณาจารย์ ในสถาบันอุดมศกึ ษา เพ่อื น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นในระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ซงึ่ เปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั และพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายและอดุ มศึกษา ดงั น้ี (1) พัฒนาความศรัทธาของคนในสังคมที่มีต่อครูผู้สอน ด้วยการปรับปรุงการฝึกอบรมครู การพัฒนาครูโดยให้บัณฑิตวิทยาลัยดำ�เนินการ การนำ�ระบบต่ออายุใบประกอบวิชาชีพครูมาใช้ การปรบั ปรงุ ระบบการจา้ งครูการปรบั ปรงุ ระบบการฝกึ อบรมระหวา่ งประจ�ำ การการปรบั ปรงุ วธิ กี ารประเมนิ ผล การปฏิบัติงานของครู การใช้ระบบครูต้นแบบเพ่ือนำ�ผู้เชี่ยวชาญซ่ึงเป็นทรัพยากรบุคคลนอกโรงเรียน มาเปน็ ผชู้ ว่ ยผู้บริหารหรือผบู้ รหิ ารโรงเรียน (2) พัฒนาครูผู้สอนในระดับสูงกว่าภาคบังคับ ด้วยมาตรการพัฒนาครูในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายสายอาชีพ ส่งเสริมพัฒนาผู้เป็นมืออาชีพและผู้เช่ียวชาญทางเทคนิคเชิงสร้างสรรค์ให้มีทักษะ ตา่ งๆ เชิงปฏิบัตกิ าร การสร้างนวัตกรรมใหม่ในการผลติ แบบอุตสาหกรรม 3) การพัฒนาโรงเรียนและส่ิงแวดล้อมการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์สำ�คัญในการพัฒนาโรงเรียนและ สงิ่ แวดลอ้ มการเรยี นรู้ เปน็ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั และมนั่ คงส�ำ หรบั การศกึ ษาโดยการปรบั ปรงุ ระบบป้องกันอันตรายจากแผ่นดินไหวของโรงเรียนและอาคารสถานท่ีอ่ืนๆ สำ�หรับการศึกษา โดยมี มาตรการส�ำ คัญคอื (1) จัดให้มีระบบป้องกันอันตรายจากแผ่นดินไหวสำ�หรับโรงเรียนและอาคารสถานท่ีอ่ืนๆ ทางการศกึ ษา โดยเฉพาะในพน้ื ทเี่ สย่ี งภัย (2) ประกันความปลอดภัยภายในและภายนอกโรงเรียน โดยร่วมมือกับอาสาสมัครในภูมิภาค จัดให้มีผู้นำ�การรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน 1 คน ต่อโรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง นอกจากนี้ ยังกำ�หนดให้โรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นทุกแห่งต้องทำ�แผนความปลอดภัย ของโรงเรียนดว้ ย (3) ปรับปรุงแฟ้มสะสมผลงานของห้องสมุดโรงเรียน กำ�หนดเป็นมาตรการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (ค.ศ. 2008 - 2012) เรือ่ งการปรับปรุงหอ้ งสมดุ โรงเรียน โดยใช้ งบประมาณของท้องถ่ิน รวมท้ังกำ�หนดให้โรงเรียนที่ไม่มีบรรณารักษ์ดำ�เนินการฝึกอบรมครูบรรณารักษ์ ใหม้ คี ุณสมบัติตามที่กระทรวงก�ำ หนดและเพม่ิ จ�ำ นวนบุคลากรทีร่ ับผดิ ชอบเร่ืองห้องสมุดโรงเรยี นด้วย (4) ปรับปรุงส่ือการสอน โดยใช้งบประมาณท้องถิ่นท่ีได้รับจัดสรรจากส่วนกลางไปจัดหา ส่ือการสอนท่ีสามารถนำ�มาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำ�หนดแผนปฏิบัติการประจำ�ปีเพ่ือการปรับปรุง สอื่ การสอนทสี่ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู รใหม่ การสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สารในโรงเรยี น โดยสว่ นกลาง ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ปรบั ปรงุ ICT ในโรงเรยี น พฒั นาระบบเครอื ขา่ ยภายในโรงเรยี น และพฒั นาความสามารถ ในการใช้ ICT ของครู เน้นให้ใช้ ICT ในการทำ�งานบริหารของโรงเรียนและปรับปรุงระบบต่างๆ รวมท้ัง 62 รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ก�ำ หนดยทุ ธศาสตร์ New IT Reform Strategy วา่ ทกุ โรงเรยี นในปี ค.ศ. 2010 จะตอ้ งมรี ะบบเครอื ขา่ ยภายใน มคี อมพวิ เตอรส์ �ำ หรบั การเรยี นในชนั้ เรยี น 1 เครอ่ื ง ตอ่ นกั เรยี น 3.6 คน ตดิ ตงั้ ระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู ทกุ โรงเรยี น ครทู กุ คนตอ้ งมคี อมพวิ เตอร์ 1 คน ตอ่ 1 เครอ่ื ง เพอื่ สามารถใช้ ICT สอนในชนั้ เรยี น และน�ำ ระบบ สื่อสารแบบ Terrestrial Digital Broadcasting มาใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน (5) รวบรวมและใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยเก่ียวกับการศึกษา โดยการจัดทำ�มาตรการ เพื่อช่วยเหลือโรงเรียนในการปรับปรุงเนื้อหาของการศึกษาและวิธีสอน เพ่ือส่งเสริมการปรับปรุงคุณภาพ ของครแู ละบคุ ลากรสายบรหิ าร ดว้ ยการก�ำ หนดแผน Consortium of University-Driven Assistance for Education Plan รองรบั การดำ�เนนิ งาน ◆ ระดบั อาชีวศกึ ษา MEXT กำ�หนดนโยบายการพัฒนาอาชีวศึกษาในรูปแบบ ของการเรียนอุดมศึกษาในสถาบันอาชีวศึกษา การกำ�หนด หลักสูตรใหม่ การพัฒนาวิชาชีพผ่านวิทยาลัย และลงทุน สรา้ งโรงเรยี นทเี่ นน้ STEM เนน้ การศกึ ษานานาชาติ การศกึ ษา ต่อตา่ งประเทศ ดังน้ี 1) วิทยาลัยวิชาชีพช้ันสูง (Professional University) สืบเน่ืองจากนักศึกษาท่ีสำ�เร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประมาณร้อยละ 20 ไม่สามารถหางานทำ�ได้ รัฐบาลจึงได้ สร้างสถาบันการศึกษาข้ันสูงเพื่อเตรียมความพร้อมด้านวิชาชีพ โดยรวมเร่ืองประกันคุณภาพการศึกษา สถานะขององคก์ ร เสน้ ทางจากวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสเขา้ ไปเรยี นเพอ่ื พฒั นาทกั ษะ ฝีมือ และเชื่อมโยงกับสถานประกอบการ ซ่ึงวิทยาลัยวิชาชีพช้ันสูงถือเป็นหน่วยงานสำ�คัญของระบบ การศึกษาญ่ปี ่นุ 2) หลักสูตรการพัฒนาอาชีวศึกษาและวิชาชีพ ในปี ค.ศ. 2014 กระทรวงการศึกษาฯ ได้รับรอง หลักสตู รอาชีวศึกษาใหม่ทเ่ี ช่ือมโยงกบั ระบบอตุ สาหกรรม จ�ำ นวน 1,365 หลักสตู ร ในวิทยาลยั 470 แห่ง 3) โรงเรียน Super Professional High (SPH) เน้นเร่อื ง STEM Education การศึกษานานาชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ โดยในปี ค.ศ. 2015 กระทรวงการศึกษาฯ สนับสนุนงบประมาณพิเศษ เป็นเวลา 3 - 5 ปี ในการสนับสนุนโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจำ�นวน 16 แห่ง เพ่ือพัฒนา หลักสูตรด้านเกษตรกรรม เทคโนโลยี การค้า ประมง วิทยาศาสตร์การส่งออก พยาบาลและสวัสดิการ ตอ่ มาปี ค.ศ. 2016 พฒั นาเพิ่มอีก 24 โรงเรยี น รว่ มกับวิทยาลัยเทคโนโลยี สถาบันวิจัยและอุตสาหกรรม ตามโครงการ ส่งต่อการศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือพัฒนาวิชาชีพให้พร้อมกับการทำ�งานพัฒนาอุตสาหกรรม ใหม่ในอนาคต รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง 63 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

◆ ระดับอุดมศึกษา MEXT กำ�หนดนโยบายเพ่ือให้ผู้สำ�เร็จการศึกษาได้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านการใช้ภาษา ต่างประเทศ ความเป็นเลิศในด้านการวิจัย รวมท้ังศักยภาพของผู้สำ�เร็จการศึกษารองรับอุตสาหกรรม รูปแบบใหม่ ดังนี ้ 1) การเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ เนน้ สรา้ ง เยาวชนรุ่นใหม่ให้มีความสามารถในการส่ือสาร ภาษาอังกฤษ รับนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียน ในญป่ี ุน่ เพมิ่ ขึ้น รวมทง้ั มหาวทิ ยาลัยก�ำ หนดนโยบาย การพัฒนา ส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษของแต่ละ มหาวทิ ยาลยั ทแี่ ตกตา่ งกนั เพอื่ ไปสจู่ ดุ หมายเดยี วกนั คอื ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษามคี วามสามารถ ในการใช้ภาษาอังกฤษ เช่น มหาวิทยาลัยนาโงย่า กำ�หนดเป็นนโยบายว่า หากอาจารย์ผู้ใดสอนเน้ือหา วชิ าเปน็ ภาษาองั กฤษไดจ้ ะไดร้ บั คา่ ตอบแทนทสี่ งู มาก หรอื มหาวทิ ยาลัยคนั ไซมีนโยบายส่งอาจารยไ์ ปอบรมการสอนด้วยภาษาองั กฤษในตา่ งประเทศ 2) การพัฒนาความเป็นเลิศและนานาชาติ ในโครงการ Super Global University ในปี ค.ศ. 2014 กระทรวงการศึกษาฯ ไดเ้ ลือกมหาวิทยาลยั จำ�นวน 37 แห่ง เข้าโครงการ Super Global University เพอ่ื ทำ� การวจิ ยั ในระดับนานาชาติและสรา้ งใหเ้ ป็นมหาวิทยาลยั ชน้ั น�ำ ระดบั โลก 3) ลดจำ�นวนนกั ศึกษาสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ในปี ค.ศ. 2015 กระทรวงการศกึ ษาฯ ของญ่ีปุ่นประกาศว่า ภายใน 6 ปี มหาวิทยาลัยของรัฐจำ�นวน 86 แหง่ ต้องปรับลดจ�ำ นวนรับเข้านกั ศกึ ษา หรือยุบรวมหลักสูตรสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และเพิ่มการผลิตนักศึกษาสายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่ือรองรับอุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต โดยให้มหาวิทยาลัยเอกชน รบั หนา้ ทผี่ ลติ นกั ศกึ ษาสายสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์แทน 64 รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

การประกนั คณุ ภาพการศึกษา รัฐบาลกำ�หนดให้สถานศึกษาทุกแห่งที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ต้องจัดทำ�รายงานการประเมินตนเองเสนอต่อกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, Culture, Sports, Sciences and Technology หรือ MEXT) โดยพิจารณาจากเอกสารรายงานของสถานศึกษาและการเข้าตรวจประเมินเพ่ือยืนยันผลการประเมิน ตนเอง ส�ำ หรบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดับอาชีวศึกษา อยู่ภายใต้การกำ�กับ ของ 2 หนว่ ยงาน คอื MEXT และกระทรวง สาธารณสุข แรงงานและสวัสดิการ โดย ประเมินท้ังตัวสถาบันและตัวของหลักสูตร อย่างไรก็ตาม การศึกษาแบบโคเซน หรือวิทยาลัยเทคนิคแห่งชาติ หน่วยงาน JABEE หรือ Japan Accreditation Board for Engineering Education ซ่ึงเป็นสมาชิกของ Washington Accord ได้ทำ�ข้อตกลงระหว่างหน่วยงานในการรับรองวิทยฐานะ วิศวกรรมศาสตร์ ซ่ึงโคเซนจะต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน JABEE เพ่ือการประกันคุณภาพในระดับ สากลว่า หลักสตู รโคเซนนนั้ สอดคล้องกบั หลกั สตู รวศิ วกรรมในระดบั มหาวิทยาลัย ส่วนการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา อยู่ภายใต้กำ�กับของ MEXT ซึ่งต้องประเมิน คณุ ภาพทงั้ ตวั ของสถาบันและตัวของหลักสูตร ท้ังนี้ ระบบการประกันคุณภาพของญ่ีป่นุ แบ่งการประเมินเป็น 2 ประเภท คือ การประเมินและ รับรองในระดับสถาบัน MEXT กำ�หนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับการประเมิน 1 คร้ัง ในรอบ 7 ปี โดยสถานศึกษาต้องได้รับการประเมินตามกำ�หนดเวลา ในประเทศญี่ปุ่นมีหน่วยงานประเมินหลัก 4หนว่ ยงานซง่ึ สถานศกึ ษามสี ทิ ธว์ิ า่ จะเลอื กรบั การประเมนิ โดยหนว่ ยงานใดกไ็ ด้ไดแ้ ก่1)JapanUniversity Accreditation Association (JUAA), 2) National Institution for Academic Degrees and University Evaluation (NIAD-UE), 3) Japan Institution for Higher Education Evaluation (JIHEE), และ 4) Japan Association for College Accreditation (JACA) และอกี ประเภทหนึง่ คอื การประเมิน และรับรองมาตรฐานสำ�หรับหลักสูตรวิชาชีพ กำ�หนดให้หลักสูตรเฉพาะต้องได้รับการประเมิน 1 ครั้ง ในรอบ 5 ปี โดยหนว่ ยงานประเมนิ อน่ื ๆ เฉพาะวิชาสาขา ซึ่งสถานศึกษาสามารถเลอื กรบั การประเมนิ ได้ เชน่ หน่วยงาน ABEST21 ประเมินดา้ นการจัดการ / บรหิ ารธุรกิจ เป็นต้น รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 65 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การก�ำ กับ ติดตาม ประเมนิ เพ่อื สง่ เสรมิ คุณภาพการศึกษา ◆ ระดับการศึกษาปฐมวัย เดิม MEXT ได้ให้คำ�แนะนำ�เป็นแนวทางกว้างๆ ให้แต่ละโรงเรียนสามารถกำ�หนดรายละเอียด ของการเรยี นการสอนเองได้ ซง่ึ เปน็ ท้ังข้อดีและขอ้ ดอ้ ย ขอ้ ดี คือ โรงเรยี นมคี วามยืดหยนุ่ ในการจัดการศกึ ษา ให้เหมาะกับเด็กนักเรียนและท้องถ่ิน ส่วนข้อด้อยคือการขาดมาตรฐานและความยากในการควบคุม คุณภาพ ดังนั้น MEXT จึงได้จัดทำ�เอกสารแนะแนวการจัด การศึกษาสำ�หรับเด็กปฐมวัยอย่างละเอียดว่า ควรสอนอะไร และอย่างไร โดยเน้นด้านวิชาการมากขึ้น เน้นเนื้อหาซ่ึงเป็น ฐานรากของทักษะทางปัญญา (cognitive skill) และทักษะ ทางพฤติกรรม (non-cognitive skill) ตามแนวทางท่ีศูนย์วิจัย การศึกษาปฐมวัยซึ่งจัดต้ังข้ึนเมื่อเดือนเมษายนปี ค.ศ. 2016 ไดท้ �ำ วจิ ัยไว้ ◆ ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา MEXT ใหค้ วามสำ�คญั กบั การจดั การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา โดยเน้นการกำ�กับ ตดิ ตาม สง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษาใน 3 ระดบั คอื 1) การร่วมมือในแนวราบ เน้นการร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน และการร่วมมือระหว่าง รฐั บาลกลางกบั รัฐบาลทอ้ งถน่ิ โรงเรยี น ผูป้ กครองนกั เรียน ประชาชนในชุมชน บริษทั องคก์ รภาคสังคม และการศึกษา วิสาหกิจทางการศึกษา องค์กรเอกชนท่ีไม่มุ่งผลประโยชน์ (NPOs) สื่อมวลชน ฯลฯ เพ่อื สรา้ งเสรมิ ให้เกิดความเขม้ แขง็ ในการร่วมมือกนั ทงั้ สงั คมเพือ่ พฒั นาการศกึ ษา 2) การเชื่อมประสานแนวดิ่ง เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เป็นรูปธรรม ยึดหลัก การศึกษาของแต่ละระดับเป็นฐานในการสร้างบุคคลท่ีมีคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน โดยการเชื่อมโยง ของแต่ละระดับการศึกษา ซ่ึงแต่ละระดับการศึกษาต้องรับผิดชอบอย่างจริงจังต่อบทบาทและ การบรรลุเป้าหมายเฉพาะของตนเอง ตลอดจนให้ร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัยและโรงเรียน ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เพ่ือให้โรงเรียนสามารถใช้ผลงานวิจัยข้ันสูงของมหาวิทยาลัยมาปรับปรุง วธิ ีสอนหรือหลกั สตู รของระดับโรงเรยี น 66 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

  1. การสร้างความชัดเจนในบทบาททางการศึกษาของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น โดย รัฐบาลกลางตอ้ งรบั ผิดชอบอย่างตรวจสอบได้ ในการกำ�หนดขอบเขตของระบบการศึกษา (Establishing the Framework of Educational Systems) และการกำ�หนดมาตรฐานต่างๆ ของหลักสูตรการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน (Standards of the Course of Study) เพือ่ ธำ�รงและยกระดับมาตรฐานการศึกษา นอกจากน้ี จะต้องรับผิดชอบการจัดการศึกษาให้พลเมืองของประเทศญ่ีปุ่นทั่วประเทศได้มีโอกาสทางการศึกษา ท่ีเสมอภาคกัน รวมทั้งให้การช่วยเหลือเพื่อประกันและยกระดับคุณภาพของอุดมศึกษาด้วย ขณะที่ รัฐบาลท้องถ่ินรับผิดชอบการจัดการศึกษา ที่ได้รับการกระจายอำ�นาจจากรัฐบาลกลางไปปฏิบัติ อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพของเขตพ้ืนที่ โดยเฉพาะในการจัดการบริหารงานทั่วไปเก่ียวกับ การประถมศกึ ษา การมัธยมศึกษา และการศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศัย (Social Education) ◆ ระดบั อาชีวศึกษา ญ่ีปุ่นให้ความสำ�คัญกับการศึกษาระดับอาชีวศึกษา เน่ืองจากมีความสำ�คัญกับภาคอุตสาหกรรม และการลงทุนในประเทศ เช่น สถาบันโคเซนท่ีมุ่งเน้นการผลิตนักนวัตกรรมท่ีมีช่ือเสียงในประเทศญ่ีปุ่น ซ่ึงมีทักษะและความสามารถท่ีจะไปสร้างนวัตกรรมตอ่ ยอดเชิงพาณิชย์ได้ ดังนน้ั การอาชวี ศกึ ษาจงึ ไดร้ บั การสนับสนุนและการประสานความร่วมมือกับโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถ่ิน โดยให้การสนับสนุน ในเร่ืองต่างๆ เช่น การให้คําแนะนําเรื่องช่างเทคนิคที่มีความเฉพาะทางของแต่ละโรงงาน การวิจัย และพัฒนาร่วมกัน การสนับสนุนการฝึกประสบการณ์ในโรงงานอุตสาหกรรม การประเมินภายนอกสําหรับ การบริหารจัดการของสถาบัน การดำ�เนินการดังกล่าวช่วยให้เกิดการกำ�กับ ติดตาม และประเมิน เพือ่ สง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษา ◆ ระดบั อดุ มศึกษา สถาบันอุดมศึกษามีความเป็นอิสระ มีคณะกรรมการบริหารของตนเอง ทำ�หน้าท่ีตัดสินใจ เร่ืองนโยบาย วางแผนงาน การจ้างงานและอัตราเงินเดือน แต่ละมหาวิทยาลัยออกแบบระบบบริหาร ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารท่ีทำ�หน้าตัดสินใจเชิงนโยบายที่สำ�คัญ และมีหน่วยงานท่ีดำ�เนินงาน ประกอบดว้ ย (1) สภาบรหิ าร และ (2) สภาการเรยี นการสอนและการวจิ ยั การด�ำ เนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั เช่ือมโยงกับแผนพัฒนาการศึกษาและเป้าหมาย การดำ�เนินงานของกระทรวงการศึกษาฯ โดยกระทรวง ใหค้ วามเหน็ ชอบ แผนการท�ำ งานและการประเมนิ ความกา้ วหนา้ มหี นว่ ยงานทด่ี �ำ เนนิ การ คอื Evaluation Committee for National University Corporation รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 67 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

โดยสรุป กระทรวงการศึกษาฯ ของประเทศญปี่ ุน่ มีบทบาทในการก�ำ หนดกรอบหลกั สูตรการศกึ ษา ของชาติ (Course of Study) โดยใช้แนวคิด “พลังในการดำ�เนินชีวิต” ซึ่งเป็นการดำ�เนินการตามแผน การศกึ ษาแหง่ ชาตทิ เ่ี ปน็ กรอบทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษารฐั ท�ำ หนา้ ทสี่ ง่ เสรมิ การน�ำ หลกั สตู รสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การจดั การศกึ ษาใหไ้ ดม้ าตรฐานตามหลกั สตู ร และการตดิ ตามและประเมนิ ผลการศกึ ษา ทอ้ งถน่ิ รบั ผดิ ชอบ การดำ�เนินการในระดับสถานศึกษา รัฐบาลกลางมีการหนุนเสริมให้มาตรฐานบรรลุเป้าหมายด้วยการ ออกมาตรการและแนวทางในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การพฒั นาครู การสรา้ งเครอื ขา่ ยการวจิ ยั การสรา้ งบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือการเรียนรู้ การจัดการศึกษาที่เชื่อมโยงกับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ในฐานะ เป็นเครือข่ายการพัฒนาการศึกษา ได้แก่ ระดับกระทรวงการศึกษาฯ ท่ีทำ�งานร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขฯ ระดับอาชีวศึกษาเชื่อมโยงกับสถานประกอบการ ระดับสถานศึกษาเชื่อมโยงกับผู้ปกครอง การเชื่อมโยง มิติของประเทศและนานาชาติ รวมท้ังการใช้กลไกการวิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล การกำ�กับติดตาม การทำ�งาน และการประกันคุณภาพการศึกษา นอกจากน้ียังมีการประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงวัฒนธรรม มาช่วยหนุนเสรมิ การศกึ ษาได้แก่ ระบบเครอื ข่ายครูและผู้ปกครอง สรุปสาระสำ�คญั ของการน�ำ มาตรฐานการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ัติ สาระส�ำ คัญของการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิของประเทศญ่ีปุ่น สรุปได้ดังต่อไปนี้ 68 รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดบั 1. ปฐมวัย การก�ำหนดมาตรฐาน กระทรวงก�ำหนดเป้าหมายผูเ้ รยี น 5 ประการ 1. มีจิตใจและรา่ งกายทีแ่ ข็งแรง 2. เป็นตัวของตัวเองและความสามารถในการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่ืน 3. สร้างพ้ืนฐานความสามารถในการคิด 4. เข้าใจภาษา เน้นการพูดและฟัง 5. สามารถแสดงความรสู้ กึ และการรับรู้ การน�ำมาตรฐานสู่หลกั สตู ร  โรงเรยี นน�ำมาตรฐานไปสูก่ ารปฏิบตั ิทีห่ ลากหลาย หลายแนวคิด หลายส�ำนักคดิ  จดั การศกึ ษาหลายรูปแบบทงั้ สถานรับเลย้ี งเด็ก หรือแบบเตรยี มประถมศกึ ษา  สถานศกึ ษาและอาจารยจ์ ากมหาวทิ ยาลยั มีส่วนรว่ มกันและเชอ่ื มโยงอย่างใกล้ชิด เป็นประโยชน์ในการพัฒนาครู  ระบบการบรู ณาการงานและใชท้ รพั ยากรร่วมกนั กับโรงเรียนเพอ่ื ชว่ ยให้บรรลเุ ป้าหมายทางการศึกษา  นอกจากการเล้ยี งดเู ดก็ แลว้ ยงั มีหน้าทีใ่ ห้ความร้แู ก่ผปู้ กครองในการอภิบาลเดก็  มีการท�ำงานเช่ือมโยงระหว่างกระทรวงการศึกษาฯ กับกระทรวงสาธารณสุขฯ และกระจายอ�ำนาจให้แก่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา  แบง่ โรงเรยี นเดก็ เลก็ เปน็ หลายลกั ษณะใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของครอบครวั มกี ารก�ำหนดเกณฑ์ และกระจาย อ�ำนาจใหจ้ ังหวดั เป็นผรู้ บั รองคุณภาพ  ใช้กลไกการวิจัยเป็นการประกันคุณภาพควบคู่กับการพัฒนาระดับอนุบาล โดยรัฐส่วนกลางจัดศูนย์กลาง การวจิ ัยที่ท�ำงาน (1) การวจิ ยั เชงิ ส�ำรวจ (2) สรา้ งเครอื ขา่ ยการวิจยั และ (3) เผยแพร่งานวจิ ยั ให้องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและโรงเรียนอนุบาล การก�ำกับตดิ ตาม  มแี นวทางกว้างๆ ให้สถานศึกษาแต่ละแหง่ ด�ำเนินการ  ศนู ยว์ จิ ยั เชงิ ส�ำรวจกบั หนว่ ยงานทง้ั ในและตา่ งประเทศชว่ ยก�ำหนดนโยบายและกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การพฒั นาคณุ ภาพ รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 69 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดบั 2. ขัน้ พืน้ ฐาน (ประถมศึกษา/มธั ยมศึกษา) การก�ำหนดมาตรฐาน  กระทรวงก�ำหนดเปา้ หมายผเู้ รียน 5 ประการ  หลักสูตรแห่งชาติ (Course of Study) ก�ำหนดโดยกระทรวงการศึกษาฯ ให้สถานศึกษาสามารถศึกษา สร้างหลกั สูตรทเี่ หมาะสมได้เอง ตามระดบั พัฒนาการและร่างกาย  ใช้แนวคิด “พลังในการด�ำเนนิ ชวี ติ ” จิ โตะคุ ไท การมคี วามร้ดู ี เป่ียมดว้ ยคณุ ธรรม และมีร่างกายแขง็ แรง การน�ำมาตรฐานสู่หลกั สตู ร  ใช้ทรัพยากรจากบุคคลและเอกชนในท้องถิ่นเข้ามาช่วยพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพและ การท�ำงาน  จัดท�ำหลักสตู รทมี่ ีเปา้ หมายท่ชี ัดเจนตามเปา้ หมายการศึกษาสรา้ งพลงั แหง่ การด�ำรงชีวติ (Zest for Life)  จดั สอบโดยสมุ่ รอ้ ยละ 10 เพ่อื เปน็ ขอ้ มูลประกอบการตดั สนิ ใจในการด�ำเนินการ  ส่งเสริมการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาดา้ นวฒุ ภิ าวะและอารมณ์ของเด็ก  ช่วยเหลือนักเรียนท่ีออกกลางคันและไม่ได้ท�ำงานให้กลับเข้ามาเรียน (NEET : Not in Education Employment or Training) - การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา  สถานศึกษาทุกแห่งต้องจัดท�ำรายงานประเมินตนเองเสนอต่อกระทรวงการศึกษาฯ โดยพิจารณา จากเอกสาร รายงานของสถานศกึ ษา และการเข้าตรวจ ประเมนิ เพื่อยืนยนั ผลการประเมินตนเอง การก�ำกับติดตาม  แผนการศึกษาก�ำหนดให้ใช้ระบบ PDCA พัฒนาระบบคุณภาพ โดยใช้ความร่วมมือกับทุกฝ่าย ท้งั แนวดิ่งและแนวระนาบ ก�ำหนดบทบาทของรฐั บาลกลางและท้องถ่นิ ทีช่ ดั เจน  ระบบ PTA (Parent and teachers Association) ให้ผูป้ กครองเขา้ มามสี ่วนรว่ มในโรงเรยี น 70 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระดับ 3. อาชวี ศึกษา การก�ำหนดมาตรฐาน  เน้นสร้างความเช่ียวชาญในสาขาอาชีพเฉพาะ เน้นการปฏิบัติ เพ่ือรองรับการประกอบอาชีพ ภาคอตุ สาหกรรม  หลักสูตรแกนประกอบดว้ ยกลุ่มวชิ า Liberal Arts และ Major Arts ท่ีแตล่ ะสาขาวชิ ามรี ายละเอียดแตกต่าง กนั ไป การน�ำมาตรฐานสู่หลกั สูตร  ออกแบบหลักสูตรให้หลากหลายและตอบสนองกับลักษณะเฉพาะของผู้เรียน เช่น ผู้จบอุดมศึกษา แต่ยงั ไมม่ ีงานท�ำงาน หลกั สูตรระยะสัน้ และระบบอาชวี ศึกษาทเ่ี ช่ือมโยงกับโรงเรยี นระดับมัธยมศึกษา การประกนั คุณภาพการศกึ ษา  ด�ำเนินการร่วมกันระหว่างกระทรวงการศึกษาฯ และกระทรวงสาธารณสุขฯ มีการประเมินอย่างน้อย 1 ครัง้ ในรอบ 7 ปี หลกั สตู รระดบั วชิ าชพี 5 ปี หากไม่ผ่านจะมกี ารประเมินถี่ขึน้  วิทยาลัยเทคนิคแห่งชาติมีระบบการรับรองมาตรฐานจาก JABEE (Japan Accreditation Board for Engineering Education) ใหม้ ีคณุ ภาพระดับสากลและเทียบเทา่ หลกั สตู รในระดับมหาวิทยาลัย การก�ำกับตดิ ตาม  สนับสนนุ การท�ำงานท่ีประสานกับสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถ่นิ  การรบั คณาจารย์ทรี่ อ้ ยละ 30 มีประสบการณก์ ารท�ำงานในสถานประกอบการมากอ่ น  วจิ ยั ร่วมกันระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 71 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดับ 4. อดุ มศึกษา การก�ำหนดมาตรฐาน  ทอ้ งถิน่ และเอกชนด�ำเนินการก�ำหนดมาตรฐานโดยได้รบั การควบคมุ จากกระทรวงการศกึ ษาฯ  มอี สิ ระในการออกแบบหลกั สูตร การน�ำมาตรฐานส่หู ลกั สตู ร  ส่งเสริมการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ  พัฒนาความเปน็ เลิศในระดบั นานาชาตโิ ดยใชร้ ะบบ Super Global University  ปรับลดนักศึกษาสายมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตรเ์ พ่ือเพ่มิ สายวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หม้ ากข้ึน การประกันคณุ ภาพการศึกษา การด�ำเนนิ การอยใู่ นก�ำกบั ของกระทรวงการศกึ ษาฯ มกี ารประเมิน 2 แบบ 1. การประเมินและรับรองระดับสถาบัน มีหน่วยงานหลักที่ประเมิน 4 แห่ง มหาวิทยาลัยสามารถเลือกรับ การประเมินได้ 2. การประเมนิ หลักสตู รวิชาชีพ สามารถเลอื กรับการประเมินได้ การกำ�กบั ตดิ ตาม  ระบบการบริหารประกอบด้วย (1) สภาบริหาร และ (2) สภาการเรียนการสอนและการวิจัย และ มบี ุคคลภายนอกเขา้ มามีส่วนรว่ ม  เชอ่ื มโยงการท�ำ งานตามแผนการศกึ ษา และหนว่ ยงานกลาง ด�ำ เนนิ การเหน็ ชอบกบั แผนการด�ำ เนนิ การ และประเมนิ ความกา้ วหน้า 72 รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศึกษา สู่การปฏิบตั ขิ องต่างประเทศ : สาธารณรฐั โปรตเุ กส ข้อมูลท่วั ไป โปรตุเกสมีช่ือทางการว่า สาธารณรัฐโปรตุเกส รากศัพท์ของคำ�ว่าโปรตุเกส คือ ช่ือที่ชาวโรมัน ตงั้ ใหช้ อื่ วา่ “Portus Cale” มคี วามหมายวา่ “ทา่ เรอื ทส่ี วยงาม” ชว่ งระหวา่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 15 - 16 โปรตเุ กส ถือไดว้ า่ เป็นประเทศมหาอำ�นาจทางเศรษฐกจิ การเมือง และวฒั นธรรม โดยจักรวรรดโิ ปรตุเกสแผข่ ยาย อำ�นาจของตนไปทั่วโลก แต่หลังจากท่ีประเทศมหาอำ�นาจอ่ืนๆ พัฒนาขึ้นในด้านการล่าอาณานิคมแล้ว โปรตุเกสจึงเส่ือมถอยลงไป ปัจจุบันโปรตุเกสเข้าร่วมเป็นสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจยุโรป หรือ European Economic Community (สหภาพยโุ รปในปจั จบุ นั ) มกี ารพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของตนขน้ึ มาอย่างรวดเร็วในชว่ ง 20 - 30 ปี ทีผ่ ่านมา ในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 73 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระบบการศกึ ษา ระบบการศกึ ษาของประเทศโปรตเุ กสอยใู่ นความดแู ลของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แบง่ ระดบั การศกึ ษา เป็นการศึกษาก่อนวัยเรียน การศึกษาภาคบังคับ / การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษาหลังภาคบังคับ / มธั ยมศกึ ษา / กอ่ นอดุ มศึกษา และการศกึ ษาทสี่ ูงกวา่ การศกึ ษาภาคบังคับ/อุดมศกึ ษา โรงเรียนในโปรตุเกสแบ่งเป็นโรงเรียนรัฐบาลและ โรงเรยี นเอกชน ซงึ่ โรงเรยี นรฐั บาลจะไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ในส่วนของเงินค่าเล่าเรียนสำ�หรับบุตรของผู้ที่จ่าย สวัสดิการสังคมด้วย กระทรวงศึกษาธิการ ไดก้ ำ�หนดนโยบายการศึกษา แบบรวมศูนย์แห่งชาติ กำ�หนดนโยบายระดับชาติ สำ�หรับระบบการศึกษาเพื่อการศึกษาข้ันสูงและเพื่อ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบในการ บังคับใช้หลักสูตรแกนกลางและการเข้าถึงการศึกษา ท่ีเป็นสากลสำ�หรับเด็กก่อนวัยเรียนและการศึกษาภาคบังคับ นอกจากน้ียังบังคับใช้การศึกษาภาคบังคับ ในฐานะสิทธิตามรัฐธรรมนูญ โดยปราศจากหลักการ ปรัชญา จริยธรรม การเมือง และศาสนาใดๆ รายละเอียดของการศกึ ษาในระดับต่างๆ สรุปไดด้ ังน้ี 1) การศึกษาก่อนวัยเรียนหรือการศึกษาปฐมวัย เป็นการศึกษาสำ�หรับเด็กต้ังแต่อายุ 3 ปีขึ้นไป (ไมบ่ งั คบั ) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื สง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ แตล่ ะบคุ คล สงั คมของเดก็ และความเปน็ อยู่ ท่ีดี การแสดงออกการสือ่ สาร ความอยากรแู้ ละความสามารถในการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ 2) การศกึ ษาภาคบังคับ เริม่ ตน้ ท่ีอายุ 6 - 15 ปี รวมระยะเวลาจำ�นวนปที ี่เรยี น 9 ปี (ISCED 1) มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กทุกคน ให้ความรู้พ้ืนฐานและทักษะท่ีจำ�เป็นสำ�หรับ การศกึ ษาตอ่ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาภาคบงั คบั คอื การใหค้ วามรพู้ นื้ ฐาน กบั เดก็ ทกุ คนและทกั ษะทจ่ี �ำ เปน็ เปดิ ท�ำ การสอนแบง่ เปน็ 3 ภาคเรยี น ใน 1 ปกี ารศกึ ษา ประกอบดว้ ยการจดั การเรียนการสอน 3 ชว่ งชนั้ คือ ช่วงชน้ั ที่ 1 ประถมศกึ ษาตอนต้น (Grades 1 to 4) อายุ 6 - 10 ปี ใชเ้ วลา เรยี น 4 ปี ช่วงชน้ั ท่ี 2 ประถมศึกษาตอนปลาย (Grades 5 to 6) อายุ 10 - 12 ปี ใชเ้ วลาเรียน 2 ปี ชว่ งช้ันที่ 3 มัธยมศึกษาตอนต้น (Grades 7 to 9) อายุ 12 - 15 ปี ใช้เวลาเรยี น 3 ปี 3) การศึกษาหลังภาคบังคบั / การศึกษามัธยมศกึ ษา (secondary education) เป็นการศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา นกั เรยี นอายรุ ะหวา่ ง 15 -18 ปี ใชเ้ วลาเรยี น 3 ปี (เกรด 10 - 12, ISCED 3) โดยมธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 อายุ 15 - 16 ปี มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 อายุ 16 - 17 ปี มธั ยมศึกษาปีที่ 3 อายุ 17 - 18 ปี การศึกษา ระดับมัธยมศึกษาประกอบด้วยแผนการเรียนสายสามัญ สายอาชีพ สายศิลปะ สายเช่ียวชาญ เฉพาะทาง และหลกั สตู รหลากหลายโปรแกรม ไดแ้ ก่ หลกั สตู รศลิ ปะเฉพาะทาง หลกั สตู รอาชวี ศกึ ษา และ 74 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

หลกั สตู รการศกึ ษาและการสรา้ งมอื อาชพี (ISCED 2) ถกู จดั แบง่ เปน็ หมวดหมกู่ ารศกึ ษาหรอื การฝกึ อบรม ท่ีแตกต่างกัน เพ่ือเตรียมนักเรียนให้เข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และมนษุ ยศาสตร์ สายศิลปะเฉพาะทางจะเตรยี มความพร้อมใหน้ กั เรยี นเขา้ สรู่ ะดบั อดุ มศึกษาด้านดนตรี และศิลปะการแสดง ศิลปะภาพและเสยี ง และการเตน้ รำ� สายอาชีพการศึกษาและเส้นทางอาชพี 4) การศึกษาข้ันสูงกว่าการศึกษาภาคบังคับ / อุดมศึกษา การศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือ มหาวิทยาลัยในโปรตุเกส มีทั้งมหาวิทยาลัยของรัฐบาลและเอกชน โดยมหาวิทยาลัยเอกชนในโปรตุเกส จะตอ้ งผา่ นการรบั รองจากรฐั ผเู้ รยี นทสี่ นใจจะศกึ ษาตอ่ ในระดบั นจี้ ะตอ้ งส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย จึงจะมีสิทธ์ิเข้าสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยได้ กระทรวงศึกษาธิการฯ จะจัดให้มีการสอบ เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั่วประเทศ หลังจากการประกาศผลคะแนนแล้ว นักเรียนจะต้องยื่น ผลคะแนนตอ่ มหาวทิ ยาลยั ทตี่ นตอ้ งการจะเขา้ ศกึ ษา แบง่ การจดั การศกึ ษาในสาขาใหญๆ่ ออกเปน็ 2 สว่ น คือ 1) มหาวิทยาลัยทางวิชาการ หลักสูตรสหวิทยาการ ความเชี่ยวชาญระหว่างประเทศ การวิจัย ทางวิทยาศาสตร์ การดำ�เนินการในสถาบันการศึกษา ห้องปฏิบัติการ และศูนย์วิจัย 2) มหาวิทยาลัย ทางสาขาโปลเี ทคนคิ มงุ่ เนน้ ไปยังการฝกึ อบรมของวิศวกร นกั วิจยั ผู้ประกอบการ ภาพที่ 4 การเตรียมความพรอ้ มการเขา้ เรยี นหลักสตู รระดับช้ันตา่ งๆ ที่มา: GENE. (2014).Global Education in Portugal. https://gene.eu/wp-content/uploads/Gene_NationalReport- Portugal.pdf. รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง 75 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

หนว่ ยงานการศกึ ษาในโปรตุเกส ◆ กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการอุดมศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบ ระบบการศึกษาของโปรตุเกสทั้งหมด และได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงแรงงานในการเตรียมอนุบาล ศกึ ษา ต้งั แตร่ ะดับก่อนวยั เรียนจนถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษา นักเรยี นในวยั เรียนสามารถเลอื กเรียนแบบโรงเรยี น ของรัฐ ซึ่งโดยท่ัวไปจะไม่มีค่าใช้จ่าย เพราะได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล หรือเลือกเรียนโรงเรียนเอกชน ทไ่ี ดร้ ับการรบั รองจากกระทรวงศกึ ษาธิการ ◆ คณะกรรมการจัดการศกึ ษา (DGE) เปน็ คณะกรรมการของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มหี น้าท่ี รบั ผิดชอบ ดังนี้ (1) การน�ำ นโยบายไปปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับการสอนของเดก็ ก่อนวัยเรียน การศึกษาภาคบังคบั / ขัน้ พ้ืนฐาน การศึกษาหลงั ภาคบงั คับ / มัธยมศึกษา การศกึ ษาขนั้ สงู กว่าการศึกษาภาคบังคับ / อุดมศกึ ษา และการศึกษานอกหลักสูตร (2) การสนับสนนุ ทางเทคนิคในการกำ�หนดนโยบาย (DGE) ตรวจสอบและ ประเมินผล (3) การด�ำ เนนิ การตามนโยบายการศกึ ษาดา้ นหลกั สูตรในการพัฒนาหลักสตู ร โปรแกรม วิชา และแนวทางส�ำ หรบั กลมุ่ สาระการเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร (4) การพฒั นาสอ่ื การสอนและเครอื่ งมอื การประเมนิ (5) การสนับสนุนด้านการศึกษาและโครงการและกระบวนการส่งเสริมอื่นๆ (6) การเสนอความคิดเห็น ตามเป้าหมายของการศึกษา ในการพัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับองค์กรการสอนของโรงเรียน (7) การเสนอ มาตรการการจัดระเบียบโรงเรียนใหม่ (8) การเสนอแนวทางสำ�หรับเด็กก่อนวัยเรียนและการศึกษา ในโรงเรยี น(9)การประสานงานการด�ำ เนนิ การและใหก้ ารสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอน(10)การออกแบบ การเช่อื มโยงสำ�หรบั การศึกษาขั้นต้นและต่อเนื่องอยา่ งมอื อาชีพการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการสอน แนวทางการกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษา โปรตุเกสได้มีการกำ�หนด “ทักษะสำ�คัญ 12 ประการ” และนำ� “ความสามารถหลัก 7 ประการ” ของสภายุโรป มาเป็นผลลัพธ์ด้านคุณภาพพลเมืองของประเทศ เพ่ือนำ�ไปใช้ในการกำ�หนดนโยบาย การศึกษา มาตรฐานการศึกษา และแนวการจัดการศึกษาทุกระดับตลอดแนว มีการกำ�หนดยุทธศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ชาติของ OECD ของโปรตุเกส โดยการน�ำ ผลการทดสอบระดับนานาชาติ PISA TIMSS และ PIRLS มาศึกษา และจัดต้ังหน่วยงานทำ�หน้าท่ีศึกษาวิจัยโดยการนำ�ผลการทดสอบมาวิเคราะห์จุดแข็ง และจุดออ่ นของผเู้ รยี นเพอ่ื นำ�มาวางแผนก�ำ หนดยุทธศาสตร์ทักษะแห่งชาติ ในปี 2558 ซึง่ มียุทธศาสตร์ การประเมินระบบทักษะแห่งชาติของโปรตุเกส ยุทธศาสตร์ทักษะแห่งชาติใช้กรอบการวิเคราะห์จุดแข็ง และจุดอ่อนของประเทศ จากน้ันใช้การค้นพบนี้เป็นพื้นฐานสำ�หรับการดำ�เนินการอย่างเป็นรูปธรรม ตามเสาหลัก 3 ประการ คือ 76 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

  1. การพัฒนาท่ีเกี่ยวข้องทักษะต้ังแต่วัยเด็กจนถึง วัยผู้ใหญ่ 2) การผลิตคนและฝึกทกั ษะใหก้ ับแรงงานตลาด 3) การใช้ทักษะอย่างมีประสิทธิภาพในด้านเศรษฐกิจ สังคม และทักษะทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ (OECD. 2018) รายละเอยี ดทกั ษะสำ�คญั 12 ประการ ถูกก�ำ หนดไว้ ใน 4 หวั ข้อหลกั ดงั รายละเอยี ด หัวข้อที่ 1 การพัฒนาทักษะท่ีเกี่ยวข้อง (Developing relevant skills) 1. พฒั นาคุณภาพและความเสมอภาคทางการศึกษา 2. เสรมิ สร้างการตอบสนองของ VET เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน 3. ก�ำ หนดเปา้ หมายการศกึ ษาผู้ใหญแ่ ละเรียนรู้ตลอดชีวิตใหม้ ที ักษะพ้นื ฐานท่จี ำ�เป็น หัวขอ้ ที่ 2 การกระตุน้ การผลิตดา้ นทกั ษะงาน (Activating the supply of skills) 4. ลดการว่างงานและความตอ้ งการของเยาวชน 5. การเพิม่ ตลาดแรงงานเพื่อแกป้ ัญหาการว่างงานในระยะยาว 6. การลดอปุ สรรคในการจ้างงาน หวั ขอ้ ท่ี 3 การใช้ทกั ษะได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Using skills effectively) 7. การส่งเสริมผ้ปู ระกอบการ 8. กระตุน้ นวตั กรรมและสร้างงานทีม่ ีทกั ษะสงู 9. จัดหาสงิ่ จูงใจให้นายจ้างมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาทกั ษะโดยเฉพาะ SMEs หวั ขอ้ ท่ี 4 การสนบั สนนุ เงอ่ื นไขสำ�หรับระบบทักษะทีม่ ีประสทิ ธิภาพ (Enabling conditions for an effective skills system) 10. การจัดหาเงนิ ทุนส�ำ หรับระบบทกั ษะท่เี ป็นธรรมและมปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ 11. การปรบั อำ�นาจการตัดสนิ ใจเพ่อื ตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น 12. การสรา้ งขดี ความสามารถและนโยบายทกั ษะตามหลกั ฐาน รายละเอียดของความสามารถหลกั 7 ประการของสภายุโรป ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. การรหู้ นงั สอื และการคำ�นวณ (ทักษะพ้ืนฐาน) 2. ความสามารถในดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. ทักษะไอซีทีและการใชเ้ ทคโนโลยี 4. การเรียนรู้ท่จี ะเรียนรู้ 5. ทกั ษะทางสังคม 6. ผ้ปู ระกอบการ 7. วัฒนธรรมทว่ั ไป รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง 77 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ“ “ ประเทศโปรตุเกสได้ใช้ทักษะสำ�คัญ 12 ประการ และความสามารถหลกั 7 ประการ เป็นตัวก�ำ หนด ผลลพั ธผ์ เู้ รยี นของประเทศในการศกึ ษาระดบั ตา่ งๆผา่ นหลกั สตู รการศกึ ษาการจดั การเรยี นการสอน และการวดั ประเมนิ ผล 1) การศึกษาปฐมวัย การศกึ ษาในระดบั นไ้ี มใ่ ชก่ ารศกึ ษาภาคบงั คบั แตถ่ อื เปน็ ทางเลือก วัตถุประสงค์หลักของการจัดการศึกษาในระดับน้ี คอื การสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ สังคมของเดก็ และความเปน็ อยู่ ท่ดี ี การแสดงออก การส่ือสาร ความอยากรแู้ ละความสามารถ ในการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ แบ่งเป็น ● อายุ 0 - 2 ปี (Nursery) เป็นช่วงการดูแลวัยเด็กเล็ก สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ภาคเอกชนมเี พยี งบางสว่ นทด่ี แู ลโดยหนว่ ยงาน ของรฐั ซ่ึงได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล ● อายุ 3 - 5 ปี การศกึ ษาระดบั อนบุ าล (Kindergarten) จดั ขน้ึ ส�ำ หรบั เดก็ อายรุ ะหวา่ ง 3 ปี ถงึ 5 ปี และเป็นทางเลือกของผู้ปกครองในการเข้าเรียนในโรงเรียนอนุบาล ซึ่งดำ�เนินการโดยองค์กรของรัฐ สถาบันการกศุ ล โรงเรยี นเอกชนและสหกรณ์ สหภาพและองคก์ รอนื่ 2) การศกึ ษาภาคบงั คบั / การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (basic education หรอื ensino básico) การศึกษาภาคบังคับของโปรตุเกสเร่ิมที่อายุ 6 - 15 ปี รวมระยะเวลาจำ�นวนปีท่ีเรียน 9 ปี (ISCED 1) โดยวตั ถุประสงค์ของการศึกษาภาคบังคับ คอื การใหค้ วามรพู้ ื้นฐานกับเดก็ ทกุ คนและทักษะ ทจี่ ำ�เปน็ เป็นรายบุคคล ปลูกฝังความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ และคา่ นยิ มพ้นื ฐาน ความรบั ผิดชอบของพลเมือง และความเต็มใจที่จะมสี ่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย แบง่ เปน็ 3 ชว่ งชน้ั คือ ชว่ งชั้นท่ี 1 ประถมศกึ ษาตอนตน้ (Grades 1 to 4) อายุ 6 - 10 ปี ใช้เวลาเรยี น 4 ปี สอนโดย ครู 1 คน เนน้ การพัฒนาแบบบูรณาการกจิ กรรมและการสอนภาษาตา่ งประเทศ ชว่ งชน้ั ท่ี 2 ประถมศกึ ษาตอนปลาย (Grades 5 to 6) อายุ 10 - 12 ปี ใชเ้ วลาเรยี น 2 ปี ครอบคลมุ สหวทิ ยาการด้านการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 78 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ช่วงชนั้ ที่ 3 มธั ยมศึกษาตอนตน้ (Grades 7 to 9) อายุ 12 - 15 ปี ใช้เวลาเรียน 3 ปี มีลกั ษณะ เปน็ ชดุ สาขาวชิ าหรอื กลมุ่ ของสาขาวชิ า ผสมผสานองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของการฝกึ อบรมสายอาชพี ชนั้ เรยี น จะสอนโดยอาจารย์ 1 คนตอ่ สาขาวิชาหรือสหสาขาวิชา นักเรียนท่ีสำ�เร็จการศึกษานี้จะได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การเรียนการสอน ในระดับน้คี รอบคลมุ มากกวา่ 9 ปี เปดิ ทำ�การสอนแบ่งเปน็ 3 ภาคเรยี นใน 1 ปกี ารศกึ ษา 3) การศกึ ษาหลงั ภาคบงั คบั /การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษา(SecondaryEducation) การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาถอื เปน็ การศกึ ษาเฉพาะมหี ลกั สตู รตา่ งๆทห่ี ลากหลายมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือเตรียมความพร้อมให้เยาวชนศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนหรือเพื่อเข้าสู่ตลาดแรงงาน กำ�หนดเวลาเรียน ของการศึกษาหลงั ภาคบงั คับไว้ 3 ปี คือ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 - 6 หรือ Grades 10 - 12 อายุ 15 - 17 ปี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายช่วยให้นักเรียนมีเส้นทางการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน โดยเลอื กจากการศึกษาและการฝึกอบรมที่มีอยูใ่ นด้านตอ่ ไปนี้ (1) หลกั สูตรด้านวิทยาศาสตรแ์ ละดา้ นมนษุ ยศาสตร์ : ให้นักเรียนได้รบั การศกึ ษาและฝึกอบรม ทัว่ ไปเพื่อการศึกษาตอ่ โดยแบ่งออกเปน็ 4 หลกั สูตรทีแ่ ตกตา่ ง ได้แก่ หลกั สตู รทางดา้ น 1) วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2) วทิ ยาศาสตร/์ สงั คม/เศรษฐกิจ 3) ภาษาและมนษุ ยศาสตร์ 4) ทศั นศลิ ป์ (2) หลกั สตู รอาชวี ศกึ ษา : ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั การศกึ ษาและฝกึ อบรมวชิ าชพี เบอ้ื งตน้ และการเรยี นรู้ ที่หลากหลายตามความสนใจเพ่ือศกึ ษาต่อ หรอื เข้าสตู่ ลาดแรงงานของนกั เรยี นทีจ่ บการศกึ ษาภาคบังคับ (3) หลกั สตู รศลิ ปะเฉพาะดา้ น : ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั การศกึ ษาและฝกึ อบรมทว่ั ไป ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และศิลปะ ตามความสนใจเพื่อศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาหรือเข้าสู่ตลาดงาน เป็นการศึกษาต่อจาก การศึกษาภาคบังคับ หลักสูตรแบ่งออกได้เป็น 3 รูปแบบ คือ หลักสูตรด้านศิลปะ ศิลปะภาพและเสียง ทัศนศลิ ป์ การเตน้ ร�ำ และดนตรี (4) หลกั สตู รเฉพาะโปรแกรม : ใหโ้ รงเรยี นออกแบบการจดั การศกึ ษาและการฝกึ อบรมทสี่ อดคลอ้ ง กับการจัดการศึกษาและการฝึกอบรมอ่ืนๆ เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโลก รวมทง้ั ความต้องการและความคาดหวังของชุมชน (5) หลักสูตรการศึกษาและการฝึกอบรม (CEF) : เป็นหลักสูตรท่ียืดหยุ่นตามความสนใจ ของนักเรียนไม่ว่าจะเป็นการศึกษาต่อหรือการฝึกอบรมสำ�หรับชีวิตการทำ�งานท่ีต้องการ หลักสูตร จะตอบสนองต่อการพัฒนาความรู้ และทักษะในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และนักเรียนจะได้รับ ประกาศนยี บัตรแสดงความสำ�เรจ็ เม่ือเรยี นจบชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 12 (Grade 12) (6) หลักสูตรระดับก่อนอุดมศึกษา (Pre - Higher Education) : โรงเรียนมัธยมศึกษา และโรงเรียนอาชีวศึกษาที่เปิดทำ�การสอนหลักสูตรลักษณะน้ีจะเปิดในช่วงปีที่ 9 ซ่ึงมีความหลากหลาย ทั้งในการศึกษาตามมาตรฐานและในรูปแบบอื่นๆ สามารถเลือกแผนการเรียนได้ทั้งแบบวิทยาศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ หลกั สตู รศิลปะเฉพาะทาง เทคโนโลยีหรืออาชวี ศกึ ษา มีโปรแกรมการเรยี น ดังน้ี รายงานผลการศึกษา เร่ือง 79 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

 โปรแกรมทวั่ ไป(GeneralProgram):ส�ำ หรบั ผทู้ ต่ี อ้ งการไดร้ บั การฝกึ อบรมระดบั มธั ยมศกึ ษา เพื่อศึกษาต่อในระดบั อุดมศกึ ษา ผูจ้ บการศึกษาจะได้ประกาศนียบัตร de ensino secundário  โปรแกรมอาชีวศึกษา (Vacation Program) : สำ�หรับผู้ท่ีต้องการฝึกอบรมสายอาชีพ ข้ันกลางเพ่ือให้สามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ เป็นทางเลือกสำ�หรับผู้เรียนอายุ 15 ปีท่ีสำ�เร็จการศึกษา ภาคบังคับ และต้ังใจที่จะรับวุฒิการศึกษาระดับอาชีวศึกษา โดยได้รับใบประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2 ระดับ และเทียบเท่ากับการเรยี นชนั้ ปที ี่ 10 (Grade 10)  โปรแกรมศิลปะ (Artistic Program) : เปดิ การสอนทเ่ี นน้ ดา้ นศลิ ปะเฉพาะทางดา้ นต่างๆ ให้เลือกเรยี น นอกจากนี้การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายยังรวมถึงหลักสูตรขนานที่เรียกว่าหลักสูตร การศึกษาและการฝึกอบรม (CEF) ซ่ึงออกแบบมาเพื่อชว่ ยให้นักเรียนเขา้ ถึงตลาดแรงงาน เม่ือนักเรยี นจบการศึกษาชนั้ ท่ี 11 (Grade 11) จะตอ้ งสอบไล่ระดับชาติ โดยสอบ 2 วชิ าเฉพาะ ในหลักสูตรทเี่ รยี น และเมือ่ จบชน้ั ท่ี 12 (Grade 12) ก็ต้องสอบไลร่ ะดบั ชาติโดยขอ้ สอบใช้ภาษาโปรตุเกส และสอบ 2 วิชาหลักในหลักสตู รทเี่ รียน 4) การศึกษาสงู กว่าภาคบังคับ / อุดมศกึ ษา การสอบเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา เป็นการสอบทาง online ระดับชาติ โดยพิจารณา จากเกรด ผูส้ อบที่ได้เกรดสูงจะได้รบั การคัดเลือกก่อน เกรดท่ีได้รับการพจิ ารณามี 2 ส่วน คอื 1) เกรดเฉลย่ี ของวิชาทง้ั หมดทนี่ ักเรยี นเรยี น 2) เกรดของวิชาที่เก่ียวข้องกับหลักสูตรท่ีจะเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับ มหาวิทยาลัยท่ีจะรับนักศึกษา จากน้ันก็นำ�เกรดเฉล่ียของท้ัง 2 รายการมาคำ�นวณเป็นเกรดเฉลี่ยรวมอีก ครั้งหนึ่ง คะแนนเฉลี่ยออกมามีคา่ ระหวา่ ง 0 ถึง 20 คะแนน ยง่ิ สูงมากกย็ ิ่งมโี อกาสเข้าเรียนมหาวทิ ยาลยั สูงขน้ึ ส�ำ หรบั การศกึ ษาอดุ มศกึ ษาดา้ นการฝกึ หดั ครูหรือครุศาสตร์น้ัน ครูผู้สอนระดับการศึกษา ข้ันพื้นฐานต้องเรียนหลักสูตร 4 ปี ในโรงเรียน Escolas Superiore de Educence หรือเรียน ในมหาวทิ ยาลยั เพอื่ ไดร้ บั ปรญิ ญาตรี(Licenciado) ครูผู้สอนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและระดับ มธั ยมศกึ ษาตอ้ งส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท (Mestre Degree) ขณะทอี่ าจารยร์ ะดบั อดุ มศกึ ษา ต้องสำ�เร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หากสอน ในระดับมหาวิทยาลัยต้องมีประสบการณ์ในการสอนมาแล้วอย่างน้อย 5 ปี ส่วนระดับโปลีเทคนิค ต้องมปี ระสบการณ์ในการสอนมาแลว้ อยา่ งน้อย 3 ปี 80 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การประกนั คุณภาพการศกึ ษา หน่วยงานทีท่ �ำ หน้าทป่ี ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของโปรตุเกส ไดแ้ ก่  กระทรวงศกึ ษาธกิ ารท�ำ หนา้ ทว่ี างแผนประสานงานก�ำ หนดกระบวนการประเมนิ ด�ำ เนนิ การพฒั นา ระบบการศกึ ษาของชาติ  หน่วยงานด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์ IGEC ดำ�เนินการรับรองความถูกต้องของการจัด การศึกษาตามกฎหมาย การตรวจสอบ ประเมินผลกิจกรรม เสนอมาตรการ ปรับระบบการศึกษาและการมีส่วนร่วม ในการประเมินภายนอกของการศึกษา ภาคบงั คบั และการศกึ ษาหลงั ภาคบงั คบั ระบุจุดแข็งรวมถึงพ้ืนท่ีท่ีต้องการ จะปรบั ปรงุ  หน่วยงานด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์สถิติ หรือ DGEEC ดำ�เนินการวิเคราะห์ข้อมูล สถิตกิ ารศกึ ษาทส่ี นบั สนนุ การออกแบบนโยบายและการวางแผนเชิงกลยทุ ธเ์ กี่ยวกับการสอน  สถาบันการประเมินการศึกษาหรือ IAVE ดำ�เนินการวางแผนการประสานงาน การตรวจสอบ การใช้และการดูแลเคร่ืองมือการประเมินภายนอกของการเรียนรู้ รวมท้ังจัดทำ�รายงาน การวิเคราะห์ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพของระบบการศึกษา จัดทำ�ข้อสรุป ข้อเสนอการประเมินในด้านต่างๆ เช่น การจดั ระบบการศกึ ษา โครงสร้างหลักสตู ร การฝึกอบรมเบื้องตน้ และการให้บริการครู แนวทางและวธิ ีการในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา HEIs เป็นหน่วยงานในการจัดทำ�ประกันคุณภาพภายใน กิจกรรมของหน่วยงานเป็นไปตาม มาตรฐานยุโรปและแนวทางปฏิบัติการประกันคุณภาพภายนอก โดยใช้แพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีช่วยให้สามารถสร้างฐานข้อมูลที่ครอบคลุมการดำ�เนินการทุกข้ันตอนของการประเมินทั้งหมด รวมถึง การเขียนรายงานของทีมผู้เชี่ยวชาญซึ่งได้รับการคัดเลือกจากผู้เช่ียวชาญท่ีไม่มีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ทมี ทบทวนประกอบด้วยนกั เรียนอย่างนอ้ ย 1 คน และผ้เู ชย่ี วชาญต่างประเทศ โดยสมาชิก ทกุ คนในทมี มคี วามรับผดิ ชอบรว่ มกัน มาตรฐานทั้งหมดเผยแพร่ในเว็บไซต์ของหน่วยงานและในแพลตฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้เชี่ยวชาญ เขียนรายงาน เกณฑ์สำ�หรับการตัดสินรับรองหลักสูตรการศึกษาน้ันกำ�หนดไว้ในแนวทางการประเมิน ทผ่ี ปู้ ระเมนิ ใชด้ ว้ ย โดยมเี กณฑค์ ณุ สมบตั แิ ยกตา่ งหากส�ำ หรบั อาจารยผ์ สู้ อนทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ทางวชิ าการ และการวิจยั ในโครงการทางการศกึ ษา รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง 81 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

กระบวนการประเมินและการรับรองดำ�เนินการตาม รูปแบบการประเมินตนเอง รวมถึงการประเมิน ซ้ําเป็นระยะๆ ของโครงการการศึกษาหรือสถาบัน ที่ประเมิน นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการพิจารณา อทุ ธรณ์ (CR) ทมี ตรวจสอบใหค้ �ำ แนะน�ำ หากสถาบนั อุดมศึกษาใดไม่เห็นด้วยกับกับผลการประเมิน สามารถย่ืนอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ได้ และหากสถาบันนั้นไม่เห็นด้วยกับ การตัดสินข้ันสุดท้ายของคณะกรรมาธิการ สามารถ น�ำ คดีไปสู่ศาลปกครองยุตธิ รรม โดยทไ่ี ม่มกี ารแทรกแซงของกระทรวงในกระบวนการทง้ั หมด การให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งกับนโยบายการปรับปรุงสถาบันเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการประกัน คุณภาพ แนวทางสำ�หรับจัดทำ�รายงานการประเมินตนเอง ประกอบด้วย การวิเคราะห์ SWOT และ ข้อเสนอแนะสำ�หรบั การปรบั ปรงุ (European Commission, 2019) 1) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ครอบคลมุ เดก็ ตง้ั แต่ 3 ปีขน้ึ ไป เครือขา่ ยการศึกษากอ่ นวัยเรยี นระดบั ชาติ เป็นภาครัฐและเอกชน (เพื่อผลกำ�ไรและไม่แสวงหาผลกำ�ไร) เครือข่ายสาธารณะประกอบด้วย สถาบัน การศกึ ษาทคี่ วบคมุ โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ME) เครอื ขา่ ยสว่ นตวั ประกอบดว้ ยองคก์ รทแ่ี สวงหาผลก�ำ ไร (สถาบันการศึกษาเอกชนและสหกรณ์) และสถาบันการศึกษาท่ีไม่แสวงหาผลกำ�ไร (สถาบันเอกชน เพ่อื ความเป็นปึกแผน่ ทางสังคม องคก์ รการกศุ ล สมาคม และอน่ื ๆ ) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ “การประกนั คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอน” ในเครอื ขา่ ย สถาบนั การศกึ ษาปฐมวยั การก�ำ กบั ดแู ลดา้ นเทคนคิ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั ของรฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกระทรวงแรงงาน หน่วยงานความมั่นคงและประกันสังคมจะทำ�การตรวจสอบองค์กรและการดำ�เนินงาน ของสถาบันการศกึ ษาปฐมวัย 2) การประกันคุณภาพระดบั การศึกษาภาคบงั คับ/การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน การประกันคุณภาพใรระดับการศึกษาภาคบังคับ / การศึกษาข้ันพื้นฐาน ใช้วิธีการประเมิน คุณภาพภายใน (การประเมินตนเอง) และการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายใน จะด�ำ เนนิ การโดยโรงเรยี น ในขณะทก่ี ารประเมนิ คณุ ภาพภายนอกด�ำ เนนิ การโดยหนว่ ยงานดา้ นการศกึ ษา และวทิ ยาศาสตร์ (IGEC) 82 รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

 การประเมินคุณภาพภายในของโรงเรียน โรงเรยี นจะท�ำ การประเมนิ ตนเอง มกี ารตรวจสอบการเขยี นรายงานประจ�ำ ปเี กยี่ วกบั กจิ กรรม และการจัดการบัญชี (การเงิน) รายงานการประเมินตนเองของโรงเรียนเป็นเอกสารภายในองค์กร ท่ีมีการประเมินผลตามระดับท่ีโครงการการศึกษาของโรงเรียนได้ปฏิบัติตาม รวมถึงกิจกรรมที่จัดขึ้น องค์กรและการจัดการของโรงเรียน ผลลัพธข์ องโรงเรียนและขอ้ กำ�หนด การบริการการศึกษา  การประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียน IGEC รบั ผดิ ชอบการประเมนิ ภายนอกของโรงเรยี นโดยประเมนิ โรงเรยี นในดา้ นผลลพั ธผ์ เู้ รยี น ข้อก�ำ หนดการศึกษา การบรหิ ารและการจัดการ 3) การประกนั คณุ ภาพระดับอุดมศกึ ษา พระราชบญั ญตั กิ �ำ หนดใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา โดยมหี นา้ ทรี่ บั รองการประเมนิ คณุ ภาพการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมของการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เอกชนควบคู่ไปกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพมีหน่วยงาน การรบั รองคุณภาพระดบั อุดมศึกษา โดยสถาบนั ต่างๆ มอี ิสระในการเลือกระบบประกนั คณุ ภาพภายใน การกำ�กับ ติดตาม ประเมินเพือ่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษา ◆ การกำ�กบั ติดตามผู้เรยี นในการศึกษาภาคบังคบั / การศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ�มาตรการสนับสนุนเพิ่มเติมสำ�หรับนักเรียนในวัยเรียนท่ีมี ความเส่ียง ด้านผลการเรียนหรือการออกจากโรงเรียนกลางคัน และอยู่ในระบบการศึกษาในโรงเรียน เพื่อช่วยให้นักเรียนประสบความสำ�เร็จด้านการเรียน กลุ่มนักเรียนเหล่าน้ี ได้แก่ เด็กท่ีมีปัญหาการเรียนรู้ เด็กที่ใช้ภาษาแม่ที่แตกต่างกันในโปรตุเกส ปัญหา การบูรณาการในชุมชนโรงเรียน ความเส่ียงของโรงเรียน และการกดี กนั ทางสงั คมหรอื เลกิ เรยี น ความยากล�ำ บาก ในการเรยี นรู้ แรงจงู ใจทไี่ มด่ ี มคี วามนบั ถอื ตนเองตาํ่ และ ขาดความคาดหวงั เกย่ี วกบั การเรยี นรแู้ ละชวี ติ ในอนาคต ความแตกแยกในครอบครัว รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 83 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

มาตรการต่างๆ เหล่านี้ รวมถึงการให้ ความช่วยเหลือในห้องเรียนโดยเน้นความร่วมมือ ในการสนับสนุนการศึกษาอย่างต่อเนื่องในช่วง ชน้ั ที่1ของการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานควบคไู่ ปกบั กจิ กรรม เสริมหลักสูตร การตรวจสอบนักเรียนท่ีเข้าสู่ช่วง ชนั้ ที่2และชว่ งชน้ั ท่ี3ดว้ ยคะแนนตาํ่ กวา่ 3ในภาษา โปรตุเกสและคณิตศาสตร์ในแต่ละปีการศึกษา การยอมรบั แนวทางทแ่ี ตกตา่ ง เชน่ การศกึ ษาแบบบรู ณาการทางเลอื ก การฝกึ อบรมเพม่ิ เตมิ และโรงเรยี น มสี ทิ ธิไ์ ด้รับเครดิตตารางเวลาเพม่ิ เติม เพ่อื ให้การสนับสนุนการสอนซ่อมเสริมใหก้ ับนกั เรียนในช่วงชัน้ ที่ 2 และช่วงชั้นที่ 3 ของการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในระหว่างการศึกษาโดยใช้โปรแกรม TEIP เพ่ือค้นหาวิธีการ แก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสมสำ�หรับนักเรียนแต่ละคน รวมทั้งอำ�นวยความสะดวกและสนับสนุนการเรียนร่วม ในชั้นเรยี นปกติและการใชช้ ีวิตในโรงเรยี น ◆ การก�ำ กับ ตดิ ตามสำ�หรับผเู้ รียนในพ้นื ท่ดี ้อยโอกาส โปรแกรม TEIP ออกแบบมาสำ�หรับโรงเรียนในพื้นท่ีด้อยโอกาส ซ่ึงมีอัตราการออกเรียน กลางคันสูงปัจจุบันคิดเป็นร้อยละ 16 ของโรงเรียนท้ังหมด ในโรงเรียนที่ใช้โปรแกรม TEIP มีการสอน และการสนับสนุนประเภทอ่ืนๆ ท่ีมุ่งเน้นไปท่ีนักเรียนกลุ่มเฉพาะเจาะจง รวมถึงการสนับสนุนการสอน แบบฝกึ หดั กจิ กรรมเสรมิ ทางวฒั นธรรม การมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครอง และการออกแบบการเรยี นส�ำ หรบั นกั เรยี น ที่มีความเสี่ยงที่จะออกจากโรงเรียนก่อน โดยมุ่งเน้นการติดตามสนับสนุนในด้าน 1) คุณภาพการเรียนรู้ และผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี น 2) การลดระดบั การขาดเรียนกลางคนั และขาดวนิ ัยในหมูน่ กั เรยี น 3) การเปล่ียนจากโรงเรียนสู่การทำ�งาน 4) บทบาทของโรงเรียนในฐานะผู้มีบทบาทสำ�คัญในการศึกษา และวฒั นธรรมของชุมชน ◆ การก�ำ กับ ติดตาม ส�ำ หรบั ผ้เู รยี นในระดับอุดมศึกษา รัฐรับประกันระบบการสนับสนุนทางสังคมเชิงวิชาการในระดับอุดมศึกษา เพื่อปรับปรุง การเข้าถึงและความสำ�เร็จทางวิชาการ ด้วยการเลือกปฏิบัติในเชิงบวกสำ�หรับนักเรียนที่ด้อยโอกาส ทางเศรษฐกิจให้ได้รับการศึกษาท่ีเหมาะสม ซึ่งทำ�ให้มั่นใจได้ว่านักเรียนจะไม่ถูกกีดกันออกจากระบบ การศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยให้ความช่วยเหลือท้ังทางตรงสำ�หรับกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่ม ได้แก่ ทุนการศึกษาและความช่วยเหลือฉุกเฉิน และการสนับสนุนทางอ้อม ได้แก่ การเข้าถึงอาหารและที่พัก บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ กิจกรรมกีฬา และการสนับสนุนดา้ นการศกึ ษาอนื่ ๆ ซง่ึ มีไว้ส�ำ หรับนกั เรยี นโดยท่ัวไป 84 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

สรปุ สาระสำ�คญั ของการนำ�มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏิบัติ จากผลการศึกษาแนวทางการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่การจัดการศึกษาในประเทศ โปรตเุ กสจะเหน็ ไดว้ า่ โปรตเุ กสมกี ารก�ำ หนด“ทกั ษะส�ำ คญั 12ประการ”และน�ำ “ความสามารถหลกั 7ประการ” ของสภายุโรป มาเป็นผลลัพธ์ด้านคุณภาพพลเมืองของประเทศ เพ่ือนำ�ไปใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับตลอดแนว มกี ารกำ�หนดยทุ ธศาสตรท์ กั ษะแห่งชาติของ OECD สำ�หรบั โปรตุเกส โดยการน�ำ ผล การทดสอบระดับนานาชาติ PISA, TIMSS และ PIRLS มาศกึ ษาและจัดตงั้ หน่วยงานท�ำ หน้าท่ศี กึ ษาวจิ ยั นำ�ผลการทดสอบมาวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของผู้เรียนเพื่อวางแผนกำ�หนดยุทธศาสตร์ทักษะ แห่งชาติ ของ OECD สำ�หรับโปรตุเกสและนำ�ไปใช้ขับเคลื่อนการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียน การสอนเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้เทียบเคียงคุณภาพระดับนานาชาติ นอกจากน้ีโปรตุเกส ได้จัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ท้ังการประกันคุณภาพภายในท่ีดำ�เนินการโดยสถาบัน การศึกษา และการประกันคุณภาพภายนอกโดยมีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท่ีรัฐบาลจัดต้ังข้ึน ประกอบด้วย ผู้เช่ียวชาญสาขาต่างๆ เป็นคณะกรรมการกำ�กับติดตามและประเมินคุณภาพภายนอกในด้านต่างๆ ทงั้ นห้ี นว่ ยงานหลกั ทกี่ �ำ กบั ตดิ ตาม การด�ำ เนนิ การจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั ประกอบดว้ ย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงแรงงาน วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี คณะกรรมการกลางของรัฐด้านการจัดการศกึ ษา (DGE) และ สภายุโรป สรปุ สาระส�ำ คญั ของขอ้ มูลการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตไิ ปสูก่ ารจดั การศกึ ษาได้ดงั นี้ รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 85 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การก�ำหนดมาตรฐาน ใช้ทกั ษะส�ำคัญ 12 ประการ และความสามารถหลัก 7 ประการ ก�ำหนดยทุ ธศาสตร์และผลลพั ธผ์ ู้เรยี น ดังน้ี  ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาในภาพรวม โดยเน้นทักษะส�ำคัญ 12 ประการ การพัฒนาคุณภาพ ตามเปา้ หมาย OECD และความสามารถหลกั 7 ประการ ตามข้อตกลงของ สภายโุ รป การน�ำมาตรฐานสหู่ ลักสูตร หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาผู้เรียนโดยให้ความส�ำคัญกับจุดเน้นของรัฐ ไดแ้ ก่ ทกั ษะส�ำคญั 12 ประการ ผลสัมฤทธ์ริ ะดับนานาชาติ OECD และความสามารถหลัก 7 ประการ ทสี่ ภายุโรป ก�ำหนดตามข้อตกลงความร่วมมือ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา  มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายในและภายนอก ตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา / โปลีเทคนิค และอดุ มศึกษา โดยมหี น่วยงานรับผดิ ชอบเฉพาะ ไดแ้ ก่ 1. ผูต้ รวจการทว่ั ไปและการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ (IGEC) 2. ผูอ้ �ำนวยการท่วั ไปเพอ่ื การศกึ ษาและวิทยาศาสตร์สถติ ิ (DGEEC) 3. สถาบนั การประเมินการศกึ ษา (IAVE) การก�ำกบั ติดตาม  กระทรวงศึกษาธิการ  กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี  คณะกรรมการกลางของรัฐ (DGE)  สภายโุ รป 86 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษา สูก่ ารปฏบิ ัติของต่างประเทศ : สหรัฐเม็กซโิ ก ข้อมูลทว่ั ไป เม็กซิโกเป็นประเทศสหพันธรัฐท่ีประกอบด้วย 32 มลรัฐ มีประชากรประมาณ 129.2 ล้านคน (World Bank, 2017) ใช้ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ ระบบการศึกษาของเม็กซิโกมีความแตกต่าง หลากหลาย เน่ืองจากในแต่ละภูมิภาคของประเทศมีความแตกต่างท้ังทางด้านชาติพันธุ์ เศรษฐกิจ ชนช้ันทางสังคมและปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยเด็ก โดยจำ�นวนนักเรียนท่ีมีอายุ ต่ํากวา่ 25 ปี และประชากรวัยเรียนเพ่ิมขน้ึ 2 เท่า ทุกๆ 6 ปี หรอื มากกวา่ น้ัน (Rodríguez - Gómez, 2015) การขยายตัวของระบบการศึกษาและการเติบโตอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วนำ�มาซึ่งการปฏิรูป การศึกษาของประเทศ โดยหน้าท่ีในการบริหารระบบการศึกษาเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง กระทรวงการศึกษาแห่งชาติ สำ�นักเลขาธิการการศึกษาแห่งชาติ (SEP) และเขตปกครอง 32 มลรัฐ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของแต่ละรัฐ (HEIs) เช่น มหาวิทยาลัยของรัฐที่มีขนาดใหญ่ส่วนมาก มีความเป็นอิสระสูงจากกฎระเบียบของรัฐบาล มีสิทธ์ิในการอนุมัติ ตรวจสอบโปรแกรมของตนเอง รวมท้ังโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตมลรัฐของตน โดยมีองค์กรอิสระซ่ึงไม่แสวงหาผลกำ�ไร ใหก้ ารรบั รองหลักสตู ร รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 87 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษา กฎหมายการศกึ ษาของประเทศเมก็ ซโิ กก�ำ หนดโครงสรา้ งการศกึ ษาไว้ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ (1) การศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐาน (Educaciónbásica) (2) การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและอาชวี ศกึ ษา (Educación Media Superior) และ (3) การศึกษาระดับอดุ มศึกษา (Educación Superior) ซง่ึ การศกึ ษาแตล่ ะระดับ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี การศึกษาขน้ั พื้นฐาน (Educaciónbásica) การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานประกอบดว้ ย การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา และการศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ◆ การศึกษาระดบั ปฐมวัย (Educación Preescolar) การศึกษาระดับปฐมวัยเป็นการศึกษาสำ�หรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี โดยกฎหมายกำ�หนดให้เด็ก ชาวเม็กซิกันทุกคนเข้ารับการศึกษาระดับปฐมวัยตั้งแต่อายุ 3 ปี (Educación Preescolar) ซึ่งรัฐได้มี การดำ�เนินโครงการต่างๆ ท่ีเก่ียวกับเด็กปฐมวัยอย่างหลากหลายและต่อเนื่องควบคู่กับการจัดการศึกษา ปฐมวยั โดยสถาบนั เอกชนทอี่ ยใู่ นการก�ำ กบั ดแู ลของรฐั บาล อย่างไรก็ตามการศึกษาปฐมวัยก็ยังจำ�กัดอยู่ใน เขตเมอื งโดยในปีค.ศ. 2 017มเี ดก็ เมก็ ซกิ นั จ�ำ นวน4.9ลา้ นคน เข้าเรียนในระดับปฐมวัย ซ่ึงเพิ่มขึ้นคิดเป็นอัตราส่วน ร้อยละ 43 เมื่อเทยี บกบั ปี ค.ศ. 2001 - 2002 โดยส่วนใหญ่ เขา้ รบั การศกึ ษาในโรงเรยี นรฐั รอ้ ยละ85และโรงเรยี นเอกชน รอ้ ยละ15เมอ่ื จ�ำ แนกรปู แบบสถานศกึ ษาพบวา่ เดก็ สว่ นใหญ่ เข้าศึกษาในโรงเรียนทั่วไป ร้อยละ 88 โรงเรียนพิเศษ สำ�หรับชนพื้นเมืองท่ีให้การศึกษาสองภาษา ร้อยละ 8 และ เข้าเรียนที่โรงเรยี นชุมชนพเิ ศษซึ่งตัง้ อยู่ในเขตชนบท มปี ระชากรนอ้ ยกวา่ 500 คน รอ้ ยละ 3 ◆ การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา (Educación Primaria) การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาใชเ้ วลา6ปี(เกรด1-6)เดก็ อายุ6ปีจะเขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา และเปดิ โอกาสใหร้ บั นกั เรยี นทอี่ ายเุ กนิ 15 ปี ซง่ึ ยงั ไมจ่ บการศกึ ษา สามารถเขา้ ศกึ ษาตอ่ ได้ นกั เรยี นสว่ นใหญ่ ร้อยละ 93 ลงทะเบียนเรียนในโรงเรียนท่ัวไป ร้อยละ 6 เข้าศึกษาหลักสูตรสองวัฒนธรรม (ชนพ้ืนเมือง) และสองภาษา ทเ่ี หลอื รอ้ ยละ 1 เขา้ รว่ มโปรแกรมชมุ ชน (cursos comunitarios) ซงึ่ มใี หบ้ รกิ ารในเขตชนบท ที่มีผู้อาศัยน้อยกว่า 100 คน หลักสูตรระดับชาติประกอบด้วย ภาษาสเปน คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติ พลเมอื ง ศิลปะและพลศึกษา โดยในแตล่ ะชัน้ จะมีครู 1 คน ที่สอนทุกวชิ าตลอดทัง้ ปี 88 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

เมอ่ื จบเกรดหกนกั เรยี นจะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา (Certificado de Educación Primaria) ไมม่ ีการสอบจบการศึกษาขนั้ สุดท้าย ◆ การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ( Educación Secundaria ) การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ นนั้ ใชเ้ วลา 3 ปี (เกรด 7 - 9 ) ในปี ค.ศ. 1992 ไดก้ ำ�หนดให้ การศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้นเปน็ การศกึ ษาภาคบังคบั และไมต่ อ้ งมีการสอบเข้าเรียนต่อ นักเรยี น ท่ีจบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 98 เข้าเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มีท้งั สายวชิ าการท่วั ไป และสายอาชีวศกึ ษา ซง่ึ ทั้ง 2 โปรแกรม มหี ลกั สูตรแกนกลาง ด้านการศกึ ษาทว่ั ไป ทีก่ �ำ หนดโดยสำ�นกั เลขาธิการการศึกษาแหง่ ชาติ (SEP) หลกั สตู รแกนกลาง ประกอบด้วย ภาษาสเปน คณติ ศาสตร์ ชวี วทิ ยา เคมี ฟสิ ิกส์ ประวัตศิ าสตร์ ชีวประวัติ ภูมิศาสตร์ ศิลปะ และภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตาม รัฐเม็กซิกันอาจมี “อาสาสมัครระดับรัฐ” ซ่ึงมุ่งเน้นสอนวิชาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อมท่ีเฉพาะเจาะจงกับเขตอำ�นาจท้องถ่ิน นอกจากนี้ มีโปรแกรมการเรียนทางไกล (telesecundaria) ท่ีออกแบบมาเพ่ือนำ�การศึกษามาสู่ชุมชน ในชนบททหี่ า่ งไกลผา่ นทางโทรทศั น์ วดี โี อเทป หรอื อนิ เทอรเ์ นต็ โดยมนี กั เรยี นเลอื กศกึ ษาในหลกั สตู รทวั่ ไป มากกวา่ รอ้ ยละ 50 เขา้ เรยี นหลกั สตู รสายอาชพี รอ้ ยละ 27 และเรยี นในสาขาการศกึ ษาทางไกล รอ้ ยละ 21 ผูส้ �ำ เร็จการศกึ ษาจากทุกโปรแกรมจะไดร้ ับประกาศนยี บตั รการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา (Certificado de Educación Secundaria) และไมม่ ีการสอบจบการศกึ ษา การศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายและอาชีวศึกษา (Educación Média Superior) การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื “Preparatoria” (Educación Media Superior) ใชเ้ วลา 3 ปี (เกรด 10 - 12) การรบั สมคั รนกั เรยี นขน้ึ อยกู่ บั นโยบายของแตล่ ะสถาบนั โรงเรยี นมธั ยมปลายสว่ นมาก มีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยของรัฐขนาดใหญ่ ในขณะที่โรงเรียนอื่นๆ อาจขึ้นอยู่ในความดูแลของสำ�นัก เลขาธกิ ารการศกึ ษาแหง่ ชาติ (SEP) หรอื โรงเรยี นทมี่ กี ารควบคมุ โดยรฐั และโรงเรยี นเอกชน โดยมหี ลกั สตู ร การเรียน ดงั นี้  การศึกษาทั่วไป (Bachillerato General) นักเรียนเรียนหลักสูตรการศึกษาท่ัวไป จะได้รับ ประกาศนียบตั ร Bachillerato และหนงั สอื รับรองเมอ่ื เรยี นจบ  การศกึ ษาทางเทคโนโลยี (Bachillerato Tecnológico) นกั เรียนเรยี นหลักสตู รการศึกษาทัว่ ไป ใน 2 ปีแรกของการศึกษา ส่วนในปีท่ี 3 เรียนสาขาเฉพาะทาง  การศึกษาสายอาชีพและการศึกษาเฉพาะทาง (Professional Técnico) เป็นหลักสูตรเตรียม ความพร้อมและการศึกษาทางเทคนิคระดับมืออาชีพ เตรียมนักเรียนให้ทำ�งานทันทีหลังจากเรียนจบ ในแต่ละรฐั จะมีความเชี่ยวชาญหลากหลายกนั ไปประมาณ 50 สาขา เชน่ การบญั ชี การก่อสรา้ ง อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ แมคคาทรอนิกส์ เทคโนโลยีการทำ�ความเย็น หรือการท่องเที่ยว โดยหลกั สตู รจะเนน้ การปฏบิ ตั มิ ากกวา่ เชงิ ทฤษฎีมกี ารฝกึ งานอตุ สาหกรรมในชว่ งครง่ึ หลงั ของโปรแกรมเมอ่ื รายงานผลการศึกษา เรื่อง 89 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

จบหลักสูตรผู้สำ�เร็จการศึกษาในสาขาเฉพาะทางส่วนใหญ่จะได้รับทั้งประกาศนียบัตรระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (Cédula Profesional) การศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา (Educación Superior) การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาของเมก็ ซโิ กมกี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเรว็ จากขอ้ มลู ของรฐั บาลเมก็ ซโิ กพบวา่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนระดับอุดมศึกษามีจำ�นวนเพ่ิมข้ึนกว่าเท่าตัวนับต้ังแต่ปลายปีค.ศ. 1990 ปัจจุบัน มีนักศึกษาระดับอุดมศึกษาจำ�นวน 3.9 ล้านคน ซึ่งมีทั้งลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรปกติและหลักสูตร การศึกษาทางไกล มหาวทิ ยาลยั ชน้ั น�ำ ของเมก็ ซโิ กทอี่ ยใู่ นการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั ระหวา่ งประเทศไดแ้ ก่มหาวทิ ยาลยั อสิ ระแห่งชาติของเม็กซโิ กและสถาบันเทคโนโลยแี ละการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาเอกชนมอนเตร์เรย์ ซงึ่ สถาบนั ทงั้ 2แหง่ อยใู่ นอนั ดบั ท่ี601-800ของการจดั อนั ดบั มหาวทิ ยาลยั โลก ในปจั จบุ นั สว่ นสถาบนั อื่นที่มีชือ่ เสียงอ่นื ๆ ได้แก่ Metropolitan Autonomous University, Autonomous UniversityofQuerétaro Instituto Politécnico Nacional และ Universidad Anáhuac การศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้แบ่งการศึกษาออกได้ 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาระดบั อนปุ ริญญา (Técnico Superior) การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี (Licenciatura ) และการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา (Postgrado) เปิดสอนทั้งในสถาบันของรัฐและเอกชน 6 ประเภท ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัย ในกำ�กับของรัฐ (2) สถาบันของรัฐ (3) สถาบันที่ข้ึนอยู่กับรัฐบาล (4) สถาบันเอกชน (ไม่มีค่าใช้จ่าย) (5) สถาบันเอกชนท่ีถูกต้องตามกฎหมาย (6) รัฐเม็กซิกันแต่ละรัฐมีมหาวิทยาลัยของรัฐและวิทยาลัย ฝึกอบรมครซู ง่ึ ได้รบั ประกาศนยี บัตรจากมหาวิทยาลยั เม่อื ส�ำ เร็จการศกึ ษา ระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาของเม็กซิโก ส่วนใหญ่จะจัดการศึกษาตามแบบสหรัฐอเมริกา และมีความต้องการเพ่ิมข้ึนอย่างมาก จึงนำ�ไปสู่การขยายตัวของหลักสูตร ซึ่งส่วนใหญ่มหาวิทยาลัยท่ีมี การเตบิ โต คอื สถาบนั การศกึ ษาเอกชนเน่อื งจากมีค่าธรรมเนียมนอ้ ย สถาบนั อุดมศึกษาไดร้ ับการยอมรบั จาก Comités Interinstitucionales para la Evaluación de la EducaciónSuperior(CIEES)และ/ หรอื องคก์ รทไี่ ดร้ บั การรบั รองโดยConsejopara laAcreditaciónde la Educación Superior (COPAES); Subsecretaría de Educación Superior (SES) เปน็ ผู้ดแู ลหลกั สูตร การศึกษาระดับปริญญาตรีของเม็กซิโกคล้ายกับระบบของสหรัฐอเมริกา สามารถศึกษาได้ตั้งแต่ 2 ถงึ 6 ปี การศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญา - Técnico Superior Universitario (University Higher Technician) หรือ Asociado Profesional (Professional Associate) ใชเ้ วลา 2 ปี เปิดสอนที่มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ได้แก่ ประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา / ช่างเทคนิคมหาวิทยาลัยที่สูงกว่าในสาขาเฉพาะ สาขาเหล่าน้ี บางครั้งสามารถน�ำ ไปใช้กับการศึกษาระดบั อดุ มศึกษาต่อไป 90 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ภาพท่ี 5 ระบบการศกึ ษาเมก็ ซิโก ท่มี า : OECD (2018), “Mexico: Overview of the Education System”, OECD Education GPS, http://gpseducation.oecd.org/Content/MapOfEducationSystem/MEX/MEX_2011_EN.pdf รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 91 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษา ในปี ค.ศ. 2013 รัฐบาลกลางของเม็กซิโกได้ดำ�เนินการปฏิรูปการศึกษาของประเทศเพื่อปรับปรุง เรอื่ งคณุ ภาพและความเสมอภาคของระบบการศกึ ษา การปฏริ ปู ด�ำ เนนิ การตามสนธสิ ญั ญาส�ำ หรบั เมก็ ซโิ ก (Pacto porMéxico, 2012) ซงึ่ เปน็ ช่วงของการเปลยี่ นแปลงรฐั ธรรมนญู ของเม็กซิโกในปีเดยี วกัน การปฏิรูปการศึกษาของเม็กซิโกมุ่งเนน้ ไปที่ 7 ประเด็นส�ำ คญั ได้แก่ 1) การปรับปรุงและเพ่ิมขีดความสามารถของโรงเรียนในระยะสั้นเพ่ือให้เป็นศูนย์กลางของ ระบบการศกึ ษา 2) การปรับปรงุ โครงสร้างพื้นฐาน อปุ กรณ์ และวัสดุการศกึ ษา 3) การพฒั นาวิชาชีพสำ�หรบั ครู 4) ทบทวนรูปแบบการศกึ ษา 5) การเสรมิ สร้างความเท่าเทยี มกนั และการหลอมรวมสิ่งท่ซี ้ําซอ้ น 6) เช่อื มโยงการศึกษาและตลาดแรงงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 7) ปรับปรุงการบริหารและการจัดการของระบบการศึกษาเพ่ือความโปรง่ ใสและมปี ระสทิ ธิผล ประเทศเมก็ ซโิ กไดจ้ ดั ท�ำ โมเดลการศกึ ษาใหมเ่ พอื่ การศกึ ษาภาคบงั คบั เนน้ ความเปน็ อสิ รภาพและ ความคดิ สร้างสรรค์ (Modelo Educativo para la Educación Obligatoria : Educar para la Libertad yla Creatividad) รูปแบบน้ีได้รับการพฒั นาโดยความร่วมมอื กับผ้ทู ่ีมีส่วนไดส้ ่วนเสียท่ีสำ�คญั มีการจดั ทำ� ประชาพจิ ารณร์ ะหว่างปี ค.ศ. 2014 - 2016 จ�ำ นวน 18 ครั้ง และมขี ้อเสนอแนะจากผูม้ สี ว่ นเกี่ยวข้อง ครู ผปู้ กครอง ผู้ทมี่ ีสว่ นได้สว่ นเสียและผูป้ ระกอบการมากกวา่ 300,000 ความคดิ เห็น โมเดลการศกึ ษาใหมไ่ ดก้ �ำ หนดเปา้ หมายการศกึ ษาของเมก็ ซโิ กในศตวรรษที่ 21 ขน้ึ อยกู่ บั 5 เสาหลกั ซึ่งมีตั้งแต่วิธีการสอนจนถึงการกำ�กับดูแลของระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือประกันคุณภาพการศึกษา ใหส้ ามารถเตรยี มเด็กใหพ้ ร้อมส�ำ หรบั ความท้าทายในศตวรรษท่ี 21 ดงั น้ี 1. พัฒนาวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้และเนื้อหาของการศึกษาให้สอดคลอ้ งกนั ใช้วธิ กี ารสอนท่ีมุ่งเนน้ การพัฒนาความสามารถของนักเรยี นมากกวา่ การเรยี นรู้จากการท่องจ�ำ 2. ส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นอิสระในการใช้ทรัพยากรและสนับสนุนงานในสถานศึกษาให้มากขึ้น ปรับลดขัน้ ตอนของระบบราชการให้น้อยลง 3. สรา้ งครผู สู้ อนใหม้ คี วามเปน็ มอื อาชพี เพอ่ื ใหค้ รมู กี ารพฒั นาวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและด�ำ เนนิ การ ประเมนิ เป็นระยะๆ 4. ส่งเสริมความเท่าเทียมทางการศึกษาให้มากข้ึนและให้ความสำ�คัญกับการมีส่วนร่วมในการ จดั ระบบการจัดสรรทรพั ยากรใหโ้ รงเรยี นและนกั เรียนทด่ี อ้ ยโอกาส 5. นำ�ระบบการกำ�กับดูแลท่ีตระหนักและให้ความสำ�คัญกับกลุ่มผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งให้มี การประสานงานและสร้างการมีสว่ นร่วมของผูท้ ม่ี สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย 92 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ดังนัน้ การปฏริ ูปการศึกษาในประเทศเมก็ ซิโกจึงมี 5 องค์ประกอบหลกั ดังน้ี 1. การปฏิรูปทางครศุ าสตร์ (Pedagogical Reform) ลดการเรียนรแู้ บบท่องจ�ำ เปลย่ี นเปน็ เนน้ กระบวนการคิด และกระบวนการทีท่ ำ�ให้เกดิ การเรยี นรู้ 2. โรงเรียนที่เปน็ หวั ใจของระบบ (Schools at the Heart of The System) ปรับงานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั การบรหิ ารน้อยลง เนน้ ทกี่ ารเรยี นร้เู ปน็ หลัก 3. การอบรมหลกั สตู รเบอ้ื งตน้ ส�ำ หรบั ครแู ละการพฒั นาอาชพี ครู (Teachers’ Initial Training & Professional Development) เปน็ การเพิ่มทักษะ ความสามารถให้กบั ครูผ้สู อน 4. ความเท่าเทียมและความเสมอภาคในการจัดการศึกษา (Equality & Inclusion) เนน้ สร้าง คณุ ภาพการศกึ ษาเพ่อื คนทุกคน 5. ธรรมาภบิ าล (Governance) มีการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งใหม่ เก่ียวกบั บทบาทหน้าท่ีของผู้มีสว่ น เกี่ยวข้องในการบริหารการศึกษา ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสำ�คัญ การจัดทำ�ประชาพิจารณ์ และมีขอ้ เสนอแนะจากผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสยี ตา่ งๆ รวมถึงผู้ปกครอง ครู และผ้ปู ระกอบการจ�ำ นวนมาก การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 รัฐบาลประกาศให้การศึกษาปฐมวัย เร่ิมตั้งแต่อายุ 3 ปี และจัดอยู่ในการศึกษาภาคบังคับ ของประเทศ โดยประกาศเป็นรัฐธรรมนูญตามการปฏิรูป การศึกษาและหลักสูตรใหม่สำ�หรับชาวเม็กซิกันในศตวรรษ ท่ี 21 ซึ่งหลกั สูตรจะมีความสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ แหง่ ชาตขิ องเมก็ ซโิ ก ฉบบั ปี ค.ศ. 2013 - 2018 ทใี่ หค้ วามส�ำ คญั กบั เดก็ ปฐมวยั อายตุ าํ่ กวา่ 5 ปี โดยใชก้ รอบสมรรถนะรว่ มกนั ระหวา่ งระดบั ปฐมวยั และระดบั ประถมศกึ ษา การประกาศเป็นรัฐธรรมนูญส่งผลบังคับตามกฎหมายในการพัฒนาเด็กแบบเป็นองค์รวม พัฒนา ความเป็นคนให้เป็นหนึ่งเดียว รักชาติ เคารพสิทธิมนุษยชน รับรู้ในความรัก ความสามัคคี ความเป็น เอกราช ความยุตธิ รรมในระดบั สากล กรอบโครงสร้างหลักสูตรแบ่งออกได้เป็น 3 องค์ประกอบ คือ ความรู้ทางวิชาการ (Academic Knowledge) การพฒั นาส่วนบคุ คลและสงั คม (Social & Personal Development) และความเปน็ อิสระ ของหลักสูตร (Curricular Autonomy) ซ่ึงสามารถอธิบายรายละเอียดกรอบหลักสูตรการพัฒนาผู้เรียน ของประเทศเมก็ ซโิ กได้ดังแผนภาพท่ี 6 รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 93 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ภาพที่ 6 แสดงกรอบหลักสตู รการพัฒนาผูเ้ รยี นของประเทศเม็กซิโก ทมี่ า : เอกสารประกอบการวิจยั หมายเลข 2 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาติสกู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น) ถูกกำ�หนดโดยรัฐบาล ของมลรัฐและรัฐบาลกลาง ภายใต้จุดมุ่งหมายของระบบการศึกษาใหม่ในเม็กซิโกที่เกิดจากการปฏิรูป ทางครุศาสตร์และการจัดการเรียนการสอน ซ่ึงจุดมุ่งหมายของระบบการศึกษาใหม่เป็น “การเรียน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรแู้ ละการอยู่รว่ มกัน” การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาระดบั อาชีวศึกษา การจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาในประเทศเม็กซิโกมีจุดมุ่งหมายสูงสุดเพ่ือการมีงานทำ� (Learning for Jobs) โดย OECD ได้ทำ�การศึกษาเพ่ือส่งเสริมให้การอาชีวศึกษาเน้นการคิดวิเคราะห์ และการคิดแบบมีวิจารณญาณ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน รวมถึงทำ�ให้เห็น ความเช่ือมโยงระหวา่ งการฝกึ ปฏิบัตใิ นสายอาชีวศกึ ษากับ 5 องคป์ ระกอบหลักของการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ได้แก่ (1) การปฏิรูปทางครุศาสตร์ (Pedagogical Reform) ลดการเรียนรู้แบบท่องจำ� เปลี่ยนเป็นเน้น 94 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

“กระบวนการคดิ และกระบวนการทีท่ ำ�ให้เกดิ การเรยี นรู้ (2) โรงเรยี นเปน็ หวั ใจของระบบ (Schools at the Heart of The System) ปรับงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการบริหารน้อยลง เนน้ ที่การเรยี นร้เู ป็นหลัก (3) การอบรม หลกั สตู รเบอื้ งตน้ ส�ำ หรบั ครแู ละการพฒั นาอาชพี ครู (Teachers’ Initial Training & Professional Development) เป็นการเพ่ิมทักษะ ความสามารถให้กับครูผู้สอน (4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคในการจัดการศึกษา (Equality & Inclusion) เพ่ือคนทุกคน เน้นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาและ (5) ธรรมาภิบาล (Governance) เป็นการปรับปรงุ โครงสร้างใหม่ เกย่ี วกับบทบาทหนา้ ทข่ี องผ้มู สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในการบรหิ าร การศึกษา ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียท่ีสำ�คัญ การจัดทำ�ประชาพิจารณ์และมีข้อเสนอแนะ จากผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ตา่ งๆ รวมถงึ ผปู้ กครอง ครู และผ้ปู ระกอบการจ�ำ นวนมาก การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษา แม้รัฐบาลกลางจะเป็นผู้นำ�ด้านนโยบายการศึกษา แต่พระราชบัญญัติการอุดมศึกษายังไม่มี ความชัดเจนในการแบ่งภารกจิ ความรับผดิ ชอบทางการศึกษาและความร่วมมอื ระดบั อุดมศกึ ษา ระหวา่ ง รัฐบาลกลางและมลรัฐทั้ง 32 แห่ง ซึ่งเม็กซิโกจะต้องดำ�เนินการพัฒนากรอบกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เพ่อื ให้เกิดความโปร่งใสในเรื่องดงั กล่าวต่อไป การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏบิ ัติ “ ประเทศเม็กซิโกได้กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาท่ีต้องการให้เกิดข้ึน ในโรงเรียน แต่ก็ประสบปัญหาเช่นเดียวกับประเทศอ่ืนๆ คือ การมีระยะห่างของการนำ�มาตรฐาน ลงสู่การปฏิบัติ ที่จะต้องตอบสนองความต้องการของแต่ละโรงเรียน นักเรียน และครูจำ�นวนมาก ท่ัวประเทศ ดังน้ัน การกำ�หนดนโยบายการศึกษาของชาติจะสามารถดำ�เนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทางโรงเรียนต้องเข้าใจวัตถุประสงค์และตอบสนองต่อนโยบายการปฏิรูปของประเทศ รัฐและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียควรมีบทบาทสำ�คัญร่วมด้วย และควรมีแนวทางในการปฏิบัติที่ชัดเจน และมีกระบวนการติดตามประเมินผล ซึ่งในรายงานด้านการศึกษาของประเทศเม็กซิโกในช่วง ปี ค.ศ. 2012 - 2013 ได้มีการทบทวนและให้ข้อเสนอแนะการปฏิรูปการศึกษาสำ�คัญ 4 ข้อ ได้แก่ (1) การให้ความเสมอภาคกับคุณภาพในการศึกษาของชาวเม็กซิกัน (2) การให้การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 แกน่ ักเรียนทุกคน (3) การสนับสนุนครูและโรงเรยี น และ (4) การมงุ่ เน้นการประเมิน และประเมินผลเกีย่ วกบั โรงเรยี นและการเรยี นร้ขู องนักเรียน ทงั้ น้ี การศกึ ษาในแต่ละระดับไดม้ ีการน�ำ มาตรฐานการศึกษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ดังนี้ รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 95 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสกู่ ารปฏิบัตริ ะดบั ปฐมวยั จากกรอบโครงสรา้ งของการพฒั นาคนแบบเปน็ องคร์ วม น�ำ สกู่ ารปฏบิ ตั โิ ดยเชอ่ื มโยงสกู่ ารสรา้ งหลกั สตู ร ฐานสมรรถนะ ซงึ่ แบง่ สมรรถนะของปฐมวยั ออกเปน็ 11 สมรรถนะย่อย ตามหมวดหมู่ ดังนี้ ส่วนที่ 1 ความรู้ทางวิชาการ ได้แก่ (1) ภาษาและการสื่อสาร (2) การคิดทางคณิตศาสตร์ และ (3) การเขา้ ใจธรรมชาตแิ ละสังคม ส่วนที่ 2 การพัฒนาระดับบุคคลและสังคม ได้แก่ (4) ความสามารถทางอารมณ์ สังคมและโครงงาน ชวี ิต (5) การสร้างสรรค์และการชื่นชอบทางศลิ ปะ และ (6) การดแู ลสขุ ภาพ ส่วนท่ี 3 ความเป็นอสิ ระของหลกั สตู ร ได้แก่ (7) การคิดวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา (8) การทำ�งาน เป็นทีมและการร่วมงาน (9) ความเปน็ พลเมอื งและชีวติ ทางสังคม (10) การดูแลสิ่งแวดลอ้ ม และ (11) ความสามารถ ดา้ นดิจิทัล สามารถแสดงผลการเรียนร้เู พ่อื ให้เดก็ เกิดทักษะและสมรรถนะในชว่ งปฐมวัย ดงั นี้ ทกั ษะ จบระดับปฐมวัย (นกั เรียนอายุ 5 ปี) 1. ภาษาและการสอื่ สาร แสดงออกถงึ อารมณ์ รสนยิ ม และความคดิ เหน็ โดยใชภ้ าษาแม่ ของตนภาษาสเปนหรอื ภาษาพนื้ เมอื งภาษาใดภาษาหนง่ึ ใชภ้ าษา เชื่อมโยงกับส่ิงอน่ื เข้าใจวลีภาษาอังกฤษบางวลี 2. การคิดทางคณติ ศาสตร์ นับเลขอย่างน้อยได้ถึง 20 ใช้เหตุผลแก้ข้อปัญหาเลขคณิต สรา้ งโครงสร้างรปู ทรงเรขาคณติ 2 มติ ิ และ 3 มิติ และจดั ระบบ ขอ้ มูลข่าวสารสนเทศพ้ืนฐาน 3. การเข้าใจธรรมชาติและสังคม แสดงการอยากรู้อยากเห็นและประหลาดใจ ส�ำรวจสิ่งแวดล้อม ใกลต้ วั ตง้ั ค�ำถามบนั ทกึ ขอ้ มลู งา่ ยๆออกแบบวตั ถจุ �ำลองพนื้ ฐาน และขยายความรขู้ องตนออกสูโ่ ลก ระบุคุณสมบัติส่วนตัวของตนและจดจ�ำเพ่ือนคนอ่ืนได้ 4. ความสามารถทางอารมณ์ สังคมและ แสดงความคิดหรือไอเดียในการเล่นและการเรียน ท้ังในบุคคล โครงงานชีวติ และกลุ่ม 96 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ทักษะ จบระดบั ปฐมวยั (นักเรียนอายุ 5 ป)ี 5. การคดิ วจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา พฒั นาการสรา้ งสรรคแ์ ละจนิ ตนาการของตนเมอ่ื ตอ้ งแสดงออก อย่างมศี ลิ ป์ (ต.ย.การเตน้ ร�ำ ละคร ดนตรี และทศั นศลิ ป)์ 6. การดแู ลสขุ ภาพ ระบุลักษณะนิสัยและคุณลักษณะทางกายของตนเอง และจดจ�ำ ของเพื่อนคนอื่นได้ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมทางกายโดยเล่นเกม และรู้วา่ มีประโยชนต์ ่อสุขภาพ 7. การคิดวิจารณญาณและการแก้ปญั หา สร้างความคิดหรือไอเดียและแนะน�ำกิจกรรมเพ่ือการเล่น การเรียนรู้ และการรู้สภาพแวดล้อมของตนเองให้มากข้ึน แกป้ ัญหางา่ ยๆ และอธิบายการใชเ้ หตุผลของตน 8. การท�ำงานเป็นทมี และการรว่ มงาน เข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจและความชื่นชอบศรัทธา ท้งั ส่วนตวั และกลุ่ม 9. ความเป็นพลเมอื งและชวี ติ ทางสงั คม พูดคุยเกี่ยวกับครอบครัว ประเพณีของตนและของผู้อ่ืน รู้บรรทดั ฐาน ท้งั อยูท่ ่บี า้ นและทโ่ี รงเรยี น 10. การดูแลส่งิ แวดลอ้ ม รแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั นิ สิ ยั เกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ี (ต.ย.การคดั แยกขยะ ของเสีย) 11. ความสามารถด้านดจิ ทิ ลั รู้เกย่ี วกับวิธีใช้ขัน้ พ้นื ฐานเครื่องมอื ดจิ ิทัลทต่ี นมีอยู่ การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏิบตั ิระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของเม็กซิโกเป็นการพัฒนาตามมาตรฐานท่ีมุ่งพัฒนาเด็กอย่างเป็น องค์รวม ได้แก่ ทักษะทางกระบวนการคิด (Cibgbutuve Skills) ทักษะทางกายภาพ การรู้จักตัวเอง และความสัมพันธ์ต่อผู้อ่ืน (Physical Intra & Interpersonal Skills) และความต้องการและความสนใจ ส่วนบุคคล (Individual Needs & Interests) ผ่านโครงสร้างหลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับอนุบาล - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือให้เด็กมีทักษะและสมรรถนะตามที่กำ�หนดไว้ โดยในการจดั การเรยี นการสอนเพอื่ ใหเ้ ดก็ เกดิ ทกั ษะและสมรรถนะดงั กลา่ ว ครผู สู้ อนไดป้ รบั เปลยี่ นแนวทาง รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 97 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ในการจัดการเรียนการสอน ดงั น้ี 1) ให้นกั เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางแห่งการเรยี นรู้ 2) น�ำ ผลการเรยี นรทู้ ่ีผา่ นมา พิจารณา 3) ให้ความช่วยเหลือทางการเรียนแก่นักเรียน 4) รู้จักนักเรียนและรู้ว่านักเรียนสนใจส่ิงใด 5)กระตนุ้ แรงจงู ใจทแี่ ทจ้ รงิ ของนกั เรยี น6)รจู้ กั การเรยี นรธู้ รรมชาตขิ องสงั คม7)สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ บบทเ่ี ปน็ อยู่จริง 8) ให้ความสำ�คัญกับการประเมินและการวางแผนว่าเป็นเสมือนเหรียญสองด้าน 9) หาต้นแบบ การเรียนรู้ 10) เห็นคุณค่าในการเรียนตามอัธยาศัย 11) ส่งเสรมิ การเรียนแบบสหวิชา 12) ใหค้ วามสำ�คัญ กับการเรียนรูท้ างวัฒนธรรม 13) เห็นคณุ ค่าของความหลากหลายวา่ เปน็ เรอ่ื งทส่ี �ำ คัญ 14) ใชพ้ ฤติกรรม เป็นเคร่ืองมือจัดการเรียนรู้ สามารถแสดงรายละเอยี ดทกั ษะและสมรรถนะของผเู้ รยี นตามหลกั สตู รระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ได้ดังน้ี ทกั ษะ 1. ภาษาและการสอ่ื สาร จบระดับประถมศกึ ษา สื่อสารความรู้สึก เหตุการณ์ และแสดงความคิดเห็น ท้ังการพูดและการเขียน โดยใช้ภาษาแม่ของตน ภาษาสเปน หรือภาษาพ้ืนเมืองภาษาใดภาษาหนึ่ง ถ้าเป็นผู้พูดภาษาพ้ืนเมืองต้องส่ือสารภาษาสเปน ทงั้ การพดู และการเขยี น อธบิ ายไดท้ นั ทถี งึ ความตอ้ งการจ�ำเปน็ เหตกุ ารณ์ในอดตี และสถานการณข์ องตน เป็นภาษาองั กฤษ จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนต้น) ส่ือสารภาษาสเปนได้อย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกัน มีความเชื่อมั่นในการใช้ภาษา สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการอธิบายประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ ความตอ้ งการ ปณธิ าน และความคิดเหน็ ได้ จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) แสดงออกโดยใช้ภาษาสเปนได้อย่างกระจ่าง ชัดเจน ทั้งการพูดและการเขียน สามารถแสดงความคิดเห็น ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ทงั้ การพดู และการเขยี น สามารถรวบรวมขา่ ว สารสนเทศ สรปุ ความและตีความ โตแ้ ย้งให้เหตผุ ลได้ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้คลอ่ งและเปน็ ธรรมชาติ 98 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ทักษะ 2. การคดิ ทางคณติ ศาสตร์ จบระดบั ประถมศกึ ษา เข้าใจแนวความคิด (Concept) และวิธีด�ำเนินการเพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่แตกต่างกัน และ เพอ่ื ประยกุ ต์ใช้ในสถานการณ์หลากหลาย มเี จตคติทดี่ ีต่อคณิตศาสตร์ จบระดับมัธยมศึกษา (ตอนต้น) มคี วามรเู้ พมิ่ เตมิ อน่ื ๆ แนวความคดิ (Concept) และเทคนคิ วธิ ที างคณติ ศาสตร์ เพอ่ื น�ำเสนอและแกญั้ หา ท่ีซับซอ้ นขน้ึ คาดการณภ์ าพอนาคต และวิเคราะหส์ ถานการณร์ วมทั้งชน่ื ชมคณุ คา่ การคดิ ทางคณิตศาสตร์ จบระดบั มธั ยมศึกษา (ตอนปลาย) สร้างและตีความสถานการณ์ตามจริง สมมุติฐาน หรือรูปนัย (เป็นทางการ) ท่ีก�ำหนดให้ใช้เหตุผล ทางคณติ ศาสตร์ น�ำเสนอและแกป้ ญั หาโดยประยกุ ต์ใชว้ ธิ กี ารหลากหลาย โตแ้ ยง้ ใหเ้ หตผุ ลเฉลยขอ้ ปญั หา โดยใชก้ ราฟกิ เชงิ ตวั เลข หรือวธิ ีเชิงวิเคราะห์ ทักษะ 3. การเข้าใจธรรมชาตแิ ละสงั คม จบระดบั ประถมศกึ ษา จดจ�ำไดถ้ งึ ปรากฏการณบ์ างอยา่ งทางธรรมชาตแิ ละทางสงั คมทกี่ ระตนุ้ การอยากรอู้ ยากเหน็ และความสนใจ ของตนใหห้ าค�ำตอบจากค�ำถามนน้ั ๆส�ำรวจปรากฏการณ์โดยใชก้ ารวจิ ยั วเิ คราะห์และทดลองรจู้ กั ลกั ษณะ เดน่ หลกั ๆ ของแบบจ�ำลองและวตั ถจุ �ำลองบางอยา่ ง (ต.ย.แผนผงั เสน้ แสดงยคุ สมยั และผงั กราฟกิ บางอยา่ ง) จบระดบั มธั ยมศึกษา (ตอนต้น) ระบปุ รากฏการณห์ ลากหลายอยา่ งทางธรรมชาตแิ ละทางสงั คม อา่ นเรอ่ื งเหลา่ น้ี เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ขา่ วสาร สนเทศจากหลายแหลง่ สบื คน้ โดยใชร้ ะเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ ตง้ั ค�ำถาม หาค�ำตอบจากค�ำถาม และใช้ แบบจ�ำลองเพอื่ น�ำเสนอปรากฏการณน์ ้ัน เขา้ ใจความเกย่ี วเนอ่ื งของวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาตแิ ละสงั คมศาสตร์ จบระดับมธั ยมศึกษา (ตอนปลาย) เกบ็ รวบรวมลงทะเบยี นและจดั ระบบขอ้ มลู ขา่ วสารสนเทศตรวจสอบขอ้ มลู จากแหลง่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและด�ำเนนิ การ วิเคราะห์และสืบค้นท่ีส�ำคัญ เข้าใจความเก่ียวพันกันของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและส่ิงแวดล้อม ในสถานการณเ์ ฉพาะดา้ นทางประวตั ศิ าสตรแ์ ละทางสงั คมระบปุ ญั หาตง้ั ค�ำถามถงึ ลกั ษณะของนกั วทิ ยาศาสตร์ และสร้างสมมุตฐิ านทจ่ี �ำเป็นเพื่อตอบค�ำถามนัน้ รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 99 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ทกั ษะ 4. ความสามารถทางอารมณ์ สังคม และโครงงานชีวติ จบระดบั ประถมศึกษา มีความตั้งใจ ใสใ่ จ รูจ้ กั ควบคุมอารมณ์ตนเอง สนใจในการเล่น การเรยี น มีปฏิสัมพันธก์ บั ผู้อน่ื สามารถ วางแผน ออกแบบ และลงมอื ด�ำเนนิ การโครงงานระยะสนั้ และระยะกลาง เชน่ วางแผนปรบั ปรงุ ระดบั คะแนน ของตนหรือฝึกฝนงานอดิเรก จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนตน้ ) มีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผูอ้ ่ืน เรียนรู้และลงมอื ปฏบิ ตั ิ เชน่ ออกก�ำลังกาย เพ่ือให้เกดิ สุขภาพท่ดี ี สุขอนามัยท่ีดที ้งั ในระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว เปลี่ยนอปุ สรรคท้าทายให้เป็นโอกาส เขา้ ใจแนวคดิ “โครงงานชีวติ ” (life project) เพ่อื วางแผนชีวิตส่วนตัวของตน จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) มสี ตสิ มั ปชญั ญะในตวั เอง ตงั้ ใจมงุ่ มนั่ มปี ณธิ าน และอดทนยดื หยนุ่ มขี อ้ บงั คบั ในตวั เอง และมสี มั พนั ธภาพ ระหว่างบุคคล มีความสามารถในการปฏิบัติได้ดี มีประสิทธิผล มีความสามารถในการต้ังเป้าประสงค์ และสร้างโครงงานชีวิต ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งเตรียมพร้อมรับมือ การเสี่ยงในอนาคต ทกั ษะ 5. การสรา้ งสรรค์และการช่นื ชอบทางศลิ ปะ จบระดับประถมศกึ ษา ส�ำรวจและมีประสบการณ์ด้านรูปทรงศิลปะหลายๆ ด้าน แสดงออกในรูปแบบสร้างสรรค์ทางดนตรี เต้นร�ำ ละคร และทัศนศลิ ป์ จบระดับมัธยมศึกษา (ตอนตน้ ) วิเคราะห์ ชื่นชม และลงมือท�ำรูปทรงทางศิลปะต่างๆ ประยุกต์ใช้การสร้างสรรค์ทางศิลปะของตน เพ่อื แสดงออกถึงตัวตนทางศลิ ปะ จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) ช่ืนชอบความหลากหลายของการแสดงออกทางวัฒนธรรม เห็นคุณค่าทางศิลปะ มีประสบการณ์ ด้านการสอ่ื สารทางศลิ ปะของประชาชน 100 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ทกั ษะ 6. การดูแลสุขภาพ จบระดับประถมศึกษา รู้จักสภาพร่างกายของตนเอง เอาชนะอุปสรรคท้าทายโดยใช้ประโยชน์ทางกายเชิงสร้างสรรค์ มีความรู้ เกี่ยวกับสุขลักษณะและโภชนาการ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางกายและการเล่นเกม รักษาสุขภาพดี และใช้ชวี ติ ทางสงั คมที่ไม่ใช้ความรนุ แรง จบระดบั มธั ยมศกึ ษา (ตอนตน้ ) กระตุ้นทักษะทางร่างกายให้ตื่นตัว และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆ รู้จักน�ำวิธีการป้องกันโรคมาใช้ รูจ้ ักเลอื กกินดแี ละมปี ระโยชน์ต่อสขุ ภาพ ท�ำกิจกรรมทางกายในการเล่นและกีฬาอย่างปกติ จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) เริ่มมีความรับผิดชอบในการรักษาสุขภาพกายและสุขภาพใจ หลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยง ใช้ชีวิต อย่างมีความสุข และมีสุขภาพดี ทกั ษะ 7. การคิดวิจารณญาณและการแก้ปญั หา จบระดบั ประถมศึกษา แก้ปัญหาโดยใช้กลยุทธ์หลายวิธี เช่น การสังเกต การวิเคราะห์ พิจารณาไตร่ตรองและวางแผน เก็บรวบรวมขอ้ มูล หลักฐาน เพือ่ แกป้ ัญหา สามารถอธิบายกระบวนการความคดิ ของตน จบระดบั มธั ยมศกึ ษา (ตอนต้น) ต้ังค�ำถามเพ่ือแก้ปัญหา เพ่ือการสนับสนุนค�ำตอบของตน ต้องมีข้อมูลของตนเอง ให้การวิเคราะห์ และโต้แย้งให้เหตุผลข้อสรุปของตน โดยใช้บนั ทกึ & ระบบกราฟิกมาช่วย (เช่น ตาราง & แผนผังความคิด) น�ำเสนอกระบวนความคดิ ของตนและประเมินคณุ คา่ ของตน จบระดับมัธยมศึกษา (ตอนปลาย) วเิ คราะหแ์ ละตง้ั ค�ำถามเชงิ วพิ ากษถ์ งึ ปรากฏการณห์ ลายดา้ น โดยใชร้ ะเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ รวมทง้ั การคิดเชิงคณิตศาสตร์และเชิงตรรกศาสตร์ เสนอข้อโต้แย้งให้เหตุผล ประเมินเป้าประสงค์ แก้ปัญหา แจงรายละเอียด และให้เหตุผลทถ่ี กู ตอ้ งแกข่ ้อสรปุ รวมท้ังพฒั นานวตั กรรมสรา้ งสรรค์ใหม่ และดัดแปลง เพือ่ เปล่ยี นสภาพแวดล้อม รายงานผลการศึกษา เรื่อง 101 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ทักษะ 8. การท�ำ งานเป็นทีมและการรว่ มงาน จบระดบั ประถมศกึ ษา ท�ำ งานรว่ มกัน ระบจุ ุดแขง็ ของตัวเอง รวมทัง้ ชืน่ ชมจดุ แขง็ ของผอู้ น่ื จบระดับมัธยมศึกษา (ตอนตน้ ) จดจำ�ได้ ยกย่อง และนิยมชมชอบทักษะและวิสัยทัศน์หลากหลายเม่ือต้องทำ�งานร่วมกัน มีการคิดริเร่ิม มกี ารประกอบการ และแสวงหาความส�ำ เรจ็ ทงั้ ในโครงงานรายบุคคลและโครงการร่วมกนั จบระดับมธั ยมศึกษา (ตอนปลาย) ทำ�งานเป็นทีมเชิงสรรค์สร้าง และฝึกฝนการรับผิดชอบ และลงมือปฏิบัติแบบการเป็นผู้นำ� พร้อมที่จะ ใหท้ างเลอื กเพื่อลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละแก้ปัญหา สนับสนุนวิธีการเชงิ สรรคส์ รา้ ง ทกั ษะ 9. ความเปน็ พลเมืองและชีวติ ทางสังคม จบระดบั ประถมศึกษา พัฒนาเอกลักษณ์ของตนในฐานะบุคคล รู้จัก ยกย่อง และปฏิบัติตามสิทธิและหน้าท่ีพลเมืองของตน สามารถสนทนาโต้ตอบ มีส่วนร่วมสร้างสิ่งแวดล้อมทางสังคม ที่ผสมผสานกลมกลืน และปฏิเสธ ความรุนแรงและการเลอื กปฏิบตั ิ จบระดับมัธยมศกึ ษา (ตอนต้น) ปลูกฝังเอกลักษณ์ของเม็กซิโกและความรักประเทศเม็กซิโก จดจำ�ได้ถึงความหลากหลายทางปัจเจกชน ทางสังคม ทางวัฒนธรรม ทางชาติพันธุ์ และภาษาของประเทศ จับประเด็นบทบาทท่ีมีต่อโลกของเม็กซิโก แสดงบทบาทการรบั ผดิ ชอบทางสังคมในดา้ นสทิ ธิมนุษยชนและเคารพกฎหมาย จบระดบั มัธยมศกึ ษา (ตอนปลาย) เรียนรู้ความหลากหลายท่ีปรากฏขึ้นในช่วงเวลาประชาธิปไตย การโน้มน้าวจูงใจ และความเสมอภาค ทางสิทธิแก่ปวงชน เข้าใจสัมพันธภาพระหว่างเหตุการณ์ในท้องถ่ิน ระดับชาติและระหว่างประเทศ เห็นคุณค่าและกระทำ�การแลกเปล่ียนวัฒนธรรม นิยมชมชอบคุณค่าของสถาบัน (ระบบธรรมเนียม ประเพณ)ี และความส�ำ คัญของหลักนิตธิ รรม 102 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ทักษะ 10. การดูแลสงิ่ แวดลอ้ ม จบระดบั ประถมศึกษา เรียนรู้ถึงความสำ�คัญของการดูแลสิ่งแวดล้อม ระบบปัญหาของทั้งท้องถ่ินและโลก รวมท้ังการแก้ปัญหา ทีส่ ามารถนำ�ไปปฏิบัติได้ เช่น การปดิ ไฟและไมใ่ ชน้ ํ้าสนิ้ เปลือง จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนต้น) มีบทบาทในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ระบุปัญหา เช่ือมโยงระบบนิเวศน์และการแก้ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรับผิดชอบและมีเหตุผล รู้จักการนำ�ส่ิงของกลับมาใช้ใหม่เพื่อรักษา สิ่งแวดล้อม จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) เข้าใจความสำ�คัญของความย่ังยืน และการดูแลส่ิงแวดล้อมของท้องถิ่น ประเทศและโลกอย่างย่ังยืน รู้จักประเมินค่าผลกระทบของนวัตกรรมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ในด้านส่ิงแวดล้อมและ ดา้ นสงั คม ทักษะ 11. ความสามารถดา้ นดจิ ิทัล จบระดับประถมศกึ ษา สามารถระบุเครื่องมือทางเทคโนโลยีได้หลากหลาย สามารถใช้เทคโนโลยีในการหาข้อมูลข่าวสารสนเทศ สือ่ สาร สร้างสรรค์ ฝกึ ปฏบิ ัติ เรียนรู้ และเลน่ จบระดับมัธยมศกึ ษา (ตอนตน้ ) เปรียบเทียบและคัดสรรแหล่งวิทยาการทางเทคโนโลยีตามสภาพแวดล้อมของตน ใช้ตามความมุ่งหมาย ไดห้ ลากหลาย ในแบบทร่ี บั ผดิ ชอบ และมีจริยธรรม เรียนรูร้ ูปแบบส่ือสารต่างๆ และเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลขา่ วสาร สารสนเทศ คัดสรร วเิ คราะห์ ประเมินคา่ จ�ำ แนก และจัดระบบ จบระดับมธั ยมศกึ ษา (ตอนปลาย) ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอย่างรบั ผิดชอบ และมจี ริยธรรม เพ่ือสืบค้น แก้ปญั หา ผลติ วสั ดุ และ เพ่ือแสดงออกถึงความคิดไอเดีย ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ให้ได้มากสุด เพื่อพัฒนาความคิดไอเดีย และนวัตกรรม ส่ิงใหม่ๆ รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง 103 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การนำ�มาตรฐานไปสูก่ ารปฏิบัตริ ะดับอาชีวศกึ ษา จุดมุ่งหมายการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา คือ การศึกษาเพื่อการมีงานทำ� (Learning for Jobs) จากการศกึ ษาเรอื่ งการจดั การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาของประเทศเมก็ ซโิ ก พบจดุ เดน่ ทนี่ า่ สนใจจากผลการวจิ ยั เร่ือง A Learning for Jobs Review of Mexico ดังนี้  ประเทศเม็กซิโกมีความมุ่งม่ันในการจัดการกับความท้าทายท่ีการอาชีวศึกษาต้องเผชิญ ตวั อยา่ งเชน่ การใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการปฏริ ปู ทางเทคโนโลยี การสรา้ งระบบเงนิ อดุ หนนุ ในการฝกึ งาน  การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาของเม็กซิโกให้โอกาสผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ เทคโนโลยี รวมทง้ั สรา้ งโอกาสใหก้ บั เดก็ ทอ่ี ยหู่ า่ งไกล และเปน็ การศกึ ษาทดี่ แู ลกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี คี วามเสย่ี ง ต่อการออกกลางคนั  อัตราการว่างงานของผสู้ ำ�เร็จการศกึ ษาจากอาชวี ศึกษามนี ้อยกว่ารอ้ ยละ 0.05 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผสู้ �ำ เรจ็ การศกึ ษาจากอาชวี ศกึ ษาของเมก็ ซโิ กเกอื บทง้ั หมดมงี านท�ำ ในตลาดแรงงาน แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การผลติ ทสี่ อดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน  เกดิ ความร่วมมอื กนั ระหวา่ งผู้ประกอบการ / นายจา้ งกับสถานศึกษา ในการผลติ ผเู้ รยี นอาชวี ศึกษา ให้ตอบโจทย์ของนายจา้ ง  นักเรยี นได้ฝึกทักษะท่ีทันสมยั สอดคล้องกบั การทำ�งานในศตวรรษท่ี 21 การน�ำ มาตรฐานไปสกู่ ารปฏบิ ัตริ ะดับอุดมศึกษา เม็กซิโกได้กำ�หนดกลยุทธ์การศึกษาระดับอุดมศึกษาไว้ในแผนพัฒนาแห่งชาติ (PND) ซ่ึงเป็น โปรแกรมการศกึ ษารายสาขา (PSE) มกี ารก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคท์ ช่ี ดั เจนและเชอ่ื มโยงกบั การปฏบิ ตั ิ รวมถงึ การจดั สรรทรพั ยากรเพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคน์ น้ั ๆ ดว้ ยแตป่ ญั หาของเมก็ ซโิ กทพ่ี บคอื แผนพฒั นาทกี่ �ำ หนด อาจยงั มีวัตถปุ ระสงค์ไม่ชดั เจน ทำ�ให้การจดั สรรทรพั ยากรยังไมเ่ หมาะสม เนื่องจากเม็กซิโกไม่มีระบบบังคับของการรับรองคุณภาพภายนอก และการประกันคุณภาพสำ�หรับผู้ให้บริการการศึกษาระดับอุดมศึกษา ดังนัน้ สถาบนั ในระดบั อุดมของแต่ละรฐั (HEls) บางแหง่ จงึ ไม่เข้ามา มสี ว่ นรว่ มในระบบการลงทะเบยี นโปรแกรม (RVOE) ซง่ึ หมายความวา่ มีผู้เรียนบางคนจบการศึกษาระดับอนุปริญญาที่ไม่ได้รับการยอมรับ อย่างเป็นทางการ มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐและสถาบันในระดับ อดุ มศกึ ษาของแตล่ ะรฐั (HEls) จงึ รบั หนา้ ทใ่ี นการสรา้ งระบบก�ำ กบั ดแู ล มหาวิทยาลัยในภูมิภาคให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน รวมถึงการดำ�เนินการตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ระบบการโอนและการสะสมเครดิต ระบบสถิติการศึกษาการระบุนักเรียนตัวเดียวเป็นระบบรับรอง คุณภาพและการประกันคุณภาพระดับประเทศ เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว เม็กซิโกจึงควรจัดตั้งหน่วยงาน 104 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ประกันคุณภาพแห่งชาติซึ่งอาจเป็นองค์กรท่ีไม่แสวงหาผลกำ�ไร มีสถานะที่ไม่ใช่องค์กรภาครัฐเพื่อเป็น แนวทางในการพฒั นาระบบการตรวจสอบคณุ ภาพของสถาบนั อดุ มศกึ ษาใหแ้ ขง็ แกร่งขนึ้ เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทุกแหง่ เป็นผูใ้ ห้บรกิ ารทกุ โปรแกรมการเรยี นท่ีมมี าตรฐานคณุ ภาพข้นั ตา่ํ ทีย่ อมรับได้ นอกจากนี้ สถาบันอดุ มศึกษาทางเทคนิคขนาดเลก็ หลายแห่ง มีความรว่ มมือกับสถาบันเทคโนโลยี แหง่ ชาติ (Tecnológico Nacional de México) เพอื่ สนบั สนนุ การเรยี นรแู้ ตย่ งั ขาดความยดื หยนุ่ ในการปรบั ตวั ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น จึงควรสนับสนุนการสร้างเครือข่ายกับสถาบันระดับอุดมศึกษา ของแต่ละรัฐ (HEIs) ใหม้ ากขึน้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาให้มปี ระสิทธิภาพ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา เมก็ ซโิ กมรี ะบบประกนั คณุ ภาพตามแบบยโุ รป ในปี ค.ศ. 1990 ไดจ้ ดั ตง้ั หนว่ ยงาน Comisión Nacional de la Assessación de la Educación Superior (CONAEVA) เพ่ือทำ�หน้าที่จัดต้ังระบบประกันคุณภาพ โดยระบบประกอบด้วย การประเมินตนเองตามเกณฑ์ของ CONAEVA การตรวจสอบแต่ละสถาบัน โดย Comités Interinstitucionales para la Evaluación de la Educación Superior (CIIES) และ คณะกรรมการพิเศษ และสดุ ทา้ ยเป็นการประเมนิ ผลภาพรวมของระบบการศกึ ษาทัง้ หมด การประกนั คุณภาพการศึกษาระดบั ปฐมวยั ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ยงั ไมใ่ ชเ้ กณฑก์ ารทดสอบคณุ ภาพในการวดั ระดบั ความสามารถของนกั เรยี น แต่เนน้ การพฒั นานักเรยี นแบบองคร์ วม การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีการวัดระดับคุณภาพผู้เรียนด้วยการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระดบั ชาตใิ นโรงเรยี น (Evaluación Nacional del Logro Académico en Centros Escolares) (ENLACE)) เพ่อื วดั ประสทิ ธภิ าพของนักเรียนทั่วประเทศ การประเมินนีถ้ กู นำ�ไปใชเ้ ริม่ ตน้ ทเี่ กรด 3 โดยจะวัดผล 2 วิชา คือ ภาษาสเปนและคณิตศาสตร์ ส่วนวิชาท่ี 3 นั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี (เช่น ประวัติศาสตร์ ในปี ค.ศ. 2010 ภูมิศาสตร์ในปี ค.ศ. 2011) ซ่ึงผลการสอบ ENLACE น้ี ผู้ปกครองและชุมชน จะได้รับทราบผลด้วย (OECD, 2012) แต่ด้วยผลการสอบ ENLACE ส่งผลกระทบต่อการเรียนการสอน กลายเปน็ การติวข้อสอบเพ่อื การสอบ จึงยกเลกิ การสอบ ENLACE ไปในปี ค.ศ. 2015 รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 105 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การประเมนิ ผลคณุ ภาพทางการศกึ ษาตามกรอบการศกึ ษาของเมก็ ซโิ ก แบง่ ออกเปน็ 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ การประเมินนักเรยี น การประเมนิ ครู การประเมินโรงเรยี น และการประเมนิ ระบบ ดงั น้ี (1) การประเมินนักเรียน ใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลาย ต้ังแต่การประเมินมาตรฐานแห่งชาติไปจนถึง การประเมินรายบุคคลอย่างต่อเนื่องในห้องเรียน ครูผู้สอนเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการประเมินนักเรียน โดยนักเรียนทุกคนได้รับการประเมินอย่างต่อเน่ือง ตลอดปีการศึกษาในแต่ละหลักสูตรหรือสาขาวิชา นอกจากน้ียังมีการประเมินในรอบสุดท้ายเป็นการสอบ ปลายภาคดว้ ยเครอ่ื งมอื ส�ำ หรบั การทดสอบใหม่นกั เรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นสอบ IDANIS และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายสอบ EXANI I การประเมนิ เหลา่ น้ี สามารถนำ�ผลไปใช้ในการพิจารณาคัดเลือกบุคคล เพ่ือศกึ ษาต่อในระดับตอ่ ไป (2) การประเมินครแู ละผูบ้ ริหารโรงเรยี น การประเมินครมู คี วามหมายครอบคลมุ ไปถึงบทบาทและ ภารกจิ ตามมาตรฐานครู เปน็ ไปตาม NTPC (National Teaching Post Competition) และ NETK (National Examination of Teaching Knowledge and Skills) เพ่ือสรา้ งครูคุณภาพต่อไป (3) การประเมินโรงเรียน เป็นการประเมินอย่างเป็นระบบ โดยโรงเรียนได้รับการสนับสนุนให้มี ส่วนร่วมในการประเมินตนเอง ตามคำ�แนะนำ�และเครื่องมือที่มีให้ในระดับประเทศ การมีส่วนร่วม เปน็ ความสมคั รใจของโรงเรยี น ยกเวน้ ในกรณที โี่ รงเรยี นไดส้ มคั รเขา้ รว่ มในการจดั การศกึ ษาตามโปรแกรม พเิ ศษของรฐั บาลกลาง เชน่ โปรแกรมโรงเรียนคุณภาพ โรงเรยี นไม่ตอ้ งเขา้ ระบบการประกนั ภายนอกอกี (4) การประเมินระบบ สำ�นักเลขาธิการการศึกษาแห่งชาติ (SEP) รับผิดชอบการติดตามและ ประเมินผลโดยรวมของระบบการศึกษา โดยได้รับการสนับสนุนจากสถาบนั แหง่ ชาติเพอ่ื การประเมนิ และ การประเมินผลการศึกษา (INEE) มีการใช้เคร่ืองมือหลากหลาย เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบ การศึกษา ได้แก่ ข้อมูลเก่ียวกับนักเรียน ผลลัพธ์การเรียนรู้ซ่ึงถูกรวบรวมจากผลของการทดสอบ ทางการศกึ ษา (EXCALE) ตวั ชว้ี ดั ดา้ นการศกึ ษา เกณฑม์ าตรฐานนานาชาตขิ องนกั เรยี น ประสทิ ธภิ าพของขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการส�ำ รวจความคดิ เหน็ ของนกั เรยี น ซงึ่ จะสง่ ผลในการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาในระดบั นโยบายดว้ ย การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอาชีวศกึ ษา การประกันคุณภาพระดับอาชีวศึกษาของเม็กซิโก รับผิดชอบโดยหน่วยงาน Consejo Nacional de Normalizacion y Certification : CONOCER ซึ่งเป็นสถาบนั ท่ใี หก้ ารรับรองความสามารถอยา่ งเป็น ทางการตามความสามารถมาตรฐานระบบ (NCSS) คณะกรรมการ CONOCER ประกอบด้วย หน่วยงานหลักในด้านการศึกษา กระทรวงแรงงาน และเศรษฐกิจ มีตัวแทนของสหพันธ์นายจ้างรายใหญ่สามแห่งและเลขานุการทั่วไปของสหพันธ์สหภาพ 106 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

การค้าท่ีสำ�คัญสามแห่งในประเทศ ทั้งนี้เพื่อสร้างความม่ันใจในการผลิตแรงงานท่ีมีประสิทธิผลในการ ท�ำ งานรองรบั ตลาดแรงงานในประเทศ ระบบการประกันคุณภาพจะให้ความสำ�คัญกับความสามารถท่ีได้มาตรฐานมากกว่าองค์ความรู้ คณุ สมบตั มิ าตรฐานจะถกู ก�ำ หนดตามความตอ้ งการ ดงั นน้ั จงึ มนั่ ใจไดว้ า่ ผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรทู้ กั ษะทเี่ กย่ี วขอ้ ง รวมทงั้ ไดร้ ับการฝึกงานและสรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ในสถานประกอบการดว้ ย การประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มีเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาคนสู่การทำ�งานในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงให้คุณค่ากับทักษะชีวิตและสมรรถนะจำ�เป็นที่หลากหลาย เช่น การเป็นพลเมือง การประกอบอาชีพ การประดิษฐ์นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี เป็นต้น ดังน้ัน ระบบการประกันคุณภาพที่ดีจะต้องสร้าง ความมั่นใจให้กับผู้เรียนได้ว่า บุคคลนั้นจะมีคุณลักษณะท่ีเป็นไปตามท่ีหลักสูตรต้องการจริง แต่อย่างไร ก็ตาม ในการประกนั คณุ ภาพผูเ้ รียน ยังมปี ัจจยั อน่ื ๆ ที่อาจสง่ ผลตอ่ คุณภาพการศกึ ษา จึงให้ความสำ�คญั กับรูปแบบที่หลากหลายซงึ่ เหมาะสมกับบรบิ ทในพ้ืนท่ี ปจั จุบนั ประเทศเม็กซิโกยงั พบปัญหาในเร่อื งการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ดังน้ี  กระบวนการออกใบอนญุ าตการประเมนิ ผลและการรบั รองวทิ ยฐานะระดบั อดุ มศกึ ษายงั ไมส่ อดคลอ้ ง กบั หลักการการประกันคุณภาพการศกึ ษา (OECD,2019)  ไม่มีองค์กรประกันคุณภาพสาธารณะที่เช่ือถือได้ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนท่ีมีส่วนร่วม ในการประเมินและรบั รองโปรแกรมการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมทงั้ ประเมินการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษาและ ออกหนังสือรับรอง มคี วามหลากหลายมากเกนิ ไป  การทำ�งานของหน่วยงานรับรองและประเมินผลไม่ครอบคลุมโปรแกรมการศึกษาระดับอุดมศึกษา หลายแหง่ ในเมก็ ซโิ ก ทง้ั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรแี ละสงู กวา่ ปรญิ ญาตรกี ไ็ มไ่ ดร้ บั การประเมนิ ภายนอก และไมค่ รอบคลุมข้นั ตอนการรับรองคุณภาพ  ยังพบข้อจำ�กัดในการทำ�งานขององค์กร CENEVAL เพ่ือประเมินผลคุณภาพการเรียนรู้ท่ีเป็น มาตรฐานของนักศึกษา  มาตรฐานคุณภาพที่ใช้ในการรับรองและการประเมินคุณภาพไม่เชื่อมโยงกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน และขาดการมสี ่วนร่วม  คำ�จำ�กัดความและการวัดคุณภาพในโครงการอุดมศึกษาต้องปรับให้เข้ากับความหลากหลาย ของการให้บริการรวมถงึ การศกึ ษาวชิ าชีพและการศกึ ษาทางไกล  ตวั ชว้ี ดั ในการวดั ปจั จยั การผลติ กระบวนการ ผลติ และผลผลติ ยงั ไมเ่ หมาะสม เชน่ อตั ราการส�ำ เรจ็ การศกึ ษาตามหลกั สูตร การจ้างงานและรายได้ การผลติ ระดบั บันฑติ ศกึ ษา  ไม่มขี นั้ ตอนที่มีประสิทธภิ าพเพยี งพอส�ำ หรับการรับรองสถาบนั อุดมศึกษา รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 107 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

 หลักฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสถาบันอุดมศึกษาบางเร่ือง ไม่ได้ถูกนำ�มาใช้เผยแพร่ “ ต่อสาธารณชนเพอ่ื ใหเ้ กิดความโปร่งใสในการปฏบิ ัติงาน  ขอ้ ตกลงในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ยงั ไมร่ องรบั นวตั กรรมและเทคโนโลยใี หมต่ ามหลกั สตู ร การกำ�กับ ตดิ ตาม ประเมินเพ่ือสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา “ สถาบันการประเมนิ การศกึ ษาแห่งชาติ (National Institute for Educational Evaluation : INEE) เปน็ องคก์ รอสิ ระทำ�หน้าท่เี ปน็ ผู้ประสานงานระบบการประเมินผลการศกึ ษาของชาติ รวมท้งั ส่งเสริม สนับสนุนคุณภาพ และความเสมอภาคทางการศึกษา มีหน่วยงาน PLANEA (National Plan for Students’ Learning Evaluations Plan Nacional para la Evaluación de los Aprendizajes) เป็นภาคีสำ�คัญในการสร้างระบบการประเมินให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น ใช้ข้อมูล เปน็ กลไกในการจัดการศึกษาให้เต็มตามศกั ยภาพในระดบั มลรัฐและโรงเรยี น การก�ำ กบั ติดตาม ประเมินเพื่อสง่ เสรมิ คุณภาพการศึกษาระดบั ปฐมวัย สำ�นักเลขาธิการการศึกษาแห่งชาติ (SEP) กำ�หนดให้โรงเรียนปฐมวัยเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน นกั เรยี นเขา้ เรยี นโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยใดๆ มกี ารสรา้ งมาตรฐานเนอื้ หาหลกั สตู รส�ำ หรบั โรงเรยี น ของรัฐและเอกชนซ่ึงรวมถึงการสอนภาษาสเปน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศิลปะและพลศึกษา บูรณาการอย่างเป็นองค์รวม โดยมีสถาบันแห่งชาติเพ่ือการประเมิน การศกึ ษา (INEE) ตรวจสอบมาตรฐานและให้การควบคมุ คุณภาพดแู ลร่วมกับมหาวทิ ยาลยั ท่รี ับผิดชอบ ในแต่ละมลรัฐ 108 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การก�ำ กับ ติดตาม ประเมินเพือ่ ส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดยการศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (เกรด 7 - 9) เปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั และ มีระยะเวลาสามปี โดยรัฐสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเรียน และนักเรียนสามารถติดตามการเรียนการสอน (educación secundaria general) หรือการศึกษาเชิงเทคนิค (educación secundaria técnica) ด้วยตนเองได้ซ่ึงนำ�ไปสู่การศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (เกรด 10 - 12) นอกจากนี้ ยังมีโปรแกรมระดับมัธยมศึกษาตอนต้นท่ีเป็นหลักสูตรเน้นสายอาชีพ พาณิชยศาสตร์และศิลปะ ผ่านการกำ�กับดูแลโดยสถาบันแห่งชาติเพ่ือการประเมินการศึกษา(INEE) ตรวจสอบมาตรฐานและ ใหก้ ารควบคมุ คณุ ภาพ ดแู ลรว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ที่รบั ผิดชอบในแตล่ ะมลรัฐ การก�ำ กับ ตดิ ตาม ประเมนิ เพอื่ สง่ เสริมคุณภาพการศกึ ษาระดับอาชวี ศกึ ษา สำ�นักเลขาธิการการศึกษาแห่งชาติ (SEP) รับผิดชอบการกำ�กับ ติดตาม ประเมินคุณภาพของ อาชวี ศกึ ษา โดยมสี ว่ นรว่ มในการเตรยี มและพฒั นาครแู ละผฝู้ กึ สอนรว่ มกบั ศนู ยส์ หวทิ ยาการเพอ่ื การวจิ ยั และการสอนการศึกษาทางเทคนิค (Centro Interdisciplinario de Investigación y Docencia en EducaciónTécnica, CIIDET) ซ่ึงเป็นหน่วยงานทม่ี ีหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบในการพัฒนาความเช่ยี วชาญ ในการศึกษาขั้นพื้นฐานและด้านเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ในระดับที่สูงกว่าปริญญาตรี และการศึกษา ต่อเน่ืองสำ�หรับอาจารย์อาชีวศึกษา รวมทั้งให้การฝึกอบรมเพ่ือให้อาจารย์มีคุณสมบัติเหมาะสม สำ�หรบั การสอน UNESCO ได้ทำ�การศกึ ษาการด�ำ เนนิ การในการปฏริ ูปการศึกษาของเม็กซิโกปี ค.ศ. 2013 - 2018 (Programa Sectorial de Educacion) โดยศึกษาในระบบอาชีวศึกษาพบว่า การพัฒนาท่ีสำ�คัญ คือ การจดั การศกึ ษาในระบบหลกั สตู รคู่ เพอ่ื ใหส้ ถาบนั การศกึ ษาสามารถผลติ อตั ราก�ำ ลงั คนตามความตอ้ งการ ของตลาดแรงงาน โดยเรม่ิ เปดิ ใหม้ ีโอกาสฝึกงานในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายและระดบั อดุ มศกึ ษา จากการศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคการศึกษาแห่งชาติ ระบุว่าการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาของ เม็กซิโกกำ�ลังเผชิญความท้าทายในการเสริมสร้างความเท่าเทียมและกระจายการศึกษาในทุกพ้ืนท่ี ของเม็กซิโกรวมถึงกลุ่มคนชายขอบด้วย ดังนั้น เม็กซิโกจึงให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาครูให้มีความรู้ ความสามารถ ถ่ายทอดทักษะท่ีจำ�เป็นเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพการศึกษาที่มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น มกี ารจดั สรรงบประมาณเพอื่ ปรบั ปรงุ โรงเรยี น โครงสรา้ งพนื้ ฐาน และจดั หาอปุ กรณก์ ารสอนทพ่ี ฒั นาทกั ษะ ของนักเรียนใหต้ รงตามความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบนั และอนาคตได้ รายงานผลการศึกษา เร่ือง 109 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การก�ำ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ เพ่อื ส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา เม็กซิโกได้จัดให้มีการประชุมรับรองความถูกต้องในการศึกษา (Reconocimiento de Validez Oficial de Estudios (RVOE) โดยรัฐบาลกลาง ในขณะทมี่ หาวิทยาลัยในกำ�กบั ของรฐั และสถาบันของรฐั ได้รับการยอมรับโดยอัตโนมัติ สถาบันเอกชนส่วนใหญ่จะต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานของรัฐเพื่อรับ RVOE โดยจะตอ้ งผา่ นการประเมนิ ดา้ นทรพั ยากรและสรรพก�ำ ลงั ทเ่ี พยี งพอ อาจารยผ์ สู้ อนสง่ การประเมนิ ตนเองและรอการอนุมัตโิ ปรแกรมการศกึ ษาจากรฐั บาลกลาง Comisión Nacional de Evaluación para la Educación Superior (CONAEVA) มหาวทิ ยาลยั (HEIs) ใน 32 มลรฐั และภาคเอกชนยงั สามารถขอการรบั รองโปรแกรมไดโ้ ดยสมคั รใจ ภายใต้หน่วยงาน El Consejo para la Acreditación de la Educación Superior, A.C. (COPAES, สภาการรับรองการศึกษาระดับอุดมศึกษา) ท่ีก่อต้ังข้ึนในปี ค.ศ. 2000 เพ่ือปรับปรุงมาตรฐานคุณภาพ ทว่ั ประเทศ โดยโคปาเปน็ องคก์ รอสิ ระเอกชนทไ่ี มแ่ สวงหาผลก�ำ ไร มหี นา้ ทดี่ แู ลหนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั การรบั รอง คุณภาพโปรแกรมขนาดเล็กกว่า 30 หน่วยในสาขาวิชาต่างๆ งานรับรองวิทยฐานะ งานรับรองหลักสูตร ระดบั ปรญิ ญาตรี โดยผลลพั ธท์ อ่ี อกมา หากประสบความส�ำ เรจ็ จะไดร้ ะดบั คณุ ภาพเปน็ “ระดบั ด”ี (buena calidad) เมื่อผา่ นการรบั รองแล้ว ทางสถาบันจะตอ้ งสมัครเพอ่ื เข้ารบั การรบั รองทุก 5 ปี ท้ังนี้ โปรแกรม ทไี่ ดร้ บั การรบั รองจะมคี ณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาทสี่ งู ขนึ้ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศและมสี ทิ ธไิ์ ดร้ บั การสนบั สนนุ ทางการเงินจากรัฐบาลและเงินช่วยเหลอื เพ่มิ เตมิ เม่ือ ค.ศ. 2019 โคปาได้ให้การรับรองคุณภาพการศึกษา 3,962 โปรแกรม คิดเป็นร้อยละ 47 ของการลงทะเบียนเรียนระดับปริญญาตรีท้ังหมดในระดับอุดมศึกษา หลักสูตรบัณฑิตศึกษาได้รับ การประเมินโดยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หลักสูตรที่มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน ขน้ั ตา่ํ จะไดร้ บั การก�ำ หนดใหเ้ ปน็ หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ เลศิ (Programas de Posgrado de Excelencia) และถูกรับรองในทะเบียนบัณฑิตศึกษาระดับชาติ (Padrón del Programa Nacional de Posgrados de Calidad หรอื PNPC) สว่ นหลักสตู รได้รบั การจดั ประเภทเปน็ “ระดับสงู ” (Alto Nivel) จะถกู จดั ให้อยู่ในกลมุ่ การรับรองในระดับนานาชาติ (Competencia Internacional) ทั้งน้ี มีข้อสังเกต คือ สถาบันเอกชนท่ีเสนอขอรับการรับรองหรือส่งหลักสูตรสำ�หรับการตรวจสอบ การประกันคุณภาพโดยสมัครใจยังมีจำ�นวนน้อย และมหาวิทยาลัยของรัฐมีประมาณร้อยละ 10 ที่ได้รับ การรับรองหลักสูตรระดับปริญญาตรีอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม จำ�นวนสถาบันภาครัฐและเอกชน ท่ีเปิดสอนหลักสูตรที่ได้รับการรับรองแล้วนั้น เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา และคิดเป็น รอ้ ยละ 65 ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรที ี่ศึกษาในหลักสูตรท่ไี ดร้ บั การรบั รอง 110 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

สรปุ สาระสำ�คญั ของการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาส่กู ารปฏิบตั ิ จากการศกึ ษาแนวทางการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาไปสกู่ ารพฒั นาการศกึ ษา พบวา่ เมก็ ซโิ กประกาศ รฐั ธรรมนญู การปฏริ ปู หลกั สตู รใหมใ่ นศตวรรษท่ี 21 มกี ารกระจายอ�ำ นาจลงสมู่ ลรฐั ตา่ งๆ ในระดบั ปฐมวยั และการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยใช้กรอบสมรรถนะในการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาสามารถ สร้างมาตรฐานตามบริบทของตนเองไดใ้ นระดับสากล ส่วนหลกั สตู รและการสอนระดับปฐมวัยและระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีการกำ�หนดใช้สมรรถนะย่อยสำ�หรับการพัฒนาผู้เรียนด้านความรู้ทางวิชาการ การพัฒนาระดับบคุ คลและสังคม และความเปน็ อิสระของหลกั สตู ร นอกจากน้ี เมก็ ซโิ กมรี ะบบประกนั คณุ ภาพตามแบบยโุ รป (CONAEVA) และมคี ณะกรรมการพเิ ศษ และการประเมินผลภาพรวมของระบบการศึกษา โดยให้ความสำ�คัญกับมาตรฐานด้านความสามารถ มากกว่าองค์ความรู้ สว่ นระดับอาชีวศึกษารับผิดชอบโดยกระทรวงแรงงานและเศรษฐกิจ ตวั แทนสหพนั ธ์ นายจา้ งและสหพนั ธส์ หภาพการคา้ ทสี่ �ำ คญั (CONOCER) ซง่ึ ไดป้ ระกาศรบั รองมาตรฐานอยา่ งเปน็ ระบบ (NCSS) ส่วนระดับอดุ มศกึ ษาใชก้ ระบวนการประกันคณุ ภาพ (QA) ที่มีความสอดคล้อง สามารถควบคมุ คุณภาพหรือปรบั เปลยี่ นได้อย่างยดื หยนุ่ สว่ นด้านการก�ำ กบั ตดิ ตาม ดำ�เนนิ การโดย ส�ำ นกั งานเลขาธกิ าร การศึกษาแห่งชาติ (SEP) สำ�นักงานมลรัฐทั้ง 32 รัฐ มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในแต่ละรัฐ เป็นผู้ร่วมในการกำ�กับดูแล ทั้งนี้สถานศึกษาและสถาบันการศึกษาทุกแห่งต่างมีอิสระในการดำ�เนินการ จดั การศึกษาได้อยา่ งเป็นเอกภาพ รายงานผลการศึกษา เรื่อง 111 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

112 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การนำ�มาตรฐานการศึกษา สูก่ ารปฏบิ ัติของตา่ งประเทศ : สาธารณรฐั สิงคโปร์ ข้อมูลทัว่ ไป สาธารณรฐั สงิ คโปรเ์ ปน็ ประเทศทปี่ ระชากรมคี ณุ ภาพชวี ติ ดที สี่ ดุ ในเอเชยี คดิ เปน็ อนั ดบั ท่ี 11 ของโลก (จัดอันดับโดย The Economist Intelligence Unit’s “Quality of Life Index”) มีทุนสำ�รองเป็นเงินตรา ต่างประเทศมากเป็นอันดับ 9 ของโลก และมีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 2 ของโลก ร้อยละ 74.2 ของประชากรสิงคโปรเ์ ป็นชาวจนี ซ่ึงพูดภาษาถิ่นหลายภาษา ร้อยละ 13.4 เปน็ ชาวมาเลเซยี รอ้ ยละ 9.2 เป็นชาวอินเดีย ร้อยละ 3.2 เปน็ ชาวยุโรป อาหรบั และอ่ืนๆ ภาษาราชการทีร่ ฐั บาลรับรองมีทงั้ ส้นิ 4 ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ ภาษาจีน (แมนดาริน) และภาษาทมิฬ โดยภาษาอังกฤษเป็นภาษา ราชการหลกั ของประเทศสิงคโปร์ รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 113 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระบบการศกึ ษาและการบรหิ ารการศึกษา “ “ กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ของประเทศสิงคโปร์ ทำ�หน้าที่บริหาร การศึกษาทุกระดับ โดยปลัดกระทรวงเป็นผู้บริหารระดับสูงสุด และมีรองปลัดกระทรวง 3 ฝ่าย คือ 1) ฝ่ายสามัญศึกษา (Deputy General Education) 2) ฝ่ายนโยบาย (Deputy Secretary of Policy) และ 3) ฝ่ายบริการ (Deputy Secretary of Services) ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2012 สิงคโปร์ได้กำ�หนดนโยบายเพ่ือขับเคล่ือนการศึกษาท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ (Student-Centric, Value-Driven) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำ หนดนโยบายพนื้ ฐานส�ำ คญั ใหจ้ ดั การศกึ ษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ ไปจนถึงระดับผู้เรียน โดยกำ�หนดแนวทางการศึกษาเป็นหลักการสำ�คัญว่า “ต้องจัดการศึกษา พ้นื ฐานท่เี ข้มแขง็ และจดั การศกึ ษาเพ่อื อนาคตของผเู้ รยี น” วสิ ยั ทศั นข์ องหลกั สตู รก�ำ หนดไวก้ วา้ งๆ วา่ พน้ื ฐานเขม้ แขง็ เรยี นรอู้ นาคต (Strong Fundamentals, Future Learnings) นอกจากนยี้ งั ก�ำ หนดเปา้ หมายการพฒั นาการศกึ ษาเพอื่ ประชาชนเปน็ คนทมี่ บี คุ ลกิ ภาพดี (StrengthCharacter)เปน็ พลเมอื งทดี่ มี คี ณุ คา่ (Citizenship and Values Education)” มาตรฐานการศึกษาชาติสิงคโปร์เป็นกรอบความคิด ที่เรียกว่าผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา (Desired OutcomesofEducationหรอื DOE)โดยก�ำ หนดคณุ สมบตั ิ ของผไู้ ดร้ บั การศึกษาไว้ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ผู้มีความม่ันใจ (Confident Person) เป็นผู้ที่มี ความเป็นตัวของตวั เอง สามารถส่ือสารไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ มที กั ษะสูงด้านการสรา้ งความสัมพนั ธ์ทดี่ กี ับผู้อ่ืน 2) ผูเ้ รยี นรูท้ ี่น�ำ ตนเองได้ (Self-directed Learner) เปน็ ผูม้ ีความรับผดิ ชอบตอ่ การเรียนรู้ของตนเอง อยา่ งมงุ่ มนั่ สามารถตง้ั ค�ำ ถามและสะทอ้ นความคดิ ของตวั เองได้ สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเชยี่ วชาญ 3) พลเมืองดีมีจิตสำ�นึก (Concerned Citizen) เป็นผู้มีสำ�นึกต่อส่วนรวม ปฏิบัติกิจของส่วนรวม ทงั้ ระดบั ทอ้ งถนิ่ จนถงึ ระดบั โลก ยอมรบั และเอาใจใส่ผูอ้ ืน่ 4) ผู้ร่วมพัฒนาที่มุ่งม่ัน (Active Contributor) เป็นผู้มุ่งมั่นการพัฒนาโดยสามารถต้ังเป้าหมาย ท่ีมีมาตรฐานสูง สามารถพัฒนาส่ิงต่างๆ สู่เป้าหมายได้โดยใช้ความคิดในการปรับเปล่ียนที่ยืดหยุ่น กล้าเสย่ี ง และมคี วามคดิ ริเรม่ิ อยูใ่ นตัวตน มีความสามารถในการสร้างสรรคน์ วตั กรรมต่างๆ ได้ 114 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

เมื่อวิเคราะห์ความเช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนา การศึกษากับผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ (DOE) พบว่ามี ความเชอื่ มโยงกนั ประเทศสงิ คโปรใ์ ชม้ าตรฐานการศกึ ษา ของชาติ (DOE) เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตร เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น เนน้ ไปถงึ ตวั ผเู้ รยี น (Student Centric) และเนน้ คณุ คา่ (Value) ตามนโยบายระดบั ชาติ ปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้การศึกษาของสิงคโปร์ มีคุณภาพสูง คือ การเช่ือมประสานการทำ�งานอย่าง เปน็ ระบบระหว่าง กระทรวงศึกษาธกิ าร (MOE) สถาบัน การพัฒนาครูแห่งชาติ (NIE) และสถานศึกษา (Schools) ในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและกำ�กับ ติดตามคณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รียน โดยมีการจัดการศกึ ษาระดับต่างๆ ดงั นี้ 1. ระดับก่อนประถมศึกษา (Pre-primary) เป็นการศึกษาสำ�หรับเด็กที่มีอายุก่อน 7 ปี กระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสงั คมและครอบครวั (Ministry of Social and Family) มีบทบาทส�ำ คญั ในการสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาโดยหนว่ ยงาน องคก์ รเอกชน ภาคธรุ กจิ มลู นธิ ิ องคก์ รศาสนา และชมุ ชน 2. ระดับประถมศึกษา (Primary) เป็นการศึกษาภาคบังคับ 6 ปี ประกอบด้วย ขั้นพื้นฐาน (Foundation Stage) 4 ปี และขนั้ มีแนวทาง (Orientation Stage) อีก 2 ปี หลักสูตรระดับประถมศกึ ษา เนน้ วิชาแกน 4 วชิ า คือ ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาแม่ ทุกวชิ ามีการเรยี นการสอน และการสอบเป็นภาษาอังกฤษ ยกเว้นภาษาแม่ซึ่งสอนและสอบเป็นภาษาแม่ตามเชื้อชาติของผู้เรียน เช่น ภาษามาเลย์ ภาษาจีนแมนดาริน หรือภาษาทมิฬ โรงเรียนประถมศึกษาของรัฐ ไม่เก็บค่าเล่าเรียน แตอ่ าจมคี ่าใช้จา่ ยอ่นื ๆ ได้ 3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary) กำ�หนดระยะเวลาในการเรียน 4 - 5 ปี ประกอบไปด้วย 4 สายการเรียน ได้แก่ 1) สายพเิ ศษเรง่ รดั 2) สายสามัญเน้นวิชาการ 3) สายสามัญเนน้ ดา้ นเทคนคิ และ 4) สายอาชีพ 4. ระดบั สงู กวา่ มธั ยมศกึ ษา หรอื กอ่ นระดบั มหาวทิ ยาลยั (Post-secondary หรอื Pre-university) จดั การเรยี นการสอนใน 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1) Junior College 2) Polytechnic 3) Institutes of Technological Education (ITE) โดยรูปแบบ Polytechnic และ ITE จัดเป็นการอาชวี ศึกษา 5. ระดบั มหาวทิ ยาลยั (University) จดั การศกึ ษาทง้ั ระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท และปรญิ ญาเอก มหาวทิ ยาลัยมหี ลากหลาย ท้งั รูปแบบสถาบันทางเทคโนโลยี และมหาวทิ ยาลยั ทใ่ี ชห้ ลกั สูตรเน้นวิชาการ และการวิจัย โดยสรุประบบการศกึ ษาของประเทศสิงคโปร์สามารถแสดงไดด้ ังภาพที่ 7 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 115 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ภาพท่ี 7 ระบบการศกึ ษาประเทศสิงคโปร์ (ทีม่ า : : https://www.moe.gov.sg/images/default-source/ album/education/landscape/images/singapore-education-overview.jpg) มาตรฐานการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ เปน็ กรอบความคดิ ทเ่ี รยี กวา่ “ผลลพั ธท์ พ่ี งึ ประสงคข์ องการศกึ ษา” (Desired Outcomes of Education หรอื DOE) ซึ่งระบคุ ณุ สมบตั ิผเู้ รียนท่ีมีความชดั เจน กระชบั เขา้ ใจได้ อย่างตรงกัน มีนโยบายส่งเสริมการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่การปฏิบัติในด้านหลักสูตร การจดั การเรยี นการสอนท่ีชัดเจน โดยก�ำ หนดคณุ สมบัติของผ้ไู ดร้ บั การศกึ ษาไว้ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. ผู้มีความมั่นใจ (Confident Person) เป็นผู้ท่ีมีความเป็นตัวของตัวเอง สามารถสื่อสาร อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มีทกั ษะสูงด้านการสรา้ งความสัมพนั ธท์ ี่ดีกบั ผูอ้ น่ื 2. ผเู้ รยี นรทู้ นี่ �ำ ตนเองได้ (Self-directed Learner) เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การเรยี นรขู้ องตนเองได้ อยา่ งมงุ่ มน่ั สามารถตง้ั ค�ำ ถามและสะทอ้ นความคดิ ของตวั เองได้ สามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเชยี่ วชาญ 3. พลเมืองดมี ีจติ สำ�นึก (Concerned Citizen) เป็นผู้มีส�ำ นึกตอ่ สว่ นรวม ปฏิบตั กิ จิ ของส่วนรวม ทัง้ ระดบั ท้องถนิ่ ถงึ ระดบั โลก ยอมรับและเอาใจใส่ผู้อืน่ 4. ผรู้ ่วมพัฒนาทม่ี งุ่ มน่ั (Active Contributor) เป็นผมู้ ุ่งมัน่ การพฒั นา โดยสามารถต้งั เป้าหมาย ทมี่ มี าตรฐานสงู สามารถพฒั นาสง่ิ ตา่ งๆ สเู่ ปา้ หมายไดโ้ ดยใชค้ วามคดิ ในการปรบั เปลย่ี น ยดื หยนุ่ กลา้ เสยี่ ง และมีความคดิ รเิ รมิ่ อยู่ในตัวตน มคี วามสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมต่างๆ ได้ 116 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ (DOE) เป็นกรอบ ในการพัฒนาหลักสตู รการศกึ ษาและการประเมนิ ผล การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตไิ ปสแู่ ตล่ ะระดบั เกย่ี วขอ้ งกบั ฝา่ ยตา่ งๆ โดยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีหน้าท่ีในการกำ�กับ ติดตามให้ได้มาตรฐาน สถาบันหรือสถานศึกษาแต่ละระดับดำ�เนินการพัฒนา และจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน นอกจากการใช้กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (DOE) เป็นกรอบ มาตรฐานแล้ว แต่ละระดับการศึกษายังมีแนวคิดที่เป็นลักษณะเฉพาะ เพ่ือเป็นหลักสำ�คัญในการจัด การศึกษาร่วมด้วย แม้การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่แต่ละระดับจะเก่ียวข้องกับหลายฝ่าย แต่การกำ�กับติดตามโดยหน่วยกำ�กับติดตาม ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยากต่อการปฏิบัติงานเนื่องจาก กรอบหรือหลักการมีความชัดเจน กระชับ โดยกรอบกระบวนการสำ�หรับแต่ละระดับการศึกษา ได้แก่ กรอบกระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร หลักเกณฑใ์ นการตรวจติดตามคณุ ภาพโรงเรยี น คณุ ภาพครู คณุ ภาพ หลกั สตู ร และการวดั ประเมินผลในระดบั ชาติ ดังน้ันการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่ระดับปฏิบัติจะมุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนที่ใช้ทั้ง หลักศนู ยก์ ลางอ�ำ นาจ และความมีอิสระ (Centralization and autonomy) เปน็ ลำ�ดับแบบ tight - loose - tight ดังน้ี tight - การยึดหลกั ศนู ย์กลางอำ�นาจอยูท่ ่ีระดับชาติมีความเคร่งครัด มีการกำ�หนดกรอบหลักสตู ร แกนกลางระดับชาติ มีความแน่นอน ชัดเจน มีนโยบายขับเคล่ือน “Student-Centric, Values-Driven” มาตรฐานการศึกษา (DOE) วิสัยทัศน์หลักสูตรกำ�หนด Strong Fundamentals, Future Learning ได้อยา่ งชดั เจนต่อการปฏบิ ตั ิ loose - จากนโยบายระดบั ชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ริ ะดบั สถานศกึ ษาหรอื สถาบนั เปน็ การพฒั นาหลกั สตู ร ตามแนวคิด “School-based Curriculum” ท่ีให้อิสระ (Autonomy) ในการกำ�หนดลักษณะเฉพาะของ หลกั สตู รของสถานศกึ ษาทม่ี คี วามยดื หยนุ่ สงู โรงเรยี นหรอื สถาบนั ตอ้ งพฒั นาหลกั สตู รเอง สามารถเพม่ิ เตมิ ลักษณะเฉพาะหรือจุดเด่นของโรงเรียนได้ เน่ืองจากสังคมสิงคโปร์มีวัฒนธรรมหลากหลาย (Cultural Diversity) การจดั การศึกษาจงึ ตอ้ งใช้กลวธิ ีและการจัดการต่างๆ ทห่ี ลากหลาย โรงเรยี นตอ้ งมีสง่ิ แวดล้อม ทางการเรียนท่ีเอ้ือตอ่ วฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย (School-based Multiculturalism) และมคี วามยืดหยุ่น tight - ความเครง่ ครดั ในคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยดผู ลลัพธต์ าม DOE ทีก่ ำ�หนดไว้ มีการกำ�หนดระยะเวลาในการพัฒนาหลักสูตร การใช้หลักสูตร และการทดสอบระดับชาติ (National Exams) ที่เข้มงวดและเนน้ คุณภาพ มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ (DOE) เปน็ กรอบส�ำ หรบั การพฒั นาหลกั สตู รเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นทกุ ระดบั ท่ีเน้นถึงตัวผู้เรียน (Student Centric) และเน้นคุณค่า (Value) ตามนโยบายระดับชาติ โดยมีเป้าหมาย การศึกษาให้ผู้เรียนมีบุคลิกภาพดี (Strength Character) เป็นพลเมืองที่ดีมีคุณค่า (Citizenship and Values Education) สงิ คโปร์จงึ ไดก้ ำ�หนดเปา้ หมายในการเรียนร้ทู ่คี าดหวังในแต่ละระดบั การศึกษาและ ผลลัพธ์ท่ีจะเกดิ ขึ้นกบั เด็กเพือ่ เปน็ กรอบสำ�หรับการพฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดับช้นั ดังนี้ รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง 117 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดบั กอ่ นประถมศึกษา 1) ร้วู ่าอะไรถกู อะไรผดิ 2) รู้จักการแบง่ ปนั และผลดั กันกบั คนอนื่ ๆ 3) อยรู่ ว่ มกบั ผูอ้ ืน่ ได้ 4) มคี วามอยากร้อู ยากเห็นและสำ�รวจสิง่ รอบตวั 5) มีความสามารถในการฟังและพูดดว้ ยความเขา้ ใจ 6) มีความสุขและมคี วามรูส้ กึ ทดี่ ีกบั ตวั เอง 7) มสี ุขนิสัย สขุ ภาพกายทดี่ แี ละมีความสขุ กับงานศิลปะ 8) รักครอบครัว เพือ่ น ครู และโรงเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา 1) สามารถแยกแยะความถกู ความผดิ 2) รจู้ ดุ แขง็ ที่ตนเองสามารถพฒั นาได้ 3) รจู้ ักการสร้างความเป็นมิตรและการแบง่ ปัน 4) มีความสนใจใครร่ ู้ในสงิ่ ตา่ งๆ 5) มีความสามารถในการคิดและมีความเช่อื มนั่ ในตนเองท่ีจะแสดงออก 6) มีความภาคภมู ใิ จในผลงานของตนเอง 7) มสี ขุ นิสัยท่ีดแี ละรกั ศิลปะ 8) รจู้ กั และรักสงิ คโปร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษา 1) มคี ณุ ธรรมและความซือ่ สตั ย์ 2) มคี วามเช่ือม่ันในตนเองที่จะพัฒนาเปล่ยี นแปลง 3) สามารถทำ�งานและแบง่ ปันกบั ผอู้ ่ืน 4) มีความสร้างสรรค์และสนใจใฝ่รู้ 5) รู้คุณค่าของความคิดทแี่ ตกตา่ งและมคี วามสามารถสอ่ื สารอย่างมีประสิทธภิ าพ 6) มีความรบั ผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน 7) รักการออกกำ�ลังกายและมสี ุนทรยี ภาพกบั งานศลิ ปะ 8) เช่อื มน่ั ในสงิ คโปร์และเขา้ ใจว่าอะไรสำ�คญั สำ�หรบั สงิ คโปร์ 118 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดับสูงกว่ามธั ยมศึกษา 1) มคี ุณธรรมและความกลา้ หาญท่จี ะยนื หยัดในความถูกต้อง 2) ยอมรับและรับฟงั ความคดิ เหน็ ทแี่ ตกต่าง 3) รบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและสามารถอยใู่ นสงั คมพหวุ ัฒนธรรมไดอ้ ย่างมีความสขุ 4) มีความคิดสรา้ งสรรค์ในด้านนวตั กรรมและมจี ิตวญิ ญาณของผปู้ ระกอบการ 5) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละการสือ่ สารที่โน้มนา้ วใหผ้ อู้ ืน่ เห็นตาม 6) มีความตัง้ ใจในการแสวงหาความเป็นเลศิ 7) มีการใชช้ วี ติ ให้มสี ขุ ภาพดแี ละเห็นคณุ ค่าของกีฬา 8) มีความภาคภูมใิ จที่เป็นชาวสงิ คโปร์และเข้าใจในความเป็นสงิ คโปร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมบี ทบาทส�ำ คญั ในการกำ�หนดกรอบของหลกั สตู ร (Curriculum Framework) โดยก�ำ หนด 2 ขนั้ ตอนหลักของกระบวนการพัฒนาหลกั สูตร (Two broad phases) คอื 1. ขั้นการทบทวน ออกแบบและพฒั นาหลกั สูตร (Review, Design and Development of The Curriculum) 2. ขนั้ การน�ำ ไปใชแ้ ละประเมนิ (Implementation and Evaluation of the Curriculum) ก�ำ หนดวงจร การพฒั นาหลกั สูตร 6 ปี (6 year curriculum cycle) ดังนี้ - ปที ี่ 1 ทบทวนหลักสตู รระดบั รายวิชา และทดลองการใชส้ ื่อการสอนใหม่ๆ - ปีท่ี 2 และปีท่ี 3 ทบทวนกระบวนการต่างๆ โดยสามารถปรับย่อยได้ ปรับวิชาได้ (minor adjustments) - ปีท่ี 4 ทบทวนประเมนิ หลักสูตรโดยคณะกรรมการ - ปที ่ี 5 และปีที่ 6 ประเมินเมื่อครบรอบการใช้หลักสูตร ทบทวน และนำ�ผลการประเมินเพ่ือ การพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง อาทิ พัฒนาครู พัฒนาส่ือเรียนรู้ เป็นตน้ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาและการประเมนิ ผลแตล่ ะระดบั การศกึ ษาของสงิ คโปร์ จะตอ้ งพฒั นา ภายใตก้ รอบมาตรฐานระดบั ชาติ โดยก�ำ หนดองคป์ ระกอบส�ำ คญั ของหลกั สตู ร ไดแ้ ก่ มาตรฐานการศกึ ษา ของชาติ กรอบผลลัพธท์ ีพ่ งึ ประสงค์ (DOE) และสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื ใช้ในกระบวนการพัฒนา หลักสูตร การเรียนการสอน และการกำ�หนดผลลัพธ์ที่จะเกิดข้ึนในตัวผู้เรียน แต่ยังคงมีอิสระเพื่อให้ การศึกษาในระดับนั้นๆ มีคุณค่า และมีความเข้มแข็ง ทั้งนี้สามารถแสดงความเชื่อมโยงของสมรรถนะ ในศตวรรษท่ี 21 กบั กรอบมาตรฐานการศึกษาของชาติ (DOE) ทง้ั 4 ด้าน ได้ดงั ต่อไปน้ี รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 119 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

21st Century Competencies ภาพท่ี 8 การนำ�สมรรถนะในศตวรรษที่ 21 เพือ่ กำ�หนดทักษะสำ�คัญหลักสตู รระดบั มธั ยมศึกษา ท่ีมา : https://curriculumredesign.org/wp-content/uploads/Paris2012_SingaporeCase_Fi- nal-Read-Only-Compatibility-Mode.pdf จากแผนภาพแสดงความเชอ่ื มโยงส�ำ คญั ของหลกั สตู ร ซงึ่ มี 3 ดา้ น ตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ (DOE) คือ ทักษะชีวิต ทักษะด้านความรู้ และการทำ�โครงงาน นำ�ไปสู่การพัฒนาตัวตนของผู้เรียน โดย มุ่งพฒั นาคณุ สมบัตทิ ่สี ำ�คัญในตวั ผเู้ รยี น เป็นสมรรถนะด้านสงั คมและอารมณ์ (Social and Emotional Competencies) ประกอบไปดว้ ย (1) การตระหนักรูด้ ว้ ยตัวเอง (Self-Awareness) (2) การจัดการตนเอง (Self-Management) (3) ความรบั ผิดชอบในการตดั สินใจของตนเอง (Responsible Decision-Making) (4) การจดั การดา้ นความสมั พันธก์ บั ผอู้ นื่ (Relationship Management) (5) ความตระหนกั ต่อสงั คม (Social Awareness) 120 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ความคาดหวงั ของการออกแบบหลกั สตู ร ผเู้ รยี นสามารถใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และความตระหนกั ในการจัดการตนเอง และจัดการความสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคุณลักษณะสำ�คัญท่ีเป็น พื้นฐานของสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 ท่ีนำ�มาใช้ในการออกแบบหลักสูตร ได้แก่ ทักษะการคิด อย่างมวี จิ ารณญาณ การคิดเชิงประดิษฐ์ (Critical and Inventive Thinking) และทักษะด้านสารสนเทศและ การส่ือสาร (Information and Communication Skills) การพัฒนาหลักสูตรที่มีลักษณะพิเศษ หรือ ลักษณะเฉพาะสำ�หรับผู้เรียนแต่ละโรงเรียน สามารถ ทำ�ได้ เช่น หลักสูตรพิเศษสำ�หรับนักเรียนที่ต้องการ เรียนภาษาอังกฤษ หรอื ภาษาจนี อย่างเข้มขน้ หรือเรียน ทง้ั 2 ภาษา เปน็ ตน้ นอกจากนยี้ งั เปดิ โอกาสใหม้ โี รงเรยี น แบบพิเศษ (SIS : Specialized Independent School) เช่น โรงเรียนท่ีมีหลักสูตรเน้นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ กีฬา และศิลปะ เป็นต้น ประเทศสิงคโปร์ส่งเสริมให้โรงเรียน หรือสถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรเชิงบูรณาการ (IP : Integrated Programme) หรือ Through - Train Programme) โดยโรงเรียนหรือสถาบันพัฒนาหลักสูตรท่ีจัดการศึกษารูปแบบพิเศษ หรือแบบเฉพาะ เจาะจงต้องรับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการเสียก่อน จึงจะสามารถดำ�เนินการได้ ตัวอย่างรูปแบบ โรงเรยี นทจ่ี ัดการศึกษารปู แบบพิเศษ ได้แก่ - โรงเรยี นพฒั นาหลกั สตู รทม่ี คี วามเฉพาะเจาะจง (Specialized Independent School) ส�ำ หรบั นักเรียนเก่งพเิ ศษ (talent in specifics areas) ใช้เวลาเรยี น 4 - 6 ปี เทียบเทา่ ระดบั มัธยมศกึ ษาและหลงั มัธยมศึกษา - โรงเรยี นพฒั นาหลกั สตู รเองเพอ่ื เปน็ ทางเลอื ก (Privately-funded School) ส�ำ หรบั ชาวสงิ คโปร์ ใชเ้ วลาเรียน 4 - 6 ปี เทยี บเท่าระดบั มธั ยมศกึ ษาและหลังมธั ยมศึกษา - โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของลูกค้า (Customized Special Education curriculum) ใช้เวลาเรียน 4 - 6 ปี เทยี บเท่าระดบั มธั ยมศึกษาและหลังมัธยมศึกษา - International and Private School เช่น Anglo-Chinese School (International), Hwa Chong International School, SJI International School โรงเรียนเหล่าน้ีพัฒนาหลักสูตร จดั การศกึ ษาโดยรบั นกั ศกึ ษาจากชาตติ า่ งๆ เชน่ มาเลเซยี อนิ เดยี อนิ โดนเิ ซยี จนี เกาหลี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เวยี ดนาม เนเธอรแ์ ลนด์ และอังกฤษ ท้ังนี้แนวทางการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติ เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาและ การประเมินผลของผู้เรยี นตามระดบั การศึกษา แสดงรายละเอยี ดไดด้ ังน้ี รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 121 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

แนวทางการน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาติ (DOE) เปน็ กรอบในการพฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาและการประเมนิ ผล ระดับกอ่ นประถมศึกษา การพฒั นาหลักสตู ร จัดการศึกษารูปแบบที่ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ อาทิ  Nursery  Playgroup  Kindergarten โดยหนว่ ยงาน องคก์ รเอกชนหรอื ภาคธรุ กจิ เอกชน มลู นธิ ิ องคก์ รทางศาสนา สงิ่ ส�ำ คญั หรอื หลกั การ ในการจดั การศกึ ษาระดับน้ี คือ  การจัดส่ิงแวดล้อมทีด่ ี  การจัดกิจกรรม ด้านภาษา ด้านตวั เลข กิจกรรมพัฒนาตัวตนของเด็ก พัฒนาทักษะทางสังคม การเล่นกลางแจ้งเพ่ือเตรียมเด็กเข้าเรียน ระดับประถมศึกษาการวัดและประเมินผล ไม่มีการสอบระดับชาติ ผู้สอน หรือผู้ดูแลตรวจสอบ การพฒั นาผู้เรียนให้มพี ้ืนฐานในการเปน็ พลเมอื งทีเ่ ขม้ แข็ง ระดับประถมศกึ ษา การพฒั นาหลักสูตร 1) โรงเรยี นพฒั นาหลกั สตู รเอง (School-based Curriculum) ยึดกรอบนโยบายระดับชาติ 2) กระทรวงศกึ ษาธิการก�ำ กบั ติดตาม 3) เปิดโอกาสใหม้ ีหลกั สตู รทางเลือกได้ เชน่ หลกั สูตรการศึกษาสำ�หรับเดก็ เกง่ พิเศษ (GEP: Gifted Education Programe) 4) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำ หนดกรอบโครงสรา้ งเน้ือหาของหลกั สตู ร ประกอบดว้ ยคณุ ค่าแกนกลาง (Core Value) ได้แก่ (1) ทักษะชวี ิต ศึกษาเก่ยี วกบั หน้าที่พลเมอื งและคณุ ธรรม กิจกรรมการดูแล ด้านจิตใจและการแนะแนวอาชีพการศึกษาเก่ียวกับชาติ และพลศึกษา (2) ทักษะด้านความรู้ กำ�หนดใหเ้ รียนโครงงาน และเนน้ ทกั ษะการคดิ 122 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดบั มธั ยมศกึ ษา การพฒั นาหลักสตู ร 1) กระทรวงศึกษาธิการก�ำ หนดกรอบการพฒั นาหลกั สูตร ประกอบด้วย 3 กลุ่มหลกั ไดแ้ ก่ (1) ดา้ นภาษา ใหเ้ รียนท้งั ภาษาอังกฤษ และภาษาแมอ่ ่นื ๆ (2) ด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (3) ด้านมนุษยศาสตร์และศิลปะ และเพิ่มเติมด้านทักษะชีวิต มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรการศึกษา เกี่ยวกับชาติ การทำ�โครงงาน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับสังคม เพื่อให้เด็กพัฒนาก้าวหน้า เปน็ พลเมืองทดี่ ี มีจติ สำ�นกึ และเป็นผรู้ ่วมพฒั นาที่ม่งุ มัน่ ตามกรอบ DOE 2) ก�ำ หนดสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21 เปน็ สว่ นหนง่ึ ของหลกั สตู ร ไดแ้ ก่ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคดิ เชิงประดิษฐ์ ทักษะดา้ นสารสนเทศและการสอ่ื สาร 3) การพฒั นาหลกั สตู รบรู ณาการ (Integrated Subject) โดยทกุ วชิ าสามารถปรบั เพม่ิ เนอื้ หาใหมๆ่ ทส่ี ำ�คญั เกี่ยวขอ้ ง รวมทั้งทักษะใหม่ๆ (new skills) ได้ในทุกวชิ า 4) การพัฒนาหลกั สตู รเกดิ จากการมสี ่วนร่วมของหลายฝา่ ย เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมและเชอื่ มโยงกบั ระดบั ที่สูงข้ึน ลดช่องว่างระหว่างหลักสูตรระดับต่างๆ มีบุคลากรภาคอุตสาหกรรม สถาบันวิจัย และ องคก์ รอนื่ ใหบ้ รกิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รระดบั มธั ยมศกึ ษา ใชแ้ หลง่ ศกึ ษาดงู านเพอื่ ฝกึ ฝน เรียนรู้ การวดั และประเมินผลตามสภาพบรบิ ทจริง 1) เน้นให้วัดคุณค่าท่ีอยู่ในตัวผู้เรียน รวมถึงประเมินการพัฒนาสมรรถนะ (Development of Competencies) กำ�หนดสมรรถนะสำ�คัญที่มีการประเมินระดับชาติ คือ การคิดอย่าง มีวิจารณญาณ การสร้างสรรค์นวัตกรรม การส่ือสาร ความสามารถในการทำ�งานร่วมมือ ดว้ ยตนเองอยา่ งอิสระ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ทกั ษะ ICT และการเปน็ พลเมืองดีทีเ่ ขม้ แขง็ 2) มีการทดสอบระดับชาติ หลังจบชั้นปีสุดท้าย ซ่ึงเทียบเท่ากับการได้รับประกาศนียบัตร ทางการศึกษา ซงึ่ มหี ลายระดับ เชน่ GCE ‘O’ lever สำ�หรับสายเรง่ รัด และ GCE ‘N’ lever สำ�หรบั สายสามญั 3) ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 2019 ไม่มกี ารสอบกลางปชี น้ั Sec.1 เพอื่ ใหน้ กั เรยี นไดป้ รับตัวในการเข้าเรยี น มัธยมศึกษา รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 123 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดบั อาชวี ศกึ ษา การพฒั นาหลักสตู ร 1) หลักสูตร Polytechnic มีหลากหลายสาขา เน้นการฝึกปฏิบัติงานให้มีทักษะในการทำ�งาน การเรยี นและการฝกึ งานใชค้ วามรว่ มมอื จากสถานประกอบการ 2) ผู้เรียน Polytechnic ต้องมีประสบการณ์การท�ำ งาน หลักสูตรสำ�หรับ ITE เน้นความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรม และผูว้ า่ จา้ ง ผู้จบการศกึ ษามงี านในสาขาทีต่ นเรียนทนั ที 3) ผทู้ ำ�งานในสถานประกอบการ ทรี่ ว่ มมอื กับ ITE สามารถเรียน Part-time ควบคูก่ ับการทำ�งาน มีหลักสูตรเพื่ออตุ สาหกรรมน้ันๆ เชน่ อุตสาหกรรมเฟอรน์ เิ จอร์ เป็นตน้ 4) กรอบนโยบายในการพัฒนาหลักสูตร ITE เน้นการจัดการศึกษาเพื่อฝึกทักษะสำ�หรับอนาคต มหี ลักสาคัญ คือ (1) เป็นการศกึ ษาที่เป็นทางเลอื กที่ดีของผ้เู รยี นซ่ึงแต่ละคนจะได้รบั การฝึกอาชพี (2) เป็นการศกึ ษาเชงิ บูณาการ มรี ะบบดี ตอบสนองความตอ้ งการของภาคอตุ สาหกรรม (3) เป็นการศึกษาท่ีส่งเสริมให้ผู้จ้างงานให้ความสำ�คัญในการพัฒนาทักษะฝีมือและมีความเชี่ยวชาญ (mastery) (4) เป็นการศึกษาท่ีเสริมสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตร สำ�หรับ ITE จงึ เนน้ ท้งั การท�ำ มาหากินและการเรยี นรู้ (The Skills Future Earn and Learn) ระดับมหาวิทยาลยั การพัฒนาหลักสูตร 1) มหาวิทยาลัยเป็นผู้พัฒนาหลักสูตรของตนเองอย่างอิสระ แต่อยู่ภายใต้การกำ�กับของกระทรวง ศกึ ษาธิการ เพอื่ จัดการศกึ ษาตามศาสตรต์ ่างๆ ทั้งระดบั ปรญิ ญาตรี - เอก 2) มหาวิทยาลยั ของสิงคโปร์ มหี ลกั สูตร ระดบั ปริญญาตรี - เอก เนน้ การวจิ ัย การจัดการหลักสตู ร ท่ีมีคณุ ภาพสงู เช่น  Nan yang Technological University และ Singapore University of Technology and Design (SUTD) เน้นหลกั สูตรด้านเทคโนโลยีและการออกแบบ  Singapore Management University หลักสูตรเกี่ยวกับการจัดการธุรกิจ บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย สงั คมศาสตร์และการจดั การสารสนเทศSingaporeInstituteofTechnologyหลกั สตู รมงุ่ พฒั นา ผู้เรียนสายศิลปะ  Singapore University of Social Science (SUSS) หลักสูตร เน้นด้าน สังคมศาสตร์ 3) มหาวิทยาลัยวัดประเมินผลรายวิชาตามหลักสูตร ประเมินผลจากผลงานวิจัย โดยเน้นคุณภาพ ของผลงาน 124 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ สูก่ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา สิงคโปร์มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา ควบคุม และกำ�หนดกรอบการประกันคุณภาพ โดยกระทรวงศึกษาธิการ ทำ�หน้าท่ีตรวจประกันคุณภาพตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับ อุดมศกึ ษา ระบบประกันคุณภาพ ประกอบด้วย 1) การประเมนิ ตนเอง โดยสถาบนั การศึกษาจะทำ�การประเมินตนเองใน 3 ปีแรก 2) การประเมินภายนอก ก�ำ หนดกรอบการประกนั คณุ ภาพ 4 ปี โดย 3 ปีแรกเปน็ การประเมนิ ตนเอง และปีท่ี 4 เป็นการประเมินภายนอกโดยองค์กรอิสระตรวจประเมินและรับรองคุณภาพภายใต้ กรอบทก่ี �ำ หนด เปา้ หมายส�ำ คญั ของการประกนั คณุ ภาพคอื การพฒั นาเพอื่ ความยง่ั ยนื การประกนั ความส�ำ เรจ็ และการขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ งานทส่ี �ำ คญั ของโรงเรยี นหรอื สถาบนั โดยผลจากการประเมนิ ในระบบประกนั คุณภาพใช้เพ่ือการขับเคลื่อน ปรับปรุง พัฒนาการบริหารโรงเรียนหรือสถาบัน การสอนของครู อาจารย์ และการบริหารจดั การ สิงค์โปร์มีกฎหมาย เรียกว่า “Private Education Act” และมีคณะกรรมการ เรียกว่า “The Committee For Private Education (CPE)” ท�ำ มหี นา้ ทก่ี �ำ กบั ดแู ล ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา และ มีกรอบการกำ�กับคุณภาพ เรียกว่า “Enhanced Registration Framework” เพ่ือใช้ในการตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้จัดการ ครู รายวิชา และการวัดประเมินผล เพ่ือให้อนุญาตการจดทะเบียน และเปิด การจดั การศกึ ษา รวมทั้งการตรวจสอบการจดทะเบยี น โดยมรี อบวงจรการประเมินทกุ 4 ปี รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 125 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

การก�ำ กบั ตดิ ตาม ประเมินเพ่ือส่งเสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา“ “ กระทรวงศึกษาธิการของสิงคโปร์ มีหน้าที่กำ�กับติดตามการพัฒนาคุณภาพโรงเรียน คุณภาพครู หลักสูตร และการวัดและประเมินผล เพื่อให้บรรลุมาตรฐานการศึกษาของชาติ ซึ่งส่งผลถึงคุณภาพของผู้เรียนตามกรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education หรอื DOE) ในแตล่ ะด้าน ดงั นี้ 1. ดา้ นคณุ ภาพโรงเรยี น ก�ำ หนดแนวทางในการก�ำ กบั ตดิ ตาม คอื ใหท้ กุ โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี นทดี่ ี เปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างเต็มท่ี สามารถพัฒนาตัวตน เป็นคนท่ีเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต เป็นคนท่ี ท�ำ งานได้ในโลกกวา้ ง 2. ดา้ นคณุ ภาพครู กระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำ หนดเกณฑค์ ณุ สมบตั ใิ นการคดั เลอื กครู ประกอบดว้ ย เกณฑด์ า้ นความสามารถทางวชิ าการ ดา้ นเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ อาชพี ครู และดา้ นบคุ ลกิ ภาพทด่ี ี โดยความรว่ มมอื กบั หลายฝ่ายในการพัฒนาคุณภาพครู 3. ดา้ นคณุ ภาพหลกั สตู ร กระทรวงศกึ ษาธกิ ารก�ำ หนดองคป์ ระกอบของหลกั สตู ร 3 สว่ นทส่ี ถานศกึ ษา หรือหน่วยงานการพฒั นาหลักสูตรต้องกำ�หนดให้มีเป็นอย่างตา่ํ ได้แก่ 1) เปา้ หมายและเนือ้ หา (Goals and Content) 2) การเรยี นการสอน (Pedagogy) 3) การวัดและประเมินผล (Assessment) คุณภาพหลักสูตรเกี่ยวข้องกับผู้ดำ�เนินการหลายฝ่าย ทั้งกระบวนการการพัฒนาหลักสูตร การใช้ หลักสูตร และการทบทวนหลักสูตร ซึ่งกระทรวงศึกษามีหน้าท่ีกำ�หนดกรอบ เพ่ือการกำ�กับติดตาม รวมทงั้ ตรวจเย่ยี มเพอื่ ทบทวนคุณภาพหลกั สูตรตามรอบวงจรการประเมิน 4. ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล หลกั สตู รแตล่ ะหลกั สตู รตอ้ งพฒั นา ทดลองใช้ และปรบั ปรงุ การวดั และประเมินผู้เรียนตามหลักสูตร มีการกำ�หนดการวัดและประเมินผลระดับชาติ โดยการทดสอบระดับชาติ หลังจบการศึกษาระดับต่างๆ จะนำ�ผลการทดสอบไปพิจารณาแนวทางการศึกษาต่อในระดับสูง และเปน็ การประเมินคุณภาพของเด็กในชาติตามมาตรฐานการศึกษาและผลลพั ธท์ พ่ี งึ ประสงคท์ ีก่ ำ�หนด นอกจากน้ีสิงคโปร์มีการใช้กลไกการวิจัยในการเก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำ�เนินการในการกำ�กับ ติดตามการทำ�งาน โดยใช้ฐานข้อมูลร่วมกันแบบ Big Data ตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบัติการ ส่งเสริมการทำ�วิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีการกำ�กับติดตามในการทำ�วิจัยเป็นการเฉพาะ เชน่ การกำ�กับโดยสถาบันพัฒนาครูแห่งชาตสิ ิงคโปร์ (NIE) การก�ำ หนดกรอบของหลกั สูตร (Curriculum Framework) เพื่อการกำ�กับติดตามการนำ�มาตรฐานการศึกษาไปใช้โรงเรียน สถานศึกษา หรือสถาบัน พฒั นาหลกั สูตรภายใตก้ รอบระดบั ชาตโิ ดยกระทรวงศึกษาธกิ าร เปน็ ต้น รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 126 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การนำ�มาตรฐานการศึกษา สกู่ ารปฏบิ ัติของต่างประเทศ : สหพนั เธย์สอารธมานรี ณรฐั ข้อมลู ทัว่ ไป สหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ประกอบดว้ ยรัฐ 16 รฐั รูปแบบการปกครองเปน็ ระบอบประชาธิปไตย เสรีนิยมแบบรัฐสภาและเป็นรัฐสวัสดิการ เยอรมนีเป็นประเทศท่ีมีความหนาแน่นประชากรสูงสุด ประเทศหน่ึง อีกทั้งยังเปน็ ประเทศทมี่ ีคนยา้ ยถ่ินมากทสี่ ุดเป็นอันดบั 3 ของโลก เยอรมนเี ป็น 1 ในสมาชิก ผู้ก่อตั้งสหภาพยโุ รปและยังก่อต้ังสหภาพการเงินกบั สมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ช่อื ว่า ยูโรโซน เปน็ สมาชิกของกลมุ่ UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเปน็ ประเทศท่มี ีอิทธิพลตอ่ ประเทศอื่นๆ ในยุโรปและเป็นประเทศทีม่ คี วามสามารถสงู สำ�หรับการแข่งขันในระดับโลก รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 127 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระบบการศึกษาและการบริหารการศกึ ษา เยอรมนีก�ำ หนดให้เรยี นการศึกษาภาคบังคบั จำ�นวน 12 ปี เริ่มต้งั แตอ่ ายุ 6 - 18 ปี โดยต้องเรยี น หลักสูตรภาคบังคับแบบเต็มเวลา 9 ปี ยกเว้นในเบอร์ลินและบรันแดนเบอร์กท่ีเรียน 10 ปี โดยให้ ผู้เรียนอยู่ในระบบการศึกษาจนถึงอายุ 16 ปี ส�ำ หรบั เดก็ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ขา้ เรยี นในโรงเรยี นทจ่ี ดั การศกึ ษา แบบเต็มเวลา มีข้อบังคับให้ต้องเข้ารับการศึกษา แบบบางช่วงเวลา (Past-time Education) ไปจนถงึ อายุ 18 ปี หลังจากน้ันนักเรียนสามารถเลือกเรียน หลักสูตรสายอาชีพหรือฝึกงาน ซึ่งสามารถเลือก เรียนแบบไม่เต็มเวลาได้ โรงเรียนส่วนใหญ่เป็น โรงเรยี นรฐั บาล ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยในการเรียน มีหนังสอื และตำ�ราเรียนให้นักเรียนยืมเรียน โรงเรียนเอกชน ในเยอรมนีมีไม่ก่ีแห่งดำ�เนินการโดยนักสอนศาสนา ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ของเยอรมนีลงทะเบียนเรียน ในโรงเรยี นของรัฐ ระบบการศึกษาของเยอรมนี แบ่งเปน็ 5 ระดบั ดังนี้ 1) ระดบั การศึกษาปฐมวัย (Kindergarten) รบั เดก็ อายุต้ังแต่ 3 ปี ขึ้นไป จนถึง 6 ปี การศึกษา ระดับปฐมวัยไม่ใช่ภาคบังคับ จะเข้าเรียนหรือไม่ก็ได้ หลักสูตรมีความยืดหยุ่นสูง จุดหมายสำ�คัญ เพ่อื เตรยี มเดก็ ให้มคี วามพรอ้ มสำ�หรับการศึกษาต่อในระดับต่อไป 2) ระดับประถมศึกษา (Grundschule) เรียกว่า กรุนชเู ล เปน็ การศึกษาภาคบังคบั เดก็ ท่อี ายุ ครบ6ปีจะตอ้ งเขา้ เรยี นในโรงเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาในเขตทตี่ วั เองอาศยั อยู่การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา จะมี 4 ชน้ั คอื เกรด 1 ถงึ เกรด 4 แตใ่ นบางรฐั อาจจะรวมเอาเกรด 5 และ 6 อยใู่ นระดบั ประถมศกึ ษาดว้ ยกไ็ ด้ 3) ระดับมธั ยมศึกษา เป็นการศึกษาภาคบังคับ มี 4 รปู แบบ คือ 3.1 เฮาพ์ชูเล (Hauptschule) หรือ Secondary General School เป็นโรงเรียนมัธยม ที่สอนเน้นความรู้ทั่วไป เช่น ภาษาเยอรมัน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาต่างประเทศ เริม่ ต้ังแต่เกรด 5 - 9 เมือ่ จบเกรด 9 จะไดร้ ับประกาศนยี บัตรมัธยมศึกษาตอนตน้ เรยี กว่า เฮาพ์ชูลอบั ชลสุ (Hauptschulabschluss) สามารถเข้าเรียนตอ่ ดา้ นอาชพี ประเภทชา่ งหรืออาจจะเรยี นต่อเกรด 10 ต่อไป กไ็ ด้ เพราะการเรยี นสายอาชพี บางสาขาจะตอ้ งจบเกรด 10 เมอื่ เรยี นจบนกั เรยี นจะไดร้ บั ใบประกาศนยี บตั ร เพ่ือใช้สำ�หรบั การศกึ ษาสายวชิ าชพี 128 รายงานผลการศึกษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

3.2 เรอาลชเู ล (Realschule) หรอื Intermediate School เรยี นตง้ั แตเ่ กรด 5 ถงึ เกรด 10 วชิ า ที่เรียนจะมากกว่าโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบเฮาพ์ชูเล เมื่อจบเกรด 10 จะได้ประกาศนียบัตรท่ีเรียกว่า มิททเ์ ลเรไรเฟ (Mittlere Reife) และสามารถเขา้ ศึกษาในระดับอาชีวะหรือสายอาชีพไดท้ กุ สาขาไดท้ นั ที 3.3 กึมนาซิอุม (Gymnasium) หรือ Grammar School เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เน้น วชิ าการ มที งั้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ตงั้ แตเ่ กรด 5 ถงึ เกรด 10 เรยี กวา่ เซคนุ ดาร์ ชทเู ฟ อายส์ (Sekundar Stufe I) และระดับเตรยี มอดุ มศกึ ษาเริ่มจากเกรด 11 ถึง 13 เรยี กวา่ เซคุนดาร์ ชทูเฟ ซวาย (Sekundar Stufe II) หรือโอแบรช์ ทูเฟ (Oberstufe) วิธกี ารเรยี นในระดับเกรด 11 - 13 จะแบ่งเปน็ การเลือกกลุ่มวิชา (Course) ทถ่ี นดั เนน้ บางสาขาวชิ าโดยเฉพาะ เพอ่ื เตรยี มตวั เขา้ เรยี นมหาวทิ ยาลยั หลงั จากจบเกรด 13 แลว้ เมอ่ื ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาจะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายทเ่ี รยี กวา่ อบทิ วั ร์ (Abitur) และสามารถ เขา้ เรยี นต่อในขั้นอุดมศึกษาได้ 3.4 เกซัมท์ชูเล (Gesamtschule) หรือ Comprehensive School เปน็ โรงเรียนแบบผสม ท้ัง 3 ประเภทข้างตน้ เขา้ ด้วยกันภายใตก้ ารบริหารหนึ่งเดียว เปดิ สอนต้ังแต่เกรด 5 ถึง เกรด 13 และจะ เร่มิ เรยี นวิชาเฉพาะทางในระดบั เกรด 7 บางกล่มุ วชิ าจะมกี ารแบง่ การเรียนออกเป็นกว่า 11 ระดบั แล้วแต่ ความยากงา่ ย เดก็ ทเี่ ขา้ เรยี นโรงเรยี นประเภทน้ี สามารถทจ่ี ะเลอื กเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษารปู แบบ1ใน 3 แบบ จากที่นี่ เมื่อเรียนไปแล้วเห็นว่าไม่เหมาะกับความสามารถของตน ก็อาจจะย้ายไปเรียนอีกรูปแบบหน่ึง ท่เี หมาะสมกับตนเองได้ 4) ระดับอาชีวศึกษา เรียกว่า เบรุฟเอาส์บิลดุง (Berufsausbildung) ผู้ท่ีจะเข้าเรียนได้ต้อง มีความรู้จบประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น เฮาพ์ชูลอับชลุส (Hauptschulabschluss) หรือมิทท์เลเรไรเฟ (Mittlere Reife) เยอรมนีมีจัดการเรียนของอาชีวศึกษารูปแบบทวิภาคี เรียกว่า เบรฟู ชเู ล (Berufschule) กลา่ วคอื เรยี นทฤษฎใี นโรงเรยี น และเรยี นฝกึ ภาคปฏบิ ตั ใิ นบรษิ ทั หา้ งรา้ น โรงงาน ผูเ้ รียนจะไดร้ บั เงนิ เดือนจากบริษัทหรือหา้ งร้านท่ีไปฝึกงาน การเรยี นสายอาชพี นใี้ ชเ้ วลา 2 ปี ถึง 3 ปีครึ่ง 5) ระดับอุดมศึกษา ผู้ท่ีได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเรียกว่า อบิทัวร์ (Abitur) สามารถที่จะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยได้โดยไม่มีการสอบคัดเลือก นอกจากบางสาขาวิชาที่มีคน ตอ้ งการเรยี นมาก เช่น แพทยศาสตร์ ผ้ทู ่ตี อ้ งการศกึ ษาต่อสามารถเลือกสมคั รสาขาวิชาที่ตอ้ งการเรยี นได้ ระดบั อุดมศึกษาแบ่งเปน็ ประเภทต่างๆ ไดด้ งั น้ี 5.1 Universität หรอื มหาวทิ ยาลัยทวั่ ไป เนน้ การเรียนการสอนทางด้านทฤษฏี ในหลักสูตร ทางด้านแพทยศาสตร์, นิติศาสตร์, มนษุ ยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 5.2 Fachhochschule หรือ มีช่ือภาษาอังกฤษว่า University of Apply Science เปน็ มหาวทิ ยาลยั ทเ่ี นน้ ในทางปฎบิ ตั มิ ากกวา่ ทางทฤษฏี โดยจะสอนเพอ่ื น�ำ องคค์ วามรไู้ ปใชใ้ นอตุ สาหกรรม มากกว่าการทำ�วิจยั 5.3 Technical University (มหาวทิ ยาลยั เทคนคิ ) เดมิ จะเปดิ เฉพาะดา้ นวศิ วกรรม แตต่ อ่ มา ไดเ้ ปิดสาขาอน่ื ๆ ด้วย 5.4 Paedagogische Hochschule วิทยาลยั ครู 5.5 Kunsthochschule (Colleges of Art, Film and Music) วิทยาลัยศิลปะ รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 129 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

สำ�หรบั วุฒิการศึกษาในระดบั อดุ มศกึ ษาแบง่ ตามระดบั ไดด้ งั น้ี - Bachelor : หลกั สูตรปรญิ ญาตรี ระยะเวลาเรยี น 3 ปี - Diploma : หลักสูตรทเี่ รยี นปรญิ ญาตรีควบโท ( Bachelor + Master) ระยะเวลาเรียน 5 ปี - Master : หลักสูตรปริญญาโท ระยะเวลาเรยี น 2 ปี - Ph.D. : หลักสตู รปริญญาเอก ระยะเวลาเรยี นไม่มีก�ำ หนด สว่ นใหญ่จะเรียน 4 - 6 ปี ภาพท่ี 9 โครงสรา้ งการจัดการศึกษาของเยอรมนี ทมี่ า:https://wenr.wes.org/wp-content/uploads/2016/11/WENR-1116-Country-Profile-Germany-new.png 130 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ในด้านการบริหาร แต่ละรัฐมีอำ�นาจนิติบัญญัติ และการบริหารสูงสุดในทุกประเด็น ทั้งด้านนโยบาย วฒั นธรรม และระบบการศกึ ษา แตล่ ะรฐั ควบคมุ หลกั สตู ร ของตนเอง รวมถึงข้อกำ�หนดด้านวิชาชีพครู การสรรหา ครูและการพฒั นาคณุ ภาพในโรงเรยี นแตใ่ นแงม่ มุ ทสี่ �ำ คญั ด้านการศึกษา เช่น การกำ�หนดระดับการให้คะแนนของ การวัดผลการศึกษา จะต้องผ่านข้อตกลงระหว่างรัฐ เพ่ือให้เป็นมาตรฐานใช้ร่วมกันท่ัวประเทศ โดยรัฐมนตรี กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรมของแตล่ ะรฐั ดแู ลในขอบขา่ ยของการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ การวจิ ยั และ วัฒนธรรม ซง่ึ มกี ารประชมุ ใหญ่ (Standing Conference) เพ่ือพิจารณาประเดน็ ต่างๆ ร่วมกัน กฎหมายขนั้ พนื้ ฐาน (Grundgesetz - R1) ในสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนไี ดม้ อบอ�ำ นาจทางกฎหมาย แกส่ หพนั ธ์ Länder เพอื่ ใหม้ สี ทิ ธใ์ิ นการออกกฎหมายใชก้ บั ภาคโรงเรยี น ภาคอดุ มศกึ ษา การศกึ ษาผใู้ หญ่ และการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง โดย Länder มกี ารวางระเบยี บอยา่ งละเอยี ดในรฐั ธรรมนญู ของ Länder (R13 - 28) และกฎหมายของ Länder เก่ียวกับการศึกษาปฐมวัย ในระบบโรงเรียน การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศกึ ษาผใู้ หญ่ และการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง รวมถงึ คา่ ตอบแทนและเงนิ บ�ำ นาญของขา้ ราชการ เชน่ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาขน้ึ อยู่กับ Länder เชน่ กัน แนวทางการก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษา รัฐบาลเยอรมนีมุ่งเน้นให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม เพอ่ื สร้างพลเมอื งทชี่ าญฉลาดและมคี ุณภาพเพื่อเป็นกำ�ลังส�ำ คญั ของการพัฒนาประเทศ ความเจริญของ เยอรมนี เกิดจากการวางแผนการศึกษาท่ีถูกต้องเหมาะสมกับคุณลักษณะของเด็กต้ังแต่อนุบาล ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา อาชีวศกึ ษา และมหาวิทยาลยั เน่ืองด้วยระบบการศึกษาที่มีมาตรฐานใกล้เคียงกันและสวัสดิการท่ีมีอย่างท่ัวถึงทำ�ให้นักเรียน ส่วนใหญ่ในประเทศเยอรมนีลงทะเบียนเรียนในโรงเรียนของรัฐซึ่งอยู่ในชุมชนและได้รับการสนับสนุน ทรัพยากรจากรัฐ ในปี ค.ศ. 2003 มีการประชุมใหญ่ซ่ึงได้กำ�หนดมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (Bildungsstandards) โดยอิงแนวคิดจากสภายุโรปท่ีกำ�หนดความสามารถหลักสำ�หรับผู้เรียน ซึ่งมาตรฐานการศึกษาแห่งชาตินี้เป็นกรอบให้กับ 16 รัฐในการดำ�เนินการ ในมาตรฐานการศึกษา แห่งชาติได้กำ�หนดองค์ประกอบของหลักสูตรสำ�หรับวิชาหลัก โดยแต่ละรัฐเป็นผู้บริหารจัดการ หลักสูตร ส่งผลให้เกือบทุกรัฐมีหลักสูตรของตัวเอง เยอรมนีได้ก่อตั้งสถาบันเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา (The Institute for Educational Quality Improvement- IQB) ข้ึน เพื่อติดตามและ ประเมินความก้าวหน้าให้บรรลุมาตรฐาน โดยการประเมินความสามารถของนักเรียนระดับชาติและ นานาชาติอยา่ งตอ่ เนือ่ ง รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง 131 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

  1. การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั ประเทศเยอรมนีเป็นประเทศท่ีมีโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของโลก โดย Fredrick Froebel นักการศึกษาและนักปรัชญา ซึ่งได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งการอนุบาลได้วางรากฐานในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่น การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม มุ่งให้เด็กมีแรงจูงใจ กล้าเผชิญหน้า จัดการตนเองได้ และรักการไปโรงเรียน ไม่เน้นการเรียนวิชาการ ถึงแม้ว่าการศึกษาระดับปฐมวัย จะไมใ่ ช่การศกึ ษาภาคบงั คบั และไม่มกี ารกำ�หนดมาตรฐานการศึกษา แตเ่ ดก็ มสี ทิ ธเ์ิ ข้ารับบรกิ าร ในปี 2004 the Standing Conference ได้มีการตกลงกรอบการมีส่วนร่วมสำ�หรับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐานในสถานดูแลเด็กปฐมวัยซึ่งมีการระบุขอบข่ายการจัดการศึกษาที่ชัดเจน ในด้านการใช้ภาษา ทกั ษะการอา่ นและการเขียน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ สำ�หรับเด็กอพยพมีการใช้โปรแกรมสนับสนุนและการ ประเมินผลเฉพาะ เพ่ือเสริมสร้างความสามารถทางภาษา เยอรมัน ภายใต้ประกันสังคม รหัสVIII (Achtes Buch Sozialgesetzbuch - Kinder - und Ju - gendhilfe - R61) ศูนย์รับเล้ียงเด็กจะต้องส่งเสริมการพัฒนาเด็กสู่การเป็น สมาชิกของชุมชนท่ีมีความรับผิดชอบและเป็นตัวของตัวเอง รวมถึงสง่ เสริมพฒั นาการทางสังคม อารมณ์ รา่ งกายและจิตใจ ของเด็ก การสอนให้เด็กเข้าถึงคุณค่าและเรียนรู้เก่ียวกับ กฎกติกาการสอนและการดูแลเด็กให้เข้ากับอายุ พัฒนาการ ความสามารถ ความสนใจ บนฐานความต้องการของเด็กและครอบครัว โดยมีภาคสวัสดิการเด็ก และเยาวชน (The child and youth welfare sector) เป็นผูด้ ูแลการศกึ ษากอ่ นวยั เรยี น มงุ่ อบรมเลีย้ งดู และส่งเสริมพัฒนาการ 2) การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โรงเรียนประถมศึกษาครอบคลุมเกรด 1 - 4 (อายุ 6 - 10 ปี) สำ�หรับรัฐเบอรล์ นิ และบรันเดนบรู ์ก เป็นเพียง 2 รัฐ ที่โรงเรียนประถมศึกษาจะครอบคลุมเกรด 1 - 6 (อายุ 6 - 12 ปี) โดยหลักการแล้ว นักเรียนจะต้องเข้าเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา โดยในบางรัฐผู้ปกครองจะได้รับอนุญาตให้เข้าร่วม ในการเลอื กโรงเรยี นประถมศกึ ษาด้วย ในระดับประถมศึกษา การสอนมุ่งให้อ่านออกเขียนได้และเรียนวิชาการพ้ืนฐานทั่วไป ภาษาเยอรมัน (ประกอบด้วยการอ่าน การสะกดคำ� การเขียนและวรรณกรรม) คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตรแ์ บบบูรณาการ (หรือ Sachunterricht ซง่ึ เปน็ วิชาบรู ณาการของวทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติและ สังคมศาสตร์) ถือเป็นวิชาหลักและมีผลบังคับใช้ในทุกรัฐ วิชาศิลปะ ดนตรี พลศึกษา การสอนภาษา 132 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ตา่ งประเทศ และการสอนศาสนา (ในรัฐสว่ นใหญ)่ ยงั ได้รับการสอนในโรงเรยี นประถมศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติกำ�หนดหลักสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา และหลักสูตรวิทยาศาสตร์สำ�หรับระดับมัธยมศึกษา (ยกเว้นภูมิศาสตร์) ไม่ได้กำ�หนด มาตรฐานการศึกษาวิทยาศาสตร์ในระดับประถมศึกษา ส่วนการจัดทำ�หลักสูตรสำ�หรับครูเป็นหน้าที่ ของรัฐแต่ละรัฐ ครูมีอิสระอย่างมากในการกำ�หนดเนื้อหา วัตถุประสงค์ และวิธีการสอน ครูผู้สอนวิชา แต่ละวิชาได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้ทำ�งานร่วมกันเพื่อให้ได้ฉันทามติเก่ียวกับวิธีการสอนและเกณฑ์ การประเมนิ ท่ีใช้ในหลกั สูตรเฉพาะของโรงเรยี นหรอื หลกั สูตรทัว่ ไป มาตรฐานการศึกษาท่ัวประเทศในวิชาภาษาเยอรมันและคณิตศาสตร์แตกต่างกันไปในระดับ ประถมศึกษา แต่มีการกำ�หนดกรอบอ้างอิงในการศึกษาทั่วไป และใช้ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เปน็ กรอบอา้ งองิ ดา้ นภาษา สว่ นระดบั มธั ยมศกึ ษาจะมี การเพม่ิ เติมมาตรฐานด้านวิทยาศาสตร์ 3) การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษา การศึกษาสายอาชีพกำ�หนดให้เป็นการเรียนระบบทวิภาคี (dual System) ซึ่งมีหลักสูตรรองรับ มากกว่า 330 อาชีพ ภายใต้พระราชบัญญัติการฝึกอาชีพ (Berufsbildungsgesetz, BBiG - R79) และ Handicrafts Code (Handwerksordnung, HwO - R80) เน่ืองจากเป้าหมายของอาชีวศึกษา คือ การให้ความรู้และคุณสมบัติที่จำ�เป็นต่อการประกอบอาชีพในโลกที่เปลี่ยนแปลง รวมท้ังมอบ ประสบการณ์วิชาชีพท่ีจำ�เป็นให้ผู้เรียนจากการปฏิบัติงานจริง มีการกำ�หนดคุณสมบัติของผู้สำ�เร็จ การศึกษาแต่ละหลักสูตรที่สอดคล้องกับความรู้ ทักษะ ตามมาตรฐานอาชีพนั้นๆ ผู้ท่ีสำ�เร็จการศึกษา และการฝึกอบรมจะได้รับสิทธิในการทำ�งานที่มีทักษะทันทีในอาชีพที่เป็นที่รู้จักซึ่งต้องการการฝึกอบรม อยา่ งเปน็ ทางการ 4) การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาระดบั อุดมศึกษา การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศเยอรมนีน้ัน ดำ�เนินการภายใต้กฎหมายว่าด้วยการ ศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาของ Länder (Hochschulgesetze - R126, R128, R131, R133, R135 - 136, R139, R141, R143, R143, R145-146, R154, R157, R159, R162) ซงึ่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา ของ Länder อธิบายถึงวัตถุประสงค์ท่ัวไปของสถาบันอุดมศึกษา รวมท้ังหลักการทั่วไปท่ีเป็นรากฐาน ของระบบการอุดมศึกษา การศึกษา การสอนและการวิจัย การรับสมัครสมาชิกและการมีส่วนร่วม รวมถงึ เจา้ หนา้ ทข่ี องสถาบนั อดุ มศกึ ษาทง้ั น้ีกฎหมายเกยี่ วกบั วทิ ยาลยั ศลิ ปะและดนตรี(R146,R150 -151) และกฎหมายเกี่ยวกับ Fachhochschulen (R152) ของ Länder สหพันธ์มีหน้าท่ีรับผิดชอบในด้าน การรับเขา้ ศกึ ษาต่อในสถาบันอดุ มศึกษา รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 133 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏิบัติ กระทรวงการศกึ ษาและวฒั นธรรมของรัฐ เปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบเรือ่ งแผนการศกึ ษา ทุกรฐั มหี น้าที่ดำ�เนนิ การ ตามมาตรฐานหรือเป้าหมายท่ีกำ�หนด หลักสูตรเป็นรายวิชาที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน เป็นสำ�คัญ หลักสูตรท่ีเน้นรายวิชา (Subject-centered Curriculum) มีการจัดแบ่งท้ังที่เป็นรายวิชา แยกจากกันหรือเป็นสหสาขาวิชา มีความต้องการครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เช่น ชีววิทยา เรขาคณติ และประวตั ศิ าสตร์ ระบบการฝกึ หดั ครเู ปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ รยี น 2 รายวชิ า เพอื่ ใหส้ ามารถ ออกแบบการสอนแบบบรู ณาการรายวชิ าได้สว่ นการพฒั นาหลกั สตู รเปน็ พนั ธกจิ ของครูผตู้ รวจการโรงเรยี น (School Inspectors) ผู้แทนจากหน่วยงานวิจัย รวมท้ังผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ จากมหาวิทยาลัย การท�ำ งานเปน็ การเลอื กองคป์ ระกอบหลกั ของหลกั สตู รไดแ้ ก่วตั ถปุ ระสงค์การเลอื กเนอ้ื หาสาระและการก�ำ หนด วธิ ีการสอน ในบางรฐั มกี ารจัดรบั ฟังความคิดเห็นและการทดลองใช้ 1) ระดับปฐมวยั (Kindergaerten) ประเทศเยอรมนใี หค้ วามสาํ คญั กบั การวางรากฐานการศกึ ษาตงั้ แตป่ ฐมวยั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั แบง่ ออกเป็น 2 ส่วน กล่าวคือ นักเรียนท่ีอายตุ ่าํ กวา่ 3 ปี จะเข้าเรียนในศนู ย์เลยี้ งเด็กทเี่ รยี กวา่ Creches และจากอายุ 3 ปี ไปจนถงึ เรมิ่ เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา เดก็ จะเขา้ เรยี นใน Kindergarten การดแู ลเดก็ ปฐมวยั และการศึกษาในระดับนี้ไม่มีการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาอย่างชัดเจน แต่มีการวางวัตถุประสงค์ และขอบเขตดา้ นการศึกษาของแผนการศึกษาท่มี ุง่ พฒั นาความสามารถทางสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม มีแนวทางการจัดกิจกรรมที่แต่ละรัฐได้วางกรอบให้โรงเรียนดำ�เนินการเพื่อเป็นการเตรียม ความพร้อมให้กับเด็ก ให้เด็กมีอิสระในการสร้างสรรค์ ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม เปิดโอกาสให้เด็ก ได้เรียนรู้จากความผิดพลาด รวมถึงการตรวจสอบและทดลอง ควบคู่กับการสร้างระเบียบวินัย เช่น การทิง้ ขยะ การคดั เลอื กขยะ การเข้าแถวรับการบริการต่างๆ และการขนึ้ รถประจําทาง นอกจากน้ันยังมี การพานกั เรยี นไปดสู ถานทตี่ ่างๆ ทางประวัติศาสตรข์ องประเทศ ทั้งในเมอื งและต่างเมือง เพอื่ เสริมสร้าง ความรักชาติ ศาสนาและท้องถิ่น มีการสร้างกิจกรรมให้ผู้ปกครองเข้ามาร่วมเพื่อเสริมสร้างความใกล้ชิด ระหวา่ งผปู้ กครองกบั โรงเรยี น ในการรว่ มกนั พฒั นาเดก็ ใหเ้ ปน็ คนดแี ละประสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ โรงเรยี น โดยปรบั ใหเ้ ขา้ กบั อายุ พฒั นาการ ความสามารถ ความสนใจ บนฐานความตอ้ งการของเดก็ และครอบครวั สำ�หรับการประเมินผล เยอรมนีไม่มีการประเมินผลด้านทักษะปฏิบัติเน่ืองจากไม่มีบทเรียน ผู้ดูแลเด็ก ท่ีผ่านการฝึกอบรมจะตรวจสอบและจัดทำ�เอกสารการพัฒนาเด็กตามพัฒนาการและใช้สิ่งนี้เป็นพ้ืนฐาน ในการให้ความช่วยเหลือของผู้ปกครองและในการสนทนากับเด็กและกำ�หนดมาตรการต่างๆ เพื่อสนับสนุน การพัฒนาเดก็ ตามพัฒนาการ สรปุ สาระส�ำ คญั ของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ไดด้ ังน้ี 134 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระดบั ปฐมวัย ช่วงอายุ Creche (1 - 3 ป)ี สาระการเรยี นรู้  ความใส่ใจและความรกั  การยอมรับอยา่ งไม่มีเง่อื นไข  ความปลอดภยั และการระวังภัย  ความเหน็ อกเห็นใจ และหนุนเสรมิ เม่ือมีความเครียด การสอน  พัฒนาทกั ษะทางภาษา การใชเ้ พลงและหนังสือภาพ  พัฒนาร่างกายและการเคลือ่ นไหว เนน้ ทำ�กิจกรรมในพ้นื ท่ีเปดิ โลง่ และเกมที่มกี ารเคลือ่ นไหว การประเมนิ  ไม่มีการประเมินอย่างเปน็ ทางการ  การสังเกตและตรวจร่องรอยจากเอกสารท่ีแสดงถึงพฒั นาการและความสามารถ ช่วงอายุ Kindergarten (3 - 5 ปี) สาระการเรียนรู้  ภาษา การเขยี น และการสอื่ สาร  ร่างกาย การเคลือ่ นไหว สุขภาพ  ธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมทางวฒั นธรรม  สุนทรยี ศิลป์ และการท�ำ งานผ่านสื่อต่างๆ การสอน  ใชก้ ารพฒั นาแบบองคร์ วม (Holistic Approach)  สง่ เสรมิ การท�ำ โครงการ (Project Work) ท่เี ชอื่ มโยงกบั สภาพแวดล้อมและความสนใจของเด็ก การประเมนิ  ไม่มีการประเมิน  เนน้ การติดตามและตรวจสอบจากเอกสารทีแ่ สดงถงึ พฒั นาการของเดก็ รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง 135 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

  1. ระดับประถมศึกษา (Grundschule) มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติมีผลผูกพันกับรัฐ เป็นความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการและ วฒั นธรรมในรฐั นนั้ ๆ น�ำ ไปก�ำ หนดเปา้ หมายของตนเอง โดยหลกั สตู รอธบิ ายและก�ำ หนดเสน้ ทางทจี่ ะบรรลุ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ ารและวฒั นธรรม ก�ำ หนดหลักสูตรรวมถึงแนวทาง ในการเรียนการสอน สอื่ วสั ดุ และวธิ ีสอนท่ีหลากหลาย รวมถงึ สาระการเรียนร้ใู นดา้ นต่างๆ เชน่ สุขศกึ ษา การอาชพี การรคู้ อมพวิ เตอร์การศกึ ษาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและยโุ รป เพอ่ื ใหบ้ รรลมุ าตรฐานการศกึ ษาแหง่ ชาติ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ใหค้ �ำ แนะน�ำ เชงิ นโยบาย ครใู หญห่ รอื ผอู้ �ำ นวยการเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบการตรวจสอบ เพ่ือให้แน่ใจว่า หลักสูตรปัจจุบันของโรงเรียนสอดคล้องกับนโยบาย ในขณะเดียวกันตัวหลักสูตรได้ถูก จดั ท�ำ ขน้ึ ในลกั ษณะทใ่ี หค้ รมู อี สิ ระในการสอนและวธิ กี ารในทางปฏบิ ตั ิหอ้ งเรยี นถอื วา่ เปน็ “ความรบั ผดิ ชอบ ดา้ นการสอน”(PedagogicalResponsibility)เพอ่ื สอนบทเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความตอ้ งการ ของผเู้ รยี น ส�ำ หรบั หลกั สตู รทเ่ี นน้ รายวชิ า (Subject-centered Curriculum) ตอ้ งการครทู ม่ี คี วามเชย่ี วชาญ ในสาขาวิชานัน้ ๆ เชน่ ชวี วิทยา เรขาคณติ และประวตั ิศาสตร์ ซง่ึ จะมีระบบการฝกึ หัดครูรองรบั การผลิตครู เพือ่ เปิดโอกาสใหส้ ามารถออกแบบการสอนแบบบูรณาการได้ หลกั สตู รของโรงเรยี นประถมศกึ ษาครอบคลมุ วชิ าตา่ งๆ ดงั น้ี ภาษาเยอรมนั คณติ ศาสตร์ การศกึ ษา ทวั่ ไป ภาษาตา่ งประเทศ ศิลปะ การออกแบบงานฝีมอื / ส่งิ ทอ ดนตรี กฬี า ศาสนา / จรยิ ธรรม โดยใช้ การบูรณาการเป็นแรงผลักดันในบริบทของทุกวิชา ส่วนภาษาเยอรมัน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ แบบบูรณาการ (Sachunterricht) ซ่ึงเป็นวิชาบูรณาการของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและสังคมศาสตร์ ส่วนมากอยู่ในรูปแบบวิชาหลักของโรงเรียน สำ�หรับการปลูกฝังเรื่องคุณธรรมของเด็กวัยน้ีส่วนใหญ่ ถูกถ่ายทอดมาจากครอบครวั และชุมชน ผ่านรูปแบบกจิ กรรมต่างๆ ทเ่ี ด็กสนใจ การศึกษาภาคบงั คบั สำ�หรับเด็กเรมิ่ เม่อื เด็กอายุครบ 6 ปี และใชเ้ วลาในการเรยี น 9 ปี แต่ในบางรัฐ เด็กที่ยังไม่พร้อมที่จะเร่ิมเข้าโรงเรียนต้ังแต่อายุ 6 ปี จะอยู่ในโรงเรียนอนุบาลหรือช้ันเรียนก่อนวัยเรียน (Vorklassen) ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1992 เรม่ิ มี Flexible School (Flexible Schuleingangsstufe) และมีจ�ำ นวน เพ่ิมมากขึ้นเร่ือยๆ ในแต่ละรัฐ ระบบน้ีช่วยให้นักเรียนสำ�เร็จการศึกษาระดับสองชั้นแรกของโรงเรียน ประถมใน 1 ปี 2 ปี หรือ 3 ปี ตามความพร้อมและศักยภาพ สรุปสาระสำ�คัญของหลักสูตรการศึกษา ระดบั ประถมศึกษา ได้ดงั น้ี 136 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ระดบั ประถมศึกษา เกรด 1 - 4 อายุ 6 - 10 ปี สาระการเรียนรู้  การศึกษาดา้ นภาษา  คณติ ศาสตร์ ส่งเสริมการคดิ เชงิ ตรรกะ และการแกป้ ญั หา  การศกึ ษาเร่ืองส่ือ การใช้สอื่ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ  การศึกษาสุนทรียภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์และกิจกรรมสร้างการรับรู้ (Sensory Activity) ส่ิงแวดลอ้ มและสขุ ภาพ การอยรู่ ว่ มกับธรรมชาตแิ ละการรบั ผิดชอบตอ่ รา่ งกาย การสอน  การจดั การในชัน้ เรยี นทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สนับสนนุ และกระตุน้ การเรยี นรูท้ หี่ ลากหลาย ด้วยสือ่ และ วสั ดทุ ่ีหลากหลาย มีการใชก้ ฎและการปอ้ งกันการรบกวนทีส่ ่งผลต่อพฤติกรรมของนกั เรยี น  วางเปา้ หมายใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ประสบการณท์ างปญั ญาอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละขยายขอบเขตการเรยี นรู้ เพอื่ สร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง  พจิ ารณาข้อค�ำ ถาม ความกงั วล ความรู้ และความสามารถของนักเรียน  การใหน้ กั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในบทเรยี นชว่ ยกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นรบั ผดิ ชอบตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องตนเอง และมแี รงจูงใจในการปฏิบตั งิ าน การประเมนิ  ไม่มีการประเมนิ อยา่ งเปน็ ทางการในเกรด 1 และ 2 ใช้เพียงการสงั เกตเทา่ นัน้  เร่มิ ประเมนิ ในเกรด 3 เปน็ ตน้ ไป 3) ระดบั มัธยมศึกษา การเรียนการสอนในโรงเรียนของประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้ข้อบังคับของ Länder หลังจากสำ�เร็จ การศึกษาระดับประถมศึกษา นักเรียนจะศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาท่ีแตกต่างกันตามระดับ ความสามารถและความถนัดทางวิชาการ เพ่ือให้ผู้เรียนเป็นผู้สามารถจัดการตนเองและเรียนรู้ อย่างมีอิสระ เป็นผู้ท่ีรับผิดชอบด้านสังคมและการเมือง เน้นส่งเสริมความเข้าใจถึงความเช่ือมโยง ระหวา่ งการพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับโลก การบริโภค มลพษิ ทางสิ่งแวดลอ้ ม การพฒั นาประชากร สขุ ภาพ และเง่ือนไขทางสังคม ผ่านการพัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน ช่วยให้นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ และมวี จิ ารณญาณในการใช้ส่อื รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 137 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นแล้ว นักเรียนส่วนใหญ่ยังคงศึกษาต่อในระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายประเภทตา่ งๆ ขนึ้ อยกู่ บั เกรดหรอื คะแนนของนกั เรยี นทเี่ รยี นจบมาจากมธั ยมศกึ ษา ตอนตน้ ประเภทหนง่ึ คือการศึกษาทัว่ ไปแบบเต็มเวลาซ่งึ ประกอบไปดว้ ย เกรด 11 ถึง เกรด 12 หรือ 13 เพ่ือนำ�ไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา หรือประเภทท่ีสองการเรียนสายอาชีพเต็มเวลาร่วมกับ การฝึกอบรมวิชาชีพ ฝึกหัดงานในที่ทำ�งานในระบบการศึกษาสายอาชีพ ระบบนี้นักเรียนได้รับเงิน จากการฝึกงานด้วย แต่ในปัจจุบันได้เร่ิมมีการตั้งคำ�ถามถึงการแยกเส้นทางการศึกษาต้ังแต่ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น แมจ้ ะเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสามารถเปลี่ยนเสน้ ทางได้ แตโ่ ดยมากแลว้ เดก็ ถูกจ�ำ กัด ดว้ ยภูมิหลงั ตา่ งๆ เชน่ สถานะทางการเงิน ความเป็นผ้อู พยพ เป็นตน้ นอกจากนีค้ ่านิยมของการเรยี นตอ่ ในมหาวิยาลัยสงู ขน้ึ ทำ�ให้เด็กมีแนวโน้มเขา้ สโู่ รงเรียนทีม่ คี วามเขม้ ขน้ ทางวชิ าการ (Gymnasium) มากกว่า ส่วนการเรียนใน Realschule ที่จะเป็นเส้นทางเข้าสู่สายอาชีวศึกษาก็มีการแข่งขันสูงเนื่องจากมีระบบ dual system และด้วยความเป็นเมืองอุตสากรรมของเยอรมนีเอง ทำ�ให้ Hauptschule มีอัตราของเด็ก ทา้ ยตารางมากกวา่ แตเ่ นอื่ งจากการใหค้ วามเสมอภาคแกป่ ระชากรทกุ คนในประเทศ จงึ มอี ตั ราการเพมิ่ ขน้ึ ของโรงเรยี นทม่ี ีหลักสตู รยดื หยุน่ แบบ comprehensive schools (Gesamtschule) มากข้ึน เพอ่ื ท�ำ ให้เด็ก มีโอกาสเปลีย่ นรูปแบบการศกึ ษาท่ีเหมาะสมกบั ตนเองได้งา่ ยขน้ึ  หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนตน้ (Low Secondary Education) ในปี ค.ศ. 2014 ท่ปี ระชมุ ของรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของรัฐ (Kultusministerkonferenz - KMK) เก่ียวกับ ประเภทของโรงเรียนและหลักสูตรการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้วางโครงร่างหลักสูตร ส�ำ หรับเกรด 5 - 9 / 10 โดยกำ�หนดดังนี้ - วิชาหลักในโรงเรียนทุกประเภทและหลักสูตรการศึกษา ได้แก่ ภาษาเยอรมัน คณิตศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศในโรงเรยี น Gymnasium ในเกรด 7 ถึง 10 ภาษา ธรรมชาติและสงั คม วิทยาศาสตร์ - วิชาบงั คบั หรอื วิชาเลือกอื่นๆ ได้แก่ วชิ าดนตรี ศลิ ปะ และการกีฬา โรงเรยี นประเภทอนื่ ภาษา ตา่ งประเทศเปน็ วชิ าเลอื ก - วิชาต่างๆ เพ่ือให้รู้จักโลกของการทำ�งานและการฝึกทำ�งาน เช่น Arbeitslehre (การศึกษา ระดับอาชีวศึกษาที่เรียกว่าเศรษฐศาสตร์ - งาน - เทคโนโลยี หรืองานเศรษฐศาสตร์ - เทคโนโลยี) การเรยี นศาสนา  หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (Upper Secondary Education) หลักสูตร การศึกษาของโรงเรียนการศึกษาท่ัวไปในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจะนำ�ไปสู่วุฒิการศึกษาท่ีสูงขึ้น เพ่ือเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย เป้าหมายของการเรียนรู้ คือ ความรู้ ทักษะ และความสามารถ ในวิชาพ้นื ฐานต่างๆ ตามประเภทของโรงเรียน ในโรงเรียน Gymnasium จะเน้นการให้การศึกษาเชิงลึกด้านวิทยาศาสตร์ ภาษาเยอรมัน ภาษาตา่ งประเทศ และคณติ ศาสตร์ มกี ารใหก้ ารศกึ ษาดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพ การสรา้ ง ชีวิตท่ีรับผิดชอบต่อสังคม และการมีส่วนร่วมในสังคมประชาธิปไตย รวมถึงแนะแนวโดยการให้ข้อมูล เกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาในสาขาอาชีพต่างๆ โครงสร้างและข้อกำ�หนดของการศึกษาระดับอุดมศึกษา และในโลกแหง่ วชิ าชพี และการท�ำ งาน โดยมกี ารเพมิ่ เวลาเรยี นใหก้ บั วชิ าทเี่ พม่ิ ระดบั มาตรฐานทางวชิ าการ 138 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ในโรงเรยี นทเ่ี นน้ วชิ าการมากขนึ้ ตามสาขาวชิ าและความสนใจของนกั เรยี น วชิ าในการเพม่ิ ระดบั มาตรฐาน ทางวิชาการต้องประกอบดว้ ย ภาษาเยอรมัน ภาษาตา่ งประเทศ คณติ ศาสตร์ หรอื วทิ ยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะทหี่ ลกั สตู รภาคบงั คบั ไดร้ บั การออกแบบเพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ นกั เรยี นทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาทว่ั ไปรว่ มกนั วชิ าเลอื กรว่ มกบั หลักสตู รภาคบังคบั มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ใหน้ ักเรียนสามารถพัฒนาสาขาวชิ าเฉพาะได้ ◆ การประเมินผลในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (Lower Secondary Education) การประเมินผลนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นข้ึนอยู่กับงานทั้งหมดที่นักเรียนได้ทำ� เช่น การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การตอบคำ�ถาม ผลงานด้านการเขียน สอบปากเปล่า และงานปฏิบัติ เกณฑ์ในการประเมนิ เปน็ ไปตามมาตรฐานทก่ี �ำ หนดไวใ้ นหลักสูตร ซึง่ เป็นการประเมินในช้นั เรียน รว่ มกบั การประเมินผลทกั ษะปฏบิ ตั ิ (Practical Achievements) โดยเฉพาะวชิ ากีฬา ดนตรี ศิลปะ และงานฝีมอื จะมีการบันทึกไว้ในรายงานของโรงเรียนหรือรายงานพัฒนาการเรียนรู้ ปีละสองคร้ัง ซ่ึงครูและอาจารย์ ผู้สอนเป็นผู้พิจารณา นอกจากนี้ยังมีการประเมินผลการเรียนรู้นอกหลักสูตรในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น (Empfehlung zur Anerkennung und Bewertung einer außerunterrichtlich erbrachten Lernleistung in der Sekundarstufe I) เช่น ผลการปฏิบัติงานในสถานท่ีทำ�งานและการแข่งขันต่างๆ เปน็ ท่ยี อมรับและถูกนำ�มาใชป้ ระเมนิ ผลมากข้ึน ◆ การประเมนิ ผลในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย(UpperSecondaryEducation) การประเมนิ ผลตามระดบั คะแนน การสอบระหวา่ งช้ัน และการสอบผา่ น Abitur เพอ่ื ใช้ เขา้ สมู่ หาวทิ ยาลัย ◆ การผลิตครแู ละการพัฒนาวชิ าชพี ครู รัฐแตล่ ะรฐั ในเยอรมนมี ีการควบคุมการศึกษาของครู มีการรับรองการสอบของมหาวิทยาลัย สำ�หรับวิชาชีพครูในรัฐต่างๆ การศึกษาของครูในประเทศเยอรมนีแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ข้ันตอน ที่ 1 การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และข้ันตอนท่ี 2 การสอนในห้องเรียนของโรงเรียน (Referendariat) (การฝึกปฏิบัติการสอน) ซึ่งมีระยะเวลาหนึ่งถึง 2 ปี ในขั้นการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย มีการปรับ โครงสร้างใหม่จากหลักสูตรการศึกษาซึ่งจบลงด้วยการสอบของรัฐมาเป็นหลักสูตรการศึกษา 5 ปี รวมถึงสมรรถนะเฉพาะในแต่ละวิชา นอกจากน้ียังมีข้อกำ�หนดสำ�หรับการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้แน่ใจว่าครูต้องพัฒนาวิชาชีพตนเองอย่างต่อเน่ือง หลังจากจบการศึกษาและหลังการสอน ในโรงเรียน รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 139 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

สรปุ สาระสำ�คัญของหลักสตู รการศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษา ได้ดงั น้ี ระดบั มัธยมศึกษา เกรด 5 - 12 / 13 อายุ 10 - 18 / 19 ปี สาระการเรยี นรู้  การศกึ ษาด้านภาษา  MINT (Mathematics, Information Technology, Natural Sciences and Technology)  การพฒั นาทีย่ ั่งยืน  การศกึ ษาประชาธิปไตย  การศึกษาเรอื่ งสทิ ธิมนษุ ยชน การสอน  กิจกรรมท่ีมกี ารบรู ณาการเชื่อมโยงสาขาวชิ า  การเรียนรู้ทีก่ ำ�กับตนเอง  การสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นส�ำ คัญ โดยยดึ หลัก  ความแตกตา่ งภายในของกลมุ่ การเรยี นรู้ (Binnendifferenzier) ค�ำ นงึ ถงึ ภมู หิ ลงั และความถนดั ของนกั เรียนแต่ละคน  การเรียนร้แู บบกำ�กับตนเอง (Self-regulated Learning)  มีการใช้ส่ือดิจิทัล (มัลติมีเดีย) และการส่ือสารโทรคมนาคม (อินเทอร์เน็ต ฯลฯ) ทั้งในรูปแบบ ของสื่อการสอนและเนอื้ หาของการเรียนการสอน โดยการใชท้ รพั ยากรและวธิ กี ารใหมๆ่  ส่งเสริมการเรียนรู้รายบุคคล พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองและ มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การประเมิน  การตอบ การสอบปากเปลา่ และผลงาน (practical work) 140 รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

  1. ระดับอาชวี ศึกษา (Berufsschule) สว่ นใหญก่ ารศกึ ษาดา้ นอาชวี ศกึ ษาในเยอรมนเี ปน็ รปู แบบ ทวภิ าคี (Dual system) ถอื เปน็ ตน้ แบบการอาชวี ศกึ ษาของโลก รวมทั้งประเทศไทยท่ีนำ�ระบบทวิภาคีเข้ามาใช้ด้วยเช่นกัน เยอรมนีได้รับความร่วมมืออย่างเข้มแข็งระหว่างสถาบันกับ บริษัทหรือสถานประกอบการ เพื่อจัดหลักสูตรให้ตรงกับ ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน การศกึ ษาในระบบทวภิ าคี ผเู้ รยี นจะใชเ้ วลาสว่ นหนง่ึ ศกึ ษาในสถานศกึ ษา และฝึกปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ โดยจะใช้เวลาศึกษา 2 ถึง 3 ปีคร่ึง และได้รับค่าตอบแทน ตลอดระยะการเรียน วิธีการน้ีทำ�ให้สถานประกอบการได้รับเทคโนโลยีและกำ�ลังคนที่ทันสมัย สว่ นสถานศกึ ษามหี ลกั สตู รตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นทจี่ บการศกึ ษาสว่ นใหญ่ สามารถท�ำ งานได้ทันที อัตราการวา่ งงานจึงตํา่ มาก สำ�หรับผู้เรียนที่ไม่สามารถเข้าสู่ระบบ dual system ทางสถานศึกษามีการเรียนการสอนท่ีเน้น ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถปฏบิ ตั งิ านได้จริงด้วยเทคโนโลยีทท่ี ดั เทยี มกัน และสามารถช่วยให้นักเรยี นมคี ณุ สมบตั ิ ท่ีสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ หลักสูตรและรายวิชาการศึกษาด้านนี้มีวิชาที่มุ่งเน้น ดา้ นอาชพี เชน่ ธรุ กจิ เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตรค์ อมพวิ เตอร์ อาหารและโภชนาการ เกษตร และวชิ าทว่ั ไป เชน่ สังคม สขุ ภาพ เปน็ ต้น มหี ลกั สูตรการฝกึ อบรมตา่ งๆ ซ่ึงมคี วามเข้มแขง็ มีมาตรฐานเสมอกันท่ัวประเทศ นักเรียนมีโอกาสเติบโตในสายงานสู่การเป็นผู้บริหารได้ เน่ืองจากระบบของเยอรมนีเปิดโอกาสให้เข้า ศึกษาต่อระดบั ปรญิ ญาตรีและโทได้ เชน่ การศกึ ษาใน Fachhochschulen (FH) หรือ Hochschule (HS) ◆ การประเมินผลในระดับอาชีวศึกษา นอกจากการประเมินผลในช้ันเรียน สถานประกอบการจะเป็นผู้ควบคุมการปฏิบัติงานแบบเข้มให้กับผู้เรียนเช่นกัน และผู้เรียนทุกคน จะรับการสอบเพ่อื เทยี บคณุ วฒุ โิ ดยหน่วยทดสอบกลางของประเทศ แต่ละโรงงานมีการกาํ หนดมาตรฐาน ในการทํางานไว้อย่างชัดเจน จึงทําให้คนเยอรมนีมีระเบียบวินัยสูงในการทํางาน ส่งผลให้เกิดบุคลากร ที่มคี ณุ ภาพเป็นกําลงั สำ�คัญของประเทศซึ่งเป็นผนู้ าํ ดา้ นอตุ สาหกรรม 5) ระดับอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลัยในเยอรมนีเป็นผู้นําการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ หลักการศึกษา ท่ีสําคัญคือ “การไม่แยกออกจากกันระหว่างการสอนและการวิจัย” ตามจุดเน้นที่เป็นคำ�ส่ังจาก สภานิติบัญญัติ คือ มุ่งเน้นการสอนและการวิจัย ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงไม่ใช่สถาบันเพ่ือการศึกษา และฝึกอบรมเท่าน้ัน แต่ยังเป็นสถาบันที่ทําการวิจัยค้นคว้า ทั้งในลักษณะที่เป็นการวิจัยประยุกต์ และงานด้านวิชาการ การสอนและการศึกษาในระดับนี้เป็นการเตรียมนักเรียนให้พร้อมสำ�หรับอาชีพ โดยให้ความรู้เฉพาะ ทักษะ และวิธีการท่ีจำ�เป็นเหมาะสมกับแต่ละหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 141 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

ทำ�งานทางวิทยาศาสตร์หรือศิลปะและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบได้เป็นอย่างดี โดยรัฐเปิดให้มี สถาบนั อดุ มศกึ ษาหลากหลายประเภทเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าเรยี นไดต้ ามความต้องการ คอื 1) University เป็นมหาวิทยาลัยท่ัวไป ที่เน้นการเรียนการสอนทางด้านทฤษฏี ในหลักสูตร ทางด้านแพทยศาสตร์ นติ ศิ าสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 2) Fachhochschule (FH) และ Hochschule (HS) เป็นมหาวิทยาลัยประยุกต์ ท่ีเน้นในทาง ปฎิบตั มิ ากกวา่ ทางทฤษฏี โดยเน้นการสอนเพือ่ น�ำ องคค์ วามร้ไู ปใช้ในอุตสาหกรรมมากกวา่ การทำ�วจิ ัย 3) Technical University (มหาวิทยาลัยเทคนิค) เดมิ จะเปดิ เฉพาะด้านวิศวกรรม แต่ต่อมาได้เปดิ สาขาอื่นด้วย 4) Paedagogische Hochschule (วทิ ยาลยั คร)ู 5) Kunsthochschule (วทิ ยาลยั ศลิ ปะ) ขอ้ สังเกต : 1)Fachhochschule(FH)และHochschule(HS)เปน็ รปู แบบของมหาวทิ ยาลยั ทม่ี เี ฉพาะในเยอรมนี เนน้ การศกึ ษาสายอาชพี เนน้ การใชง้ านจรงิ และการเชอื่ มโยงกบั ความตอ้ งการของแตล่ ะอาชพี มหี ลกั สตู ร การฝกึ อบรมสายอาชพี อยา่ งต่อเน่อื งเพอ่ื ใหแ้ รงงานสามารถเพม่ิ ทกั ษะทีท่ นั กบั การเปลยี่ นแปลง ด้วยการ ลงเรียนวิชาเพิ่มเตมิ (Praxissemester) และการฝึกอบรมท่ี Berufsakademien (สถาบันการศึกษาระดบั มืออาชีพ) ปริญญาที่ได้จาก FH และ HS คือ ปริญญาตรีและปริญญาโท แต่ไม่มีหลักสูตรในระดับ ปรญิ ญาเอก อยา่ งไรกต็ าม นกั เรยี นทจี่ บการศกึ ษาจาก FH และ HS นน้ั สามารถสมคั รเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาเอกไดเ้ ช่นกัน โดยตอ้ งมีผลการเรียนดี รวมถึงได้มีโอกาสฝกึ งานในสถานท่ที ำ�งานจริง การเรียน แมไ้ ม่ลงลึกในทางทฤษฎีเหมือนใน Uni แตเ่ มื่อจบปรญิ ญาตรจี าก FH แลว้ นักเรียนยังมโี อกาสศกึ ษาต่อ ในหลกั สตู ร Master ของ Universität ได้ โดยตอ้ งทำ�เรื่องขอเทียบวิชากับคณะทีต่ อ้ งการเขา้ เรยี น 2)ผทู้ ต่ี อ้ งการศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอกการไดป้ รญิ ญาจากUniหรอื เทยี บเทา่ มกั จะเปน็ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บ เพราะจะไดร้ บั การยอมรบั จากอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา นอกจากนก้ี ารท�ำ ปรญิ ญาเอก คอื การท�ำ วจิ ยั เปน็ สว่ นใหญ่ ท�ำ ใหผ้ ทู้ จี่ บจาก Uni ซงึ่ มกี ารปพู นื้ ฐานทางดา้ นงานวจิ ยั และการเรยี นซง่ึ ลงลกึ ไปในทางทฤษฎนี า่ จะปรบั ตวั ไดด้ ีกว่าผู้ทีจ่ บการศึกษาจาก FH และ HS การประกนั คุณภาพการศึกษา 1) ระดับปฐมวยั ผู้ท่ีมีบทบาทสำ�คัญ คือ Fachaufsicht ทำ�หน้าท่ีกำ�กับดูแลด้านวิชาการ การสอน และกิจกรรม ทางการศึกษา และ Dienstaufsicht ทำ�หนา้ ท่กี �ำ กบั ดูแลบุคลากรทางการศกึ ษาและครูใหญ่ ผเู้ ช่ยี วชาญ จะเป็นผู้ให้คำ�แนะน�ำ ขอ้ เสนอแนะผา่ นการปฏบิ ตั ิ ถอื ได้วา่ ผเู้ ชีย่ วชาญมีบทบาทสำ�คญั ในการศึกษาระดบั น้ี รายงานผลการศึกษา เร่ือง 142 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

  1. ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม ไดจ้ ดั ตง้ั สถาบนั เพอ่ื ความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา (Institut zur Qualitätsentwicklung im Bildungswesen-IQB) เป็นหน่วยงานส�ำ คญั ท่ีทำ�หน้าท่ีในการดำ�เนนิ งานและ ตรวจสอบมาตรฐานการศกึ ษา รวมถงึ การประสานงานการพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา แนวโนม้ การศกึ ษา และตรวจสอบขอ้ ก�ำ หนดด้านสมรรถนะเพอ่ื ก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษา หน่วยงานก�ำ กบั ดแู ลในระบบโรงเรยี น ประกอบดว้ ย Fachaufsicht ก�ำ กับดูแลดา้ นวชิ าการ Rechtsaufsicht ก�ำ กับดูแลด้านกฎหมาย Dienstaufsicht ก�ำ กับดแู ลบคุ ลากร Schulträger กำ�กับดแู ลการจดั กจิ การโรงเรยี นให้ถูกต้องตามกฎหมาย โรงเรียนจะได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากหน่วยงานประเมินและขั้นตอนการตรวจสอบ ภายในระบบโรงเรียน การกำ�กับดูแลด้านวิชาการเก่ียวข้องกับงานสอนและการศึกษาที่ดำ�เนินการ โดยโรงเรียน ผู้ตรวจการโรงเรียนสนับสนุนและส่งเสริมการทำ�งานของโรงเรียนเพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่า หลักสูตรและข้อกำ�หนดทางกฎหมายอ่ืนๆ ได้รับการปฏิบัติตาม การสอนและการศึกษาได้ดำ�เนินการ อย่างมืออาชีพโดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม การกำ�กับดูแลด้านวิชาการดำ�เนินการโดยการเยี่ยมชมโรงเรียน สงั เกตบทเรียน และใหค้ ำ�แนะนำ�ในระดบั โรงเรียน การกำ�กบั ดแู ลดา้ นกฎหมายเป็นองค์ประกอบเพ่มิ เติม ในการกำ�กับดูแลโรงเรียน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบความถูกต้องตามกฎหมายของการจัดการ ของโรงเรยี น เช่น การกอ่ สรา้ งและการบำ�รงุ รักษาอาคารของโรงเรยี น รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 143 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ มาตรการประเมนิ ผลในโรงเรียน รัฐได้ใช้มาตรการประเมินซึ่งมีการประกันคุณภาพและข้ันตอนการพัฒนาคุณภาพต่างๆ ขัน้ ตอนเหล่าน้ีรวมถึง  การพฒั นากรอบหลกั สตู ร  การทดสอบเปรยี บเทยี บระหว่างรัฐและโรงเรียนในวิชาหลัก  การขยายการประเมินภายนอก  การพฒั นามาตรฐานและการทบทวน  การพัฒนาการจดั การคณุ ภาพในโรงเรียน  การสอบปลายภาค ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และตอนปลาย 3) ระดบั อุดมศึกษา การกำ�กับดูแลสถาบันอุดมศึกษา ดำ�เนินการโดย Land Ministry of Science and Research การประเมนิ ภายนอกด�ำ เนนิ การโดยหนว่ ยงานประเมนิ ระดบั ภมู ภิ าค หรอื เครอื ขา่ ย หรอื สมาคมของสถาบนั อุดมศึกษาท่ีครอบคลุมรัฐทั้งหมด การประชุม คณะรฐั มนตรกี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม ของรฐั (Kultusministerkonferenz-KMK)ไดจ้ ดั ตง้ั หน่วยงานเพื่อให้การรับรองหลักสูตรการศึกษา (Stiftung zur Akkreditierung von Studieng-ängen inDeutschland)โดยมกี ารจ�ำ กดั เวลาในการรบั รอง หลกั สตู รหนว่ ยงานดังกลา่ ว มหี น้าท่ีดังตอ่ ไปน้ี  การรับรองหลักสูตรและการรบั รองซ้าํ ใหก้ ับ หน่วยงานทไ่ี ดร้ บั การรับรองหลักสตู รมาแล้ว  การรวบรวมแนวทางท่ัวไปและแนวทาง เฉพาะ เพื่อกำ�หนดแนวทางท่ีใช้ร่วมกันสำ�หรับ หน่วยงานประเมิน  การควบคุมข้อกำ�หนดข้ันตํ่าสำ�หรับข้ันตอนการรับรอง รวมถึงข้อกำ�หนดเบ้ืองต้น และข้อจำ�กัด ของการรบั รอง  การตรวจสอบการรับรองของหน่วยงานทีไ่ ดร้ ับการรบั รอง 144 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

จากการใช้ระบบการรับรองหลักสูตรการศึกษา ได้มีการจัดต้ังสภาการรับรองมาตรฐาน (Akkreditierungsrat) ของหน่วยงานประเมินที่ได้รับการรับรองและการยอมรับสำ�หรับหลักสูตร ปริญญาตรีและปริญญาโท มีการกำ�หนดมาตรฐานและข้ันตอนในการสอน โดยมีหลักการของเสรีภาพ ทางวิชาการ อาจารย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับอาวุโสปฏิบัติหน้าท่ีวิจัยและการสอนอย่างอิสระ ส่ิงเหล่านี้ช่วยสร้างความเช่ือถือและสร้างความโปร่งใสในความร่วมมือระหว่างประเทศเก่ียวกับ คุณสมบัติการศึกษาในประเทศเยอรมนี ตามกรอบการประเมินคุณภาพการสอน (Qualitätssicherung in der Lehre) ซ่ึงได้รับการอนุมัติโดยที่ประชุมใหญ่ของรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม ของรฐั ในปี ค.ศ. 2003 สำ�หรับมาตรฐานการฝึกอบรมครู ในปี ค.ศ. 2004 มีการกำ�หนดมาตรฐานการฝึกอบรมครูในสาขา วิทยาศาสตร์ และในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 2013 มีการกำ�หนดเนื้อหาทั่วไปสำ�หรับการศึกษา ท่ีเก่ียวข้องกับเน้ือหาวิชาและการสอนท่ีเก่ียวข้องกับวิชาในการฝึกอบรมครูซ่ึงใช้กับทุกรัฐ โดยใช้ เป็นพื้นฐานในการให้การรับรองและประเมินหลักสูตรฝึกอบรมครู โดยใช้แนวทางและวิธีการประกัน คุณภาพ ด้วยการนิเทศของสถาบันอุดมศึกษา และประเมินผลในส่วนของอุดมศึกษาซ่ึงเป็นการประเมิน ภายในและภายนอก การประเมินภายในประกอบด้วยการวิเคราะห์การเรียนการสอน การทำ�งานวิจัย ผลการปฏิบัติงานของสาขาหรือคณะ และสรุปด้วยการเขียนรายงานเป็นลายลักษณ์อักษร และมีการ ประเมินภายนอกโดยผู้เช่ียวชาญจากภายนอกซ่ึงจะ เขียนข้อค้นพบและข้อเสนอแนะในรายงานข้ันสุดท้าย ทงั้ ในระดบั ของสถาบนั อดุ มศึกษาและในระดบั กระทรวง นอกจากน้ียังมีมาตรการความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่หลากหลายเพื่อการพัฒนาและการใช้มาตรการ ประเมินผล โดยทั่วไปแล้วการประเมินภายนอกจะอยู่ใน รูปหน่วยงานประเมินระดับภูมิภาค หรือเครือข่าย หรือ รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 145 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

สมาคมของสถาบนั อุดมศกึ ษาท่คี รอบคลุมรฐั ท้ังหมด และมีการประเมนิ ซาํ้ ในชว่ งเวลาต่างๆ ผลลัพธข์ อง การประเมินผลได้ถูกนำ�มาพิจารณามากข้ึนเพื่อเป็นพ้ืนฐานสำ�หรับการจัดสรรทรัพยากรให้กับสถาบัน อดุ มศึกษา ส่วนการรบั รองหลักสตู รการศึกษา มีการรบั ประกันมาตรฐานเนื้อหาทางวชิ าการ เพื่อเป็นการประกัน คุณภาพและสร้างความโปร่งใสสำ�หรับความร่วมมือระหว่างประเทศ และการรับรองสถานะของ มหาวทิ ยาลยั การก�ำ กบั ติดตาม ประเมนิ เพื่อสง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษา 1) ระดับปฐมวัย การกำ�กับดูแลการศึกษาระดับปฐมวัยอยู่ในความดูแลของ 3 หน่วยงาน ซ่ึงดำ�เนินการกำ�กับดูแล ในรูปแบบการใหค้ �ำ แนะนำ� คอื 1) Fachaufsicht ทำ�หนา้ ที่กำ�กับดแู ลด้านวชิ าการ การสอน และกิจกรรม ทางการศึกษา 2) Dienstaufsicht ทำ�หน้าท่ีกำ�กับดูแลบุคลากรทางการศึกษาและครูใหญ่ และ 3) สำ�นักงานสวัสดิการเยาวชน (Jugendämter) มีหน้าที่ในการดูแลสนับสนุนหน่วยงานภาคเอกชน ผา่ นมาตรการทเ่ี หมาะสม 2) ระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา กฎหมายพื้นฐาน (Grundgesetz - R1) ระบุวา่ ระบบโรงเรียนทั้งหมดอยภู่ ายใตก้ ารกำ�กบั ดแู ลของ รัฐ โดยกำ�หนดรายละเอียดไว้ในพระราชบัญญัติ และข้อบังคับของรัฐ ซึ่งกำ�หนดให้มีมาตรการสำ�หรับ การประเมินภายนอกและภายในนอกเหนือจากการกำ�กบั ดแู ลของรัฐ 146 รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

  1. ระดบั อาชวี ศกึ ษา พระราชบัญญัติการฝึกอบรมวิชาชีพ (Berufsbildungsgesetz - BBiG - R79) ให้ความสำ�คัญ กับการประกันคุณภาพและการพัฒนาคุณภาพ ซึ่งการประกันคุณภาพในการศึกษาสายอาชีพน้ัน ผ่านการให้คำ�แนะนำ�จากคณะกรรมการของสถาบันการศึกษาและฝึกอบรมสายอาชีพแห่งชาติ (Bundesinstitut für Berufsbildung - BIBB) 4) ระดับอุดมศกึ ษา ภายใต้มาตรา 59 ของพระราชบัญญัติกรอบการศึกษาระดับอุดมศึกษา และกฎหมายอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษาอยู่ภายใต้การกำ�กับดูแลของรัฐ การประเมินผลการวิจัยและการสอนน้ันจัดทำ�ข้ึน สำ�หรบั ระดับอุดมศกึ ษา ภายใต้การก�ำ กับดแู ลโดย Land Ministry of Science and Research รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 147 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

สรุปสาระส�ำ คัญของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ จากผลการศึกษาแนวทางการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติไปสู่การจัดการศึกษาของ ประเทศเยอรมนี รัฐบาลกลางของประเทศเป็นผู้กำ�หนดระบบโครงสร้างการศึกษา ประเด็นที่สำ�คัญ ด้านการศึกษาจะต้องผ่านข้อตกลงระหว่างรัฐเพ่ือให้เป็นมาตรฐานใช้ร่วมกันทั่วประเทศ แต่ละรัฐ ควบคุมหลักสูตรของตนเอง รวมถึงข้อกำ�หนดด้านวิชาชีพครู การสรรหาครู และการพัฒนาคุณภาพ ในโรงเรียน ลักษณะสำ�คัญของหลักสูตรในระบบการศึกษาเยอรมนี คือ การเอื้อให้ครูผู้สอนมีอิสระ ในการเลอื กเนอ้ื หา วธิ กี ารสอน และเครอ่ื งมอื ประเมนิ ทเ่ี หมาะสม โดยถอื วา่ หอ้ งเรยี นเปน็ “ความรบั ผดิ ชอบ ดา้ นการสอน” (Pedagogical responsibility) เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั มงุ่ เนน้ สมรรถนะของผเู้ รยี นตามระดบั การศึกษา มีการประเมินผลตามสมรรถนะของผู้เรียน มีการกำ�หนดเส้นทางการศึกษาและคุณวุฒิ ทไ่ี ดร้ บั อยา่ งชดั เจน เนน้ การเชอ่ื มโยงการเรยี นสกู่ ารน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการท�ำ งาน มกี ารประเมนิ คณุ ภาพ ภายในและประเมินคุณภาพภายนอกจากหน่วยประเมินที่ได้รับการรับรอง มีการมุ่งพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสู่ระดับนานาชาติโดยก่อต้ังสถาบันเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (The Institute for Educational Quality Improvement - IQB) ข้ึน เพ่ือติดตามและประเมินความก้าวหน้าสู่การบรรลุ มาตรฐาน ด้วยการประเมนิ ความสามารถของนกั เรยี นระดบั ชาตแิ ละนานาชาติอย่างตอ่ เนอ่ื ง 148 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

การนำ�มาตรฐานการศกึ ษา สกู่ ารปฏบิ ตั ขิ องต่างประเทศ : เครอื รฐั ออสเตรเลยี ข้อมูลทว่ั ไป ประเทศออสเตรเลยี หรอื ชอ่ื ทางการคอื เครอื รฐั ออสเตรเลยี (CommonwealthofAustralia)เปน็ ประเทศ ซ่ึงประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ เป็นประเทศที่มีพ้ืนท่ีใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก ออสเตรเลียเป็นประเทศ ทพ่ี ฒั นาแลว้ และเปน็ หนงึ่ ในประเทศทรี่ าํ่ รวยทส่ี ดุ ในโลก มกี ารปกครองแบบเครอื รฐั มเี ศรษฐกจิ ใหญท่ สี่ ดุ เป็นอันดับที่ 12 ของโลก ในปี ค.ศ. 2012 ออสเตรเลียมีรายได้ต่อหัวท่ีสูงท่ีสุดอันดับ 5 ของโลก คา่ ใชจ้ า่ ยทางทหารของออสเตรเลยี มากทส่ี ดุ เปน็ อนั ดบั ท่ี 13 ของโลก ดว้ ยดชั นกี ารพฒั นามนษุ ยท์ สี่ งู ทส่ี ดุ อันดับที่ 2 ของโลก ออสเตรเลียจึงได้รับการจัดอันดับที่สูงในการเปรียบเทียบอันดับระหว่างประเทศ ในเรื่องต่างๆ เช่น คุณภาพชีวิต สุขภาพ การศึกษา เสรีภาพทางเศรษฐกิจ และการปกป้องเสรีภาพ ของพลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 149 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ระบบการศึกษาและการบริหารการศึกษา“ “ ประเทศออสเตรเลียมีโรงเรียนท้ังท่ีเป็นโรงเรียนรัฐบาล โรงเรียนเอกชน และโรงเรียน ที่ดำ�เนินการร่วมกับองค์กรศาสนา โรงเรียนของรัฐบาลจะเป็นประเภทไป - กลับ (Day School) โรงเรียนของเอกชนมีท้ังโรงเรียนประจำ� (Boarding School) และโรงเรียนไป - กลับ (Day School) มที ้ังชายลว้ น หญิงล้วน และสหศกึ ษา นโยบายการศึกษาของประเทศออสเตรเลียถูกกำ�หนด โดยสว่ นกลาง คอื The Council of Australian Government (COAG) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากรัฐต่างๆ และ เขตปกครองพิเศษ รัฐบาลกลางมีหน้าท่ีสนับสนุน งบประมาณแก่รัฐต่างๆ และเขตปกครองพิเศษ ซึ่งต้อง รับผิดชอบในการจัดโครงสร้างพื้นฐาน งบประมาณ ด้านครูและบุคลากร และดูแลการบริหารจัดการต่างๆ ของโรงเรียน ขณะที่การนำ�นโยบายกลางหรือนโยบาย ระดับชาติไปใช้ หรือดำ�เนินโครงการต่างๆ เพ่ือสนับสนุน การจัดการศึกษาของรัฐแต่ละรัฐ และเขตปกครองพิเศษ เป็นหน้าที่ของ The Department of Education and Training (DET) ซึ่งรับผิดชอบความเช่ือมโยง และครอบคลุมการศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษา นานาชาติ (International Education) ด้วย DET สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงการดำ�เนินงานกับทุกรัฐและ เขตปกครองพิเศษ กำ�กับการดำ�เนินงานตามนโยบายครอบคลุมสถาบันของรัฐ เอกชน และผู้เกี่ยวข้อง (Stakeholder) 150 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

ปริญญาเอก (Doctoral Degree PhD) 3-4 ปี (Masปtรeิญr’sญdาeโทgree) (Graอdนuุปaรtิญe Dญipาlโoทma) 1-2 ปี (Bachปeรloิญr ญdeาgตr1รeปีเeกี wียรitตhินHิยoมnours) 2-2.5 ีปประกาศนยี บัตรบัณฑติ 1 ีป(Graduate Certificate) 1-2 ีป (Adอvนaุปnรcญิ edญDาiขp้ันloสmูง a) ปริญญาตรี (Bachelor degree) อ(Dนiปุ pรloญิ mญaา) 3-6 ปี CCCCeeeerrrrttttiiiffiffiiicciccaaaatttteeeeIIIVIIII หลักสูตรพื้นฐาน (Foundation studies) 1 ปี 111156789324201 มธั ยมศึกษาตอนปลาย (Senior Secondary Certificate of Education : Year 11 - 12) มธั ยมศกึ ษาตอนต้น (Year 7 - Year 10) ประถมศึกษา (Year 1 - Year 6) อนุบาล ปกี ารศึกษา (Pre-School) ประเทศออสเตรเลีย ภาพที่ 10 ระดับการศกึ ษาของประเทศออสเตรเลยี ที่มา : http://www.australian.co.th/australian/index.php?otion=com_content&view=artcle &id=57&Itemid=54 ◆ การก�ำ หนดระดบั ชนั้ การศกึ ษา การจัดการศึกษาของออสเตรเลียเป็นระบบโครงสร้างกลาง กำ�หนดระดับการศึกษาไว้กว้างๆ มีการกำ�หนดระดับชั้นต่างๆ และมีเส้นทางการเรียน (pathway) หลากหลายทางเลือก มีการเปิดรับเด็ก เขา้ เรียนในระดับกอ่ นประถมศกึ ษา (Pre-School) และเร่ิมเขา้ สรู่ ะดบั การศกึ ษาที่สำ�คญั 4 ระดบั ได้แก่ (1) ระดบั ประถมศึกษา (Primary School) (2) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) (3) ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (Senior Secondary School) (4) ระดบั อดุ มศึกษา (Tertiary Education) สรุปได้ดังน ี้ รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง 151 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

 การศึกษาปฐมวัย (Early Childhood Education) ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับแต่รัฐบาล สนับสนุนให้ชุมชน องค์กร จัดการศึกษาระดับน้ีเพ่ือเตรียมเด็กเข้าสู่โรงเรียน สามารถเข้าเรียนในระดับ อนบุ าลได้ตัง้ แต่อายุ 4 ปีบรบิ ูรณ์เป็นต้นไป เนน้ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทางดา้ นร่างกายและสติปัญญา โดย จัดการศึกษาแบบบูรณาการเพ่ือเตรียมความพร้อมสำ�หรับการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา แต่ละรัฐ กำ�หนดอายทุ ีเ่ ขา้ ศึกษาและหนว่ ยงานที่ดแู ลรับผิดชอบแตกตา่ งกนั ในการศึกษาระดบั นจ้ี ดั ชว่ งเวลาเรยี น สัปดาห์ละ 10 - 12.5 ช่วั โมง มวี ชิ าแกน ไดแ้ ก่ Literacy, Numeracy, English และ Mathematics โดยไม่มี การกำ�หนดกรอบมาตรฐานการศกึ ษาสำ�หรบั ระดับนี้  การศึกษาภาคบงั คบั รัฐบาลออสเตรเลยี ก�ำ หนดอายุเดก็ ในการศกึ ษาภาคบังคับ คือ เดก็ อายุ ระหว่าง 6 - 15 ปี (Grade 1 - 10) ซึ่งจะได้รับการจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ภายใต้ความดูแลรับผิดชอบของแต่ละรัฐ ดังนี้ (1) ระดบั ประถมศกึ ษา (Primary School) คอื ชัน้ ปที ่ี 1 เรยี กว่า Foundation ในปีท่ี 2 ถงึ ปีท่ี 7 หรือ 8 เรียกว่า Grade 1 ถึง Grade 7 ในระดับน้อี าจเรียน 7 หรือ 8 ปี (2) ระดับมัธยมศึกษา (Secondary School) แบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ มัธยมศึกษาตอนปลาย โดย - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (Junior Colleges) คอื ช้ันปที ี่ 7 หรือ 8 ถงึ ปีที่ 10 เรยี น 3 - 4 ปี เรยี กวา่ Grade 7 หรอื 8 ถึง Grade 10 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (Senior Colleges) คือ ชั้นปีที่ 11 และปีท่ี 12 (Grade 11 - 12) เรยี น 2 ปี เมือ่ สำ�เรจ็ การศึกษาได้รบั ประกาศนยี บตั ร Senior Secondary Certificate of Education  การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Tertiary Education) เป็นการศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher education) และการอาชวี ศกึ ษา (Vocational education and Training : VET) โดยการอดุ มศกึ ษา มรี ะดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก การอาชีวศกึ ษามีระดบั Certificate 1 ถึง 4 ตาม AQF และระดับปรญิ ญาซ่งึ มเี สน้ ทางสูก่ ารอุดมศกึ ษา ◆ นโยบายส�ำ คัญทางการศกึ ษาของออสเตรเลยี เอกสารและนโยบายสำ�คัญที่เก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย สามารถแสดง รายละเอยี ดได้ดงั น้ี 152 รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ค�ำแถลงการณก์ ารศกึ ษาของเมลเบิร์นเก่ยี วกับเป้าหมายการศึกษา (ปี ค.ศ. 2009 - 2018) รายละเอยี ด ◆ ก�ำหนดเปา้ หมายทางการศึกษา 2 ประการ คอื เป้าหมายที่ 1 การศกึ ษาออสเตรเลียสง่ เสรมิ ความเท่าเทยี มและความเปน็ เลิศ เป้าหมายท่ี 2 คนออสเตรเลยี วัยหนมุ่ สาวทกุ คนกลายเป็นผ้เู รยี นทปี่ ระสบความส�ำเร็จ มคี วามมน่ั ใจ มีความคิดสร้างสรรค์ เปน็ พลเมอื งทีก่ ระตือรือรน้ และรู้จริง ◆ การด�ำเนนิ การเพอ่ื ใหเ้ ปา้ หมายสองประการส�ำเรจ็ คอื 1) พฒั นาความรว่ มมอื ทแ่ี ขง็ แกรง่ 2) สนบั สนนุ การสอนทม่ี คี ณุ ภาพ 3) เสรมิ สรา้ งการศกึ ษาปฐมวยั 4) การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ ปี 5) การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การศกึ ษาในแตล่ ะชว่ งวยั 6) การสง่ เสรมิ หลกั สตู รและการประเมนิ ระดบั โลก 7) การปรบั ปรงุ ผลการศึกษาส�ำหรับเยาวชนพ้ืนเมืองและเยาวชนออสเตรเลียท่ีด้อยโอกาส โดยเฉพาะผู้ท่ีมีภูมิหลัง ทางเศรษฐกิจและสังคมตา่ํ 8) การเสริมสร้างความรับผิดชอบและความโปร่งใส พระราชบัญญัติการศึกษาออสเตรเลียและข้อตกลงระหว่างรัฐบาลด้านการศึกษา (ปี ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 เรม่ิ ใช้ 1 ม.ค. ค.ศ. 2014) รายละเอียด ก�ำหนดเรอ่ื งงบประมาณใหก้ บั โรงเรยี นและกรอบการท�ำงานส�ำหรบั ระดมทนุ ในเครอื จกั รภพใหก้ บั โรงเรยี น เพอื่ ใหเ้ ด็กทกุ คนมีสว่ นรว่ มและไดร้ บั ประโยชน์จากการศึกษา กรอบการวัดคุณภาพการศึกษาในออสเตรเลีย หรือ The Australian Qualification Framework : AQF รายละเอยี ด ◆ เพ่ือก�ำกับดูแลการจัดการศึกษาระดับโรงเรียนและสถาบันการศึกษาทุกระดับ การศึกษาสายอาชีพ การฝกึ อบรม และการอุดมศึกษา AQF ก�ำหนดกรอบผลลพั ธ์การเรยี นรู้ 3 มิติ ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านการประยกุ ต์ใช้ความรู้และทกั ษะ รายงานผลการศึกษา เรื่อง 153 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

รายละเอยี ด ◆ AQF ประกอบด้วย 10 ระดับ ได้แก่ ระดับ 1 Certificate I ระดบั 2 Certificate II ระดบั 3 Certificate III ระดับ 4 Certificate IV ระดับ 5 Diploma ระดบั 6 Advanced Diploma Associate Degree ระดับ 7 Bachelor Degree ระดับ 8 Bachelor Honours Degree Graduate Certificate Graduate Diploma ระดบั 9 Master’s Degree (Research) ระดับ 9 Master’s Degree (Coursework) Master’s Degree (Extended) ระดับ 10 Doctoral Degree Higher Doctoral Degree * รายละเอียดของ AQF แต่ละระดบั แสดงในภาพท่ี 12 ขอ้ ตกลงการปฏริ ูปโรงเรยี นแห่งชาติ รายละเอยี ด COAG ได้จัดท�ำข้อตกลงน้ี บนหลักการความเท่าเทียมและความเป็นเลิศ เพื่อเป็นกลยุทธ์ในการสร้าง ความร่วมมือระดับชาติ ให้บรรลุเป้าหมายค�ำแถลงการณ์การศึกษาของเมลเบิร์นและบรรลุผลลัพธ์ ทางการศกึ ษาในประเดน็ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทด่ี ขี น้ึ นกั เรยี นทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการศกึ ษาและนกั เรยี น ไดร้ บั ทกั ษะทจี่ �ำเปน็ เพอื่ การศกึ ษาตอ่ โดยภาคที างการศกึ ษารว่ มกนั ก�ำหนดหลกั สตู รระดบั ชาติ มาตรฐาน การสอนระดบั ชาติ โปรแกรมการประเมนิ ระดับชาติ 154 รายงานผลการศกึ ษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

นโยบายส�ำคัญ 7 ประการด้านการจดั การศึกษา รายละเอียด เป็นนโยบายท่ีก�ำหนดขึ้นให้ครอบคลุมการจัดการศึกษาทุกระดับ รวมท้ังชนพ้ืนเมืองและผู้ท่ีอยู่ห่างไกล โดยเน้นเร่อื ง ◆ ความเสมอภาค : ลดชอ่ งวา่ งหรอื ปดิ ชอ่ งวา่ งความเหลอ่ื มลำ�้ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั และของชนเผา่ พน้ื เมอื ง โดยใช้ข้อมูลการประเมนิ TIMSS และการประเมนิ การจัดการศึกษาระดับปฐมวยั ◆ การอดุ มศกึ ษาและการฝกึ อบรม:การสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณใหก้ บั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษามงุ่ ให้ มหาวทิ ยาลยั และสถาบนั จดั การศกึ ษาเพอื่ สรา้ งนวตั กรรม ผลผลติ และพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที กั ษะในอนาคต ◆ คุณภาพโรงเรยี นและคณุ ภาพการสอน : ดูแลการศกึ ษาในระดบั โรงเรยี นให้ไดม้ าตรฐาน ทั้งการสอน การบรหิ ารโรงเรยี นจะตอ้ งไดม้ าตรฐาน โดยตงั้ หนว่ ยงานชอ่ื The Australian Institute of Teaching and School Leadership หรือ AITSL เพื่อน�ำนโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ มกี ารก�ำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ครแู ละผบู้ ริหาร และการมีสว่ นร่วมในการพฒั นาคุณภาพครู ◆ การวัดและประเมินที่เข้มแข็งและโปร่งใส : ดูแลการประเมินระดับชาติท่ีเรียกว่า NAPLAN ประเมิน นกั เรียนชนั้ ปีที่ 3, 5, 7 และ 9 รวมถึงการประเมนิ คณุ ภาพการเรยี นการสอนของครู มีการก�ำหนด คณุ ภาพของการเรยี นรแู้ ละการสอน (The Quality Indicators for Learning and Teaching : QILT) ส�ำหรับระดับอุดมศึกษา ◆ การศึกษาส�ำหรับชนพ้ืนเมือง : เน้นการจัดการศึกษาปฐมวัยส�ำหรับชนพื้นเมืองและผู้อยู่ห่างไกล ต้องได้รับการศึกษาระดับนี้ไม่ต่ํากว่า 5 ปี ลดการตายของเด็กท่ีอายุตํ่ากว่า 5 ปี ลดช่องว่าง การพฒั นาการอ่าน การเขยี น และลดความต่างของผลสัมฤทธขิ์ องชนพน้ื เมอื งกับประชาชน ◆ The New Colombo Plan : ยกระดับคุณภาพการศึกษาของออสเตรเลีย ให้มีช่ือเสียง ใน Indo-Pacific เน้นการสร้างเครือข่ายความเช่ือมโยงอย่างกว้างขวางทุกระดับ ท้ังระดับบุคคล ระดบั สถาบนั ทุกภมู ภิ าค ◆ งบประมาณส�ำหรบั โรงเรยี น (Schooling Resources) : จดั ท�ำกฎหมาย The Australian Education Amendment Act เพอื่ จัดสรรงบประมาณส�ำหรบั โรงเรียนตั้งแต่ปี ค.ศ. 2017 - 2023 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง 155 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ หน่วยงานท่เี กยี่ วข้องกบั การศึกษา หน่วยงานส�ำ คัญทีเ่ ก่ียวข้องกับการศึกษาของออสเตรเลยี มีหลายหน่วย มีบทบาทหนา้ ท่ี ดังนี้ ช่ือ The Council of Australian Government : COAG หน้าที่ ก�ำหนดนโยบายส�ำคัญของการศกึ ษาระดบั ชาติ เช่น  The Australian Education Amendment Act. (พระราชบัญญัติการศึกษาของออสเตรเลีย และ ข้อตกลงระหว่างรัฐบาลดา้ นการศกึ ษา ประกาศเม่ือปี ค.ศ. 2013 เร่มิ ใชว้ นั ท่ี 1 มกราคม ปี ค.ศ. 2014 โดยก�ำหนดเรื่องงบประมาณการศึกษาส�ำหรับโรงเรียนจนถึงปี ค.ศ. 2023 และกรอบการท�ำงาน ระดมทุนในเครอื จกั รภพให้กบั โรงเรียน)  ขอ้ ตกลงการปฏริ ูปโรงเรยี นแห่งชาติ  โปรแกรมการประเมินระดับชาติ  TheTertiaryEducationQualityandStandardsAgencyAct.:TEQSAAct. คอื พระราชบญั ญตั ิ เพอื่ การก�ำกบั ดแู ลสง่ เสรมิ ใหม้ หาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐาน โดยก�ำหนดคณะกรรมการ ผเู้ ช่ียวชาญให้ค�ำปรึกษาแกม่ หาวิทยาลยั เรยี กว่า The Higher Education Standard Panel : HESP  The Quality Indicators for Learning and Teaching : QILT คอื นโยบายการก�ำหนดคณุ ภาพ การเรียนรู้และการสอนส�ำหรับระดับอดุ มศึกษา ชอ่ื Australian Qualifications Framework Council หนา้ ท่ี ก�ำหนดกรอบคุณภาพการศึกษาของประเทศ หรือ Australian Qualification Framework (AQF) เพือ่ ก�ำกบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาระดับโรงเรียนและสถาบนั การศึกษาทุกระดบั 156 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ชื่อ The Australian Institute of Teaching and School Leadership : AITSL (ต้งั ในปี ค.ศ. 2010) หน้าท่ี กำ�หนดมาตรฐานวชิ าชีพครูและผู้บรหิ าร ช่ือ The Department of Education and Training : DET หน้าที่  น�ำนโยบายระดบั ชาติไปใช้  การด�ำเนนิ โครงการต่างๆ เพื่อสนบั สนุนการจัดการศึกษาของรฐั ตา่ งๆ และเขตปกครองพเิ ศษ  สร้างเครือข่ายเชอื่ มโยงการด�ำเนินงานทุกรัฐและเขตปกครองพเิ ศษ ชือ่ Australian Curriculum Assessment and Reporting Authority : ACARA หน้าท่ี  พัฒนาและจัดท�ำหลักสตู รการศกึ ษาในระดบั การศึกษาภาคบงั คับเครือรฐั ออสเตรเลยี  พฒั นาและจดั ท�ำNationalAssessmentProgram-LiteracyandNumeracy(NAPLAN)และNAP sample assessments  รวบรวมวเิ คราะหแ์ ละรายงานขอ้ มลู สถติ เิ กย่ี วกบั การศกึ ษาและแนวทางการใชข้ อ้ มลู การวดั ประสทิ ธภิ าพ การศึกษาในออสเตรเลีย รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง 157 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ช่ือ Technical and Further Education Institutes (สถาบันเทคนคิ และ การศกึ ษาต่อเนือ่ ง) หน้าท่ี พฒั นาหลักสตู รการอาชีวศึกษา ชื่อ Registered Training Organizations (RTOs) หน้าท่ี ดแู ล กำ�กับและสง่ เสริมหลกั สตู รสถาบัน / วทิ ยาลยั เอกชน / มหาวทิ ยาลยั ให้มีคณุ ภาพ ช่ือ The Australian Government’s Commonwealth Register of Institutions and Courses of Oversea Students (CRICOs) หนา้ ที่ ดูแล กำ�กบั และส่งเสริม หลักสตู รระดบั นานาชาติ 158 รายงานผลการศึกษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

การน�ำ มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ “ “ ประเทศออสเตรเลียกำ�หนดเป้าหมายการศึกษาตามคำ�แถลงการณ์การศึกษาของเมลเบิร์น และกำ�หนดกรอบคุณภาพการศึกษาซึ่งเทียบเคียงได้กับการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ การกำ�หนดกรอบคุณภาพการศึกษา (The Australian Qualification Framework : AQF) มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อก�ำ กบั ดแู ลคณุ ภาพการจัดการศึกษาในโรงเรยี นและสถาบันการศกึ ษาทุกแห่ง กรอบคณุ ภาพการศกึ ษาของออสเตรเลยี เปน็ แนวทางส�ำ หรบั การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาออสเตรเลยี ด�ำ เนนิ การโดย ACARA (Australian Curriculum assessment and Reporting Authority) ซ่ึงท�ำ หนา้ ท่ี ในการพัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนจัดการประเมินผลและการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติและการรายงานผลการจัดการศึกษาในภาพรวมของเครือรัฐออสเตรเลีย โดยดำ�เนินการจัดการสอบ ประเมิน และวัดผลสมรรถนะในการรู้หนังสือและคำ�นวณท่ัวไป การกำ�หนด โครงสรา้ งหลกั สตู รของการศกึ ษาแตล่ ะระดบั เพอ่ื มงุ่ พฒั นาเดก็ และเยาวชนออสเตรเลยี ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ท่ีกำ�หนดไวใ้ นคำ�แถลงการณก์ ารศึกษาของเมลเบริ น์ ◆ ระดับปฐมวัย กำ�หนดโครงสร้างหลักสูตรระดับปฐมวัย โดยกำ�หนดผลลัพธ์การเรียนรู้ 5 ด้าน คือ 1) เด็กมีเอกลักษณ์ท่ีแข็งแกร่ง 2) เด็กได้เรียนรู้และมีส่วนร่วมในชุมชน 3) เด็กมีสุขภาพท่ีดี 4) เดก็ มคี วามมั่นใจและกลา้ แสดงออก 5) เดก็ เปน็ ผ้สู ่อื สารท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ◆ ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เปน็ หลกั สตู ร3มติ ิทใ่ี หค้ วามส�ำ คญั กบั ความรู้ทกั ษะ และความเขา้ ใจดา้ นวนิ ยั ความสามารถทว่ั ไปและล�ำ ดบั ความส�ำ คญั ของหลกั สตู ร โดยมแี กนหลกั 3 เรอ่ื ง ที่เด็กทุกคนต้องเรียนรู้ คือ 1) การพัฒนาอย่างย่ังยืน 2) เอเชียและการมีส่วนร่วมกับเอเชียของออสเตรเลีย และ 3) ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชาวอะบอริจินและเกาะช่องแคบทอร์เรส บูรณาการกับเน้ือหา 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรหู้ ลัก ประกอบดว้ ย 1) ภาษาองั กฤษ 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สุขภาพ และพลศึกษา 5) มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6) ศิลปะ 7) เทคโนโลยี และ 8) ภาษา ท้ังน้ีเพ่ือให้ บรรลุสมรรถนะ 7 ด้าน ได้แก่ 1) การรู้หนังสือ 2) การคิดคำ�นวณ 3) ความสามารถด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร 4) การคิดเชิงวิพากษ์และความคิดสร้างสรรค์ 5) ความสามารถส่วนบุคคล และสังคม 6) ความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม และ 7) ความเข้าใจดา้ นจรยิ ธรรม รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 159 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

เทคโนโลยีและภาษา เพื่อให้บรรลุสมรรถนะ 7 ด้าน ได้แก่ การรู้หนังสือ การคิดคำนวณ ความสามารถด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ การคิดเชงิ วพิ ากษแ์ ละความคดิ สร้างสรรค์ ความสามารถสว่ นบุคคลและสงั คม การทำความเขา้ ใจความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม และความสามารถทัว่ ไป ภาพท่ี 4 ภาพแสดงหลักสูตร 3 มติ ิ หลักสูตรพ้นื ฐานของออสเตรเลีย (ท่ีมา : Australian Curriculum, 2019) ทเตม(วกรใแดพชิทัลฐาาม สภใบ คเ คัเ้ำนตื้ร่บะนยอกัณวถงีรราเฝ้รนแาะิษณใารานพกาแฐติึหกศขะบคมลบทัินทฑาศตดาฝ่ง้วบสมผตัษนนก่ีค์สขss◆◆านัาบ1ากูี้่รงั้สคเาุณสตัเนม1มสทนแาะวำะรรรรตรรรไราริภ่ภคงตี้บสาเะะโดะะ์ู้รจริรทมาดปเ่านาดด่บดค์ด้ทใถรดัม็พจวพีส่นเมยิรคัับบ่ิมับวับกใกกทิกำระแเรสนาาแเอมอามีาี่เยะยราวะสรรมถกรลราราัธยีั่ธดวาัรตดถด็จศาาเชีจชยะยนศขบัยจศขิศัทบงครบึกีีววกัมดมแา้้หอาชเึากือำ�โนศษศขัานศกสใลศละาสลงงษคึกึา้รกาจึกตตกาเะกกตึักาวศใทาเษษรษิรชชับสพสนรษจาึคทนก์กคศาา่ว์ตมูาคอปไ่ือ่าอืษัแกรรงวนึตกดรสอวฝาเตรเรอละษานนอิ้ษาาง3หชะคึกะอะบดตะมม้้นนนวีพหแลทานรมนภัเ่ทอบตัารพพปเวนลาักติปะูมรู้แพเี่จิศน่ากัลฒัษฒะินื้อแถกหลิศละหางื่ีอา้หกสื่หอะใาลานเาะนสสยนฝรแลวาารลงายสกัคตาอาียกมึร)เหลกาตสทไ่วทรนรนาาศไดยะาทละา์ตูรมีััยกกแรดแใึรง้อกกมก์ักรัีกหเนษษหล้โกลถพขำาาษซเเสดษนแะะะป้ำ�ะหท้ารชนับ้ืรูตาย้สสลาเหะภพใรรีพนฐำรซตรไจีทะำำ�ะแนูมยฒัียดางป้อดค่อชหหี่ฝพีลิศดนาสน้รนวนรวนาเรรึกยันะฒาัขบวถะรินชขาชับาับฝสิใอู้ชภไมกกาอานืค่นอกหกดแตนงนาบรารอางมณุาาองา้ร้ปรอแู้คหใยรบัลนีท)รหอรอ์นรลภงวใรรลโทดกทักสะงลมับทสนดาะะาา้ำว�าทเษำักมีคายรหหีพ่พสูชตกยงรง่ีสขะอสรวไัำวราาท้นศหาัดำ้แู�ทาางเูทตคขนชฒนกัภึลก้าลคมจทร้ล่จี้อัรญักนษยีทษับาาัซญะ�ำโภี่นโเทษมดกะารยีกด(เทบั่าพา1่ีปทกะขีาียยทาทอยกัซย1ั5Aฒำม�ี่ช็นอยรนรรคั้าษงัอ้ก5ใCหรีาวง่วใ่นววรชตนะษับนผAุิตมนโั:ฐมใิชณวีา้พกตขดรู้เกAะRพมดแิชมารหออรา่ยาAทนuยีืืภอ้นาลือองงงลกภรsมสนีก่ๆจฐะคจกบทtัากาาภาrเหถับาเาำวับ�ำเaนนรทยสอตพานพกาเาสงlปสใโ่จีื้อiปกูยรตมบaา่อืัถตยขถระAฐหใช็รnรนนใทัาว้บนวะตาตาC้แูาอนหภCนใิชักนเมาก้อน้สวลAน้ผมาขปงuายษงปิีคชาาค(ะ้สูRยกินภrมดรทขรราะวทรrว�ำใAาะiผา้ะี ำ�ศอาภกะcาตกัเัรกษูเมร้เเอกงuกึามากเษน้นกรทจ็อนารlรมษอสuษีษะย้นิรกนับฐอำท้ือทน่ับmำ�าตนอาางคกังกหำะคเอก่ารทรา,กบรวรงาาาังังฐศง2ีาขน็ะจาาฤัรร้สนงๆก0รบกึ่แนมดหโษรอาโห1ฤมดคษาลกรอัทรบัรยฐ9ษรงืลยีูืออ้คคะะาาี่จแบอ)คือผชณวำะลาาวแีพาตชูะยิาตห้มห้อพเีมวเขศลอมงรศเื้นอา่งมขกัน่ึกนสีฐงงยี้าชษาาตรคในนนนดัจฐราง์ แข่งขันได้ในระดŸับCโลeกrtifกicรaอtบeเนI ้ือ–หIVาหตล้อักงสเูตรรียปนรระกายอบวิดช้วายที่มทักีกษาะรชฝีวึกิตทพัก้ืนษฐาะนพื้นทักฐษานะกทารักทษำ�ะงาดน้าอนาอชุีพตสาหกรรม มีคพวื้นาฐมารนู้แลกะาทรกั ฝษึกะฝในสกิ่งาทรสี่เกื่อ่ียสวาขร้อมงีกliับteอrาaชcีพy แกลาะรเNรียuนmแeลraะcฝyึกฝระนยใะนเสวาลขาทาทศี่ ี่เกึ รษียานระโหดยว่ากงาร6ปเรดะือเนมิน–ผ2ู้เรปียนี ระดับอาชีวศกึ ษŸา ใDชipเ้ กloณmฑaค์ ณุต้อภงาเพรรียะนดวับิชชาาตต่าิ คงๆอื เพื่ออาชีพภาคอุตสาหกรรมในระดับเตรียมเพื่อวิชาชีพชั้นสูง ระ ยะเวล าศึกษCาer1tif–ica2teปีI - IV ต้องเรียนรายวิชาทม่ี ีการฝกึ ทกั ษะพนื้ ฐาน ทกั ษะด้านอตุ สาหกรรม มีความรู้ วติศ้อแร วะงลกเยะรระียทรเนักวม ลเษศทาะายีศสใบนกึตDเษกรทi์pาาา่ŸŸรรlกะo1สับAยmื่อ-ะdกสa2เvาาวรaปตรลศnี้อามึกcศงีeษเlกึ ViรdtาษeียoใrDานนcaaiรวc1ptะิชy.li5ดooาแบัตnm–ลa่าอะa2lงุดๆNมตปศ้อuีเพmกึงเื่ษอรeอาียraใานนcชแGyมีพลrหรaภะะาdฝายวuคึกิทะaทอเยtวุตักeาลษสลาาะัยทหรนี่ศะก้ันึกดรๆษับรมารสระใูงCะนยeเหระชrะวเt่นวiดา่ fลงiับสcา6aาเศตขtกึเeราดษียวือามิชนาเ6พบ- ่ือเ2ัญดวชปอื ิชีนี าก/ชา–ีพรอ2ชอ้ันปกสี แูงบบDกip่อloสmร้าaง 160 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง 9 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

 Advanced Diploma ต้องเรียนและฝึกทักษะระดับสูง เช่น สาขาวิชาบัญชี การออกแบบ ก่อสร้าง วศิ วกรรมศาสตร์ ระยะเวลาศกึ ษา 1.5 - 2 ปี  Vocational Graduate Certificate / Diploma ต้องเรียนเทียบเท่ากับการศึกษาในระดับ อดุ มศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัยนน้ั ๆ ระยะเวลาศึกษา 6 เดอื น - 2 ปี  English Language Course จัดเป็น Vocational Education and training : VET เรียนประมาณ 48 สปั ดาห์ ◆ระดบั อดุ มศกึ ษาการจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาเปน็ แบบTertiaryEducationสถาบนั อดุ มศกึ ษา หรอื มหาวทิ ยาลยั แตล่ ะแหง่ พฒั นาหลกั สตู รและจดั การศกึ ษาเพอื่ แขง่ ขนั ไดใ้ นระดบั โลก โดยปี ค.ศ. 2011 ออสเตรเลยี ก�ำ หนดกฎหมายTheTertiaryEducationQualityandStandardsAgencyAct.หรอื TEQSAAct. เพอื่ ก�ำ กบั ดแู ลสง่ เสรมิ ใหม้ หาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน มคี ณะกรรมการผเู้ ชยี่ วชาญใหค้ �ำ ปรกึ ษา แก่มหาวิทยาลัยที่เรียกว่า The Higher Education Standards Panel หรือ HESP. ซึ่งมหาวิทยาลัย มีหน้าท่ีพัฒนาหลักสูตรเอง การสำ�เร็จการศึกษาแต่ละหลักสูตรต้องมีคุณภาพตามมาตรฐาน AQF ต้ังแต่ระดับ 7 ขึ้นไป โดย AQF ระดับ 7 เป็นมาตรฐานสำ�หรับระดับปริญญาตรี AQF ระดับ 8 เป็นมาตรฐานสำ�หรับประกาศนียบัตรบัณฑิต และปริญญาตรีเกียรตินิยม AQF ระดับ 9 เป็นมาตรฐาน สำ�หรบั ระดบั ปริญญาโท และ AQF ระดบั 10 เปน็ มาตรฐานส�ำ หรับระดับปริญญาเอก โดยมหาวทิ ยาลยั ดำ�เนินการประเมินผลเอง รัฐบาลกลางมีนโยบายกำ�กับการให้เกรด กลุ่มมหาวิทยาลัยอาจใช้ระบบ การให้เกรดเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันได้ และมีการเทียบกับนานาประเทศด้วย โดยปกติเกรด 1 - 3 คือ ตก เกรด 4 คือ ผ่าน เกรด 5 คือ Credit เกรด 6 คือ Distinction เกรด 7 High Distinction แต่บางมหาวิทยาลัยอาจกำ�หนดเกรดแค่ 1 - 4 ก็ได้ ท้ังน้ีรายละเอียดของกรอบคุณภาพการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย (AQF) 10 ระดับ แสดงได้ ดังภาพท่ี 12 รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 161 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ภาพท่ี 12 กรอบคณุ ภาพการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย (AQF) 10 ระดบั ทม่ี า: Australian Qualifications Framework Second Edition January 2013 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กำ�กับ ตดิ ตาม ประเมนิ เพอื่ ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา หนว่ ยงาน ACARA ท�ำ หนา้ ทปี่ ระเมนิ ทดสอบ และรายงานการศกึ ษาในออสเตรเลยี การประเมนิ ผล การศึกษาและการวัดผลการปฏิบัติงาน จะต้องรายงานต่อรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการของออสเตรเลีย และตอ่ ชมุ ชน โดยยดึ ปฏญิ ญาเมลเบริ น์ หรอื ค�ำ แถลงการณก์ ารศกึ ษาของเมลเบริ น์ เปน็ หลกั ซงึ่ การปฏบิ ตั ิ ที่สำ�คัญระดับชาติสำ�หรับการศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของการรายงานผลการศึกษาในประเทศออสเตรเลีย ที่จัดท�ำ โดยรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารดว้ ย 162 รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◆การประกนั คณุ ภาพระดบั การประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาประกนั คณุ ภาพโดยใชโ้ ปรแกรม การประเมินแห่งชาติ (National Assessment Program : NAP) ซึ่งเป็นโปรแกรมสำ�คัญสำ�หรับ การประเมินผลการศึกษาในออสเตรเลียปี ค.ศ. 2015 และครอบคลุมการประเมินท้ังหมดที่รับรองโดย รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ การประเมินในระดับนี้มีท้ังการประเมินระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยมาตรฐานแหง่ ชาตสิ �ำ หรบั การรหู้ นงั สอื และการค�ำ นวณเปน็ มาตรฐานขนั้ ตาํ่ ทเี่ ดก็ จะไดร้ บั การทดสอบ ในแต่ละปี สาระการประเมนิ แห่งชาติ เนน้ ทีค่ วามรู้ การคำ�นวณ พลเมอื งและความเปน็ พลเมือง ความรู้ ดา้ นไอซที ี ความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ ◆ การประกันคุณภาพระดับอาชีวศึกษา หน่วยงาน Educational Standards Authority ของแตล่ ะรฐั และเขตปกครองพเิ ศษด�ำ เนนิ การก�ำ กบั ตดิ ตามสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษาใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน ร่วมกับคณะกรรมการด้านทักษะและอุตสาหกรรมออสเตรเลีย (The Australian Industry and Skills Committee หรอื AISC) โดยหนว่ ยงานทที่ �ำ หนา้ ทป่ี ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามกรอบคณุ ภาพการศกึ ษา คือ The Tertiary Education Quality and Standards Agency (TEQSA) และ Australian skills Quality (ASQA) ◆ การประกนั คณุ ภาพระดบั อดุ มศกึ ษา The TertiaryEducation Quality and Standards Agency (TEQSA) ท�ำ หนา้ ทค่ี วบคมุ คณุ ภาพตามการก�ำ หนดของรฐั บาลกลางในออสเตรเลยี มหาวทิ ยาลยั ใช้ AQF เปน็ กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ทิ างการศกึ ษา หนว่ ยงานทดี่ �ำ เนนิ การตรวจประเมนิ คณุ ภาพระดบั มหาวทิ ยาลยั ได้แก่ Australian Universities Quality Agency : AUQA โดยมีหน่วยงานรับรองคุณภาพของรัฐ คือ State/Territories Accreditation คอยดูแลให้มหาวิทยาลัยดำ�เนินการตามกรอบท่ีกำ�หนดในระดับชาติ สำ�หรับแนวทางการกำ�กับ ติดตาม การประเมินเพ่ือส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ออสเตรเลีย ใช้กลไกการสร้างความรับผิดชอบร่วมกันของภาครัฐและชุมชน ผ่านการรายงานด้วยความโปร่งใส เพ่ือสร้างความม่ันใจว่าชุมชนได้รับผลลัพธ์ที่ดีจากการจัดการศึกษาเพ่ือปรับปรุงคุณภาพและ ความเสมอภาคของระบบการศึกษาออสเตรเลีย จากน้ันจัดทำ�รายงานเสนอต่อ COAG และส่งรายงาน ไปยังเครอื จกั รภพ รายงานผลการศึกษา เรื่อง 163 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

สรปุ สาระส�ำ คญั ของการนำ�มาตรฐานการศกึ ษาสู่การปฏิบตั ิ สาระสำ�คัญของข้อมูลการนำ�มาตรฐานการศึกษาชาติสู่การจัดการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย สรุปได้ดังตารางตอ่ ไปน้ี การก�ำ หนดมาตรฐาน การก�ำหนดนโยบายส�ำคัญทางการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ก�ำหนดโดยรัฐบาลส่วนกลาง (The Council of Australian Government : COAG) ซ่ึงประกอบด้วย ตัวแทนจากรัฐต่างๆ และ เขตปกครองพเิ ศษ ภายใต้กรอบแนวคดิ (1) การสรา้ งความเข้มแข็ง และยงั่ ยนื ของระบบการศกึ ษา (robust) (2) การสรา้ งการมสี ่วนรว่ มและบูรณาการความร่วมมอื จากทุกฝ่าย (integrated) (3) การแข่งขนั ได้ในระดับโลก และจดั การศกึ ษาให้มีชือ่ เสียงระดบั โลก การนำ�มาตรฐานสู่หลกั สูตร โรงเรียนและสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนมีอิสระในการจัดท�ำหลักสูตรภายใต้เป้าหมายที่ กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดและให้ความส�ำคัญกับเด็กที่เป็นชนพ้ืนเมืองและเด็กพิเศษท่ีมีการดูแล และการประเมินเปน็ การเฉพาะ ระดับปฐมวยั หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ได้ก�ำหนดผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ 5 ดา้ น คือ 1. เดก็ มเี อกลกั ษณท์ ่ีแข็งแกร่ง 2. เดก็ ไดเ้ รียนรู้และมีสว่ นร่วมในชมุ ชน 3. เด็กมสี ุขภาพท่ดี ี 4. เดก็ มีความม่นั ใจและมีส่วนรว่ ม 5. เด็กเปน็ ผู้ส่ือสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 164 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา ACARA ก�ำ หนดกรอบการพฒั นาหลักสูตร โดยใช้หลักสูตร 3 มติ ิ ประกอบด้วย 1. ความคาดหวงั หลักสตู ร 3 ดา้ น (Three Cross-curriculum Priorities) 2. กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม (Eight Learning Areas) 3. ความสามารถทั่วไป 7ดา้ น (Seven General Capabilities) ระดับอาชวี ศึกษา สถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนพัฒนาหลักสูตรภายใต้กรอบนโยบายของรัฐโดยจัดระบบการจัด การศึกษา เพ่ือฝึกทักษะ (The Australian’s National Training System) และมนี โยบายให้มีทกั ษะจ�ำเป็น ในการท�ำงาน มีความมั่นคงในงาน และสามารถแขง่ ขนั ระดับโลกได้ กรอบเน้ือหาหลักสตู ร VET ประกอบดว้ ย 1. ทักษะชีวิตพ้ืนฐาน ซึ่งประกอบด้วยการฝึกทักษะและเรียนเน้ือหาพื้นฐานก่อนฝึกทักษะอาชีพ Literacy และ Numeracy 2. ทกั ษะการท�ำงานอาชีพพน้ื ฐาน ซงึ่ ต้องฝกึ ถงึ ระดบั มีความช�ำนาญสูง (automotive) 3. การฝึกฝนสิ่งท่ีเก่ียวข้องกับอาชีพ เช่น การโฆษณา ธุรกิจ ความปลอดภัย และการดูแลสุขภาพ ในการประกอบอาชพี เป็นตน้ 4. การเรียนและฝกึ ฝน ในสาขาที่เรยี น ร ะดบั อดุ มศกึ ษา  มหาวทิ ยาลยั แตล่ ะแหง่ พฒั นาหลกั สตู ร และจดั การศกึ ษาเพอ่ื แขง่ ขนั ได้ในระดบั โลก การส�ำเรจ็ การศกึ ษา แต่ละหลักสตู รต้องมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน AQF  ปี ค.ศ.2011มกี ฎหมายTheTertiaryEducationqualityandStandardsAgencyAct.หรอื TEQSAAct. เพื่อก�ำกับดูแลส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ ให้ค�ำปรึกษาแกม่ หาวทิ ยาลัยทเ่ี รยี กว่า The Higher Education Standard Panel หรือ HESP.  การประเมินผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยด�ำเนินการประเมินผลเอง โดยรัฐบาลกลาง ก�ำกับการให้เกรด (grade and scaling) กลุ่มมหาวิทยาลัยใช้ระบบการให้เกรดท่ีอาจเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกนั สามารถเทยี บเคยี งกันได้ และมีการเทียบเคยี งกับนานาประเทศได้ดว้ ย รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง 165 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การประกันคุณภาพการศึกษา รัฐบาลได้ประกาศปฏิญญาเมลเบิรน์ เพ่ือการควบคุมคุณภาพการศึกษา โดยเน้น 1. การศกึ ษาทีเ่ ท่าเทยี มและเปน็ เลิศ 2. ผเู้ รยี นประสบความส�ำเรจ็ มคี วามมน่ั ใจ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ พลเมอื งทก่ี ระตอื รอื รน้ และพลเมอื ง ที่รแู้ จง้ เปา้ หมายท่ี 1 การศกึ ษาของออสเตรเลยี ส่งเสรมิ ความเทา่ เทยี มและความเป็นเลิศ เปา้ หมายท่ ี 2 ชาวออสเตรเลียวัยหนุ่มสาวทุกคนกลายเป็นผู้เรียนที่ประสบความส�ำเร็จมีความม่ันใจ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์เปน็ พลเมืองท่ีกระตอื รือร้น และพลเมอื งที่รู้แจง้  ปฏิญญาเมลเบิร์น ได้ระบุค�ำม่นั สัญญาท่จี ะลงมือปฏิบัติ 8 ด้าน ซึ่งมคี วามเกย่ี วข้องกนั เพอื่ ใหบ้ รรลุ เปา้ หมายทางการศกึ ษา ได้แก่ 1. พฒั นาความร่วมมือทแี่ ข็งแกรง่ 2. สนับสนนุ การสอนท่ีมีคุณภาพและความเป็นผู้น�ำของโรงเรยี น 3. เสรมิ สร้างการศึกษาปฐมวยั 4. การพัฒนาระหว่างปี 5. การสนบั สนนุ ปีการศกึ ษาและการเปล่ียนวัย 6. การสง่ เสริมหลักสูตรและการประเมินระดับโลก 7. การปรบั ปรงุ ผลการศกึ ษาส�ำหรบั เยาวชนพน้ื เมอื งและเยาวชนออสเตรเลยี ทดี่ อ้ ยโอกาสโดยเฉพาะ ผู้ท่ีมภี ูมิหลังทางเศรษฐกจิ และสังคมตํา่ 8. การเสรมิ สร้างความรับผิดชอบและความโปรง่ ใส  ใช้ AQF (Australian Qualification Framework) เป็นกรอบมาตรฐานคณุ วุฒทิ างการศกึ ษา  มหาวิทยาลยั รับผดิ ชอบดา้ นมาตรฐานคุณภาพทางวิชาการ (academic standards)  หน่วยงานท่ีด�ำเนนิ การตรวจประเมินคุณภาพระดับมหาวิทยาลยั ได้แก่ Australian Universities Quality Agency หรือ AUQA  หนว่ ยงานรบั รองคุณภาพของรัฐ ไดแ้ ก่ State / Territories Accreditations ท�ำตามกรอบท่กี �ำหนด ในระดบั ชาติ  มี Commonwealth Monitoring of University ท�ำหน้าที่พัฒนาและส่งเสริมคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยให้ได้มาตรฐาน โดยมีกระบวนการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล หรือวิจัยเก่ียวกับ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ซง่ึ จดั วา่ เปน็ การใชผ้ ลการประเมนิ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ในการสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน 166 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

การกำ�กับ ตดิ ตาม  รัฐบาลกลางและเขตปกครองต่างๆ ร่วมกัน ก�ำกับ ตรวจสอบมาตรการการปฏิบัติที่ส�ำคัญระดับชาติ ส�ำหรับโรงเรียน ตามทีก่ �ำหนดในปฏญิ ญาเมลเบริ น์ ไดแ้ ก่ 1. ข้อตกลงการศึกษาแหง่ ชาติ (NEA) 2. ขอ้ ตกลงการปฏริ ปู การศกึ ษาแห่งชาติ (NERA) 3. พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาของออสเตรเลยี ปี 2013  The Tertiary Education Quality and Standards Agency (TEQSA) มหี นา้ ทคี่ วบคุมคณุ ภาพ รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 167 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

บทสรปุ ผลการศึกษาข้อมูลการจัดการศึกษาและการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติของต่างประเทศ ที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ในเรื่องกลไกการนำ�มาตรฐานการศึกษาสู่การปฏิบัติในแต่ละระดับการศึกษา แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา แนวทางการกำ�กับติดตามการประเมินเพ่ือส่งเสริมคุณภาพ การศึกษาให้ได้ตามมาตรฐาน ของประเทศ แคนาดา ฟินแลนด์ ญ่ีปุ่น โปรตุเกส เม็กซิโก สิงคโปร์ เยอรมนี และออสเตรเลีย และพบว่า แต่ละประเทศมีการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ ตลอดจน การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล การประกันคุณภาพการศึกษา และการกำ�กับติดตามการประเมินเพ่ือส่งเสริมคุณภาพ การศกึ ษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน สรุปได้ดงั นี้ ◆ แนวทางการกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาตแิ ละกลไกการขบั เคลอื่ น ◎ การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ พบว่าบางประเทศ มีการกำ�หนดมาตรฐาน การศึกษาของชาติไว้ชัดเจน ได้แก่ สิงคโปร์ ญ่ีปุ่น ฟินแลนด์ ออสเตรเลีย ขณะที่บางประเทศใช้แนวคิด จากสภายโุ รปก�ำ หนดความสามารถหลกั ส�ำ หรบั ผเู้ รยี น ไดแ้ ก่ โปรตเุ กส เยอรมนี และบางประเทศมแี นวคดิ ส�ำ คญั ทใ่ี ชเ้ ปน็ พนื้ ฐานในการพฒั นาการศกึ ษาส�ำ หรบั อนาคตของผเู้ รยี น โดยแตล่ ะรฐั มอี สิ ระทจี่ ะออกแบบ มาตรฐาน รวมทั้งมาตรการและแนวทางในการส่งเสริมการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายท่ีกำ�หนดไว้ ไดแ้ ก่ แคนาดา ซงึ่ สรปุ แนวทางในการกำ�หนดมาตรฐาน ได้ 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 รฐั บาลดำ�เนนิ การก�ำ หนดมาตรฐานแห่งชาติ โดยดำ�เนินการในรูปของนโยบาย กฎหมาย หรือเป้าหมายการศึกษาระดับชาติ รูปแบบนี้เป็นแนวทางการบังคับใช้ตามกฎหมาย เพ่ือให้ การดำ�เนินการเป็นไปตามระบบของกฎหมายด้านการศึกษาที่ชัดเจน การกำ�หนดเป็นมาตรฐานท่ีต้อง ดำ�เนินการตามอย่างเคร่งครัด มีการกำ�หนดบทบาทหน้าท่ีในการดำ�เนินงานอย่างเป็นระบบ ชัดเจน และกำ�หนดปจั จัยสนบั สนุนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทว่ี างไว้ แนวทางที่2รฐั บาลก�ำ หนดเปน็ เปา้ หมายรว่ ม(CommonValue)ระดบั ชาต ิ ทใ่ี หผ้ มู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ใช้เป็นเป้าหมายคุณภาพอนั พึงประสงค์ เพ่ือใหเ้ กดิ การดำ�เนินการทหี่ ลากหลาย แตม่ เี ปา้ หมายไปในทาง เดยี วกนั เออื้ ให้เกดิ การระดมทรพั ยากรและการท�ำ งานร่วมกนั ทีย่ ดื หยนุ่ แนวทางท่ี 3 รฐั บาลไมไ่ ดก้ �ำ หนดมาตรฐานหรอื เปา้ หมายรว่ มทช่ี ดั เจนรว่ มกนั แตเ่ ปดิ โอกาส หน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษาในทุกระดับและประเภทได้ดำ�เนินการกำ�หนดมาตรฐาน ตามบรบิ ทของตนเอง 168 รายงานผลการศึกษา เรื่อง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◎ การกำ�หนดกลไกการขับเคลื่อนมาตรฐานการศึกษาของชาติ พบว่า ส่วนใหญ่มีหน่วยงาน ท่ีรับผิดชอบการนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาติสู่การปฏิบัติโดยตรง ขณะท่ีบางประเทศไม่มีหน่วยงาน ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรง แตใ่ ชว้ ธิ กี ารท�ำ งานรว่ มกนั จากฝา่ ยตา่ งๆ ซง่ึ จากการศกึ ษาทง้ั 8 ประเทศ สามารถสรปุ เป็นรูปแบบได้ 3 แนวทาง ดงั นี้ แนวทางที่ 1 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของชาติและ เป็นผู้ขบั เคลอ่ื นโดยตรง ได้แก่ โปรตเุ กส เยอรมนี ญปี่ ุ่น สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย แนวทางที่ 2 มหี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการก�ำ หนดมาตรฐานกลางโดยมอบหมายใหห้ นว่ ยงาน ทีเ่ ก่ียวข้องในแต่ละฝา่ ยไปด�ำ เนินการตามบริบทและจุดมุ่งหมายของตนเอง ได้แก่ ฟินแลนด์ แนวทางท่ี 3 ไม่มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ได้แก่ แคนาดา เม็กซิโก โดยแคนาดา มีสภารัฐมนตรกี ารศึกษาแห่งชาติทำ�หนา้ ทก่ี �ำ หนดนโยบายเพ่ือพัฒนาการศึกษาร่วมกัน โดยรัฐบาลกลาง ไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบด้านการศึกษา ความรับผิดชอบด้านการศึกษาเป็นหน้าท่ีของแต่ละรัฐ สว่ นเมก็ ซโิ กมกี ระทรวงการศกึ ษาแหง่ ชาติ ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารการศกึ ษาแหง่ ชาติ และแตล่ ะรฐั รบั ผดิ ชอบ ด้านการศกึ ษารว่ มกนั ◎ ประเดน็ ที่นา่ สนใจ พบว่า  ประเทศญี่ปุ่น ใช้กลไกกฎหมายในการขับเคลื่อนงาน มีแผนการศึกษาชาติกำ�กับและควบคุม การทำ�งาน โดยเป็นแผนระยะยาว มีเอกสารและงานวิจัยรองรับในการนำ�เสนอ ปรับปรุง และพัฒนา มาตรฐาน รวมทง้ั มีการกำ�หนดระยะเวลาในการพฒั นาหลักสูตรทุก 10 ปี  ประเทศโปรตุเกส ได้กำ�หนดความท้าทาย 12 ประการ ท่ีต้องดำ�เนินการเพื่อพัฒนาการศึกษา ควบคูก่ ับการกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ  ประเทศเยอรมนี ได้กำ�หนดระดับการให้คะแนนของการวัดผลการศึกษา โดยผ่านข้อตกลง ระหว่างรัฐ เพือ่ ใหเ้ ป็นมาตรฐานใช้ร่วมกันท่ัวประเทศ  ประเทศเม็กซิโก สร้างโมเดลการศึกษาแบบใหม่ที่เน้นการศึกษาเพ่ืออิสระภาพและความคิด สร้างสรรค์ (Modelo Educativo para la Educación Obligatoria : Educar para la Libertad y la Creatividad) ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การปฏิรูปทางครุศาสตร์ (Pedagogical Reform) 2) ใช้โรงเรียนเป็นหัวใจของระบบการศึกษา (Schools at the Heart of The System) 3) การอบรมหลักสูตรเบื้องต้นสำ�หรับครูและการพัฒนาอาชีพครู (Teachers’ Initial Training & Professional Development) 4) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคในการจัดการศึกษา (Equality & Inclusion) และ 5) ธรรมาภิบาล (Governance) รายงานผลการศึกษา เรื่อง 169 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

◆ แนวทางการน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตแิ ตล่ ะระดบั สกู่ ารพฒั นาหลกั สตู ร การศึกษา การจดั การเรยี นการสอน และการวดั ผล ประเมนิ ผล ◎ การพัฒนาหลักสูตร พบทั้งรัฐบาลกลางหรือรัฐกำ�หนดกรอบโครงสร้างหลักสูตรด้านเนื้อหา ด้านคุณค่าหรือสมรรถนะ ด้านทักษะสำ�คัญ โดยเน้นสมรรถนะและทักษะในศตวรรษที่ 21 ส่วนกลาง ก�ำ หนดกรอบในการพฒั นาหลกั สตู ร ก�ำ หนดขน้ั ตอนหลกั และเปดิ โอกาสใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาหลกั สตู รเอง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สำ�หรับประเทศที่มีหลายรัฐนั้น รัฐบาลกลางเป็นผู้กำ�หนด นโยบายหลักด้านการศึกษา ส่วนระดับรัฐและเขตปกครองพิเศษ กำ�หนดนโยบายเพ่ิมเติมและดูแล การพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา รวมท้ังกำ�หนดกรอบนโยบายและแนวทางการดำ�เนินการ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ผลลพั ธต์ ามทห่ี ลกั สตู รก�ำ หนด ซง่ึ จากการศกึ ษาแนวทางการเชอื่ มโยงมาตรฐานการศกึ ษา ของชาตสิ ูก่ ารพฒั นาหลักสตู ร สามารถสรุปได้ 2 แนวทาง ดังนี้ แนวทางท่ี 1 กำ�หนดกรอบมาตรฐานหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ จากรฐั บาลกลางหรอื รฐั แตล่ ะรฐั โดยก�ำ หนด 2 สว่ นหลกั ทเี่ หมอื นกนั ในหลกั สตู ร คอื สว่ นทเ่ี ปน็ คณุ คา่ หลกั (Core Value) หรอื สมรรถนะ (Capabilities) และสว่ นทเี่ ปน็ โครงสรา้ งเนอื้ หา (Learning areas) นอกจากนี้ ยังมีส่วนอ่ืนเพิ่มเติม เช่น ออสเตรเลียมีส่วนของการบูรณาการข้ามหลักสูตร (Cross-curriculum Priorities) เมก็ ซโิ กมีสว่ นท่ใี ห้อสิ ระในการจดั ทำ�หลักสตู ร ส�ำ หรบั ประเทศท่ีใชแ้ นวทางนี้ ได้แก่ โปรตเุ กส เยอรมนี ญป่ี ุน่ สงิ คโปร์ ออสเตรเลีย เม็กซิโก แนวทางท่ี 2 ก�ำ หนดหลกั สตู รคอ่ นขา้ งหลากหลาย ยดื หยนุ่ ไดแ้ ก่ ฟนิ แลนด์ แคนาดา โดยฟนิ แลนด์ หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานคอ่ นขา้ งยืดหยนุ่ และลักษณะโรงเรียนเปน็ แบบประสม (Comprehensive School) ที่มีหลักสูตรที่ผสมผสานสายสามัญกับสายอาชีพเนื่องจากความหลากหลายของประชากร ขณะท่ีแคนาดา มีหลักสตู รค่อนขา้ งหลากหลาย ยืดหย่นุ เพราะแต่ละรัฐรบั ผิดชอบการศึกษาเอง สำ�หรบั การอาชวี ศกึ ษา และระดบั อดุ มศกึ ษา มหี ลกั สตู รทห่ี ลากหลาย มงุ่ เนน้ ทกั ษะและการประกอบอาชพี รวมทง้ั ร่วมมือกับสถานประกอบการ การฝึกอบรมที่ตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของชุมชน และ มหี ลักสตู รฝึกอบรมอาชพี เชน่ หลักสตู รฝึกอบรมก่อนท�ำ งาน หลักสูตรฝกึ ทักษะระดับกลาง เยอรมนีและ ออสเตรเลียมกี ารก�ำ หนดคณุ สมบัติ สมรรถนะ และระดับทักษะของผ้ไู ด้รบั การศกึ ษาประเภทอาชีวศกึ ษา ◎ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท้ัง 8 ประเทศเน้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียน เกดิ สมรรถนะและคา่ นยิ มตามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ โดยสว่ นใหญจ่ ะมงุ่ เนน้ ดา้ นทกั ษะในศตวรรษ ท่ี 21 เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียน สามารถเรียนรู้วิธีเรียน ซ่ึงเป็นทักษะชีวิตที่สั่งสม ทำ�ให้สามารถ เรียนรไู้ ดต้ ลอดชีวติ มุง่ สกู่ ารพัฒนาการคดิ สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีเหตุผล การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ทกั ษะการสื่อสาร ทั้งน้ใี นแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษา มจี ดุ เนน้ ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ทแี่ ตกต่างกนั ดงั น้ี 170 รายงานผลการศึกษา เรือ่ ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดับการศกึ ษาปฐมวัย เน้นผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลางในการพฒั นา ใหค้ วามสำ�คัญกบั ปฏิสมั พนั ธ์ การเล่นเพอ่ื การเรียนรู้ พฒั นาทักษะการใชช้ ีวิตร่วมกัน การสอ่ื สาร การจัดสิ่งแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ สง่ เสรมิ พฒั นาการตามศกั ยภาพโดยเปดิ โอกาสใหค้ รอบครวั องคก์ รเอกชนทอ้ งถนิ่ รบั ผดิ ชอบและมสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา ทกุ ประเทศจดั ใหเ้ ปน็ การศกึ ษาภาคบงั คบั เนน้ การพฒั นาสมรรถนะทสี่ �ำ คญั ของผู้เรียน พัฒนาความเข้มแข็งในการอ่าน การเขียน คณิตศาสตร์ และการค้นคว้าสร้างความรู้ ด้วยตนเอง และเรียนรู้จากการทำ�โครงงาน โครงสร้างเน้ือหามีกลุ่มภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ศิลปะ และดนตรี การกำ�หนดคุณค่าหลักหรือ Core Value ประกอบด้วย สมรรถนะสำ�คัญ ทกั ษะการคดิ คุณลกั ษณะตัวบุคคล และการอยรู่ ว่ มกันในวฒั นธรรมทีห่ ลากหลาย ระดับมัธยมศึกษา มีทั้งเป็นการศึกษาภาคบังคับและไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ ทั้งสายอาชีพ สายสามัญ ระหว่างเรียนในระดับมัธยมศึกษาสามารถข้ามสาย / ย้ายสายตามความสนใจ ตามเงื่อนไข ทก่ี �ำ หนดโครงสรา้ งเนอื้ หาวชิ าหลกั สอดคลอ้ งกบั จดุ เนน้ แตล่ ะสายเพอ่ื ใหม้ วี ชิ าเลอื กตามความสนใจมากขนึ้ ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เนน้ วชิ าบรู ณาการระหวา่ งศาสตรต์ า่ งๆ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายเนน้ วชิ า พืน้ ฐานการศึกษาตอ่ ระดบั มหาวทิ ยาลยั ระดับอาชีวศึกษา เน้นการพัฒนาสมรรถนะในการประกอบอาชีพ การมีงานทำ� และสร้าง วัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เน้นทักษะท่ีเชี่ยวชาญในการประกอบอาชีพ มีหลักสูตรที่หลากหลาย เน้นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ โรงงาน บริษัท ห้างร้าน กำ�หนดให้มี การฝึกงานในสถานประกอบการ ผู้สอนต้องเชื่อมโยงการทำ�งานกับสถานประกอบการ เปิดโอกาส ใหผ้ ู้เชี่ยวชาญในสถานประกอบการท่ที ำ�งานในสาขานน้ั ๆ เขา้ มารว่ มสอน ◎ การวดั ผล ประเมนิ ผล ทั้ง 8 ประเทศ ครูเปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบการประเมินผเู้ รียน โรงเรยี นรบั ผดิ ชอบ ในการกำ�หนดและดำ�เนินการวัดและประเมินผู้เรียนเอง โดยบางโรงเรียนอาจจัดสอบเฉพาะวิชาหลัก เชน่ ในฟนิ แลนดโ์ รงเรยี นตอ้ งแสดงผลใหเ้ หน็ ถงึ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นของผเู้ รยี น หากผเู้ รยี นไดค้ ะแนน ไม่ดีในหลายๆ วิชา ผู้บริหาร ครู และผู้ปกครองต้องร่วมมือกันช่วยเหลือผู้เรียน ทั้งน้ี ในแต่ละระดับ และประเภทการศกึ ษา มปี ระเด็นทน่ี า่ สนใจเกีย่ วกับการวัดและประเมนิ ผล ดังน้ี ระดับการศึกษาปฐมวัย ไม่มีการวัดและประเมินผลอย่างเป็นทางการเพ่ือตัดสินผล แต่เน้น ทีก่ ารพฒั นาเดก็ ใหม้ ีพฒั นาการตามวยั และการหาแนวทางพฒั นาผเู้ รยี นร่วมกบั ครอบครัว ระดับประถมศึกษา เน้นการวัดและประเมินผล เพ่ือให้ข้อมูลเรื่องการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน (Competency-Oriented Feedback) ไม่เน้นการสอบ ไม่เน้นการแข่งขัน ใช้การประเมินตามสภาพจริง การตรวจผลงาน ใช้วธิ ีวัดจากการแสดงออกโดยการพดู มากกว่าการสอบอย่างเปน็ ทางการ โดยการสอบ ปากเปล่าท่ีเป็นการพูด สื่อสาร อธิบายความคิด การวัดผลระดับชาติสำ�หรับผู้จบระดับประถมศึกษา เพือ่ ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการศกึ ษาต่อระดบั มัธยมศกึ ษา รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 171 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

ระดบั มธั ยมศกึ ษา จดั ใหม้ กี ารประเมนิ ระดบั นานาชาติ (PISA) ส�ำ หรบั ผเู้ รยี น 15 ปี เพอื่ ใชข้ อ้ มลู ในการปรบั ปรุง พฒั นาการศึกษาโดยภาพรวม และมกี ารก�ำ หนดกรอบการประเมินผลการปฏบิ ตั ิ สำ�หรบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ระดับอาชีวศึกษา เนน้ ความรว่ มมือกับสถานประกอบการในการประเมนิ ทกั ษะผ้เู รยี น สว่ นใหญม่ กี ารทดสอบตามมาตรฐานและมกี ารประเมนิ ระดบั ชาตทิ ด่ี �ำ เนนิ การโดยคณะกรรมการ หรือหน่วยงานของรัฐ ออสเตรเลียและเยอรมนี มีกรอบการประเมินผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท้ังระดับชาติและระดับนานาชาติ ขณะที่เม็กซิโกยกเลิกการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ เน่อื งจากมีผลกระทบทำ�ให้ครตู ิวผู้เรยี นเพื่อสอบ ◎ ประเดน็ ท่นี า่ สนใจ พบว่า  ประเทศโปรตุเกส มหี น่วยพฒั นาหลักสูตร รบั ผิดชอบการพัฒนาหลกั สูตรโดยตรง  ประเทศเม็กซโิ ก กำ�หนดกรอบสมรรถนะสำ�คัญของผู้เรยี นระดับปฐมวยั ถงึ ข้นั พ้ืนฐาน 11 สมรรถนะ และใช้เป็นกรอบในการพัฒนาหลักสูตรต้ังแต่ปฐมวัยถึงขั้นพื้นฐาน คือ 1) ภาษาและการส่ือสาร 2) การคิดทางคณิตศาสตร์ 3) การเข้าใจธรรมชาติและสังคม 4) การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การแก้ปัญหา 5) ความสามารถทางอารมณ์ สังคม และโครงงานชีวิต 6) การทำ�งานเป็นทีม และ การรว่ มงาน 7) การเปน็ พลเมอื งและชีวติ ทางสงั คม 8) การส่อื สารและการชื่นชอบทางศลิ ปะ 9) การดแู ล สขุ ภาพ 10) การดแู ลส่ิงแวดลอ้ ม 11) ความสามารถด้านดจิ ทิ ัล  ประเทศญป่ี นุ่ แมจ้ ะก�ำ หนดกรอบหลกั สตู ร แตใ่ หอ้ สิ ระแกค่ รใู นการออกแบบกจิ กรรมทเี่ หมาะสม กับผู้เรียนได้ประมาณร้อยละ 10 ของช่ัวโมงเรียน ครูมีโอกาสออกแบบการเรียนการสอนอย่างอิสระ เพ่ือให้เหมาะสมกับผู้เรียน การสอนในวิชาต่างๆ กำ�หนดให้ปลูกฝังจิตใจท่ีสมบูรณ์ในร่างกายที่แข็งแรง โรงเรยี นจดั กจิ กรรมทางสงั คมเพอื่ พฒั นาทกั ษะการพงึ่ ตนเอง การรว่ มมอื กบั ผอู้ นื่ การตระหนกั ในกฎเกณฑ์ ของสงั คม และการมจี ิตสาธารณะ กระบวนการเรยี นหลักมี 3 ระยะ คือ ฟงั บรรยาย ทดลองใชค้ วามรู้ และ ฝึกปฏบิ ัติให้ชำ�นาญ  ประเทศฟินแลนด์ จัดการเรียนรู้แบบปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomena-based Learning) ควบคกู่ บั การสอนเนน้ เนอื้ หา (Subject-based Instruction) ในชน้ั เรยี นใช้ 2 ภาษา คอื ฟนิ นชิ และภาษาอนื่ และเนน้ การอ่านเพื่อความเพลิดเพลนิ (Reading for Pleasure) มกี ารปฏิรูปดา้ นการสอน กำ�หนดใหล้ ด การเรียนแบบท่องจำ� เพ่ิมกระบวนคิดและกระบวนการเรียนรู้ กำ�หนดขนาดห้องเรียนให้มีนักเรียน ไม่เกิน 20 คน เพ่ือให้มีการปฏิสัมพันธ์และเกิดประสิทธิภาพทางการเรียน ครูมีอิสระในการเลือกวิธีสอน การคัดเลือกครูใช้เกณฑ์มาตรฐานสูงมากท้ังความสามารถและคุณสมบัติ หลักปฏิบัติสำ�หรับครู คือ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พิจารณาการเรียนและช่วยเหลือด้านการเรียนของผู้เรียนโดยให้ความสนใจ จูงใจผเู้ รียน มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเรยี นรู้ธรรมชาติ สงั คม เห็นคุณคา่ ในการเรียน และชนื่ ชอบวัฒนธรรม 172 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

◆ แนวทางการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา จากการศกึ ษาท้ัง 8 ประเทศ พบว่า ทุกประเทศมีระบบการประกนั คุณภาพทีม่ ีการเช่ือมโยงการประกัน คณุ ภาพกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ แบง่ ออกเปน็ การประกนั คณุ ภาพภายในและการประกนั คณุ ภาพ ภายนอก โดยมีรายละเอียดการด�ำ เนนิ การทั้งที่มีความสอดคลอ้ งและแตกต่างกนั สามารถสรปุ ได้ดังน้ี ◎ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่มีการดำ�เนินการท้ังระบบการประกัน คุณภาพภายในและภายนอก โดยมีการกำ�หนดหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ และบทบาทหนา้ ทีซ่ ่งึ แบ่งออกเป็น 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 มีระบบการประกันคุณภาพท้ังภายในและภายนอก โดยการประกันคุณภาพ ภายในดำ�เนินการโดยสถาบันการศึกษาเอง แต่การประกันคุณภาพภายนอกมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ โดยตรง ได้แก่ โปรตเุ กส เยอรมนี แนวทางที่ 2 มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอก โดยหน่วยงานทีจ่ ดั ตง้ั ขน้ึ จากภาครฐั หรอื หนว่ ยงานทร่ี ฐั บาลใหก้ ารรบั รองรว่ มด�ำ เนนิ การ โดยประเทศทดี่ �ำ เนนิ การมหี นว่ ยงาน ท่ีขึ้นตรงกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ สิงคโปร์ และประเทศที่อาศัยความร่วมมือในการดำ�เนินการ จากหนว่ ยงานหลายภาคส่วน ได้แก่ ญ่ปี ุ่น เม็กซโิ ก ออสเตรเลยี แนวทางท่ี 3 ไมม่ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายในทกุ ระดบั การศกึ ษา แตม่ รี ะบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก โดยใหค้ วามส�ำ คญั กบั การพฒั นาครผู สู้ อน ใหค้ วามไวว้ างใจและเสรภี าพในการจดั การ ศกึ ษาทมี่ งุ่ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ ไปตามกรอบคณุ วฒุ แิ ละมาตรฐานการศกึ ษาของชาตทิ ก่ี �ำ หนดไว้ พรอ้ มมีนโยบายในการสนับสนนุ ให้เป็นไปตามเกณฑท์ ีก่ �ำ หนด ได้แก่ ฟนิ แลนด์ ◎ การขบั เคลอื่ นระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พบวา่ แตล่ ะประเทศมกี ารก�ำ หนดกลไก ในการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและชัดเจน เชื่อมโยงกบั กรอบคุณวฒุ ิและมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ดงั นี้  กำ�หนดระยะเวลาที่เหมาะสมในการประกันคุณภาพ โดยแต่ละประเทศจะมีการกำ�หนด ชว่ งระยะเวลาส�ำ หรบั การประกนั คณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอกไวอ้ ยา่ งชดั เจน เพอ่ื เปน็ กรอบในการขบั เคลอื่ น การประกันคุณภาพการศึกษา เช่น สิงคโปร์ กำ�หนดกรอบการประกันคุณภาพ 4 ปี โดย 3 ปีแรก เปน็ การประเมนิ ตนเอง ปที ี่ 4 เปน็ การประเมนิ ภายนอก ญปี่ นุ่ ก�ำ หนดใหส้ ถานศกึ ษาตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ภายนอกอย่างน้อย 1 คร้ัง ในรอบ 7 ปี แต่ถ้าเปน็ หลักสตู รจะไดร้ ับการประเมนิ 1 คร้งั ในรอบ 5 ปี  ใช้ประโยชน์จากผลการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการระบุไว้อย่างชัดเจนให้นำ�ผลจาก การประกันคุณภาพท้ังภายในและภายนอกไปใช้ประโยชน์ ไปใช้ปรับปรุงพัฒนา ทั้งระดับนโยบาย การจัดการศึกษา รวมท้ังการวัดและประเมินผล โดยมีการนำ�ผลจากการวิจัยและพัฒนาเป็นฐานสำ�หรับ นำ�ไปพัฒนาจุดแข็งและแก้ไขปรับปรุงจุดอ่อน รวมทั้งใช้เป็นแนวทางการในการกำ�กับ ควบคุมคุณภาพ การศกึ ษาของแตล่ ะระดบั โดยผเู้ ชยี่ วชาญจากหนว่ ยงานทท่ี �ำ หนา้ ทใี่ นการประกนั คณุ ภาพจะใหค้ �ำ แนะน�ำ เพอื่ พฒั นา สนับสนุน มากกว่าการตรวจสอบหรอื ควบคุม เช่น เยอรมนี ออสเตรเลยี สิงคโปร์ รายงานผลการศกึ ษา เร่ือง 173 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

◎ ประเด็นทีน่ ่าสนใจ พบวา่  ประเทศแคนาดา มกี ารสรา้ งวฒั นธรรมในการทำ�งานโดยกำ�หนดใหก้ ารประกันคุณภาพภายใน เป็นหน่ึงในกระบวนการท�ำ งาน  ประเทศฟินแลนด์ แม้จะไม่มีการดำ�เนินการประกันคุณภาพภายในทุกระดับการศึกษา แต่ฟินแลนด์ให้ความสำ�คัญกับคุณภาพของผู้สอนทุกระดับการศึกษา พร้อมทั้งมีนโยบายท่ีจะสนับสนุน และส่งเสริมอย่างเป็นระบบ โดยเป็นการทำ�งานร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับสำ�นักงานการศึกษา แห่งชาติฟนิ แลนด์และสภาประเมนิ ผลการศึกษา  ประเทศออสเตรเลีย มีการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบเพื่อประเมินคุณภาพ การศึกษาตามเปา้ หมายและนโยบายระดบั ชาติ โดยก�ำ หนดความส�ำ เร็จในการประเมนิ แห่งชาติ มุ่งเน้นท่ี 1) ความรู้ 2) การคำ�นวณ 3) พลเมอื งและความเปน็ พลเมอื ง 4) ความรู้ดา้ นไอที และ 5) ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รวมถงึ การเชอ่ื มโยงผลลพั ธข์ องผเู้ รยี นเทยี บเคยี งกบั ระดบั นานาชาติ เพอ่ื น�ำ มาก�ำ หนดเปา้ หมายเพอ่ื พฒั นา คุณภาพผูเ้ รยี นกับนานาประเทศ  ประเทศโปรตุเกส มีระบบการให้ความเป็นธรรมกับสถานศึกษา และการประเมินท่ีโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยมีคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ในกรณีที่สถานศึกษาไม่เห็นด้วยกับผล การประกันคุณภาพ คณะกรรมการสามารถยน่ื ค�ำ รอ้ งต่อศาลปกครองได้ ◆ แนวทางการกำ�กับติดตาม การประเมินผล เพ่ือส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ให้ไดต้ ามมาตรฐานการศึกษา ส่วนใหญ่มีระบบการกำ�กับติดตามท่ีเข้มแข็ง โดยมีหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในการกำ�กับติดตาม หลายภาคสว่ นและมีการดำ�เนนิ การหลายแนวทาง สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ ◎ การกำ�กบั ตดิ ตามในแตล่ ะระดบั มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย การจดั การศกึ ษาปฐมวัยไม่ได้เป็นการศึกษาภาคบังคับ มีเพยี งการกำ�หนด กรอบคุณภาพการศึกษาไว้กว้างๆ เพ่ือการกำ�กับติดตามและประเมินผล ดังน้ันจึงมีอิสระสูงในการจัด การศกึ ษา โดยเนน้ การมสี ่วนร่วมของผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้องหรือหนว่ ยงานทีม่ สี ่วนรบั ผิดชอบรว่ มกัน ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในการกำ�กับติดตามการจัดการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษามีความร่วมมือกับหลายภาคส่วน มีการกำ�หนดบทบาทของรัฐบาลกลางและท้องถ่ินที่ชัดเจน ให้ผปู้ กครองและชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในโรงเรยี น เชน่ ญป่ี นุ่ แคนาดา เยอรมนี ระดบั อาชีวศกึ ษา กำ�กบั ติดตามโดยใช้หลกั การมสี ่วนรว่ มของหนว่ ยงานผู้มสี ว่ นเกี่ยวข้อง โดยคำ�นึงถึง ความตอ้ งการของสถานประกอบการและตลาดแรงงานเปน็ หลกั การจดั การศกึ ษาจงึ เนน้ เรอ่ื งของการพฒั นา สู่อาชีพ เน้นการพัฒนาทักษะและสมรรถนะที่จำ�เป็น และเป็นการดำ�เนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ทางการศกึ ษากลาง และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องดา้ นการอาชีพ เช่น แคนาดา เมก็ ซิโก 174 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ัต ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ระดับการอุดมศึกษา กำ�กับติดตามโดยกำ�หนดบทบาทผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน เพ่ือทำ�หน้าท่ี ในการตรวจสอบ โดยมีรูปแบบของการดำ�เนินการติดตามแบบมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็น ระบบการรับรองคุณภาพ ◎ การก�ำ หนดหน่วยงานรบั ผดิ ชอบ ประเทศส่วนใหญ่มีการกำ�หนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการกำ�กับติดตามและ การประเมินไว้อย่างชัดเจน ทั้งที่กำ�หนดบทบาทหน้าท่ีโดยตรง และบทบาทหน้าที่แบบมีส่วนร่วมของ ฝา่ ยต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ จากการศึกษาสามารถสรุปเปน็ รูปแบบได้ 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 มหี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการก�ำ กบั ตดิ ตามและประเมนิ เพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพ การศึกษาให้ได้ตามมาตรฐานโดยตรง โดยมอบหมายบทบาทหน้าท่ีให้กับหน่วยงานท่ีมีอยู่เดิม หรือ อาจเป็นการจัดต้ังสถาบันเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นการเฉพาะเพ่ิมเติมข้ึนใหม่ เช่น สิงคโปร์ เยอรมนี แนวทางที่ 2 มหี นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในการก�ำ กบั ตดิ ตามและประเมนิ เพอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภาพ การศกึ ษาใหไ้ ด้ตามมาตรฐาน โดยกระจายอ�ำ นาจให้กบั ส่วนของภมู ภิ าคหรือทอ้ งถ่ินให้มีส่วนรว่ ม ในการกำ�กับติดตามและประเมินดังกล่าวเพ่ือให้บรรลุตามกรอบคุณภาพท่ีกำ�หนด เช่น ออสเตรเลีย แคนาดา โปรตุเกส แนวทางที่ 3 ไมม่ หี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการก�ำ กบั ตดิ ตามโดยตรง แตม่ วี ฒั นธรรมการท�ำ งาน บนพนื้ ฐานของความไวว้ างใจ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเชอื่ มนั่ ในการจดั การศกึ ษาโดยหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งท�ำ หนา้ ท่ี ในการสนับสนุน สง่ เสริม เพือ่ ใหเ้ กิดการจัดการศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพบรรลตุ ามมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ ได้แก่ ฟินแลนด์ ◎ ประเด็นท่นี ่าสนใจ พบวา่ ประเทศฟนิ แลนด์ มรี ะบบการก�ำ กบั ตดิ ตามทมี่ งุ่ เนน้ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การพฒั นาครใู หม้ คี ณุ ภาพ จนสรา้ งวฒั นธรรมในการท�ำ งานทม่ี คี วามไวว้ างใจเชอื่ มน่ั และความรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั เนน้ การสรา้ งก�ำ ลงั ใจ แรงบันดาลใจและการเสริมพลังอำ�นาจแทนการควบคุม เน้นการมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่น และ การจัดระบบสนับสนุน เช่น การจัดงบประมาณในการใช้จ่ายที่ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา และปรับปรุงคณุ ภาพให้บรรลตุ ามกรอบคณุ ภาพการศึกษาทก่ี ำ�หนด  ประเทศสงิ คโปร์และเยอรมนี มกี ารใชก้ ลไกการวิจัยในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลผลการด�ำ เนนิ การ ในการกำ�กับติดตามการทำ�งาน โดยใช้ฐานข้อมูลร่วมกันแบบ Big Data ตั้งแต่ระดับนโยบาย ลงมาถึง ระดับปฏิบัติการ ส่งเสริมการทำ�วิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีการกำ�กับติดตามในการ ทำ�วิจยั ดงั กล่าวเปน็ การเฉพาะ เชน่ ในสิงคโปร์ กำ�กบั โดยสถาบนั พฒั นาครูแหง่ ชาติสงิ คโปร์ (NIE) ส่วนใน เยอรมนี กำ�กบั โดย สถาบันเพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (IQB) รายงานผลการศึกษา เร่ือง 175 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ตั ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

เอกสารอา้ งองิ ภาษาไทย กลุ่มวเิ ทศสมั พนั ธ์ สำ�นกั นโยบายความร่วมมอื ต่างประเทศ. (2559). รายงานการวจิ ยั เร่อื ง นโยบายและ การประเมนิ การศกึ ษา 4ประเทศ ยกระดบั การศกึ ษาไทยสสู่ ากล. จลุ สาร สมศ.17(1) ตลุ าคม -พฤศจกิ ายน กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานพฤศจกิ ายน, 5 - 8. เจษฎาแกว้ วรา,ชาตรีมณโี กศลและยพุ นิ จนั ทะยะ(2559).การศกึ ษาเปรยี บเทยี บหลกั สตู รระดบั ประถมศกึ ษา ของประเทศไทยกับประเทศญีป่ ่นุ . วารสารบัณฑติ วจิ ัย. ปีท่ี 7 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม). ชมุ พลเทยี่ งธรรม.(2549).รายงานการวจิ ยั คณุ ลกั ษณะและกระบวนการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของ ประเทศเยอรมน.ี กรงุ เทพมหานคร: ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาพลังแผนดินเชิงคุณธรรม. เพ็ญพิชช์ ศรีอรณุ . (2548). คุณลกั ษณะและกระบวนการปลกู ฝงั คณุ ธรรมและจริยธรรมในประเทศ ฟินแลนด์. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำ�นักบริหารและ พัฒนาองค์ความรู.้ วรนิ ธร ววู งศ.์ (ม.ป.ป.). การศกึ ษาปฐมวยั ของประเทศญป่ี นุ่ . วารสารเครอื ขา่ ยญปี่ นุ่ ศกึ ษา. ปที ี่ 1 ฉบบั 2, 84 - 95. ศศมิ า สขุ สวา่ ง. (2557. ระบบการศกึ ษาในเยอรมน.ี สบื คน้ จาก https://www.succeed-germany.com. สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุง เฮลซิงกิ. (2555 - 2557). ภูมิหลังประเทศฟินแลนด์. สืบค้นจาก http://www.thaiembassy.org สวสั ดิ์ อุดมโรจน.์ (2543). รายงานวิจัยเอกสารการปฏิรปู การอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวชิ าชพี ประเทศแคนาดา. ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำ�นกั นายกรฐั มนตร.ี ส�ำ นกั ขา่ วสารญี่ปนุ่ สถานเอกอัครราชทูตญป่ี ุ่นประจำ�ประเทศไทย. (2561). จากญปี่ ุ่น. (1), 2 - 5. ส�ำ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2555). รายงานการวจิ ยั เรอื่ ง นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา คุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกองค์กรระดับนานาชาติ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวาน กราฟฟคิ จำ�กดั . อลศิ รา ชชู าต.ิ (2549). คณุ ลกั ษณะและกระบวนการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมของประเทศแคนาดา. กรุงเทพมหานคร: ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นาพลังแผน่ ดินเชงิ คณุ ธรรม (ศนู ย์คุณธรรม). 176 รายงานผลการศกึ ษา เรอื่ ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

ภาษาตา่ งประเทศ Abdullah, A. (2018). K-12 Education in Germany: Curriculum and PISA 2015. MIDDLE EAST TECHNICAL UNIVERSITY. ACARA. (2015). Measurement Framework for Schooling in Australia Level. Retrieved from http://www.acara.edu.au ____. (2016). Assessment and Reporting Authority (ACARA). Retrieved from http://www.australiancurriculum.edu.au ____.(2019). Assessment and Reporting Authority (ACARA). Retrieved from https://www.australiancurriculum.edu.au ACECQA. (2018). National Quality Standard. Retrieved from http://www.acecqa.gov.au AITSL. (2018). Evaluation of the Australian Professional Standards for Teachers. Retrieved from https://www.aitsl.edu.au AITSL. (2016). InSights Report 4 Final Report - Evaluation of the Australian Professional Standards for Teachers. Retrieved from https://www.aitsl.edu.au Australian Centre. ระบบการศกึ ษาของออสเตรเลีย. สบื คน้ จาก http://www.australian.co.th Australian Curriculum. (2019). Assessment and Reporting Authority (ACARA). Retrieved from https://www.australiancurriculum.edu.au Australian Curriculum. (2019). F-10 CURRICULUM. Retrieved from https://www.australiancurriculum.edu.au Australian Government. (2019). Australian education system. Retrieved from https://www.studyinaustralia.gov.au Australian Government. (2018). National Assessment Program. Retrieved from https://www.education.gov.au Australian Government Department of Education. (2019). The Early Years Learning Framework for Australia. Retrieved from https://docs.education.gov. au/system/files/doc/other/ educatocguide_to_the_early_years_learning_framwork_for_australia.pdf Australian Government. (2019). About Australian education. Retrieved from https://www.studyinaustralia.gov.au Australian Government. (2019). The Australian education system It’s robust, integrated and renowned. Retrieved from http://www.austrade.gov.au/edtech/the-austratian-education- system Australian Qualifications Framework Second Edition. (2013). AQF Qualifications Issuance Policy. Retrieved from https://www.aqf.edu.au/aqf-policies Bof, A.M. (1997). Improving the quality and efficiency of primary education in Brazil. Focusing on the school : The case of Rondonopolis. (CD - ROM). Retrieved November 25, 2005, Abstracts from: Dissertation Abstracts International Item: 19806389. Bos, W., Wendt, H., Köller, O. & Selter, C. (Hrsg.). (2012). TIMSS 2011. Mathematische and naturwissenschaftliche Kompetenzen von Grundschulkindern in Deutschland im internationalen Vergleich [TIMSS 2011 German National Report]. Münster: Waxmann. รายงานผลการศึกษา เร่อื ง 177 การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ่กู ารปฏบิ ัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

Carlos Bocanegra Peña, (2005). “The development of guidelines and regulations on quality in Mexico’s educational facilities”. Evaluating Quality in Educational Facilities, Retrieved from https://www.oecd.org CLIP. (2013). Curriculum overview. Retrieved from http://www.clip.pt./en/learning-at-clip/ curriculum-and assessment CMEC. (2014). CMEC Early Learning and Development Framework. Retrieved from: http://www.cmec.ca Cuttarce. P. (1994). Consumer evaluation of quality management and quality assurance systems for Schools. Paper prepared of the Australian Quality Council Conference, Sydney : NSW Department of school Education. Dimmock, C. & Tan, C.Y. (2013). Educational leadership in Singapore: tight coupling, sustainability, scalability, and succession. Retrieved from http://www.eprints.gla.ac.uk Edith J. Cisneros-Cohernour et al. (2000). Curriculum Reform in Mexico: Kindergarten Teachers’ Challenges and Dilemmas. Retrieved from https://www.eric.ed.gov Ellis, R. (1993). Quality assurance for university teaching: Issues and approaches. In R. Ellis (ed). Quality assurance for university teaching (pp.3 -15). Great Britain: Open University Press. EUROPA (2019), EU National Education System. Retrieved from https://www.eacea.ec.europa.eu European Commission. (2018). Germany Organisation and Governance. Retrieved from https://www.eacea.ec.europa.eu European Commission. (2019). Germany Quality Assurance. Retrieved from https://www.eacea. ec.europa.eu European Commission. (2019). Portugal Educational Support and Guidance. Retrieved from https://eacea.ec.europa.eu. European Commission. (2019). Portugal Quality Assurance. Retrieved from https://eacea. ec.europa.eu European Commission. (2010). Organisation of the education system in Germany 2009/2010. Retrieved from http://www.eures.ee.en European Commission. (2019). Portugal: Quality Assurance in Higher Education. Retrieved from https://www.eacea.ec.europa.eu Expat Guide to Portugal. (2018). The education system in Portugal. Retrieved from https://www. expatica.com Fayyadhah Zainalabiden. (2018). The 6 Changes To Singapore’s Education System MOE Announced Today. Retrieved from https://mustsharenews.com Finnish National Agency for Education. (2019). Quality Management in Finland. Retrieved from https://www.oph.fi./en/education-and-qualifications/quality-management-finland Gene Global Education Network Europe. (2014). Global Education in Portugal. Retrieved from https://www.gene.eu Green, D. (1994). “Trends and tissues.” In International Development in Assuring Quality in Higher Education (pp.168 -177) edited by alma Craft. London: The falmer Press. 178 รายงานผลการศึกษา เร่อื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ูก่ ารปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากต่างประเทศ

Harris, A. & Jon, Y. (2010). Comparing school improvement programmes in England and Canada. Online Journal of School Leadership & Management. Retrieved from https://www.tandfonline.com Healy, M. (1994). BS 5750 and beyond in a secondary school: A change for the best. In C.Parsons (ed.), Quality improvement in education (pp.68 - 69). London: David Fulton. Hertling, E. (2000, 27 February ). Implementing whole-school reform. Journal of Learning Librarian. Available: Ebscohost Full Display Item: 3026578. Hopkins, K.D., Stanley, J.C. and Hopkins, B.R. (1990). Educational and Psychological Measurement and Evaluation (7th ed.). Englewood Cliffs: Printice Hall. Human Resources and skills Development. (2010). Public Investments in Early Childhood Education and Care in Canada 2010. Canada. IEA TIMSS & PIRLS International Study Center. (2015). TIMSS 2015 ENCYCLOPEDIA. Retrieved from http://www.timssandpirls.bc.edu IEA TIMSS & PIRLS. (2019). TIMSS 2015 ENCYCLOPEDIA. Retrieved from http://www.timssandpirls.bc.edu Itsuko, F. Child Education and Care in Japan: Past, Present, and Future. Faculty of Human Sciences, Department of Child Study Kanazawa Seiryo University, Ishikawa, Japan. Jiali, H., et al. (2019). Singapore’s School Excellence Model and student learning: evidence from PISA 2012 and TALIS 2013. Retrieved from http://www.tandfonline.com Juran, J.M., & Gryna, F.M. (1993). Quality planning and analysis (3 rd ed.). Singapore : Mc Graw-Hill Book. Kumiko, T. (2016). Vocational Education and Training (VET) in Japan. Australia Government, Department of Education and Training. Lessinger, L. M. (1971). Accountability for results: A basic challenge for American’schools. In L.N. Lessinger and R.W.Tyler (eds.). Accountability in Education (pp. 7 - 14). Worthington: Charles A. Publishing. Lohmar, B. & Eckhardt, T. (2013). The education system in the Federal Republic of Germany 2012/2013: A description of the responsibilities, structures and developments in education policy for the exchange of information in Europe. Retrieved from https://www.kmk.org Mailnen Olli-Pekka, et al. (2012) “The Teacher education in Finland: a review of a national effort for preparing teacher for the future”. The Curriculum Journal. Vol 23, No.4, December 2012, 567 - 584., UK: Routledge. Mazano, J.R. & Kedall, J.S. (1996.) A Comprehensive Guide to Designing Standards-Based Districts, Schools, & Classrooms. Association for Supervision & Curriculum Deve. MCTEE. (2013). AQF Qualification Issuance Policy. Retrieved from https://www.aqf.edu Melnyk,S.A., & Denzler, D.A. (1996). Operations management: A value - driven approach. Boston: rwin/McGraw-Hall. Milliken, W.G. (1971). “Making the School System Accountable.” In L.N. Lessinger and R.W.Tyler (eds.). Accountability in Education (pp.18 - 21). Worthington: Charles A. Publishing. รายงานผลการศกึ ษา เร่อื ง 179 การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ่กู ารปฏิบัต ิ : บทเรยี นจากตา่ งประเทศ

Ministerium für Schule und Weiterbildung des Landes Nordrhein-Westfalen. (2006). Stundentafel für die Grundschule. Zuletzt geändert durch Verordnung vom 5. Juli 2006 nach der neuen Ausbildungsordnung für die Grundschule [Schedules for primary schools, last amended by directive of 5 July 2006 according to new education directive for primary schools]. Retrieved from https://www.schulministerium.nrw.de Ministerium für Schule und Weiterbildung des Landes Nordrhein-Westfalen. (2009). Verordnung über den Zugang zum nordrhein - westfälischen Vorbereitungsdienst für Lehrämter an Schulen und Voraussetzungen bundesweiter Mobilität. [Regulation on access to the North Rhine-Westphalian teacher preparatory service and nation-wide requirements of mobility]. Retrieved from http://www.schulministerium.nrw.de Ministry of Education. (2019). The Ontario Curriculum: Elementary. Retrieved from: http://www.edu.gov Ministry for Foreign Affairs. (2017). Education in Finland: Key to the nation’s success. Retrieved from https://www.toolbox.finland.fi Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology. (2009). The Second Basic Plan for the Promotion of Education. Retrieved from http://www.mext.go.jp Ministry of Education and Culture (2018). Finnish VET in a Nutshell. Retrieved from https://www.oph.fi Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology. (2015). The Second Basic Plan for the Promotion of Education. Retrieved from http://www.mext.go.jp Ministry of Education,Singapore. (2016). The Case of Singapore Rethinking Curriculum for the 21st Century. Retrieved from https://curriculumredesign.org Murgatroyd, S., & Morgan, C. (1994). Total quality in management and the school. Buckingham: The Open University Press. Murgatroyd, S. & Morgan, C. (1994). Total Quality management in the Public Sector. New York: Harper & Row Publisher. Nation Center of Education Statistics. (2015). Comparative Indicators of Education in the United States and Other G-20 Countries 2015. Retrieved from https://www.nces.ed.gov National Institute of Technology. (2009). KOSEN. Retrieved from http://www.kosen-k.go.jp Neville, L.B. (1999). Quality assurance and improvement planning in two elementary schools: Case studies in Illinois School reform. Doctoral dissertation, Illinois state University. NSW. (2017). NSW Education Standards Authority. Retrieved from http://www.linkedin.com Nuffic. (2018). Education system Canada: described and compared with the Dutch system. Retrieved from http://www.nuffic.nl OECD (2009). Reviews of Vocational Education and Training A Learning for Jobs Review of Mexico. Retrieved from https://www.oecd-ilibrary.org OECD. (2010). Educational Evaluation and Assessment in Australia Strengths, Challenges and Policy Pointers. Retrieved from http://www.oecd.org 180 รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ ู่การปฏบิ ตั ิ : บทเรียนจากตา่ งประเทศ

OECD (2015). Education Policy Outlook: Japan. Retrieved from http://www.oecd.org OECD (2015). OECD Skills Strategy Diagnostic Report Portugal 2015. Retrieved from http://www.oecd.org OECD (2018). Curriculum Flexibility and Autonomy in Portugal. Retrieved from https://www.oecd.org OECD. (2018). Education policy outlook Mexico. Retrieved from https://www.oecd.org OECD. (2018). Strong Foundations for Quality and Equity in Mexican Schools. Retrieved from https://www.spec.sep.gob.mx OECD. (2018). Global Education in Portugal. Retrieved from https://www.oecd.org OECD. (2019). Investing in Youth: Finland. Retrieved from https://www.oecd-ilibrary.org OECD. (2019). Higher Education in Mexico: Labour Market Relevance and Outcomes, Higher Education, OECD Publishing, Paris. Retrieved from https://www.read.oecd-ilibrary.org OECD. (2019). The Future of Mexican Higher Education Promoting Quality and Equity. Retrieved from http://www.oecd.org Ontario. (2018). Canadian and World Studies. Retrieved from: http://www.edu.gov Pak Tee Ng. (2007). Quality assurance in the Singapore education system in an era of diversity and innovation. Retrieved from https://link.springer.com Porter,J. W. (1971). Accountability in Education. In L.N. Lessinger & R.W. Tyler (eds.). Account- ability in Education (pp.18-21). Worthington: Charles A. Publishing. Saklbery, P. (2011). Finish Lesson. Teacher College, Columbia University. Scott D, Posner C.M., Martin C and Guzman E. (2018). The Education System in Mexico. London: UCL Press. Statistisches, B. (2014). Bildung und Kultur. Private Schulen: Schuljahr 2013/2014 [Education and culture. Private schools: School year 2013/2014]. Retrieved from https://www.destatis.de Tan, C. Koh, K. & Choy, W. (2016). The education system in Singapore. Retrieved from http:// www.researchgate.net Tanya Scerbina. (2019). Measuring up: Canadian results on the OECD PISA2015 study. Toronto: Council of Ministers of Education, Canada. Taylor, A. & Hill, F. (1993). “Issues for Implementing TQM in further and higher education: The moderating influence of contexual variables.” Quality Assurance in Education.pp.15-20. Ted, P.E. (1993). “Human factors in quality assurance.” Online Journal of Information Systems Management. Retrieved from http://www.tandfonline.com The Further Education Council. (2017). Aspects of Vocational Education and Training in Japan. International Report. Toffler, A. (1980). The Third Wave. London: Pan Books Ltd. Retrieved from http://www.transferwise.com Transferwise content team. (2017). The Singapore education system: An overview. UNESCO (2018). Compiled in collaboration with the National College of Technical Professional Education (CONALEP), Mexico. Retrieved from https://unevoc.unesco.org รายงานผลการศกึ ษา เรอ่ื ง 181 การน�ำ มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ ู่การปฏิบัติ : บทเรียนจากต่างประเทศ

UNESCO-UNEVOC International Centre for Technical and Vocational Education and Training. (2015). World TVET Databased: CANADA. UNESCO. Wendt, H., Stubbe, T. C., Schwippert, K. & Bos, W. (Hrsg.). (2015). 10 Jahre international vergleichende Schulleistungsforschung in der Grundschule. Vertiefende Analysen zu IGLU und TIMSS 2001 bis 2011 [PIRLS & TIMSS. 10 years of international comparative school effectiveness research in primary school. Further secondary analyses from PIRLS and TIMSS 2001 to 2011]. Münster: Waxmann. WENR World Education News + Reviews.World Education Services. (2016). EDUCATION IN GERMANY. Retrieved from https://wenr.wes.org./2016//11/education-in-germany WENR World Education News + Reviews. World Education Services. (2019). Education in Mexico. Retrieved from https://wenr.wes.org./2019//05/education-in-mexico-2 World Bank (2014). Model from Mexico for the World. Retrieved from http://www.worldbank.org World Bank (2017), At a Crossroads - Higher Education in Latin America and the Caribbean, Washington D.C. How quality assurance works in Canada. Retrieved from: www.univcan.ca/universities/ quality-assurance/

a_1 182 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การน�ำ มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

รายชอื่ คณะผูด้ �ำ เนนิ การวิจยั โดยความร่วมมือของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ คณะกรรมการท่ีปรกึ ษา หวั หนา้ คณะวจิ ยั รองศาสตราจารย์ ดร.ทศิ นา แขมมณี คณะวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ คณะวจิ ยั ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว คณะวิจยั นายวณชิ ย์ อ่วมศรี คณะวิจัย คณะกรรมการด�ำ เนินการวจิ ัย คณะวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ คชสทิ ธ ิ์ คณะวิจัย ดร.พิทักษ์ นลิ นพคณุ คณะวิจัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรขา อรญั วงศ์ คณะวจิ ัยและเลขานกุ าร ดร.ทรงพร พนมวัน ณ อยุธยา ดร.เฉลมิ ชยั พันธเ์ ลิศ ดร.กณุ ฑลี บรริ กั ษ์สันตกิ ลุ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตพิ ร พชิ ญกุล นางสาวดารากร ปญั ญาทิพย์ ดร.นาฎฤดี จิตรรังสรรค ์ รายงานผลการศกึ ษา เรือ่ ง 183 การนำ�มาตรฐานการศกึ ษาของชาตสิ กู่ ารปฏิบตั ิ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

คณะผูจ้ ัดทำ�เอกสาร ท่ปี รึกษา เลขาธิการสภาการศกึ ษา ดร.สภุ ทั ร จ�ำ ปาทอง รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒) ดร.วฒั นาพร ระงับทุกข ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ดร.สมศักดิ์ ดลประสทิ ธิ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ดร.อษุ ณยี ์ ธโนศวรรย ์ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ นายส�ำ เนา เน้ือทอง ผเู้ รียบเรียงรายงาน ผ้อู ำ�นวยการกลมุ่ มาตรฐานการศึกษา ดร.ประวีณา อัสโย นักวิชาการศึกษาชำ�นาญการพเิ ศษ นางสาวกรกมล จงึ สำ�ราญ นักวชิ าการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ นางสุวรรณา สวุ รรณประภาพร นักวชิ าการศึกษาช�ำ นาญการ ดร.วภิ าดา วานิช นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร นางสาวอุบล ตรรี ตั นว์ ชิ ชา นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ นายพรพรหม เทพเรืองชยั นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร นางสาวนูรียา วาจิ บรรณาธิการและประสานการจัดพมิ พ์ นางสาวกรกมล จงึ สำ�ราญ นักวชิ าการศึกษาช�ำ นาญการพิเศษ พิสูจนอ์ กั ษร นกั วชิ าการศกึ ษาชำ�นาญการพเิ ศษ นางสาวกรกมล จงึ สำ�ราญ นักวิชาการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวนูรียา วาจ ิ หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ กล่มุ มาตรฐานการศึกษา ส�ำ นักมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาการเรยี นรู้ ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทรศัพท์ 0 2668 7123 โทรสาร 0 2243 1129 Website : www.onec.go.th 184 รายงานผลการศึกษา เรอ่ื ง การนำ�มาตรฐานการศึกษาของชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ : บทเรยี นจากต่างประเทศ

สำ�นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 99/20 ถนนสโุ ขทยั เขตดสุ ิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2668 7123 โทรสาร 0 2243 1129 แบบสอบถามการน�ำ เอกสาร ขอความร่วมมือจากทา่ นผู้ใชเ้ อกสารเล่มนี้ มาตรฐานการศกึ ษาฯ สู่การปฏิบัติ : ตอบแบบแสดงความคดิ เห็นในการนำ�หนงั สือไปใชป้ ระโยชน์ เพ่อื เป็นข้อมูลให้ส�ำ นกั งานฯ ได้น�ำ ไปพัฒนาการศกึ ษาต่อไป บทเรยี นจากตา่ งประเทศ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้