ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

0% found this document useful (0 votes)

310 views

42 pages

Copyright

© © All Rights Reserved

Available Formats

PDF, TXT or read online from Scribd

Share this document

Did you find this document useful?

0% found this document useful (0 votes)

310 views42 pages

11.คำมูล-ประสม-ซ้ำ-ซ้อน.pdf

Jump to Page

You are on page 1of 42

คาม ล

คาประสม คาซอน คาซา

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

Page 2

คม ล

คาม ล คอ คาไทยแทหรอคาท มาจากภาษาอ นก ได แตตองไม ประสมกับคาอ นและมความหมายชัดเจนในตัวจะมก พยางค

ก ไดไมกาหนด เชน นาฬกา มะมวง ก ญแจ เปนตน

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

Page 3

๑.คาม ลพยางคเดยว เชน

พอ แม ห  ตา นอน นั ง โตะ กก ส ข กรรม กอลฟ ชอลก ฟร ๒. คาม ลหลายพยางค

-

อาจประกอบดวยพยางคไมมความหมาย

ทั งหมด เชน จงโจ สะดวก ไฉไล

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

Reward Your Curiosity

Everything you want to read.

Anytime. Anywhere. Any device.

No Commitment. Cancel anytime.

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

ข อความต อไปน ม คำประสมจำนวนเท าใด ไม น บคำซ ำ

chaiyanbk Download

  • Publications :0
  • Followers :0

ข้อสอบ-O-Net-48-ภาษาไทย-ม6

ข้อสอบ-O-Net-48-ภาษาไทย-ม6

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

ข้อสอบ-O-Net-48-ภาษาไทย-ม6

๕) อาการนาม การ /ความ + ................................................. เช่น การวิง่ ความดี ความช่วั การนอน

๖) สกรรมกรยิ า (กรยิ าที่ต้องมีกรรมมารับ) เชน่ วัวกินหญ้า พ่อลา้ งรถ ฉนั ใหอ้ าหารปลาทุกวัน

๗) อกรรมกริยา (กรยิ าท่ีไม่ต้องมีกรรมมารบั ) เชน่ กบร้อง ฝนตก รถติด ม้าวง่ิ เขานั่ง

ขอ้ สอบ กริยาแท/้ กริยาหลกั ................. กรยิ าช่วย.............

๘). คำบพุ บท ต้องตามดว้ ยคำหรอื วลี แต่ คำสันธานจะตามดว้ ยประโยค

เขากินมะขามในจาน ............ ครดู ุจนเด็กฉี่ราด ...............

เดน่ ย้ายบ้านมาอยู่บนภูเขา ............ เขามาตั้งแตฉ่ นั ยงั ไม่ตื่น ...............

ลักษณนำม ตวั กบ (เหลาดนิ สอ) ตวั อนั ตวั กระจก แผ่น กบ (สำหรับไสไม)้ บาน กระเช้า ใบ, ลูก กรด (สารเคมี) ใบ, ลกู กระดง่ิ ใบ, ลูก กระจกเงา อนั , แห่ง กระตบิ ขา้ ว ใบ, ลูก กระดง้ ใบ, ลกู กร่ิง อนั กระได, บันได ใบ, ลูก กะกรดุ , ตะกรุด ดอก กระทะ เคร่ือง, หลัง เกย๊ี ว ตวั กลอง ค,ู่ ฝา ขนมจีน จับ, หัว ก่ี (เครื่องทอผา้ ) หวั , แงง่ ขลยุ่ เลา ขนมครก เลม่ ขัน ใบ, ลกู ขมิน้ ดอก ข้าวเมา่ ทอด แพ, ลูก ขวาน กระบอก เข่ง ใบ, ลูก ขา้ วตอก อนั , เขยี ง คทา (อาวธุ ) เล่ม, อัน ขา้ วหลาม ตวั คัมภีร์ คมั ภีร์ เขยี ง ผูก ฆ้อง ใบ, ลกู ครฑุ ก่ิง จอบ เลม่ คมั ภรี ์ใบลาน คัน, หลงั จวี ร ผืน งาชา้ ง จักร (เย็บผา้ )

ติวสอบครผู ูช้ ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 66

เจดีย์ องค์ ชอ้ น คนั ช้าง (ช้างขนึ้ ระวาง) ช้าง ช้าง (ช้างบ้าน) เชือก ช้าง (ชา้ งป่า) ตวั เช็ค ใบ, ฉบบั , เล่ม ซอ (เคร่ืองดนตรี ) คัน ซงุ ตน้ , ทอ่ น เณร สามเณร รูป ดอกจัน (เครอื่ งหมาย) ตวั ดอกไม้จนั ท์ ชอ่ ดา้ ย เส้น , ไจ, เข็ด , หลอด ตราไปรษณยี ากรณ์ ดวง ตาลปตั ร เลม่ เตน็ ท์ หลัง เต้ารบั เต้าเสียบ เต้า เตารดี (ไฟฟา้ ) อนั ถนน สาย แถลงการณ์ ฉบบั ท่ีดนิ แปลง, ผืน เทยี น เลม่ เทียนพรรษา ตน้ ธง (ผนื ธง) ผนื ธง (มีคนั ) คนั ธนู คนั ธรรมมาสน์ ธรรมมาสน์, หลงั ธปู ดอก, ห่อ , แหนบ นอต ตวั นักบวช รปู แม่ชี คน บัตรประชาชน ฉบบั บาตร ใบ, ลูก เบ็ด ตวั ใบตอง (ทพ่ี ับ) พบั , แหนบ ใบตอง (มกี า้ น) ทาง ปริญญาบัตร ฉบับ ปาท่องโก๋ ข้าง, ค,ู่ ตวั ปิ่นโต ใบ, ลูก, เถา, สาย ปืน กระบอก เปยี โน หลงั ผ้าไตร ไตร ผ้าบังสกุ ลุ ผนื ฝน เมด็ , ห่า ฝอยทอง แพ พยาน คน, ปาก พระขรรค์ องค,์ เล่ม พลุ ดอก, กระบอก, ตบั พู่กนั ดา้ ม, เลม่ มณฑป หลงั มนต,์ มนตร์ บท ไม้กลดั เลม่ , อนั ไม้ขีดไฟ ก้าน, กลัก, กล่อง ไม้แคะหู , ไม้ควกั หู เล่ม ยางรถ เสน้ ร้งุ กนิ น้ำ ตวั ริบบิน้ เส้น, แถบ, ม้วน ลำธาร สาย โลง (มศี พบรรจุอยู่) โลง โลง (ไม่มศี พบรรจุ) ใบ, ลูก วา่ ว ตวั ศพ ศพ สวงิ ปาก สวิ เมด็ สิ่ว เลม่ , ปาก, อัน หนา้ ตา่ ง บาน, ช่อง, หน้าต่าง หวี เลม่

ติวสอบครูผ้ชู ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 67

เหด็ ดอก ไห ใบ, ลูก อวน ชดุ ฮวงซุ้ย ฮวงจุ๊ย ปาก อัฐบริขาร ลำ, เครอื่ ง

ฮวงซยุ้ ฮวงจุ๊ย เฮลิคอปเตอร์

..............................................

กลุ่มคาหรือวล-ี ประโยคสมบูรณ์ ประโยค มีประธาน + กริยา เป็นอยา่ งนอ้ ย) กลุ่มคำ ขาดประธาน หรือ กริยา

เจตนาของประโยค

๑) แจ้งใหท้ ราบ บอกเลา่ ใครชว่ ยบอกความจริงฉันที ๒) ถามให้ตอบ ตอ้ งการคำตอบ ไมน่ ่งั ก่อนหรือคะ ๓) บอกให้ทำ ส่ัง ขอร้อง แนะนำ ตักเตือน วนั นี้คุณดืม่ นมแล้วหรอื ยงั

ลักษณะประโยค/กำรเน้นรูป

รูปประโยคประโยค วิธกี ารสังเกต ตวั อย่าง ครเู ด่นทำขนมเค้ก ประโยคประธาน ขึน้ ดว้ ย ประธาน ปรากฏข่าวกะเทยจมน้ำตาย ขนมน้ีพเี่ ดน่ ทำเอง ประโยคกรยิ า ขน้ึ ดว้ ย “เกดิ มี ปรากฏ”

ประโยคกรรม ข้ึนด้วย กรรม

ตวิ สอบครูผชู้ ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 68

ชนดิ ประโยคแบ่งตามใจความสาคญั

ประโยคความเดยี ว วิธกี ารสงั เกต

ประโยคความรวม ระวัง ประโยคความซอ้ น การ ความ/+ กรยิ า วเิ ศษณ์/= อาการนาม การนอนหลับเปน็ การพักผ่อน .เป็นประโยค...............................

ระดบั ภาษา

มี ๕ ระดับ มวี ิธกี ารสงั เกตดังน้ี

๑. ระดบั พธิ ีการ = ......................................................................................................................

๒. ระดับทางการ = ..................................................

๓. ระดบั กง่ึ ทางการ = ...............................................

๔. ระดบั สนทนา = ....................................................

๕. ระดบั กนั เอง = .....................................................

ติวสอบครูผชู้ ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 69

ราชาศัพท์

๑. ลำดับพระราชวงศท์ ต่ี ้องรู้ ...........................................................................................................

๒. สมเด็จพระสังฆราช เปน็ พระสงฆ์องคเ์ ดียวเท่านั้นทใ่ี ชร้ าชาศพั ท์

สมเด็จพระพุฒาจารย์สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ ................................. สมเด็จพระวันรัต สมเด็จพระมหาธีราจารย์

สมเดจ็ พระธีรญาณมนุ ี ฯลฯ

วิธจี ำ (มีสมเดจ็ มีพระ .....................= ไม่ตอ้ งใช้ราชาศัพท์)

๓. หมอ่ มเจ้า ต้องใชร้ าชาศพั ท์ แต่ หม่อมราชวงศ์และหมอ่ มหลวงไม่ต้องใช้คำราชาศพั ท์

๔. การใช้ “พระบรม พระราช พระ”

พระบรม = ในหลวงเท่านั้น

พระราช = .....................

พระ = .........................................................

๕. การใช้กริยาราชาศพั ท์

๑) กริยาราชาศัพทใ์ ชไ้ ด้ทันที (เป็นคำกรยิ าราชาศพั ท์อยู่แล้ว) เช่น เสวย ทอดพระเนตร โปรด ตรัส

สุบนิ บรรทม พระราชทาน ผนวช กรวิ้ ประทับ

จุดสำคญั ประทาน พระราชทาน (V.) = .........................................................

\= ......................... \= หา้ มใช้ “ทรงพระราชทาน”

๒) การใช้ ทรง กรยิ าธรรมดา (ทรงว่งิ ) ทรง + นามธรรมดา (ทรงชา้ ง)

นามราชาศพั ท์ (ทรงพระราชนพิ นธ์)

ติวสอบครผู ชู้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 70

จุดระวัง ( นามราชาศพั ท์ ขึ้นตน้ ดว้ ยคำว่า “พระ”)

ทรงพระราชนิพนธ์

คำนาม

(คำกรยิ า)

จดุ สำคญั ใช้ คำวา่ ทรง นำหนา้ พระ ได้ทกุ คำ ยกเว้น “ทรงพระราชทาน”

ระวัง ห้ามใช้ “ทรง + กริยาราชาศพั ท์ทีใ่ ชไ้ ด้ทันท”ี

ทรงโปรด X ทรงกริ้ว X

ทรงประทบั X ทรงเสวย X

ทรงเสดจ็ X ทรงพระราชทาน X

๖. การใช้ “ม,ี เป็น”

มี, เป็น + ราชาศพั ท์ ทรงม,ี ทรงเปน็ + คำธรรมดา

๗. การให้

นอ้ มเกลา้ ฯ ถวาย = ของใหญ่/หนกั ยกไม่ได้ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย = ของเล็ก ยกได้

๘. เสดจ็ (ไป)

........................................................ = เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไป หรอื เสด็จฯไป

........................................................ = เสดจ็ ไป

๙. ทรงพระดำเนนิ = เดิน (..........................................................)

๑๐. ต้องใช้ “รบั เสด็จฯ หรือ เฝา้ ฯรับเสด็จ” และ ม,ี แสดง+ ความจงรกั ภกั ดี” ห้ามใช้ ถวายการต้อนรบั และ ถวายความจงรกั ภักดี

๑๑. อาคันตกุ ะ=แขก

เจา้ บ้าน เรียกแขกวา่

กษัตรยิ ์ พระราชอาคนั ตุกะ

สามัญชน อาคนั ตุกะ

๑๒. กำหนดการ = ใครออกก็ได้ หมายกำหนดการ = สำนกั พระราชวงั

งานรับปรญิ ญา ใช้ กำหนดการ ๑๓. ใช้ “หน้าท่นี ง่ั หรอื “เฉพาะพระพักตร”์ เมื่อทำการแสดงต่อหนา้ เจา้ (หา้ มใช้หนา้ พระที่นั่ง) ๑๔. โอกาส = ใช้ในโอกาสสำคัญ เช่น ในโอกาสหลวงครองราชยส์ มบัติครบ ๖๐ ปี

๑๕. วโรกาส = ใช้เมื่อ “ให้ หรือ ขอ โอกาส”

ติวสอบครูผูช้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หนา้ 71

๑๖. ถวายพระพร ใชเ้ ม่อื พระสงฆ์ให้พรเจา้ ถวายพระพรชยั มงคล ใชเ้ มื่อประชาชนทวั่ ไปให้พรเจ้า ถา้ ประชาชนไปลงช่ืออวยพรใช้ ลงนามถวายพระพร

สูตรการทาข้อสอบ

ดู Subject ดูประธาน ........................................................ ดูกริยาทุกตัว การใช้ทรง + คำธรรมดา Check Verb มีเป็น+ ราชาศัพท์ ดคู ำนาม ทรงม/ี ทรงเปน็ + คำธรรมดา Check Noun เสดจ็ /เสด็จฯ พระราชทาน (ห้ามใช้ทรงนำหนา้ ) พระบรม พระราช พระ

ตวั อย่าง

๑. จงเลือกราชาศัพทท์ ่ีเหมาะสมจากกลุ่ม ก. และ จากกลุ่ม ข. เตมิ ลงในชอ่ งวา่ ง (ก) และ (ข) ตามลำดับ

พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคโ์ สมสวลีฯ.....(ก)......ไปยังสวนอัมพรเพื่อ......(ข).......โล่แกผ่ ู้ทำคณุ ประโยชน์แก่

สังคม

ก. ๑. เสดจ็ ๒. เสดจ็ ฯ ๓. ทรงเสด็จ

๔. เสด็จพระดำเนนิ ๕. เสด็จพระราชดำเนิน

ข. ๑. ประทาน ๒. ทรงประทาน ๓. ทรงพระประทาน

๔. พระราชทาน ๕. ทรงพระราชทาน

ติวสอบครูผูช้ ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 72

คาราชาศัพท์ทีค่ วรทราบ

คำราชาศัพทห์ มวดเครื่องใช้

เครอื่ งใช้ คำราชาศัพท์ เคร่ืองใช้ คำราชาศพั ท์ ผ้าเชด็ หนา้ ซับพระพักตร์ เสอ้ื ฉลองพระองค์ กระจกส่อง พระฉาย รองทา้ ฉลองพระบาท ขา้ ว พระกระยาเสวย( พระมหากษัตรยิ ์ ) น้ำกนิ ของเสวย เครือ่ ง ตุ้มหู พระสุธารส ชอ้ น พระกณุ ฑลพาน ท่นี อน พระย่ีภู่ ชอ้ นสอ้ ม ฉลองพระหตั ถ์ ปิ่น ฉลองพระหตั ถส์ ้อม มา่ น, มุ้ง พระวิสูตร พระสตู ร พระจุฑามณี

ถาดน้ำชา ถาดพระสธุ ารส

คนโทน้ำ พระสุวรรณภงิ คาร

ผ้าอาบน้ำ พระภษู าชุบสรง

ปืน พระแสงปนื ไม้เท้า ธารพระกร เข็มขดั รัดพระองค์ , ผา้ ชบุ สรง , หมาก พานพระศรี นำ้ ชา พระสุธารสชา ประตู ผ้าสรง พระปน้ั เหน่ง เหลา้ น้ำจัณฑ์ เตยี งนอน พระทวาร กางเกง พระสนับเพลา พระท่ี (ราชวงศ)์ ผา้ เชด็ ตัว พระแทน่ บรรทม ซับพระองค์

คาํ ราชาศัพท์หมวดรา่ งกาย รา่ งกาย คำราชาศพั ท์ ลิน้ ไก่ มลู พระชวิ หา รา่ งกาย คำราชาศัพท์ ไรฟัน ไรพระทนต์ ผม พระเกศา ตะโพก พระโสณี

ไหปลาร้า พระรากขวัญ แขง้ พระชงฆ์ หนา้ ผาก พระนลาฎ น้ิวกอ้ ย พระกนิษฐา

ทอ้ ง พระอทุ ร คอ พระศอ หลงั พระขนอง เนอ้ื พระมังสา น้ิวมือ พระองคลุ ี เหงอ่ื พระเสโท บ่า พระอังสะ ปัสสาวะ พระบังคนเบา จุก พระโมฬี สะดือ พระนาภี นม พระถัน, พระเตา้ นว้ิ ช้ี พระดรรชนี

ติวสอบครผู ชู้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 73

จมกู พระนาสกิ อจุ จาระ พระบงั คนหนัก ฟนั พระทนต์ ขน พระโลมา อก พระอุระ, พระทรวง หู พระกรรณ เถ้ากระดูก พระองั คาร เอว บัน้ พระองค,์ พระกฤษฎี นำ้ ลาย พระเขฬะ ลนิ้ พระชวิ หา ข้อมือ ขอ้ พระหตั ถ์ ผิวหนงั พระฉวี คิ้ว พระขนง ข้อเท้า ขอ้ พระบาท น้ำตา น้ำพระเนตร, ปอด พระปบั ผาสะ ปาก พระโอษฐ์ ตน้ ขา พระอรุ ุ พระอสั สชุ ล คาง พระหนุ หัวเขา่ พระชานุ รกั แร้ พระกจั ฉะ ตน้ แขน พระพาหุ ดวงหน้า พระพักตร์ ผวิ หนา้ พระราศี ขนระหวา่ งค้ิว พระอุณาโลม เงา พระฉายา

จอนหู -- พระกรรเจยี ก

คําราชาศัพทห์ มวดเครอื ญาติ ราชตระกลู

คำศพั ท์ คำราชาศพั ท์ คำศพั ท์ คำราชาศพั ท์ แม่ พระชนนี, พระมารดา พอ่ พระชนก พระบดิ า ยา่ , ยาย พระอัยยิกา ป,ู่ ตา พระอยั กา, พระอัยกี ป้า พระปติ ุจฉา พส่ี าว พระเชษฐภคินี ลุง พระปติ ลุ า พระสุณสิ า ลกู สะใภ้ พระเทวนั พช่ี าย พระเชษฐา พี่เขย, น้องเขย พระชามาดา

น้องชาย พระอนุชา ลกู เขย

พ่อผวั , พ่อตา พระสสั สรุ ะ

ผวั พระสวามี

ติวสอบครผู ้ชู ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หนา้ 74

คําราชาศพั ทห์ มวดคำกิรยิ า

คำศพั ท์ คำราชาศัพท์ คำศัพท์ คำราชาศัพท์ ดู ทอดพระเนตร ถาม พระราชปจุ ฉา ให้ พระราชทาน ตอ้ งพระราชประสงค์ ทักทายปราศรยั พระราชปฏสิ ันถาร อยากได้ พระราชหัตถเลขา เขยี นจดหมาย ไปเท่ยี ว เสด็จประพาส ทรงเครอ่ื ง แต่งตัว ทรงพระครรภ์ ทาเครือ่ งหอม ทรงพระสำอาง มีครรภ์ ทรงพระสรวล หัวเราะ ไหว้ ถวายบังคม รับประทาน เสวย ปว่ ย ประชวร อาบน้ำ สรงนำ้ ชอบ โปรด

ตัดสิน พระบรมราชวนิ ิจฉัย

นอน บรรทม

นง่ั ประทับ

ไป เสดจ็

จุดสำคญั

............................................................................................................................. ............................................................

.................................................................................................................................................................................... .....

คําราชาศพั ท์หมวดสรรพนาม

คำทใ่ี ช้แทน คำราชาศัพท์ ใช้กบั

แทนชอื่ ผ้พู ูด (บุรุษที่ 1) ข้าพระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์

กระผม, ดฉิ ัน ผูใ้ หญ่, พระสงฆ์

แทนช่อื ที่พูดดว้ ย (บุรุษท่ี 2) ใต้ฝ่าละอองธุรพี ระบาท พระมหากษัตริย์

ใตฝ้ า่ ละอองพระบาท พระบรมราชนิ ี

พระบรมราชนนี

พระบรมโอสรสาธริ าช

พระบรมราชกมุ ารี

แทนชอื่ ที่พดู ด้วย ฝ่าพระบาท เจา้ นายช้นั สูง

แทนชือ่ ท่ีพดู ดว้ ย พระคณุ เจ้า พระสงฆ์ผู้ทรงสมณศกั ดิ์

แทนช่อื ท่ีพดู ด้วย พระคณุ ทา่ น พระภกิ ษสุ งฆ์ท่ัวไป

แทนชื่อที่พดู ด้วย พระเดชพระคณุ เจา้ นาย, หรอื พระภกิ ษุทน่ี บั ถือ

แทนผทู้ พ่ี ูดถึง (บุรุษที่ 3) พระองค์ พระราชา, พระพุทธเจ้า, เทพผเู้ ป็นใหญ่

แทนผู้ท่พี ูดถงึ ท่าน เจ้านาย, ขนุ นางผู้ใหญ่, พระภิกษุ, ผู้ใหญท่ ีน่ ับ

ถอื

ตวิ สอบครผู ชู้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 75

คาํ ราชาศพั ท์หมวดพระสงฆ์

คำสามัญ ราชาศัพท์ คำสามญั ราชาศัพท์

สรงนำ้ อาบนำ้ จังหัน อาหาร

คำสอน(พระสงั ฆราช) พระโอวาท คำสั่ง(พระสังฆราช) พระบญั ชา

จำวัด นอน ฉัน รับประทาน

ธรรมาสน์ พระแท่น จดหมาย(พระสังฆราช) พระสมณสาสน์

(พระสงั ฆราช)

นมิ นต์ เชญิ อาพาธ ปว่ ย

ทีน่ ั่ง อาสนะ จดหมาย ลขิ ิต

ปัจจัย เงนิ ปลงผม โกนผม

เรอื นที่พกั ในวัด กุฏิ หอ้ งอาบนำ้ หอ้ งสรงน้ำ

ประเคน ถวาย เพล เวลาฉนั อาหารกลางวัน

ห้องสขุ า ถาน,เวจกฎุ ี อาหาร ภัตตาหาร

มรณภาพ ตาย ประเคน ถวาย

คำแจง้ ถวายจตปุ ัจจัย ใบปวารณา อาหารถวายพระดว้ ยสลาก สลากภตั

องั คาด เล้ียงพระ ลขิ ติ จดหมาย

สถานทีพ่ ระภกิ ษุใช้ เสนาสนะ เครือ่ งนุ่งห่ม ไตรจวี ร

อาศยั

ยารักษาโรค คลิ านเภสัช คนรู้จัก อบุ าสก,อบุ าสิกา

รูป ลักษณนามสำหรัพระ องค์ ลกั ษณนามสำหรพั ระพทุ ธรูป

ภกิ ษุ

ติวสอบครผู ชู้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 76

คาสุภาพ

คำสภุ าพ หมายถึง คำท่ีไดย้ นิ แลว้ น่าฟงั ชวนฟงั เป็นถ้อยคำทเี่ หมาะสม ลกั ษณะของคำสุภาพ คือคำที่ไม่เป็น คำหยาบไื ม่เป็นคำท่ีไดย้ นิ แลว้ ไมน่ ่าฟงั ไม่เปน็ คำกระด้างไม่เป็นคำท่สี น้ั หรอื หว้ นไป เปน็ คำที่พูดผวนแลว้ ไมห่ ยาบ เป็น คำที่ไมน่ ิยมเปรียบกับของหยาบ เปน็ คำทยี่ ืมมาจากภาษาบาลี สนั สกฤต และเขมร

คำสภุ าพ คำสามัญ คำสุภาพ คำสามัญ กรินี ช้างตวั เมยี กรอกขวด ใสข่ วด กรอกหม้อ ใสห่ มอ้ กรอกไห ใสไ่ ห กระบือ ควาย กระบือถา่ ยมลู ควายขี้ กล้วยเปลือกบาง กล้วยไข่ กลว้ ยส้นั กลว้ ยกุ กลด้ กระดุม ใส่กระดุม กาฬโรค โรคห่า กฏี (กี ตะ) แมลงต่างๆ กุญชรถ่ายมลู ชา้ งขี้ กุมฝอย ขีฝ้ อย ก่ึงตำลงึ สางบาท ขนมทราย ขนมขี้หนู ขนมทองฟู ขนมตาล ขนมบัวสาว ขนมเทยี น ขนมเสน้ ขนมจนี ขนมสอดไส้ ขนมใสไ้ ส้ ขงั กรง ใส้กรง ขังตะราง ใส่ตะราง ขังเล้า ใส่เล้า ขัดกลอน ใสก่ ลอน ขดั ดมุ ใส่กระดุม ขน้ึ ยุ้ง ใส่ยุ้ง ไข้ทรพษิ ฝีดาษ คช ช้าง คชสาร ช้าง คชา ชา้ ง คชาชพี ควาญชา้ ง คชาธาร ชา้ งทรง คชาภรณ์ เครอ่ื งประดบั ช้าง คชนิ ทร์ พญาชา้ ง ครบหา้ ท่หี า้ ครบหก ที่หก คถู ขี้ โค ววั จตบุ ท สตั ว์สเี่ ท้า จตุบาท สัตว์สเ่ี ท้า จรกาลงสรง ถว่ั ตำตม้ หวาน จองจำ ใส่ตรวน จิตรจลุ เต่า จำคกุ เข้าคุก ช่องคลอด ทวารเบาของหญงิ ชลั ลุกา ปลงิ ชลูกา ปลิง ช้างนรการ ช้างสีคอ ช้างแมพ่ นัก ข้างแม่แปรก

ติวสอบครูผ้ชู ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 77

ดอกขจร ดอกสลดิ ดอกซ่อนกลิ่น ดอกซ่อนชู้ ดอกถนั วิฬาร ดอกนมแมว ดอกทอดยอด ดอกผักบุ้ง ดอกนางนูน ดอกอีนนู ดอกพนมสวรรค์ ดอกนมสวรรค์ ดอกมณฑาขาว ดอกยีห่ ุบ ดอกมลั ลกิ า ดอกมะลิ ดอกมลู เหลก็ ดอกขเี้ หล็ก ดอกสามหาว ดอกผกั ตบ ตกลกู สัตวอ์ อกลูก ตน้ กระชบิ ตน้ ขี้ครอก ตน้ ปาริฉตั ร ต้นทองหลาง ต้นปรชิ าต ตน้ ทองกวาว ตน้ หนามรอบขอ้ ตน้ พงุ ดอ ตน้ เหงือกปลาหมอ้ ตน้ อีเกรง็ ต้นอเนกคณุ ตน้ ตำแย ตระหน่ี ขีต้ ืด ตรึงหมุด ใส่หมดุ ถว่ั เพาะ ถ่วั อก เถากระพงั โหม เถาตดู หมตู ูดหมา เถาถนั พิจิตร เถานมพจิ ิตร เถาถนั หัตถินี เถานมชา้ ง เถาม้ยุ เถาหมาม้ยุ เถาวัลย์เขยี ว เถาย่านาง เถาศีรษะวานร เถาหวั ลิง เถา้ บหุ ร่ี ขีบ้ หุ รี่ ทรงพ่วงพี อ้วน ทวบิ ท สัตว์สองเทา้ ทวบิ าท สัตว์สองเท้า ทายา ใส่ยา ทชิ ากร นก ทิพา กลางวัน นกกา อีกา นกนางลมุ้ นกอีลุ้ม นกแรง้ อแี ร้ง นกอุลูก (อุ ลู กะ) นกเค้าแมว นางเลง้ิ อีเลง้ิ นางเหน็ อเี หน็ นารีจำศีล กล้วยบวชชี บรรจุกกระสมุ ใส่กระสนุ ปนื บรรจถุ ัง ใสถ่ ัง บรรทุกเกวียน ใสเ่ กวียน บรรทุกต่าง ใส่ต่าง บรรทกุ รถ ใสร่ ถ บรรทกุ เรือ ใส่เรือ บางชโี พน้ บางชีหน บางนางร้า บางอรี ้ง บุตรต้นปี บตุ รคนหัวปี ปฏิกริ ิยา การเคล่ือนไหวตอบ ปฏิกลู ส่งิ นา่ เกลยี ด ปฏคิ ม ผู้ต้อนรบั ปฏิญาณ การใหค้ ำมั่นสัญญา ปฏิภาณ ไหวพริบ ปฏิสงั ขรณ์ การซ่อมแซม ปฏิสนั ภาร การตอ้ นรบั ปลาใบไม้ ปลาสลิด ปลามจั ฉะ ปลาร้า ปลายาว ปลาไหล ปลาล้นิ สนุ ัข ปลาล้ินหมา ปลาหาง ปลาช่อน ปลาหางสด ปลาชอ่ นเป็น ปลาหางแห้ง ปลาชอ่ นตากแห้ง ปลกี ลว้ ย หวั ปลี ปักปิน่ ใสป่ นิ่ ปกั ษา นกตัวผู้

ติวสอบครผู ชู้ ว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 78

ปกั ษิน นก ปกั ษี นกตัวเมยี

ปสั สาวะ นำ้ เยี่ยว ปิศาจ ผี

เป็นไข้ จับไข้ แปดสลงึ สองบาท

ผล ลกู ผลนางนูน ลกู อนี ูน

ผลมูลกา ลูกขกี้ า ผลมลู ละม่ัง ลูกตะลิงปลงิ

ผลอัมพรา ลกู มะมว่ ง ผลอลุ ดิ แตงโม

ผกั ทอดยอด ผกั บงุ้ ผกั นางรนิ้ ผกั อีร้นิ

ผกั ปปั ผาสะ ผกั ปอด ผักรู้นอน ผักกระเฉด

ผักสามหาว ผกั ตบ ผกั ไห่ ผกั ปลาบ

พรกิ เม็ดเลก็ พรกิ ขีห้ นู พระกญุ ชร ชา้ งทรง

พระคชาธาร ช้างทรง พลาย ข้างตัวผู้

พลายนรการ ข้างสดี อ พัง ชา้ งตัวเมยี

พังแม่หมัก ชา้ งแม่แปรก พาชี ม้า

พาฬมฤค สัตวท์ ี่ดุรา้ ย แพทย์ผดงุ ครรภ์ หมอตำแย

ฟอง ไข่ ฟกั เหลอื ง ฟกั ทอง

มฤค กวาง, เนอ้ื สมัน มฤคา เน้ือสมนั ตวั ผู้

มฤคี เน้ือสมันนตวั เมีย มะเขืองชา้ ง มะเขือยาว

มะเขือเผา มะเขือกำหำแพะ มกั ขิกา แมลงวัน

มจั ฉะ ปลา มจั ฉา ปลา

มัชชาร แมว มัสยา ปลา

มูล ข้ี มลู กระเบือ ขี้ควาย

มูลกุญชร ข้ชี ้าง มูลคร่ัง ขค้ี รงั่

มูลโค ข้วี ัว ไมต้ ีพรกิ สากกระเบือ

ไมม่ หี ามไิ ด้ ไม่มี ยาจก ขอทาน

เยื่อเคย กะปิ รากดนิ ไสเ้ ดือน

ราตรี กลางคนื โรคเกลอ้ื น ขเ้ี กล้อื น

โรคประจำเดือน (ผูห้ ญิง) ถจงผ้า โรคมหาสดมภ์ โรคลมชักขากรรไกรแข็ง

โรคมองคร่อ โรคเสมหะแหง้ ในปอด โรคเรือ้ น ขีเ้ รือ้ น

โรคหวัด เป็นหวดั ลงกระโถน ใสก่ ระโถน

ลงหลมุ ใส่หลุม ลนั่ กุญแจ ใสก่ ุญแจ

ลัน่ ทม ดอกล่ันทม วางข่าย ขงึ ตาข่ายดกั

สัตวว์ างไข่ สตั ว์ออกไข่ วางเบด็ ตกปลา

วางอวน ตอี วน วานร ลงิ

ติวสอบครูผชู้ ่วย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 79

วานรินทร์ ลงิ วฬิ าร์ แมว วฬิ าร วัณโรค แมว วณพิ ก ขอทาน (โดยรอ้ งเพลงขอทาน) ศลิ า สกณุ า โรคฝใี นทอ้ ง ไว้ในตะกร้า ใส่ตะกรา้ สกณุ โปดก สวามี หนิ สกณุ นก สวมเก้ยี ว สวมหมวก นกตัวผู้ สกุณี นกตวั เมยี สอดหมดุ สิงคาล ลกู นก สามี ผัว สค่ี ู่ สุกร ผวั สวมกำไล ใส่กำไล สวุ าน หอยนางรม ใส่เกย้ี ว สวมเสีอ้ ใส่เส้อื หามิได้ หีบศพ ใสห่ มวก สองพนั แปดร้อยเสน้ เจด็ โยชน์ เห็นสมควร เหนีย่ วนางรุ้ง ใส่หมดุ สปั ปะ งู อหวิ าตกโรค อัสตร หมาจ้ิงจอก ส่คี รั้ง ส่ีหน

แปดตัว สีผ้ึง ข้ีผ้งึ

หมู สนุ ัข หมา

หมา โสเภณี หญิงงามเมือง

หอยอรี ม หตั ถนิ ี ชา้ งตวั เมีย

มิได้ หาไม่พบ ไมพ่ บ

โลงศพ เห็นปลวก เห็ดโคน

สมควร เหนียวแนน่ แนน่ เหนยี ว

เหน่ยี วอรี งุ้ อสูร ยักษี

โรคลงราก อัศวะ มา้

มา้ อุจจาระ ข้ี

...............................................................................................................

การส่ือสาร ต้องประกอบดว้ ย ผู้สง่ สาร ผู้รับสาร สาร สอ่ื

ติวสอบครผู ู้ชว่ ย-วิชาภาษาไทย ภาค ก. 2563 หน้า 80

กำรประชุม

๑. ประเภทการประชุม

ประชุมทว่ั ไป = ประชุมสามญั ประชุมพเิ ศษ = ประชุมวิสามัญ

ประชมุ ลบั = เปดิ เผยเฉพาะ......... ประชมุ ปรึกษา = หารอื กนั

๒. ผ้เู ก่ยี วข้องกับการประชุม

- ท่ีประชุม =....................... - องค์ประชมุ = จำนวนคนท่ีกำหนดไวใ้ หป้ ระชมุ ได้

- ประธาน = ผ้ดู ูแลกการประชมุ - เลขานุการ = จดั ระเบียบวาระ จดการประชุม

- กรรมการ = ผู้เสนอเร่ือง พิจารณา ลงความเห็น - เหรญั ญิก = ผู้ดแู ลดา้ นการเงนิ

๓. เรอ่ื งทป่ี ระชุม

๑) ขอ้ เสนอท่ีเสนอขน้ึ มา= “........................”

๒) เรือ่ งทป่ี ระชุม (หลายเรอื่ ง) = “.................................”

- วาระที่ ๑ รบั รองรายงานการประชมุ ครงั้ ก่อน

- วาระท่ี ๒ พจิ ารณาสบื เนื่อง

- วาระที่ ๓ พจิ ารณาเรื่องใหม่

- ถ้ามีเรอ่ื งเดยี ว = “........................................”

๔. ขน้ั ตอนการประชุม

๑) กรรมการเสนอ “..........................................” (ข้อเสนอ)

๒) ที่ประชมุ นำมา “..........................”

- ฝา่ ยทเ่ี หน็ ดว้ ย = “...........................” - ฝ่ายทไ่ี มเ่ ห็นดว้ ย = “...................”

๓) ทป่ี ระชมุ จะลง “.....................” (ขอ้ สรุป) ญัตินั้น (ผา่ น กับ ตก)

ตวั อย่าง

ข้อความที่เลขานุการบนั ทึกไว้จากการประชุมคณะกรรมการโรงเรียน

หลงั จากท่ปี ระชมุ .......(ก).......รายงานการประชมุ ครงั้ ที่ ๒/๒๕๖๐ แลว้ ประธานกอ็ ่านจดหมายทเี่ หรญั ญิกขอ