ข นตอนการเข าร บการร กษาผ ม บ ตรยากโรงพยาบาลศ ร ราช

ศูนย์ผู้มีบุตรยาก เจ้าพระยา-จินตบุตร ก่อตั้งขึ้นโดยการนำของ รศ.นพ. สุภักดี จุลวิจิตรพงษ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่มากด้วยประสบการณ์กว่า 20 ปี ซึ่งที่ผ่านมาได้คลุกคลีและทุ่มเทอยู่ในวงการแพทย์ทางด้านการรักษาภาวะมีบุตรยาก ไม่ว่าจะเป็นกรรมการบริหารราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ประธานอนุกรรมการเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ ประธานกรรมการสอบแพทย์ต่อยอดสาขาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ ของแพทย์สภา อาจารย์ประจำหน่วยผู้มีบุตรยาก ของภาควิชาสูตินรีเวช โรงพยาบาลศิริราช และหัวหน้าหน่วยวิจัย และพัฒนาเซลล์ต้นกำเนิด เพื่อการรักษาทางการแพทย์ ของภาควิชาสูติศาสตร์นรีเวช โรงพยาบาลศิริราช และปัจจุบันกับการทำงาน ในศูนย์ผู้มีบุตรยาก เจ้าพระยา-จินตบุตร

ทีมนักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการศูนย์ผู้มีบุตรยาก เจ้าพระยา-จินตบุตร มีความชำนาญด้านการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนกระทั่งใส่ตัวอ่อนกลับเข้าโพรงมดลูก เพื่อเพิ่มโอกาสที่ดีที่สุดในการตั้งครรภ์และการมีบุตรที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งยังคอยเอาใจใส่ ดูแล ให้คำแนะนำ และตอบข้อสงสัยต่างๆ ในทุกช่วงระยะของการรักษา เพราะการเลี้ยงตัวอ่อนเป็นกระบวนการที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง ถ้ากระบวนการเลี้ยงตัวอ่อนไม่มีการควบคุมและระมัดระวังเป็นอย่างดี อาจทำให้การใส่ตัวอ่อนไม่ประสบความสำเร็จได้

ห้องแล็บของศูนย์ผู้มีบุตรยาก เจ้าพระยา-จินตบุตร มีความพร้อมในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น การตรวจเชื้ออสุจิเพื่อดูปริมาณ การเคลื่อนไหว จำนวน และรูปร่างของตัวอสุจิ การตรวจระดับฮอร์โมนเพื่อค้นหาความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ การตรวจวัดอุณหภูมิของร่างกายเพื่อดูการตกไข่ การฉีดสีและเอกซเรย์โพรงมดลูกเพื่อดูว่ามีการตีบตันหรือรูปร่างผิดหรือไม่ การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง โพรงมดลูก รังไข่และความผิดปกติอื่นในอุ้งเชิงกราน การตรวจในช่องท้อง เพื่อดูพยาธิสภาพต่างๆในอุ้งเชิงกราน และอาจผ่าเลาะพังผืดในอุ้งเชิงกรานในเวลาเดียวกันได้ การตรวจในโพรงมดลูกเพื่อดูพยาธิสภาพต่างๆในโพรงมดลูก

ความพร้อมของอุปกรณ์และเครื่องมือด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวล้ำที่สุดในระดับสากล ซึ่งศูนย์ผู้มีบุตรยาก เจ้าพระยา-จินตบุตร นำเสนอคือ EmbryoScope นับว่าเครื่องมือชนิดนี้เป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด ที่ใช้ในการดูแลรักษาผู้ที่ประสบปัญหามีบุตรยาก ด้วยมีศักยภาพสูงในการช่วยคัดเลือกตัวอ่อนที่สมบูรณ์ เพื่อนำตัวอ่อนนั้นใส่กลับไปยังผู้รับการรักษา ช่วยเสริมประสิทธิภาพขั้นตอนของการรักษาให้มีความง่ายและดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ EmbryoScope เป็นเครื่องมือที่ไม่ใช่แค่การใช้เฉพาะในการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนแต่เพียงเท่านั้น ยังสามารถบันทึกภาพความเปลี่ยนแปลงของตัวอ่อนได้ในทุกสิบห้านาที เป็นระยะๆ ระหว่างที่ตัวอ่อนมีการเจริญเติบโต จากการอัดเป็นภาพถ่ายเป็นภาพวีดิโอไว้โดยละเอียด เพราะฉะนั้นเมื่อเรานำวีดิโอนี้มาดูย้อนหลังเราจะได้ข้อมูล ได้รับทราบถึงการเจริญเติบโตของตัวอ่อนว่ามีการแบ่งเซลล์อย่างไร ช่วยให้เราเห็นพัฒนาการของตัวอ่อนตลอดเวลา โดยไม่จำเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่าการคัดเลือกตัวอ่อนด้วยเทคโนโลยีนี้ ช่วยเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ได้มากขึ้น 20 เปอร์เซ็นต์ จากวิธีการทำเด็กหลอดแก้วตามปกติ

ให้บริการดูแลสุขภาพสตรีอย่างครบวงจร โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสูตินรีเวช เป็นสาขาการบริการทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วยหรือปัญหาทางระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิง และให้คำปรึกษาปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับสุภาพสตรี นอกจากนี้ ยังมีการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปีที่เหมาะสมกับสตรีทุกวัย เพื่อตรวจหามะเร็งในผู้หญิงระยะแรกเริ่มอีกด้วย

บริการทางการแพทย์

  • การวางแผนก่อนการแต่งงานและการตั้งครรภ์
  • การรับฝากครรภ์
  • ภาวะมีบุตรยาก
  • การคลอดบุตร
  • อาการปวดท้องน้อยเรื้อรัง
  • อาการปวดประจำเดือน
  • ภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
  • โรคทั่วไปทางสูตินรีเวช

หน่วยมะเร็งนรีเวช

  • อ่านรายละเอียดหน่วยมะเร็งนรีเวชได้ที่นี่

ข นตอนการเข าร บการร กษาผ ม บ ตรยากโรงพยาบาลศ ร ราช

14,988,439 update 1 September 2015 2,150,000

Copyright © 2016 Maharat Nakhon Ratchasima Hospital. All right reserved Powered by �ҹ෤��������ʹ����С���������

ฝ่ายสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ได้จัดตั้งขึ้นพร้อมกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2490 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่า “แผนกสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา” รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนวิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา แก่นิสิตแพทย์ปีที่ 5 และ 6 ของหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตเดิม ในปี พ.ศ. 2505 เมื่อมีอาจารย์เพิ่มจึงมีการพัฒนาโดยการแบ่งอาจารย์ออกเป็น 5 สาย เพื่อรับผิดชอบการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์เป็นกลุ่มย่อย 5 กลุ่มโดยแบ่งหมุนเวียนไปตามการแบ่งสายการบริการ 5 วันทำงาน ได้แก่ การฝากครรภ์ การตรวจผู้ป่วยนรีเวชที่หอผู้ป่วยนอก การให้บริการวางแผนครอบครัว การดูแลห้องคลอดและผู้ป่วยฉุกเฉิน และการผ่าตัด ทำให้เกิดความสะดวกและเพิ่มประสิทธิผลในการเรียนการสอนกลุ่มย่อย และการสอนภาคปฏิบัติหลังจากการเรียนแบบบรรยายรวม

นอกเหนือจากความรับผิดชอบต่อการผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรี ภาควิชาฯ ได้ร่วมมือกับสมาคมสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย (ซึ่งต่อมาได้ยกระดับเป็นวิทยาลัย และราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยตามลำดับ) และแพทยสภา เปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน เพื่อผลิตแพทย์ผู้ชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 อีกทั้งหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอด หรือ Fellowship training ในอนุสาขาต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เพื่อผลิตสูตินรีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางของสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา ในการตอบสนองต่อความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และความต้องการบริการทางการแพทย์ของสังคมที่ซับซ้อนมากขึ้น

ข นตอนการเข าร บการร กษาผ ม บ ตรยากโรงพยาบาลศ ร ราช

เจตจำนง

เป็นสถาบันชั้นนำที่ผลิตสูติ-นรีแพทย์ และให้บริการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาในมาตรฐานระดับโลก

ภาระหน้าที่

ผลิตบัณฑิตและสูตินรีแพทย์ที่มีคุณภาพ ประกอบด้วยคุณธรรม สร้างงานวิจัยที่มีคุณค่าให้บริการทางการแพทย์และวิชาการ เพื่อชี้นำสังคม เป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการของชาติและนานาชาติ ประชาคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความภูมิใจในสถาบัน