ค าอธ บายรายว ชาส ขศ กษา พลศ กษา ม.ปลาย กศน

  • 1. 2551 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์ เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย เอกสารทางวิชาการลําดับที่ /2554
  • 2. (ทช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ /2554
  • 3. เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและจากสื่ออื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควาและ เรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.
  • 4. 1 เรื่องที่ 1 การทํางานของระบบยอยอาหาร 2 เรื่องที่ 2 การทํางานของระบบขับถาย 5 เรื่องที่ 3 การทํางานของระบบประสาท 11 เรื่องที่ 4 การทํางานของระบบสืบพันธุ 13 เรื่องที่ 5 การทํางานของระบบตอมไรทอ 16 เรื่องที่ 6 การดูแลรักษาระบบของรางกายที่สําคัญ 24 บทที่ 2 ปญหาเพศศึกษา 28 เรื่องที่ 1 ทักษะการจัดการปญหาทางเพศ 29 เรื่องที่ 2 ปญหาทางเพศในเด็กและวัยรุน 30 เรื่องที่ 3 การจัดการกับอารมณ และความตองการทางเพศ 35 เรื่องที่ 4 ความเชื่อที่ผิดๆ ทางเพศ 36 เรื่องที่ 5 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการละเมิดทางเพศ 39 บทที่ 3 อาหารและโภชนาการ 44 เรื่องที่ 1 โรคขาดสารอาหาร 45 เรื่องที่ 2 การสุขาภิบาลอาหาร 52 เรื่องที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกับบุคคลในครอบครัว 57 บทที่ 4 การเสริมสรางสุขภาพ 64 เรื่องที่ 1 การรวมกลุมเพื่อเสริมสรางสุขภาพในชุมชน 65 เรื่องที่ 2 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 69 บทที่ 5 โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม 79 เรื่องที่ 1 โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม 80 เรื่องที่ 2 โรคทางพันธุกรรมที่สําคัญ 82
  • 5. 88 เรื่องที่ 1 หลักการและวิธีการใชยาที่ถูกตอง 89 เรื่องที่ 2 อันตรายจากการใชยา 91 เรื่องที่ 3 ความเชื่อเกี่ยวกับการใชยา 98 บทที่ 7 ผลกระทบจากสารเสพติด 102 เรื่องที่ 1 ปญหาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจจุบัน 103 เรื่องที่ 2 แนวทางการปองกันการแพรระบาดของสารเสพติด 106 เรื่องที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวกับสารเสพติด 110 บทที่ 8 ทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพจิต 113 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต 113 เรื่องที่ 2 ทักษะการตระหนักในการรูตน 116 เรื่องที่ 3 ทักษะการจัดการกับอารมณ 119 เรื่องที่ 4 ทักษะการจัดการความเครียด 121 บรรณานุกรม
  • 6. รหัสทช 31002 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษาการศึกษานอกระบบ ใน การศึกษาหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิตรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา ผูเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ ขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนดแลว ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรม ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจ กอนที่จะศึกษาเรื่องตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาใน เรื่องนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับ ครูและเพื่อน ๆ ที่รวมเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 4. หนังสือเรียนเลมนี้มี 8 บท บทที่ 1 เรื่อง การทํางานของระบบในรางกาย บทที่ 2 เรื่อง ปญหาเพศศึกษา บทที่ 3 เรื่อง อาหารและโภชนาการ บทที่ 4 เรื่อง การเสริมสรางสุขภาพ บทที่ 5 เรื่อง โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 6 เรื่อง ปลอดภัยจากการใชยา บทที่ 7 เรื่อง ผลกระทบจากสารเสพติด บทที่ 8 เรื่อง ทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพชีวิต
  • 7. ฝกปฏิบัติ และประยุกตใชเกี่ยวกับสุขศึกษา พลศึกษา เรื่องเกี่ยวกับระบบตางๆ ของรางกาย เปาหมายชีวิต ปญหาเกี่ยวกับเพศศึกษา อาหารและโภชนาการ เสริมสรางสุขภาพ โรคที่ถายทอดทาง พันธุกรรม ปลอดภัยจากการใชยา ผลกระทบจากสารเสพติด อันตรายรอบตัว และทักษะชีวิตเพื่อ สุขภาพจิต เพื่อใชประโยชนในการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว นําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันในการดําเนินชีวิตของตนเอง และครอบครัวไดอยางเหมาะสม ปลอดภัย ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. อธิบายการทํางานของระบบตางๆ ในรางกายไดถูกตอง 2. วางแผนเปาหมายชีวิต ตลอดจนเรื่องปญหาเกี่ยวกับเพศศึกษาได 3. เรียนรูเรื่องการวางแผนในการสรางเสริมสุขภาพเกี่ยวกับอาหาร 4. อธิบายถึงโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรมได 5. วางแผนปองกันเกี่ยวกับอุบัติเหตุ อุบัติภัยไดอยางถูกตอง 6. มีความรูในการพัฒนาทักษะชีวิตใหดีได ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 เรื่อง การทํางานของระบบในรางกาย บทที่ 2 เรื่อง ปญหาเพศศึกษา บทที่ 3 เรื่อง อาหารและโภชนาการ บทที่ 4 เรื่อง การเสริมสรางสุขภาพ บทที่ 5 เรื่อง โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 6 เรื่อง ความปลอดภัยจากการใชยา บทที่ 7 เรื่อง ผลกระทบจากสารเสพติด บทที่ 8 เรื่อง ทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพจิต
  • 8. ใน รางกายเปนไปอยางราบรื่นไมเจ็บปวย จึงจําเปนตองเรียนรูถึงกระบวนการทํางาน การปองกันและการดูแล รักษาใหระบบตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เขาใจการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย 1.1.การทํางานของระบบยอยอาหาร 1.2.การทํางานของระบบขับถาย 1.3.การทํางานของระบบประสาท 1.4.การทํางานของระบบสืบพันธุ 1.5.การทํางานของระบบตอมไรทอ 2. สามารถดูแลรักษาปองกันความผิดปกติของระบบอวัยวะสําคัญ 5 ระบบ รวมทั้งสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การทํางานของระบบยอยอาหาร เรื่องที่ 2 การทํางานของระบบขับถาย เรื่องที่ 3 การทํางานของระบบประสาท เรื่องที่ 4 การทํางานของระบบสืบพันธุ เรื่องที่ 5 การทํางานของระบบตอมไรทอ เรื่องที่ 6 การดูแลรักษาระบบของรางกายที่สําคัญ
  • 9. เปนไปโดยธรรมชาติอยางมีระเบียบและประสาน สัมพันธกันโดยอัตโนมัติ จึงเปนเรื่องที่เราตองศึกษา เรียนรูใหเขาใจเกี่ยวกับวิธีการสรางเสริมและการดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะเหลานั้นใหใชงานไดนานที่สุด ระบบอวัยวะของรางกาย ทําหนาที่แตกตางกันและประสานกันอยางเปนระบบ ซึ่งระบบที่สําคัญ ของรางกาย 5 ระบบมีหนาที่ และอวัยวะที่เกี่ยวของ ดังนี้ เรื่องที่ 1 การทํางานของระบบยอยอาหาร มนุษยเปนผูบริโภคโดยการรับประทานอาหารเพื่อใหรางกายเจริญเติบโต ดํารงอยูไดและซอมแซม สวนที่สึกหรอ มนุษยจึงมีระบบการยอยอาหารเพื่อนําสารอาหารแรธาตุและน้ําใหเปนพลังงานเพื่อใชในการ ดํารงชีวิต การยอยอาหารเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารอาหารที่มีขนาดใหญใหเล็กลงจนรางกายดูดซึมไป ใชได การยอยอาหารมี 3 ขั้นตอน คือ 1) การยอยอาหารในปาก เปนกระบวนการยอยอาหารในสวนแรก อวัยวะที่เกี่ยวของกับการยอย อาหาร ไดแก ฟน และตอมน้ําลาย ทางเดินอาหารของตนเริ่มตั้งแตปาก มีฟนทําหนาที่บดอาหาร ตอมน้ําลาย จะหลั่งน้ําลายมาเพื่อยอยแปง ในน้ําลายมีเมือกชวยในการหลอลื่นอาหารใหกลืนไดสะดวก การหลั่งน้ําลาย อาศัยรสและกลิ่นอาหาร เมื่ออาหารถูกบดเคี้ยวในปากแลว จะเขาสูหลอดอาหารโดยการกลืน 2) การยอยอาหารในกระเพาะอาหาร เปนอวัยวะที่อยูตอจากหลอดอาหาร ใตกระบังลมดานซาย ดานลางติดกับลําไสเล็ก มีลักษณะเปนกระพุงรูปตัวเจ (J) ผนังกั้นเปนกลามเนื้อเรียบ ยึดหดไดดี การยอยใน กระเพาะอาหาร ผนังกระเพาะอาหารมีกลามเนื้อแข็งแรง ยืดหยุนและขยายความจุไดถึง 1,000 – 1,200 ลูกบาศกเซนติเมตร มีกลามเนื้อหูรูด 2 แหง คือ กลามเนื้อหูรูดที่ตอกับหลอดอาหารและกลามเนื้อหูรูดที่ตอ กับลําไสเล็ก ผนังดานในของกระเพาะอาหารมีตอมสรางเอนไซมสําหรับยอยอาหาร เมื่ออาหารเคลื่อนลงสู กระเพาะอาหารจะกระตุนใหมีการหลั่งเอนไซมออกมา ซึ่งประกอบดวย กรดไฮโดรคอลิก (HCL) ชวย เปลี่ยนเพปซิโนเจนและไทรเรนนิน จากผนังกระเพาะใหเปนเพปซินและเรนนิน พรอมที่จะทํางานชวยยอย โปรตีน นอกจากนี้ยังสรางน้ําเมือกมีฤทธิ์เปนดาง ((base)) เคลือบกระเพาะอาหาร กรดในกระเพาะอาหารจะ ทําลายแบคทีเรียที่ติดมากับอาหาร อาหารจะอยูในกระเพาะอาหารประมาณ 30 นาที ถึง 3 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับ ชนิดของอาหาร โปรตีนจะถูกยอยในกระเพาะอาหารโดยเอนไซมเพปซิน กระเพาะอาหารมีการดูดซึมสาร บางสวนได เชน สามารถดูดซึมอัลกอฮอลไดดีถึงรอยละ 30-40
  • 10. มีลักษณะเปนทอที่ขดซอนกันไปมา ในชองทอง ยาวประมาณ 5-7 เมตร ลําไสเล็กจะผลิตเอนไซมเพื่อยอยโปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมัน การยอยอาหารในลําไสเล็ก อาหารจะเคลื่อนจากกระเพาะอาหารผานกลามเนื้อหูรูดเขาสูลําไสเล็ก การยอยอาหารในลําไสเล็กเกิดจากการทํางานของอวัยวะ 3 ชนิด คือ ตับออน ผนังลําไสเล็กและตับหลั่งสาร ออกมาทํางานรวมกัน ตับออน (pancreas) ทําหนาที่สรางฮอรโมนควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดและเอนไซมในการยอย อาหาร เอนไซมที่สรางขึ้นจะอยูในรูปที่ยังทํางานไมได ตองอาศัยเอนไซมจากลําไสเปลี่ยนสภาพที่พรอมจะ ทํางานได ซึ่งเปนเอนไซมสําหรับยอยโปรตีน นอกจากนั้นยังสรางเอนไซมสําหรับยอยคารโบไฮเดรตและ ไขมันอีกดวย นอกจากนี้ยังสรางสารโซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนตมีฤทธิ์เปน(base) เพื่อลดความเปนกรด จากกระเพาะอาหาร ผนังลําไสเล็ก จะผลิตเอนไซมเพื่อยอยโปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมันลําไสเล็แบงออกเปน 3 สวน คือ - ลําไสเล็กสวนตน หรือเรียกวา ดูโอดินัม (Duodenum) - ลําไสเล็กสวนกลาง หรือ (Jejunum) - ลําไสเล็กสวนปลาย หรือเรียกวา ไอเลียม (Ileum) ตับ (liver) ทําหนาที่สรางน้ําดีเก็บไวในถุงน้ําดี น้ําดีมีสวนประกอบสําคัญ คือน้ําดีชวยใหไขมันแตก ตัวและละลายน้ําได ทําใหเอนไซมลิเพสจากตับออนและลําไสเล็กยอยไขมันใหเปนกรดไขมันและ กลีเซอรัล การดูดซึม ลําไสเปนบริเวณที่มีการดูดซึมไดดีที่สุด ผนังดานในลําไสเล็กเปนคลื่นและมีสวนยื่น ออกมาเปนปุมเล็กๆ จํานวนมากเรียกวา วิลลัส (villus) ที่ผิวดานนอกของเซลลวิลลัสมีสวนที่ยื่นออกไปอีก เรียกวา ไมโครวิลไล (microvilli) เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการดูดซึม ภายในวิลลัสแตละอันมีเสนเลือดและเสน น้ําเหลือง ซึ่งจะรับอาหารที่ยอยแลวที่ซึมผานผนังบุลําไสเล็กเขามา
  • 11. 12 และเกลือน้ําดี สารอาหาร สวนใหญและน้ําจะเขาสูเสนเลือดฝอย โมโนแซ็กคาไรด กรดอะมิโนและกรดไขมันจะเขาสูเสนเลือดฝอยเขา สูเสนเวน (vein) ผานตับกอนเขาสูหัวใจ โมโนวีกคาไรดที่ถูกดูดซึมถามีมากเกินความตองการจะถูก สังเคราะหใหเปนไกลโคเจนเก็บไวที่ตับและกลามเนื้อ ไกลโคเจนในตับอาจเปลี่ยนกลับไปเปนกลูโคสไดอีก กลูโคสก็จะนํามาสลายใชในกิจกรรมตางๆ ของเซลล สวนไขมันจะเขาไปในกระแสเลือดถูกนําไปใชในดานตางๆ ใชเปนแหลงพลังงานเปน สวนประกอบของเยื่อหุมเซลลและโครงสรางอื่นๆ ของเซลล บางสวนเปลี่ยนไปเปนกลูโคส ไกลโคเจน และ กรดอะมิโนบางชนิด สวนที่เหลือจะเก็บสะสมไวในเซลลที่เก็บไขมัน ซึ่งมีอยูทั่วรางกายใตผิวหนัง หนาทอง สะโพก และตนขา อาจสะสมที่อวัยวะอื่นๆ อีก เชน ที่ไต หัวใจ ทําใหประสิทธิภาพของการทํางานของ อวัยวะเหลานี้ลดลง กรดอะมิโนที่ไดรับจากอาหาร จะถูกนําไปสรางเปนโปรตีนใหมเพื่อใชเปนสวนประกอบของเซลล เนื้อเยื่อตางๆ ทําใหรางกายเจริญเติบโตหรือมีการสรางเซลลใหม รางกายจะนําไขมันและโปรตีนมาใชเปน แหลงพลังงานไดในกรณีที่รางกายขาดคารโบไฮเดรต โปรตีนที่เกินความตองการของรางกายจะถูกตับ เปลี่ยนใหเปนไขมันสะสมไวในเนื้อเยื่อ การเปลี่ยนโปรตีนใหเปนไขมันจะมีการปลอยกรดอะมิโนบางชนิด ที่เปนอันตรายตอตับและไต ในกรณีที่ขาดอาหารพวกโปรตีนจึงเปนปญหาที่สําคัญอยางยิ่ง เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงกระบวนการทางเคมี เซลลตองใชเอนไซมซึ่งเปนโปรตีน ทั้งสิ้น อาหารที่เหลือจากการยอยและดูดซึมแลวจะผานเขาสูลําไสใหญ เซลลที่บุผนังลําไสใหญสามารถดูด น้ํา แรธาตุและวิตามินจากกากอาหารเขากระแสเลือด กากอาหารจะผานไปถึงไสตรง (rectum) ทายสุดของ ไสตรงคือ ทวารหนักเปนกลามเนื้อหูรูดที่แข็งแรงมาก ทําหนาที่บีบตัวชวยในการขับถาย จากการศึกษาพบวา อาหารที่รับประทานเขาไปจะไปถึงบริเวณไสตรงในชั่วโมงที่ 12 กากอาหารจะอยูในลําไสตรงจนกวาจะเต็ม จึงจะเกิดการปวดอุจจาระ และขับถายออกไปตามปกติ ภาพลําไสใหญ
  • 12. เรียกวา การขับถายของเสียอวัยวะที่เกี่ยวของกับการกําจัดของเสียไดแกปอดผิวหนังกระเพาะปสสาวะและลําไสใหญ ปอดเปนอวัยวะหนึ่งในรางกายที่มีความสําคัญอยางยิ่งในสัตวมีกระดูกสันหลังใชในการหายใจหนาที่ หลักของปอดก็คือการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนจากสิ่งแวดลอมเขาสูระบบเลือดในรางกาย และแลกเปลี่ยนเอา กาซคารบอนไดออกไซดออกจากระบบเลือดออกสูสิ่งแวดลอม ทํางานโดยการประกอบกันขึ้นของเซลลเปน จํานวนลานเซลล ซึ่งเซลลที่วานี้มีลักษณะเล็กและบางเรียงตัวประกอบกันเปนถุงเหมือนลูกโปงซึ่งในถุงลูกโปง นี้เองที่มีการแลกเปลี่ยนกาซตางเกิดขึ้นนอกจากการทํางานแลกเปลี่ยนกาซแลวปอดภัยทําหนาที่อื่นๆอีก คําวาปอดในภาษาอังกฤษใชคําวา lung มนุษยมีปอดอยูในทรวงอก มีสองขาง คือขวาและซาย ปอดมี ลักษณะนิ่ม รางกายจึงมีกระดูกซี่โครงคอยปกปองปอดไวอีกชั้นหนึ่ง ปอดแตละขางจะมีถุงบางๆ 2 ชั้นหุมอยู เรียกวาเยื่อหุมปอดเยื่อหุมปอดที่เปนถุงบางๆ 2ชั้นนี้เรียกวาเยื่อหุมปอดชั้นในและเยื่อหุมปอดชั้นนอกเยื่อหุม ปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอดสวนเยื่อหุมปอดชั้นนอกจะแนบติดไปกับชองทรวงอกระหวางเยื่อหุม ปอด 2 ชั้นบางๆ นี้จะมีชองวาง เรียกวา ชองเยื่อหุมปอด เยื่อหุมปอดที่เปนถุงบางๆ 2 ชั้นนี้เรียกวา เยื่อหุมปอด ชั้นในและเยื่อหุมปอดชั้นนอกเยื่อหุมปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอดสวนเยื่อหุมปอดชั้นนอกจะแนบ ติดไปกับชองทรวงอกระหวางเยื่อหุมปอด2ชั้นบางๆนี้จะมีชองวางเรียกวาชองเยื่อหุมปอดในชองเยื่อหุมปอด จะมีของเหลวคอยหลอลื่นอยูเรียกวาของเหลวเยื่อหุมปอดของเหลวนี้จะชวยใหเยื่อหุมปอดแตละชั้นสไลดไปมา ระหวางกันไดโดยไมเสียดสีกันและของเหลวเยื่อหุมปอดก็ยังชวยยึดเยื่อหุมปอดทั้งสองชั้นไวไมใหแยกจากกัน โดยงาย ปอดขางซายนั้นมีขนาดเล็กกวาปอดขางขวา เพราะปอดขาซายตองเวนที่เอาไวใหหัวใจอยูในทรวงอก ดวยกันดวย การทํางานของปอด การแลกเปลี่ยนกาซและการใชออกซิเจนเมื่อเราหายใจเขาอากาศภายนอกเขาสูอวัยวะของระบบหายใจ ไปยังถุงลมในปอดที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดแดงฝอยติดอยู ดังนั้นอากาศจึงมีโอกาสใกลชิดกับเม็ดเลือดแดง มากออกซิเจนก็จะผานผนังนี้เขาสูเม็ดเลือดแดงและคารบอนไดออกไซดก็จะออกจากเม็ดเลือดผานผนังออกมาสู ถุงลมปกติในอากาศมีออกซิเจนรอยละ20แตอากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนรอยละ13 การกําจัดของเสียทางปอด การกําจัดของเสียทางปอดกําจัดออกมาในรูปของน้ําและกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนผลที่ไดจาก กระบวนการหายใจโดยน้ําและกาซคารบอนไดออกไซดแพรออกจากเซลลเขาสูหลอดเลือดและเลือดจะทําหนาที่ ลําเลียงไปยังปอดแลแพรเขาสูถุงลมที่ปอดหลักจากนั้นจึงเคลื่อนผานหลอดลมแลวออกจากรายกายทางจมูกซึ่ง เรียกวากระบวนการMetabolism
  • 13. ผิวหนังของผูใหญคนหนึ่ง มีเนื้อที่ ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว ผิวหนังตามสวนตางๆ ของรางกาย จะหนาประมาณ 14 มิลลิเมตร แตกตางกันไปตามอวัยวะ และบริเวณที่ถูกเสียดสี เชน ผิวหนังที่ศอก และเขา จะหนากวาผิวหนังที่ แขนและขา โครงสรางของผิวหนัง ผิวหนังของคนเราแบงออกไดเปน 2 ชั้น คือ หนังกําพราและหนังแท 1. หนังกําพรา (Epidemis) เปนผิวหนังที่อยู ชั้นบนสุด มีลักษณะบางมาก ประกอบไปดวย เซลล เรียงซอนกันกันเปนชั้นๆ โดยเริ่มตนจากเซลลชั้นในสุด ติดกับหนังแท ซึ่งจะแบงตัวเติบโตขึ้น แลวคอยๆ เลื่อย มาทดแทนเซลลที่อยูชั้นบนจนถึงชั้นบนสุด แลวก็กลายเปนขี้ไคลหลุดออกไป นอกจากนี้ในชั้นหนังกําพรายังมีเซลล เรียกวา เมลนิน ปะปนอยูดวย เมลานินมีมากหรือ นอยขึ้น อยูกับบุคคลและเชื้อชาติ จึงทําใหสีผิวของคนแตกตางกันไป ในชั้นของหนังกําพราไมมี หลอดเลือด เสนประสาท และตอมตางๆ นอกจากเปนทางผานของรูเหงื่อ เสนขน และไขมันเทานั้น 2. หนังแท (Dermis) เปนผิวหนังที่อยูชั้นลาง ถัดจากหนังกําพรา และหนากวาหนังกําพรา มาก ผิวหนังชั้นนี้ประกอบไปดวยเนื้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) หลอดเลือด ฝอย เสนประสาท กลามเนื้อเกาะเสนขน ตอมไขมัน ตอมเหงื่อ และขุมขนกระจายอยูทั่วไป หนาที่ของผิวหนัง 1. ปองกันและปกปดอวัยวะภายในไมใหไดรับ อันตราย 2. ปองกันเชื้อโรคไมใหเขาสูรางกายโดยงาย 3. ขับของเสียออกจากรางกาย โดยตอเหงื่อ ขับเหงื่อออกมา 4. ชวยรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ โดยระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของเหงื่อ 5. รับความรูสึกสัมผัส เชน รอนหนาว เจ็บ ฯลฯ 6. ชวยสรางวิตามินดีใหแกรางกาย โดยแสง แดดจะเปลี่ยนไขมันชนิดหนึ่งที่ผิวหนังใหเปน วิตามินดีได 7. ขับไขมันออกมาหลอเลี้ยงเสนผม และขน ใหเปนเงางามอยูเสมอและไมแหง การดูแลรักษาผิวหนัง ทุกคนยอมมีความตองการมีผิวหนังที่สวยงาม สะอาด ไมเปนโรคและไมเหี่ยวยนเกินกวาวัย ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตัวเอง ดังนี้ 1. อาบน้ําชําระรางกายใหสะอาดอยูเสมอ โดย
  • 14. ครั้ง ในเวลาเชาและเย็น เพื่อชวยชําระลางคราบเหงื่อไคล และความสกปรกออกไป 1.2 ฟอกตัวดวยสบูที่มีฤทธิ์เปนดางออนๆ 1.3 ทําความสะอาดใหทั่ว โดยเฉพาะบริเวณใตรักแร ขาหนีบ ขอพับ อวัยวะเพศ งาม นิ้วมือ นิ้วเทา ใตคาง และหลังใบหู เพราะเปนที่อับและเก็บความชื้น อยูไดนาน 1.4 ในขณะอาบน้ํา ควรใชนิ้วมือ หรือฝามือ ถูตัวแรงๆชวยใหรางกายสะอาดยังชวยให การหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น 1.5 เมื่ออาบน้ําเสร็จ ควรใชผาเช็ตัวที่สะอาด เช็ดตัวใหแหง แลวจึงคอยสวมเสื้อผา 2. หลังอาบน้ํา ควรใสเสื้อผาที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศและงานที่ปฏิบัติ เชน ถา อากาศรอนก็ควรใสเสื้อผาบาง เพื่อไมใหเหงื่อออกมาก เปนตน 3. กินอาหารใหถูกตองและครบถวนตามหลักโภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินเอ เชน พวกน้ํามันตับปลา ตับสัตว เนย นม ไขแดง เครื่องในสัตว มะเขือเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียนและใบเหลือง วิตามินเอ จะชวยใหผิวหนังชุมชื้น ไมเปนสะเก็ด ทํา ใหเล็บไมเปราะ และยังทําใหเสนผมไมรวงงายอีกดวย 4. ดื่มน้ํามากๆ เพื่อทําใหผิวหนังเปลงปลั่ง 5. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ เพื่อชวยใหการหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น 6. ควรใหผิวหนังไดรับแสงแดดสม่ําเสมอ โดยเฉพาะเวลาเชาซึ่งแดดไมจัดเกินไป และ พยายามหลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดจา เพราะจะทําใหผิวหนังเกรียม และกรานดํา 7. ระมัดระวังในการใชเครื่องสําอาง เพราะอาจเกิดอาการแพ หรือทําใหผิวหนังอักเสบ เปนอันตรายตอผิวหนังได หากเกิดอาการแพตองเลิกใชเครื่องสําอางชนิดนั้นทันที 8. เมื่อมีสิ่งผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย ระบบขับถายปสสาวะ อวัยวะที่เกี่ยวของกับระบบขับถายปสสาวะมีดังนี้ 1. ไต (Kidneys) มีอยู 2 ขาง รูปรางคลายเมล็ดถั่วแดง อยูทางดางหลังของชองทองบริเวณเอว ไต ขางขวามักจะอยูต่ํากวาขางซายเล็กนอย ในไตจะมีหลอดไต (Nephron หรือ Kidney Tubule) ประมาณ 1 ลาน หลอด ทําหนาที่กรองปสสาวะออกจากเลือด ดังนั้นไตจึงเปนอวัยวะสําคัญที่ใชเปนโรงงานสําหรับขับถาย ปสสาวะดวยการกรองของเสีย เชน ยูเรีย (Urea) เกลือแรและน้ําออกจากเลือดที่ไหลผานเขามาใหเปนน้ํา ปสสาวะแลวไหลผานกรวยไตลงสูทอไตเขาไปเก็บไวที่กระเพาะปสสาวะ 2. กรวยไต (Pelvis) คือ ชองกลวงภายในที่มีรูปรางเหมือนกรวย สวนของกนกรวยจะติดตอกับ กานกรวย ซึ่งกานกรวยก็คือทอไตนั่นเอง
  • 15. มีลักษณะเปนทอออกมาจากไตทั้ง 2 ขาง เชื่อมตอกับกระเพาะปสสาวะ ยาว ประมาณ 10 – 12 นิ้ว จะเปนทางผานของปสสาวะจากไตไปสูกระเพาะปสสาวะ 4. กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder) เปนที่รองรับน้ําปสสาวะจากไตที่ผานมาทางทอไต สามารถขยายได ขับปสสาวะไดประมาณ 1 ลิตร แตถาเกิน 700 ซีซี (ลูกบาศกเซนติเมตร) อาจเปนอันตราย ได เมื่อมีน้ําปสสาวะมาอยูในกระเพาะปสสาวะมากขึ้นจะรูสึกปวดปสสาวะ 5. ทอปสสาวะ (Urethra) เปนทอที่ตอจากกระเพาะปสสาวะไปสูอวัยวะเพศ ของเพศชายจะผาน อยูกลางองคชาต ซึ่งทอนี้จะเปนทางผานของปสสาวะเพื่อที่จะไหลออกสูภายนอก ปลายทอจึงเปนทางออก ของปสสาวะ ทอปสสาวะของเพศชายยาว 20 เซนติเมตร ของเพศหญิงยาว 4 เซนติเมตร
  • 16. (Uria) แอมโมเนีย (Ammonia) กรดยูริก (Uric Acid) เปนตน แลวเลือดพรอมของเสียดังกลาว จะไหลเวียนมาที่ไต ในวันหนึ่งๆ จะมีเลือดไหลผานไตเปนจํานวนมาก โดยเลือดจะไหลเวียนสูหลอดเลือด ยอยที่อยูในไต ไตจะทําหนาที่กรองของเสียที่อยูในเลือด รวมทั้งน้ําบางสวนแลวขับลงสูทอไต ซึ่งเราเรียกน้ํา และของเสียที่ถูกขับออกมานี้วา “น้ําปสสาวะ” เมื่อมีน้ําปสสาวะผานเขามา ทอไตจะบีบตัวเปนระยะๆ เพื่อใหน้ําปสสาวะลงสูกระเพาะปสสาวะทีละหยด จนมีน้ําปสสาวะอยูในกระเพาะปสสาวะประมาณ 200 – 250 ซีซี กระเพาะปสสาวะจะหดตัวทําใหรูสึกเริ่มปวดปสสาวะ ถามีปริมาณน้ําปสสาวะมากกวานี้จะปวด ปสสาวะมากขึ้น หลักจากนั้นน้ําปสสาวะจะถูกขับผานทอปสสาวะออกจากรางกายทางปลายทอปสสาวะ ใน แตละวันรางกายจะขับน้ําปสสาวะออกมาประมาณ 1 – 1.5 ลิตร แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่เขาสูรางกาย จากอาหารและน้ําดื่มดวยวามีมากนอยเพียงใด ถามีปริมาณมากของน้ําปสสาวะจะมีมาก ทําใหปสสาวะ บอยครั้ง แตถาปริมาณน้ําเขาสูรางกายนอยหรือถูกขับออกทางเหงื่อมากแลว จะทําใหน้ําปสสาวะมีนอยลง ดวย การเสริมสรางและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ 1. ดื่นน้ําสะอาดมากๆ อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว จะชวยใหระบบขับถายปสสาวะดีขึ้น 2. ควรปองกันการเปนนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะโดยหลีกเลี่ยงการรับประทานผักที่มีสารออก ซาเลต (Oxalate) สูง เชน หนอไม ชะพลู ผักแพรว ผักกระโดน เปนตน เพราะผักพวกนี้จะทําใหเกิดการ สะสมสารแคลเซียม ออกซาเลต (Calcium Oxalate) ในไตและกระเพาะปสสาวะได แตควรรับประทาน อาหารประเภทเนื้อสัตว นม ไข ถั่วตางๆ เพราะอาหารพวกนี้มีสารฟอสเฟต (Phosphate) สูง จะชวยลดอัตรา ของการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะได เชน นิ่วในไต นิ่วในทอไต นิ่วในกระเพาะปสสาวะ 3. ไมควรกลั้นปสสาวะไวนานจนเกินไป เพราะอาจทําใหเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะ ได 4. เมื่อมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินปสสาวะควรรีบปรึกษาแพทย ระบบขับถายของเสียทางลําไสใหญ รางกายมนุษยมีกลไกตางๆ คลายเครื่องยนต รางกายตองใชพลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะเกิด ของเสีย ของเสียที่รางกายตองกําจัดออกไปมีอยู 2 ประเภท 1. สารที่เปนพิษตอรางกาย 2. สารที่มีปริมาณมากเกินความตองการ ระบบการขับถาย เปนระบบที่รางกายขับถายของเสียออกไป ของเสียในรูปแกสคือลมหายใจ ของเหลวคือเหงื่อและปสสาวะของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระ
  • 17. ลําไสใหญ (ดูระบบยอย อาหาร) - อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปของแกส คือ ปอด (ดูระบบหายใจ) - อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปของเหลว คือ ไต และผิวหนัง - อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปปสสาวะ คือ ไต หลอดไต กระเพราะ ปสสาวะ - อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปเหงื่อ คือ ผิวหนัง ซึ่งมีตอมเหงื่ออยูใน ผิวหนังทําหนาที่ขับเหงื่อ การขับถายของเสียทางลําไสใหญ การยอยอาหารซึ่งจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยตอระหวางลําไสเล็กกับลําไสใหญ ลําไส ใหญยาวประมาณ 5 ฟุต ภายในมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 2.5 นิ้ว เนื่องจากอาหารที่ลําไสเล็กยอยแลวจะ เปนของเหลาวหนาที่ของลําไสใหญครึ่งแรกคือดูดซึมของเหลว น้ํา เกลือแรและน้ําตาลกลูโคสที่ยังเหลืออยู ในกากอาหาร สวนลําไสใหญครึ่งหลังจะเปนที่พักกากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็ง ลําไสใหญจะขับเมือก ออกมาหลอลื่นเพื่อใหอุจจาระเคลื่อไปตามลําไสใหญไดงายขึ้น ถาลําไสใหญดูดน้ํามากเกินไป เนื่องจากการ อาหารตกคางอยูในลําไสใหญหลายวัน จะทําใหกากอาหารแข็ง เกิดความลําบากในการขับถาย ซึ่งเรียกวา ทองผูก โดยปกติ กากอาหารผานเขาสูลําไสใหญประมาณวันละ 300-500 ลูกบาศก เซนติเมตร ซึ่งจะทําใหเกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 กรัม สาเหตุของอาการทองผูก 1. กินอาหารที่มีกากอาหารนอย 2. กินอาหารรสจัด 3. การถายอุจจาระไมเปนเวลาหรือกลั้นอุจจาระติดตอกันหลายวัน 4. ดื่มน้ําชา กาแฟ มากเกินไป 5. สูบบุหรี่จัดเกินไป 6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมาก
  • 18. (Nervous System) การทํางานของระบบประสาทเปนกระบวนการที่สลับซับซอนมาก และเปนระบบที่มีความสัมพันธ กับการทํางานของระบบกลามเนื้อ เพื่อใหรางกายสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม ทั้งภายใน ภายนอกรางกาย ระบบประสาทนี้สามารถแบงแยกออก 3 สวน ดังนี้ (วุฒิพงษ ปรมัตถากร. หนา 31 – 34) 1) ระบบประสามสวนกลาง (Central nervous system. C.N.S) ระบบสวนนี้ ประกอบดวยสมอง และไขสันหลัง (Brain and Spinal cord) ซึ่งมีหนาที่ดังตอไปนี้ หนาที่ของสมอง 1) ควบคุมความตํา ความคิด การใชไหวพริบ 2) ควบคุมการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อ โดยศูนยควบคุมสมองดานซายจะไป ควบคุมการ ทํางานของกลามเนื้อดานขวาของรางกาย สวนศูนยควบคุมสมองดานขวาทําหนาที่ควบคุมการทํางานของ กลามเนื้อดานซายของรางกาย 3) ควบคุมการพูด การมองเห็น การไดยิน 4) ควบคุมการเผาผลาญอาหาร ความหิว ความกระหาย 5) ควบคุมการกลอกลูกตา การปดเปดมานตา 6) ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อใหทํางานสัมพันธกัน และชวยการทรงตัว 7) ควบคุมกระบวนการหายใจ การเตนของหัวใจ การหดตัวและขยายตัวของเสนเลือด 8) สําหรับหนาที่ระบบประสาทที่มีตอการออกกําลังกาย ตองอาศัยสมองสวนกลางโดยสมอง จะทําหนาที่นึกคิดที่จะออกกําลังกาย แลวออกคําสั่งสงไปยังสมองเรียกวา Association motor areas เพื่อ วางแผนจัดลําดับการเคลื่อนไหว แลวจึงสงคําสั่งตอไปยังประสาทกลไก (Motor area) ซึ่งเปนศูนยที่จะสง คําสั่งลงสูไขสันหลัง หนาที่ของไขสันหลัง 1) ทําหนาที่สงกระแสประสาทไปยังสมอง เพื่อตีความและสั่งการ และในขณะเดียวกันรับ พลังประสาทจากสมองซึ่งเปนคําสั่งไปสูอวัยวะตางๆ 2) เปนศูนยกลางของปฏิกิริยาสะทอน (Reflex reaction) คือ สามารถที่จะทํางานไดทันทีเพื่อ ปองกันและหลีกเลี่ยงอันตรายอาจจะเกิดขึ้นกับรางกาย เชน เมื่อเดินไปเหยียบหนามที่แหลมคมเทาจะยกหนี ทันทีโดยไมตองรอคําสั่งจากสมอง 3) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะตางๆ ที่มีเสนประสาทไขสันหลังไปสู ซึ่งหนาที่นี้ เรียกวา ทรอพฟคฟงชั่น (Trophic function)
  • 19. nervous system. P.N.S) ระบบประสาทสวนปลายเปน สวนที่แยกออกมาจากระบบประสาทสวนกลาง คือ สวนที่แยกออกมาจากสมองเรียกวา เสนประสาทสมอง (Cranial nerve) และสวนที่แยกออกมาจากไขสันหลัง เรียกวา เสนประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) ถาหาก เสนประสาทไขสันหลังบริเวณใดไดรับอันตราย จะสงผลตอการเคลื่อนไหวและความรูสึกของอวัยวะที่ เสนประสาทไขสันหลังไปถึง ตัวอยางเชน เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอวและบริเวณกนไดรับอันตราย จะมีผลตออวัยวะสวนลางคือขาเกือบทั้งหมดอาจจะมีอาการของอัมพาตหมดความรูสึกและเคลื่อนไหวไมได 3) ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomatic nervous system, A.N.S.) ระบบประสาทอัตโนมัติสวน ใหญจะทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายใน และทํางานอยูนอกอํานาจจิตใจ แบงการทํางาน ออกเปน 2 กลุม ดังนี้ 1) ซิมพาเทติก (Sympathetic divison) ทําหนาที่เรงการทํางานของอวัยวะภายในใหทํางานเร็ว หนักและแรงขึ้น รวมทั้งควบคุมการแสดงทางอารมณมีผลทําใหหัวใจเตนเร็วขึ้น ความดันเลือดเพิ่มขึ้น ตอม ตางๆ ทํางานเพิ่มขึ้น รวมทั้งงานที่ตองทําในทันทีทันใด เชน ภาวะของความกลัว ตกใจ โกรธ และความ เจ็บปวด หรือเปนการกระทําเพื่อความปลอดภัยของรางกายในภาวะฉุกเฉิน ประสาทสวนนี้ออกจาก เสนประสาทไขสันหลังบริเวณอกและบริเวณเอว 2) พาราซิมพาเทติก (Parasympathetic divison) โดยปกติแลวประสาทกลุมนี้จะทําหนาที่รั้ง การทํางานของอวัยวะภายใน หรือจะทํางานในชวงที่รางกายมีการพักผอน ประสาทสวนนี้มาจาก เสนประสาทกนกบและจากสมอง ในการทํางานทั้ง 2 กลุมจะทํางานไปพรอมๆ กัน ถากลุมหนึ่งทํางานมาก อีกกลุมหนึ่งจะทํางาน นอยลงสลับกันไป และบางทีชวยกันทํางาน เชน ควบคุมระดับย้ําในรางกาย ควบคุมอุณหภูมิของรางกายให อยูในระดับปกติ รวมทั้งควบคุมการทํางานจองอวัยวะภายในและตอมตางๆ ใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพ และเหมาะสม
  • 20. ซึ่งตองอาศัยองคประกอบสําคัญ เชน เพศชาย และเพศหญิง แตละเพศจะมีโครงสรางของเพศ และการสืบพันธุซึ่งแตกตางกัน 1) ระบบสืบพันธุของเพศชาย อวัยวะสืบพันธุของเพศชายสวนใหญจะอยูภายนอกลําตัว ประกอบดวยสวนที่สําคัญๆ ดังนี้ 1.1 ลึงคหรือองคชาต (Penis) เปนอวัยวะสืบพันธุของเพศชาย รูปทรงกระบอก อยูดานหนา ของหัวหนาว บริเวณดานหนาตอบบนถึงอัณฑะ มีลักษณะยื่นออกมา ประกอบดวยกลามเนื้อที่เหนียวแตมี ลักษณะนุม และอวัยวะสวนนี้สามารถยืดและหดได โดยทั่วไปแลวลึงคจะมีขนาดปกติยาวประมาณ 5 – 6 เซนติเมตร และมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร ที่บริเวณตอนปลายลึงคจะมีเสนประสาทและ หลอดเลือดมาเลี้ยงอยูเปนจํานวนมาก จึงทําใหรูสึกไวตอการสัมผัส เมื่อมีความตองการทางเพศเกิดขึ้น ลึงค จะแข็งตัวและเพิ่มขนาดขึ้นประมาณเทาตัว เนื่องมาจากการไหลคั่งของเลือดที่บริเวณนี้มีมาก และในขณะที่ ลึงคแข็งตัวนั้น จะพบวาตอมเล็กๆ ที่อยูในทอปสสาวะจะผลิตน้ําเมือกเหนียวๆ ออกมา เพื่อชวยในการหลอ ลื่นและทําใหตัวอสุจิสามารถไหลผานออกสูภายนอกได 1.2 อัณฑะ (Testis) ประกอบดวยถุงอัณฑะ เปนถุงที่หอหุมตอมอัณฑะไว มีลักษณะเปน ผิวหนังบางๆ สีคล้ําและมีรอยยน ถุงอัณฑะจะหอยติดอยูกับกลามเนื้อชนิดหนึ่ง และจะหดหรือหยอนตัวเมื่อ อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยรักษาอุณหภูมิภายในถุงอัณฑะใหเหมาะสมกับการสรางตัวอสุจิ ตอมอัณฑะมีอยู2ขางทําหนาที่ผลิตเซลลเพศชายหรือเชื้ออสุจิ (Sperm)มีลักษณะรูปรางคลายกับไขไกฟองเล็กๆ มีความยาวประมาณ4 เซนติเมตรหนาประมาณ 2 –3 เซนติเมตรและหนักประมาณ 15 -30 กรัม โดยปกติแลว ตอมอัณฑะขางซายจะใหญกวาตอมอัณฑะขางขวาเล็กนอย ตอมอัณฑะทั้งสองจะบรรจุอยูภายในถุงอัณฑะ (Scrotum) ภายในลูกอัณฑะจะมีหลอดเล็กๆ จํานวนมาก ขดเรียงกันอยูเปนตอนๆ เรียกวา หลอดสรางเชื้อ อสุจิ (Seminiferous tabules) มีหนาที่ผลิตฮอรโมนเพศชายและตัวอสุจิ สวนที่ดานหลังของตอมอัณฑะแตละ ขาง จะมีกลุมของหลอดเล็กๆ อีกมากมายขดไปขดมา ซึ่งเรียกวา หลอดเก็บตัวอสุจิ หรือกลุมหลอดอสุจิ (Epididymis) ซึ่งทําหนาที่เก็บเชื้ออสุจิชั่วคราว เพื่อใหเชื้ออสุจิเจริญเติบโตไดเต็มที่ 1.3 ทอนําตัวอสุจิ (Vas deferens) อยูเหนืออัณฑะ เปนทอยาวประมาณ 18 นิ้วฟุต ซึ่งตอมา จากทอพักตัวอสุจิ ทอนี้จะเปนชองทางใหตัวอสุจิ (Sprem) ไหลผานจากทอพักตัวอสุจิไปยังทอของถุงเก็บ อสุจิ 1.4 ทอพักตัวอสุจิ (Epidymis)อยูเหนือทอนําตัวอสุจิ ทอนี้มีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่งซีก ซึ่งหอยอยูติดกับตอมอัณฑะ สวนบนคอนขางจะใหญเรียกวา หัว (Head) จากหัวเปนตัว (Body) และเปนหาง
  • 21. เมื่อตัวอสุจิถูกสรางขึ้นมาแลวจะถูกสงเขาสู ทอนี้ เพื่อเตรียมที่จะออกมาสูทอปสสาวะ 1.5 ตอมลูกหมาก (Prostate gland) มีลักษณะคลายลูกหมาก เปนตอมที่หุมสวนแรกของทอ ปสสาวะไว และอยูใตกระเพาะปสสาวะ ตอมนี้ทําหนาที่หลั่งของเหลวที่มีลักษณะคลายนม มีฤทธิ์เปนดาง อยางออน ซึ่งขับออกไปผสมกับน้ําอสุจิที่ถูกฉีดเขามาในทอปสสาวะ ของเหลวดังกลาวนี้จะเขาไปทําลาย ฤทธิ์กรดจากน้ําเมือกในชองคลอดเพศหญิง เพื่อปองกันไมใหตัวอสุจิถูกทําลายดวยสภาพความเปนกรดและ เพื่อใหเกิดการปฏิสนธิขึ้น เซลลสืบพันธุเพศชายซึ่งเรียกวา “ตัวอสุจิหรือสเปอรม” นั้น จะถูกสรางขึ้นในทอผลิตตัวอสุจิ (Seminiferous tubules) ของตอมอัณฑะ ตัวอสุจิ มีรูปรางลักษณะคลายลูกออดหรือลูกกบแรกเกิด ประกอบดวยสวนหัวซึ่งมีขนาดโต สวนคอคอดเล็กกวาสวนหัวมาก และสวนของหางเล็กยาวเรียว ซึ่งใชใน การแหวกวายไปมา มีขนาดลําตัวยาวประมาณ 0.05 มิลลิเมตร ซึ่งมีขนาดเล็กกวาไขของเพศหญิงหลายหมื่น เทา หลังจากตัวอสุจิถูกสรางขึ้นในทอผลิตตัวอสุจิแลวจะฝงตัวอยูในทอพักตัวอสุจิจนกวาจะเจริญเต็มที่ ตอจากนั้นจะเคลื่อนที่ไปยังถุงเก็บตัวอสุจิ ในระยะนี้ตอมลูกหมากและตอมอื่นๆ จะชวยกันผลิตและสง ของเหลวมาเลี้ยงตัวอสุจิ และจะสะสมไวจนถึงระดับหนึ่ง ถาหากไมมีการระบายออกดวยการมีเพศสัมพันธ รางกายก็จะระบายออกมาเอง โดยใหน้ําอสุจิเคลื่อนออกมาตามทอปสสาวะในขณะที่กําลังนอนอยู ซึ่งเปน การลดปริมาณน้ําอสุจิใหนอยลงตามธรรมชาติ ตัวอสุจิประกอบดวยสวนหัวที่มีนิวเคลียสอยูเปนที่เก็บสารพันธุกรรม ปลายสุดของหัวมีเอนไซม ยอยผนังเซลลไข หรือเจาะไขเพื่อผสมพันธุ ถัดจากหัวเปนสวนของหางใชในการเคลื่อนที่ของตัวอสุจิ
  • 22. ดังนี้ 2.1 ชองคลอด (Vagina) อยูสวนลางของทอง มีลักษณะเปนโพรงซึ่งมีความยาว 3 – 4 นิ้วฟุต ผนังดานหนาของชองคลอดจะติดอยูกับกระเพาะปสสาวะ สวนผนังดานหลังจะติดกับสวนปลายของลําไส ใหญ ซึ่งอยูใกลทวารหนัก ที่ชองคลอดนั้นมีเสนประสาทมาเลี้ยงเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งที่บริเวณ รอบรูเปดชองคลอด นอกจากนี้ รูเปดของทอปสสาวะในเพศหญิงนั้นจะเปดตรงเหนือชองคลอดขึ้นไป เล็กนอย 2.2 คลิทอริส (Clitoris) เปนปุมเล็กๆ ซึ่งอยูบนสุดของรูเปดชองคลอด มีลักษณะเหมือนกับ ลึงค (Penis) ของเพศชายเกือบทุกอยาง แตขนาดเล็กกวาและแตกตางกันตรงที่วาทอปสสาวะของเพศหญิงจะ ไมผานผากลางคลิทอริสเหมือนกับในลึงค ประกอบดวยหลอดเลือดและเสนประสาทตางๆ มาเลี้ยงมากมาย เปนเนื้อเยื่อที่ยืดไดหดได และไวตอความรูสึกทางเพศ ซึ่งเปรียบไดกับปลายลึงคของเพศชาย 2.3 มดลูก (Uterus) เปนอวัยวะที่ประกอบดวยกลามเนื้อ และมีลักษณะภายในกลวง มีผนัง หนาอยูระหวางกระเพาะปสสาวะซึ่งอยูขางหนาและสวนปลายลําไสใหญ (อยูใกลทวารหนัก) ซึ่งอยูขางหลัง ไขจะเคลื่อนตัวลงมาตามทอรังไข เขาไปในโพรงของมดลูก ถาไขไดผสมกับอสุจิแลวจะมาฝงตัวอยูในผนัง ของมดลูกที่หนาและมีเลือดมาเลี้ยงเปนจํานวนมาก ไขจะเจริญเติบโตเปนตัวออนตรงบริเวณนี้ 2.4 รังไข (Ovary) มีอยู 2 ตอม ซึ่งอยูในโพรงของอุงเชิงกราน มีรูปรางคอนขางกลมเล็ก มี น้ําหนักประมาณ 2 – 3 กรัม ขณะที่ยังเปนตัวออนตอมรังไขจะเจริญเติบโตในโพรงของชองทอง และเมื่อ คลอดออกมาบางสวนอยูในชองทอง และบางสวนจะอยูใชอุงเชิงกราน ตอมาจะคอยๆ เคลื่อนลดลงต่ําลงมา อยูในอุงเชิงกราน นอกจากนี้ ตอมรังไขจะหลั่งฮอรโมนเพศหญิงออกมาทําใหไขสุก และเกิดการตกไข 2.5 ทอรังไข (Fallopain tubes) ภายหลังที่ไขหลุดออกจากสวนที่หอหุม (follicle) แลวไขจะ ผานเขาสูทอรังไข ทอนี้ยาวประมาณ 6 – 7 เซนติเมตร ปลายขางหนึ่งมีลักษณะคลายกรวยซึ่งอยูใกลกับรังไข สวนปลายอีกขางหนึ่งนั้นจะเรียวเล็กลงและไปติดกับมดลูก ทอรังไขจะทําหนาที่นําไขเขาสูมดลูก โดยอาศัย การพัดโบกของขนที่ปากทอ (Fimbriated end of tube) ซึ่งทําหนาที่คลายกับนิ้วมือจับไขใสไปในทอรังไข และอาศัยการหดตัวของกลามเนื้อเรียบ
  • 23. รังไขแตละขางจะผลิตไขสลับกันขางละประมาณ 28 – 30 วัน โดยผลิตครั้งละ 1 ใบ เมื่อไขสุกจะหลุดออกจากรังไขมาตามทอรังไข ในระยะนี้ผนังมดลูกจะมีเลือดมาหลอเลี้ยงเยื่อบุมดลูก มากขึ้น เพื่อเตรียมรอรับไขที่จะไดรับการผสมแลว จะมาฝงตัวลงที่เยื่อบุมดลูกตรงผนังมดลูกนี้และ เจริญเติบโตเปนทารก แตถาไขไมไดรับการผสมจากตัวอสุจิ ไขจะสลายตัวไปพรอมกับเยื่อบุมดลูก และจะ ออกมาพรอมกับเลือด เรียกวา ประจําเดือน เรื่องที่ 5 การทํางานของระบบตอมไรทอ ระบบตอมไรทอ ในรางกายของมนุษยมีตอมในรางกาย 2 ประเภท คือ 1) ตอมมีทอ (exocrine gland) เปนตอมที่สรางสารเคมีออกมาแลวสงไปยังตําแหนงออกฤทธิ์ โดย อาศัยทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ เชน ตอมน้ําลาย ตอมสรางเอนไซมยอยอาหาร ตอมน้ําตา ตอมสราง เอนไซมยอยอาหาร ตอมสรางเมือก ตอมเหงื่อ ฯลฯ 2) ตอมไรทอ (endocrine gland) เปนตอมที่สรางสารเคมีขึ้นมาแลวสงไปออกฤทธิ์ยังอวัยวะ เปาหมาย โดยอาศัยระบบหมุนเวียนเลือด เนื่องจากไมมีทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ สารเคมีนี้เรียกวา ฮอรโมน ซึ่งอาจเปนสารประเภทกรดอะมิโน สเตรอยด ตอมไรทอมีอยูหลายตอมกระจายอยูในตําแหนงตางๆ ทั่วรางกาย ฮอรโมนที่ผลิตขึ้นจากตอมไรทอมี หลายชนิด แตละชนิดทํางานแตกตางกัน โดยจะควบคุมการทํางานของอวัยวะตางๆ อยางเฉพาะเจาะจง เพื่อใหเกิดการเจริญเติบโต กระตุนหรือยับยั้งการทํางาน ฮอรโมนสามารถออกฤทธิ์ได โดยใชปริมาณเพียง เล็กนอย ตอมไรทอที่สําคัญ มี 7 ตอม ไดแก 2.1 ตอมใตสมอง (pituitary gland) ตําแหนงที่อยู ตอมใตสมองเปนตอมไรทอ อยูตรงกลางสวนลางของสมอง (hypophysis) เมื่อเริ่ม ศึกษาพบวา ตอมนี้ขับสารที่มีลักษณะขุนขาวคลายเสมหะ จึงเรียกวา ตอม พิทูอิตารี (pituitary gland) ตอมใต สมองประกอบดวยเซลลที่มีรูปรางแตกตางกันมากชนิดที่สุด ขนาดและลักษณะทั่วไป ตอมใตสมองของเพศชายหนักประมาณ 0.5 – 0.6 กรัม ของเพศหญิง หนักกวาเล็กนอย คือประมาณ 0.6 – 0.7 กรัม หรือบางรายอาจหนักถึง 1 กรัม ตอมใตสมอง แบงออกเปน 3 สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา (anterior lobe) ตอมใตสมอง สวนกลาง (intermediate lobe) และตอมใตสมองสวนหลัง (posterior lobe) ตอมใตสมองทั้งสามสวนนี้ ตางกันที่โครงสราง และการผลิตฮอรโมน