ความสำค ญของทฤษฎ การเร ยนร ท ม ต อการออกแบบการสอน

Page 26 - การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้

  1. 26
``` 8-16 การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้
             การ​ประยกุ ตท์​ ฤษฎีก​ ารเ​รยี น​รู้​มนุษยน​ ยิ ม  
  1. การใ​หอ​้ สิ ระ​ผ​ู้เรยี นใ​นก​ าร​เข้า​ถึง​แหล่ง​เรยี นร​ ้​ดู ว้ ยต​ นเอง
  2. ช่วยผ​ ูเ​้ รียน​ใหเ​้ ข้าใจก​ ระบวนการเ​รยี น รวู้​ ิธีเ​รยี น เพ่อื เ​ปน็ ​ผใู​้ ฝร​่ ้อู​ ย​ู่เสมอ
  3. จดั ก​ จิ กรรมก​ ารเ​รยี นท​ ส​่ี รา้ งก​ ารม​ ป​ี ฏสิ มั พนั ธ์ เชน่ การเ​รยี นแ​ บบร​ ว่ มม​ อื เปน็ การ​ ส่ง​เสรมิ ​การช​ ว่ ย​เหลอื ​กัน​และ​กัน
  4. จดั ก​ จิ กรรม​ทช​่ี ว่ ย​ใหผ​้ ​เู้ รยี น​เปน็ ​ผ​ตู้ ระหนกั ​ร​ตู้ อ่ ​ความ​รสู้ กึ ข​ องผ​ ​อู้ นื่ ​และ​ยอมรบั ​ วา่ บ​ ุคคล​แตล่ ะ​คน​เป็นป​ ัจเจกบุคคลแ​ ละ​มี​อิสระ​ที่​จะ​มคี​ วาม​คิดเ​หน็ ​ของ​ตนเอง
  5. จดั ก​ ลุ่มผ​ ้เ​ู รยี นท​ ่ีม​ คี​ วามแ​ ตกต​ า่ ง​ระหว่าง​บุคคล
            3.2.4   หลกั ก​ ารท​ ฤษฎกี​ ารเ​รียนร​ ้ทู​ างส​ งั คม (Social Learning) และก​ ารป​ ระยกุ ต์  
                 หลกั ​การ​ทฤษฎก​ี าร​เรยี นร​ ทู​้ าง​สงั คม  
                     หลกั ​การ​ท่ี 1: การ​เรียน​รู้จ​ าก​ตวั แ​ บบ (Modelling)  
                     หลกั ก​ าร​ท่ี 2: ปฏิสมั พันธ์ (Interactions)  
                     หลกั ก​ าร​ท่ี 3: การก​ ำ�กับ​ตนเอง (Self-regulation)  
                 การ​ประยกุ ตท์​ ฤษฎ​ีการ​เรียน​รท​ู้ างส​ งั คม  
  6. แบ่งเ​น้ือหาอ​ อก​เป็นข​ ้นั ๆ เพอื่ ใ​ห้​ผ้เู​รียนส​ ามารถเ​ลยี น​แบบห​ รือ​ปฏบิ ตั ​ิตาม​ได้
  7. ตวั แ​ บบท​ ใ​่ี ชน​้ อกจากผ​ ส​ู้ อนแ​ ลว้ สามารถใ​หน​้ กั เรยี นท​ ท​ี่ �ำ ไดเ​้ ปน็ ต​ วั แ​ บบ หรอื อ​ าจ​ ใชต้​ วั ​แบบส​ ัญลักษณท์​ ี​ม่ ​ีอย่ใู​น​หนังสอื ภาพยนตรห​์ รือโ​ทรทัศน์
  8. การใ​หผ​้ เ​ู้ รยี นว​ างแผน ควบคมุ แ​ ละก​ �ำ กบั พ​ ฤตกิ รรมข​ องต​ นเองด​ ว้ ยก​ ารก​ �ำ หนด​

    วัตถุประสงคเ​์ พือ่ เ​ปล่ียนแปลงพ​ ฤตกิ รรม สังเกตต​ นเอง ตัดสนิ ​ใจ และแ​ สดงป​ ฏกิ ริ ยิ าต​ อ่ ​ตนเอง

       โดย​สรุป​ทฤษฎี​และ​หลัก​การ​พื้น​ฐาน​สำ�หรับ​การ​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ระบบ​การ​เรียน​การ​สอน​หลักๆ
    
    ได้แก่ 1) ทฤษฎีร​ ะบบ 2) ทฤษฎี​การ​สื่อสาร 3) ทฤษฎี​จิตวิทยาก​ าร​เรียนร​ ู้
       ทฤษฎีร​ ะบบ​จะป​ ระกอบ​ไปด​ ้วยส​ ่วน​สำ�คัญ ได้แก่ ปัจจัยน​ ำ�​เข้า กระบวนการ และผ​ ลลัพธ์ และต​ ้อง​
    
    อาศัยข​ ้อมูลป​ ้อนก​ ลับ​เพื่อแ​ ก้ไขป​ รับปรุง ผู้อ​ อกแบบแ​ ละพ​ ัฒนา​ระบบต​ ้อง​สามารถท​ ำ�ความเ​ข้าใจ ระบบใ​หญ่ ระบบ​ย่อย ความ​สัมพันธ์ และ​ขั้น​ตอน​ดำ�เนิน​งาน​ของ​ระบบ ผู้​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ต้อง​สามารถ​วิเคราะห์ สังเคราะห์ องค์​ประกอบ​ของ​กระบวนการ​เรียน​รู้ เพื่อ​นำ�​มา​ออกแบบ​พัฒนา หรือ​แก้​ปัญหา​ทั้ง​ระบบ​หรือ​ ขั้น​ตอนใ​ดข​ ั้นต​ อน​หนึ่งเ​พื่อ​ให้​ได้ร​ ะบบ​การ​จัดการ​เรียน​รู้​ที่ม​ ี​ประสิทธิภาพ
       การส​ ื่อสารเ​ป็นกร​ ะบ​ วนก​ าร องคป์​ ระกอบข​ องก​ ารส​ ื่อสารไ​ด้แกผ่​ ูส้​ ่ง ข้อมูลข​ ่าวสาร ช่องท​ าง และผ​ ู้รับ  
    
    โดยต​ ้องค​ ำ�นึงถ​ ึงค​ วามแ​ ตกต​ ่างข​ องป​ ระสบการณ์ข​ องผ​ ู้ส​ ่งแ​ ละผ​ ู้รับใ​นด​ ้านค​ วามร​ ู้ ทักษะ ทัศนคติ สังคม และ​ วฒั นธรรม เปน็ ตน้ การส​ ือ่ สารอ​ าจม​ อ​ี ปุ สรรคห​ รอื ส​ ิง่ ร​ บกวนเ​กดิ ข​ ึน้ แ​ ละก​ ารส​ ือ่ สารเ​ปน็ การส​ ือ่ สารส​ องท​ าง โดย​ ผลัด​กัน​เป็น​ผู้รับ​และ​ผู้​ส่ง​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​เป็นก​ระ​บวน​การ​สื่อสาร​ที่​ผู้​บริหาร หรือ​ผู้​สอน​ถ่ายทอด​ เนื้อหาส​ าระ​ทั้ง​ความ​รู้ ทักษะ เจตคติ ไป​ยังค​ รู บุคลากรแ​ ละ​ผู้​เรียน​การอ​ อกแบบ​และพ​ ัฒนา​ระบบก​ ารจ​ ัดการ​ เรียน​รู้ต​ ้องค​ ำ�นึงถ​ ึงว​ ัตถุประสงค์ เนื้อหาส​ าระ ช่องท​ าง วิธีก​ าร เทคนิค​และค​ ุณลักษณะ​ของผ​ ู้รับส​ ารเ​พื่อใ​ห้ร​ ับ​ รู้​หรือ​เกิดก​ าร​เรียน​รู้ไ​ด้ต​ าม​วัตถุประสงค์​ที่ต​ ั้งไ​ว้

    `

งานวิจยั ในชัน้ เรียน

เรอ่ื ง การเสรมิ แรงทางบวกผสานกับแนวคิดทฤษฏีการ เรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เพือ่ การแกป้ ญั หาพฤติกรรมต่อความ สนใจการเรยี นนาฏศิลปไ์ ทย

ผวู้ ิจัย

นางเพิ่มจิตร ศรบี ญุ เรือง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ นาฏศลิ ป์ ปีการศกึ ษา 2564

รายงานการวิจยั ช้นั เรยี นปกี ารศกึ ษา 2564

ชอื่ งานวิจยั การเสริมแรงทางบวกผสานกบั แนวคดิ ทฤษฏกี ารเรียนรู้แบบรว่ มมอื เพ่อื การแกป้ ญั หา พฤตกิ รรมต่อความสนใจการเรียนนาฏศิลปไ์ ทย

ช่ือผู้วิจัย นางเพมิ่ จติ ร ศรีบญุ เรือง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ( นาฏศลิ ป์ )

เคา้ โครงการทำวิจยั ในช้ันเรียน ☑ มี ⬜ ไมม่ ี ท่มี าความสำคญั ของการวจิ ัย ☑ มี ⬜ ไม่มี ออกแบบเกบ็ ข้อมูล ☑ เสรจ็ ⬜ ไม่เสรจ็ เกบ็ ขอ้ มลู เรียบร้อย ☑ เสร็จ ⬜ ไมเ่ สร็จ แปลผลและอภิปรายผล ☑ เสรจ็ ⬜ ไมเ่ สร็จ สรปุ เปน็ รูปเล่ม ☑ เสรจ็ ⬜ ไม่เสร็จ

( นางเพม่ิ จิตร ศรีบญุ เรือง) ผวู้ ิจัย

งานวิจัยในชัน้ เรียน

การเสรมิ แรงทางบวกผสานกับแนวคิดทฤษฏีการเรียนรแู้ บบร่วมมือเพือ่ การแกป้ ญั หา พฤติกรรมตอ่ ความสนใจการเรียนนาฏศิลปไ์ ทย

ความสำคญั และทม่ี า การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนนาฏศลิ ปท์ ่ีผา่ นมาพบว่า นกั เรยี นท่มี าเรยี นนาฏศิลปม์ ี 3

ลกั ษณะคอื เรยี นเพราะมใี จรักการแสดง เรียนเพราะตามเพื่อน เรียนเพราะชอบการปฏิบตั ไิ ม่ชอบ การเขยี นเม่ือนักเรียนไดเ้ รียนไดฝ้ ึกนาฏศลิ ปป์ ญั หาทีพ่ บกบั นักเรียนบางคนมีการพัฒนาบ้าง เล็กน้อยกับกลมุ่ ท่ีมีการพัฒนาแบบต่อเนื่องตามลำดับจึงไดจ้ ดั กระบวนการเรยี นร้ใู ห้ผเู้ รยี นได้ ร่วมมือและช่วยเหลอื กนั ในการเรียนรู้ โดยแบง่ กลุ่มผเู้ รยี นทมี่ คี วามสามารถแตกตา่ งออกเปน็ กลุ่ม เล็กๆ มกี ารทำงานร่วมกันมกี ารแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ มกี ารชว่ ยเหลอื พึง่ พาอาศัยซง่ึ กนั และกนั มคี วามรับผิดชอบร่วมกันเพ่ือใหส้ มาชิกทุกคนในกลุ่มประสบความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายการฝกึ นาฏศลิ ปแ์ ละผู้เรียนเกดิ ความรู้ เจตคติ และทักษะต่อการเรียนนาฏศลิ ป์ควรจะเรมิ่ ฝึกตัง้ แตย่ ัง เล็กๆ โดยเรม่ิ จากชัน้ ประถมศกึ ษาและควรเริม่ จากการเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้เลือกทเี่ รียนตาม ความพึงพอใจนกั เรยี นท่ีเลือกจากความรสู้ ึกอยากเรียนอาจมผี ลสมั ฤทธ์ิไปในทางทดี่ ีขนึ้ ผูท้ ำวิจัยจึง ใชเ้ พลงพนื้ เมอื งภาคอสิ านเพลงเซงิ้ กะลา(เซงิ้ กะโป)๋ มาเก่ียวข้องกับการปฏบิ ัตเิ พอื่ ใหเ้ ข้าใจกบั การ พึงพอใจทนี่ ักเรยี นมีกับการเรยี นนาฏศลิ ป์การเสริมแรงทางบวกผสานกับแนวคิดทฤษฏกี ารเรยี นรู้ แบบรว่ มมือและเพ่ือพฒั นารปู แบบการเรยี นการสอนให้มคี วามสนใจมากยง่ิ ข้ึน

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพ่อื พฒั นารูปแบบการเรียนการสอนนาฏศลิ ป์โดยชดุ ฝึกปฏิบัติเพลงเซงิ้ กะลาฝึกทกั ษะ กิจกรรมนาฏศลิ ป์ 2. เพ่ือเปรียบเทยี บความก้าวหน้าทางการเรียนนาฏศิลป์ กอ่ นและหลังการเรียนการสอน โดยฝึกปฏบิ ตั เิ พลงเซงิ้ กะลา 3. เพ่ือศึกษาความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นท่ีมตี อ่ การเรียนการสอนโดยใช้ชดุ ฝึกทักษะกิจกรรม นาฏศิลป์ 4.ผู้เรียนเกิดความรู้ เจตคติ และทกั ษะต่อการเรียนนาฏศลิ ป์

สมมตฐิ านของงานวจิ ยั 1.ผเุ้ รยี นมคี วามสามารถในการทำกิจกรรมนาฏศิลป์เพลงพน้ื เมอื งภาคอสิ าน(เซิง้ กะลา)

และความรูน้ าฏศลิ ปไ์ ทยพ้นื ฐาน 2. ผู้เรยี นมคี วามรู้ เจตคติ และทกั ษะ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละมเี จตคตทิ ่ีดที างบวกในการ

เรยี นนาฏศิลป์ 3. ผู้เรียนมีแนวทางเพือ่ พัฒนาทกั ษะ มีสมาธิ ความอดทนและความคดิ สร้างสรรค์

กลุ่มเปา้ หมาย นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/3 โรงเรียนศรแี ก้งครอ้ จำนวน 20 คน ดงั รายชื่อตอ่ ไปนี้

ที่ ชื่อ – สกุลนกั เรยี น

1 เดก็ หญิงปทติ า ผลเหลือ 2 เด็กหญงิ พรภิวา แนวถาวร 3 เด็กหญงิ พิชญธดิ า หมู่หาญ 4 เด็กหญงิ กชกร นนยะโส 5 เดก็ หญงิ ปวรศิ า นาคำศรี 6 เดก็ หญิงธิดารัตน์ เวทไธสง 7 เด็กหญิงวลิ าวลั ย์ ไชยพันธ์ 8 เด็กหญงิ ณฏั ฐธิดา คลังใหญ่ 9 เดก็ หญงิ ณัฐวิภา ผงผุย 10 เด็กหญงิ อธชิ า สงั ขาว 11 เด็กหญงิ ปภัสราวรรณ วฒั นากลาง 12 เดก็ หญงิ ตรีทิตยพภิ า ฉายชูชาติ 13 เดก็ ชายอตวิ ิชญ์ พิทกั ษช์ าติ 14 เดก็ ชายการัณยภาส กุลจำเริญ 15 เด็กชายปภงั กร สทิ ธท์ิ องสี 16 เดก็ ชายธัชธรรม ทุมหนู 17 เดก็ ชายภดู ิศ โพธสิ วุ รรณ 18 เดก็ ชายจรรยธรรศ เปรมจิตร 19 เดก็ ชายนักปราชญ์ ดวงแสงจนั ทร์ 20 เด็กชายกรวิชญ์ ชำนาญ

วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย 1.ครเู ปดิ วดี ที ัศน์การแสดงเซ้งิ กะลาและสงั เกตุความสนใจตอ่ การดกู ารแสดง 2.ครใู ห้นักเรยี นฝกึ ปฏิบตั ิท่ารำ แบ่งกลุ่มปฏบิ ตั ิและช่วยเหลือ รว่ มกันมีการแลกเปลีย่ น ความคดิ เห็นในการปฏบิ ตั ิฝึกไปทลี ะนอ้ ยไปพรอ้ มๆกบั เครื่องวดี ที ศั น์ในเพลงเซ้ิงกะลา 3.ครใู หน้ กั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิทา่ รำรว่ มกบั เครือ่ งบนั ทกึ เสียงในเพลงเซ้งิ กะลา 4.ครูสอบถามถงึ ความสนใจในการเลอื กสื่อท่ีจะใชป้ ระกอบการฝึกการแสดง

5.ครสู งั เกตการปฏิบัตินาฏศิลป์จากการใช้เคร่ืองวีดีทศั น์ 6.ครูสงั เกตการปฏิบัตินาฏศลิ ปจ์ ากการใช้เครื่องบันทึกเสียง 7.ครูใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัติท่ารำเปน็ รายบุคคลและปฏบิ ตั ริ ายกลมุ่ แล้วแนะนำส่งิ ทค่ี วรพัฒนา เพอ่ื การประยุกต์ต่อการประเมนิ ผล เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั แบบฝึกทักษะกิจกรรมนาฏศลิ ป์ แบบสงั เกตพฤติกรรม ทฤษฏีการเรยี นร้แู บบร่วมมือ การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการวิจยั ตงั้ แต่เดอื นกรกฏาคม - ธันวาคม 2564

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผ้วู จิ ยั ไดด้ ำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยเริ่มจากการสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ินาฏศลิ ป์

ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3/3 การวิเคราะห์ข้อมลู

1.พจิ ารณาจากการสังเกตถึงความสนใจของนักเรียนโดยเปดิ โอกาสการเรียนร้แู บบร่วมมือ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล อยู่ทรี่ ะดบั ความรว่ มมือท่แี ตกต่างกนั ความแตกตา่ งทีเ่ ห็นได้ชดั เจน เพอื่ ให้ ไดค้ ำตอบทย่ี ืดหย่นุ หลากหลาย และมีการเรยี นรู้ในขอบข่ายความรแู้ ละทกั ษะที่ไมจ่ ำกัดตายตัว ใน เรอ่ื งท่เี ก่ียวขอ้ งกับสภาพการเรียนการสอนออนไลน์มักนยิ มใชค้ ำว่า Collaborative Learning

2.วเิ คราะห์จากแบบพฤติกรรมการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมนาฏศลิ ป์ผลปรากฏว่านกั เรียนมีความ สนใจต่อการดูตัวอยา่ งวีดีทัศน์ เครอื่ งบันทึกเสียง มากกวา่ การฝกึ ปฏิบตั ิจากการต่อทา่ รำจากครู อย่างเดยี ว ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

1.การวิเคราะหก์ ารผา่ นวตั ถุประสงค์รายขอ้ ภายหลงั การเรียนการสอนตามแผนการสอน ปกตโิ ดยหาค่าร้อยละ

2.หาประสทิ ธิภาพของชุดฝึกกจิ กรรมนาฏศิลป์ 3.เปรยี บเทยี บความกา้ วหน้าในการเรยี นโดยนำผลการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นโดย ใชช้ ุดฝึกทกั ษะกจิ กรรมนาฏศิลป์ 4.วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความคิดเห็นทม่ี ีตอ่ การสอนใชช้ ุดฝึกทกั ษะกิจกรรมนาฏศลิ ป์

สรุปผลการวิจัย

1.คะแนนภาคปฏบิ ตั ิการแสดงเซ้งิ กะลาก่อนเรยี นและหลังเรยี น 2.ความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมตี อ่ การเรยี นโดยใชช้ ดุ ฝึกทกั ษะกิจกรรมนาฏศิลป์ ปรากฏดงั น้ี 2.1 สิ่งที่นกั เรยี นชอบมากที่สดุ คอื เทปวดี ที ัศน์ เพราะสอนเปน็ ขน้ั ตอน เหน็ ภาพเคล่ือนไหว และเข้าใจงา่ ย ถา้ ปฏิบัตไิ ม่ทนั ก็สามารถยอ้ นภาพกลับไปดูใหม่ได้ นอกจากนี้ผเู้ รยี นยงั ชอบเอกสารประกอบภาพเพราะมีรูปภาพมาก อา่ นและเข้าใจงา่ ย สามารถปฏิบตั ิตามได้ รวมทง้ั ชอบแถบบนั ทึกสียงเพราะปฏบิ ตั ติ ามได้ 2.2 ผู้เรยี นไม่มสี ง่ิ ที่ไม่ชอบในชดุ ฝกึ ทักษะกจิ กรรมนาฏศิลป์ แตม่ ี1คนไมช่ อบแถบ บันทึกเสียง เพราะมีแตเ่ สียงไมม่ ภี าพ และปฏบิ ตั ิตามไมค่ ่อยได้ และไม่ชอบเอกสาร ประกอบภาพ เพราะเปน็ ส่ิงทยี่ ากสำหรับนักเรยี นทม่ี ีปัญหาดา้ นการอ่าน นอกจากนี้ รูปภาพในชดุ ฝึกเปก็ เอกสาร ขาว-ดำ ไมน่ า่ สนใจ 2.3 ความรสู้ กึ ของผู้เรียนทีม่ ตี อ่ การเรียน โดยใช้ชุดฝึกทกั ษะกจิ กรรมนาฏศิลป์พอสรปุ ได้ คอื ผเู้ รียนสว่ นใหญ่ชอบวิธกี ารเรยี นในรูปแบบนเ้ี พราะมีความสุขและเปน็ อสิ ระ มีความ ม่นั ใจในการเรียนมากยงิ่ ข้ึนเม่ือไม่เขา้ ใจ ปฏบิ ตั ไิ ม่ไดห้ รือไมท่ นั กส็ ามารถฝกึ ใหม่ได้ เปน็ กลุ่ม และเรียนร่วมกนั โดยไม่ต้องเกรงใจครู จนสามารถเกิดการเรียนรู้และปฏบิ ัติได้ ไม่รู้สึก เบ่ือมีความตอ้ งการทจี่ ะเรียนแบบน้ตี ลอด อกี ทง้ั เพอื่ นๆทเ่ี รียนรว่ มกนั เป็นนกั เรยี นทม่ี ี ความสามารถในระดบั เดียวกัน มจี ำนวนน้อยท่ีครเู ป็นผู้แนะนำ จึงมคี วามรูส้ ึกใกลช้ ดิ ครู มากยิง่ ข้นึ

ประโยชน์คาดวา่ จะได้รับ 1.สร้างความสมั พันธ์ทีด่ รี ะหว่างสมาชิก เพราะทุกคนร่วมมอื ในการทำงานกลุ่ม ทุกคนมี สว่ นรว่ มเทา่ เทยี มกนั 2. สมาชกิ ทกุ คนมีโอกาสคิดพดู แสดงออกแสดงความคดิ เหน็ ลงมอื กระทำอย่างเท่าเทียมกัน 3. เสรงิ ให้มคี วามช่วยเหลือกัน เชน่ เดก็ เกง่ ช่วยเหลือเดก็ ท่ไี ม่เกง่ ทำใหเ้ ด็กเก่งภาคภูมใิ จ รู้จักสละเวลา สว่ นเด็กท่ีไม่เก่งเกดิ ความซาบซ้ึงในน้ำใจของเพอื่ นสมาชกิ ด้วยกัน 4.ส่งเสรมิ ทักษะทางสังคมมมี นุษยส์ มั พันธท์ ่ีดตี ่อกันเข้าใจกนั และกันทั้งเสริมทักษะการ สื่อสาร ทกั ษะการทำงานเปน็ กลมุ่ 5.มีความคดิ สร้างสรรค์มีความมนั่ ใจในการเรยี นนาฏศิลป์และใช้เวลาว่างให้เปน็

ประโยชน์มที ศั นะคติทด่ี ตี อ่ การเรียนนาฏศลิ ป์ การประเมนิ ผล 1.ประเมนิ จาการทำงานกล่มุ โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 2.ประเมินจากผูเ้ รียนรายบคุ คลโดยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั งิ าน

แบบฝกึ ทกั ษะกจิ กรรมนาฏศิลป์(ก่อนเรยี น)

ลำดบั ชือ่ -สกุล ท่ารำเบื้องต้น ลีลาและจังหวะ ที่ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ตั ิไม่ได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้

1 เดก็ หญงิ ปทิตา ผลเหลอื √ √ √ √ 2 เด็กหญงิ พรภิวา แนวถาวร √ √ √ 3 เดก็ หญิงพชิ ญธดิ า หมู่หาญ √ √ √ 4 เดก็ หญิงกชกร นนยะโส √ √ √ √ 5 เด็กหญงิ ปวรศิ า นาคำศรี √ √ √ √ 6 เดก็ หญิงธิดารตั น์ เวทไธสง √ √ √ √ 7 เดก็ หญงิ วิลาวัลย์ ไชยพนั ธ์ √ √ √ √ 8 เด็กหญิงณฏั ฐธิดา คลงั ใหญ่ √ √ √ √ 9 เด็กหญงิ ณัฐวิภา ผงผยุ √ √ √ √ 10 เด็กหญิงอธิชา สังขาว √ √ √ √ 11 เดก็ หญงิ ปภสั ราวรรณ วัฒนากลาง √ 3 17 √ 12 เด็กหญงิ ตรีทิตยพภิ า ฉายชชู าติ 5 15

13 เด็กชายอตวิ ชิ ญ์ พิทักษ์ชาติ

14 เดก็ ชายการณั ยภาส กลุ จำเริญ

15 เด็กชายปภังกร สทิ ธ์ิทองสี

16 เด็กชายธัชธรรม ทุมหนู

17 เดก็ ชายภูดิศ โพธิสุวรรณ

18 เดก็ ชายจรรยธรรศ เปรมจิตร

19 เดก็ ชายนักปราชญ์ ดวงแสงจันทร์

20 เด็กชายกรวชิ ญ์ ชำนาญ

รวม

แบบฝกึ ทกั ษะกจิ กรรมนาฏศิลป(์ หลังเรยี น)

ลำดบั ชื่อ-สกุล ท่ารำเบ้ืองตน้ ลีลาและจังหวะ ที่ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ตั ิไม่ได้ ปฏิบตั ิได้ ปฏบิ ตั ิไม่ได้

1 เด็กหญิงปทิตา ผลเหลือ √ √ √ √ 2 เดก็ หญงิ พรภวิ า แนวถาวร √ √ √ √ 3 เด็กหญิงพิชญธิดา หมูห่ าญ √ √ √ √ 4 เดก็ หญงิ กชกร นนยะโส √ √ √ √ 5 เดก็ หญิงปวริศา นาคำศรี √ √ √ √ 6 เด็กหญิงธิดารตั น์ เวทไธสง √ √ √ √ 7 เด็กหญงิ วลิ าวลั ย์ ไชยพนั ธ์ √ √ √ 8 เดก็ หญงิ ณฏั ฐธิดา คลังใหญ่ √ √ √ 9 เดก็ หญงิ ณฐั วิภา ผงผยุ √ √ √ √ 10 เด็กหญงิ อธิชา สังขาว √ √ √ √ 11 เดก็ หญิงปภสั ราวรรณ วฒั นากลาง √ √ 19 1 15 5 12 เด็กหญิงตรที ิตยพภิ า ฉายชูชาติ

13 เดก็ ชายอติวิชญ์ พิทักษ์ชาติ

14 เดก็ ชายการณั ยภาส กุลจำเริญ

15 เดก็ ชายปภงั กร สทิ ธ์ิทองสี

16 เด็กชายธชั ธรรม ทมุ หนู

17 เดก็ ชายภูดศิ โพธิสวุ รรณ

18 เดก็ ชายจรรยธรรศ เปรมจติ ร

19 เดก็ ชายนกั ปราชญ์ ดวงแสงจันทร์

20 เด็กชายกรวชิ ญ์ ชำนาญ

รวม

แบบฝกึ ทักษะกิจกรรมนาฏศิลป์โดยใชส้ ื่อการเรยี นการสอน

ลำดบั ชื่อ-สกลุ วีดที ศั น์ เครอื่ งบนั ทกึ เสยี ง ท่ี สนใจ ไม่สนใจ สนใจ ไม่สนใจ

1 เดก็ หญิงปทิตา ผลเหลอื √ √ √ √ 2 เด็กหญิงพรภวิ า แนวถาวร √ √ √ √ 3 เดก็ หญิงพชิ ญธดิ า หมู่หาญ √ √ √ √ 4 เด็กหญิงกชกร นนยะโส √ √ √ √ 5 เดก็ หญงิ ปวรศิ า นาคำศรี √ √ √ √ 6 เด็กหญิงธิดารตั น์ เวทไธสง √ √ √ √ 7 เดก็ หญงิ วิลาวัลย์ ไชยพันธ์ √ √ √ 8 เด็กหญงิ ณัฏฐธดิ า คลังใหญ่ √ √ √ √ 9 เดก็ หญิงณฐั วิภา ผงผุย √ √ √ √ 10 เด็กหญงิ อธชิ า สังขาว √ √ √ √ 11 เด็กหญงิ ปภสั ราวรรณ วฒั นากลาง 20 √ 19 1 12 เด็กหญงิ ตรที ิตยพภิ า ฉายชชู าติ

13 เดก็ ชายอติวชิ ญ์ พิทักษ์ชาติ

14 เดก็ ชายการณั ยภาส กลุ จำเริญ

15 เดก็ ชายปภังกร สทิ ธิ์ทองสี

16 เดก็ ชายธัชธรรม ทุมหนู

17 เด็กชายภดู ิศ โพธสิ ุวรรณ

18 เดก็ ชายจรรยธรรศ เปรมจติ ร

19 เด็กชายนักปราชญ์ ดวงแสงจันทร์

20 เด็กชายกรวชิ ญ์ ชำนาญ

รวม

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics) เร่อื ง ปฏบิ ัตทิ ่ารำประกอบเพลงเซิ้งกะลา

เกณฑก์ ารประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32

ปฏิบตั ิทา่ รำ ปฏิบัติทา่ รำ ปฏิบตั ทิ า่ รำ ปฏบิ ตั ิท่ารำ ปฏิบตั ทิ ่ารำ ประกอบเพลง เซง้ิ กะลา ประกอบเพลงเซิง้ ประกอบเพลงเซ้ิง ประกอบเพลงเซิ้ง ประกอบเพลงเซิง้

กะลาไดส้ มั พันธ์ กะลาไดส้ มั พันธ์ กะลาไดส้ ัมพันธ์ กะลาไดส้ ัมพนั ธ์

กับหวั ข้อท่กี ำหนด กบั หัวขอ้ ทกี่ ำหนด กบั หัวข้อทก่ี ำหนด กับหวั ขอ้ ที่กำหนด

และแตกต่างจากที่ และแตกตา่ งจากที่ ตามที่ ตามท่คี รู

ยกตัวอย่าง มกี าร ยกตัวอย่าง แต่ ยกตวั อย่าง แตม่ ี ยกตวั อย่าง

เชื่อมโยงใหเ้ ห็นถงึ เชอื่ มโยงใหเ้ หน็ การดัดแปลงให้

ความสมั พันธก์ ับ เฉพาะตนเอง แตกตา่ ง

ตนเองและผ้อู น่ื

แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นนาฏศิลป์

ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32

1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ ่ืน 3 การทำงานตามหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมีนำ้ ใจ 5 การตรงตอ่ เวลา

รวม

บรรณานุกรม

https://www.kroobannok.com/2557

http://narisara0733.blogspot.com › blog-post_1891 การพฒั นารูปแบบการสอนนาฏศลิ ป์ สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปี ... https://sites.google.com › site › teacherworks2010 › kar...

สวุ ทิ ย์ มูลคำ และ อรทัย มลู คำ. (2003). 19 วิธจี ัดการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาความรูแ้ ละทกั ษะ. กรุงเทพฯ: สุวทิ ย์ มูลคำ. (2003). 20 วธิ ีการจัดการเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนคณุ ธรรม วฒั นธรรม ค่านยิ ม และการ เรยี นรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. กรงุ เทพฯ: สวุ ทิ ย์ มลู ค า. (2003). 20 วิธกี ารจัดการเรียนรู้เพอ่ื พัฒนากระบวนการคิด.กรุงเทพฯ: ประโยชน์ของการเรยี นแบบรว่ มมือ - นานาสาระ http://nanasaraupdate.blogspot.com › blog-post_3 การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีการเรียนรู้แบบรว่ มมือ https://he02.tci-thaijo.org › article › download

1.