ก.พ.อน ม ต ตำแหน งชำนาญการพ เศษกรมราชท ณฑ

ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนิเทศ ผูต้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ จัดทำ�โดย กล่มุ งานพัฒนาระบบการพฒั นาพฤตนิ ิสัย สำ�นักวจิ ัยและพฒั นาระบบงานราชทัณฑ์ กรมราชทัณฑ์ คำ�นำ� กระบวนการแรกรบั ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ เปน็ กระบวนการทมี่ คี วามส�ำ คญั เนอ่ื งจาก ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหมท่ เี่ ขา้ มาอยใู่ นเรอื นจ�ำ จะมคี วามเครยี ด ความกงั วลตอ่ สภาพแวดลอ้ มใน เรอื นจำ� กฎระเบยี บและการถกู จำ�กดั อสิ รภาพ ควรทจี่ ะไดร้ บั การชแี้ นะ ประชาสมั พนั ธ์ อบรมใหค้ �ำ แนะน�ำ วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นในเรอื นจ�ำ เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหมไ่ ดร้ บั ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการดำ�รงชีวิตในเรือนจำ� มีการวางเป้าหมายในการพัฒนาตนเอง มีการ ฝึกระเบียบวินัยเพ่ือให้เป็นคนมีความอดทน มีวินัย มีความรับผิดชอบ รู้จักการผ่อน คลายความเครยี ด สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั ผอู้ นื่ ในเรอื นจ�ำ ได้ ดงั นน้ั กรมราชทณั ฑโ์ ดย สำ�นักวิจัยและพัฒนาระบบงานราชทัณฑ์ จึงได้จัดทำ�คู่มือการปฏิบัติงานด้านการ ปฐมนิเทศผู้ต้องขังเข้าใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบด้านการ ปฐมนิเทศผู้ต้องขังเข้าใหม่ในช่วงแรกรับได้นำ�ไปใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง เข้าใหม่ในเรือนจำ�และทัณฑสถานอย่างมีระบบเป็นขั้นตอน ซึ่งกระบวนการดังกล่าว ถือว่ามีความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการดำ�เนินชีวิตของผู้ต้องขังตั้งแต่ก้าวแรกท่ีเข้าสู่เรือน จำ� ใหป้ ฏบิ ัตติ นอยใู่ นกฎระเบียบและทำ�ใหก้ ารควบคุม แกไ้ ขและพฒั นาพฤตนิ สิ ัยเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ คู่มอื เลม่ นจี้ ะเปน็ แนวทางในการด�ำ เนนิ งานของเจ้าหน้าท่ี และเกิดประโยชน์ท้ังต่อผู้ต้องขังและการดำ�เนินงานของเรือนจำ�และทัณฑสถาน เป็นการเพ่ิมสมรรถนะการปฏิบัติงานให้สำ�เร็จลุล่วงตามเจตนารมณ์ในการควบคุมด้วย ใจ แก้ไขด้วยเมตตา พัฒนาสู่สากล ทำ�ให้การปฏิบัติงานกระบวนการแรกรับผู้ต้องขัง เขา้ ใหมม่ ีมาตรฐาน เป็นไปในแนวทางเดียวกัน (นายวิทยา สรุ ิยะวงศ)์ อธิบดีกรมราชทณั ฑ์ กนั ยายน ๒๕๕๗ สารบญั หนา้ คู่มอื การปฏิบัติงานด้านการปฐมนิเทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม.่ ........................................................................ 1 วัตถปุ ระสงคข์ องการจัดท�ำคู่มือปฐมนิเทศผ้ตู ้องขังเข้าใหม่................................................................... 2 ขั้นตอนของกระบวนการแรกรับผ้ตู ้องขัง.............................................................................................. 4 1 กระบวนการรับตัวผูต้ อ้ งขัง................................................................................................... 5 2 การอบรมปฐมนิเทศผู้ต้องขังและการดูแลใจผ้ตู อ้ งขังเขา้ ใหม่............................................... 9 โปรแกรมการปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั และการดแู ลใจผู้ต้องขงั เขา้ ใหม.่ ......................................................... 9 เนอ้ื หาและกิจกรรมการอบรมปฐมนิเทศผตู้ ้องขงั เข้าใหม่...................................................................... 11 3 การจ�ำแนกลกั ษณะผู้ตอ้ งขังและการวางแผนปฏบิ ัตติ อ่ ผ้ตู ้องขงั ........................................... 57 ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………….……... 61 1 แบบฟอร์มค�ำรอ้ งผตู้ อ้ งขงั .................................................................................................... 62 2 แบบรายงานการตรวจร่างกายของผู้ตอ้ งขงั .......................................................................... 63 3 แบบฟอร์มรท.101................................................................................................................ 66 4 แบบประเมนิ ภาวะสุขภาพจติ ส�ำหรับผู้ตอ้ งขงั ในเรือนจ�ำไทย (PMHQ-Thai)....................... 70 5 แบบจ�ำแนกลักษณะผูต้ ้องขงั (จน.1) ขน้ั ตอนและวธิ ีการจ�ำแนกลักษณะผตู้ อ้ งขัง................ 72 6 ใบท�ำนายเซียมซคี วามสขุ ...................................................................................................... 92 7 แบบรายงานผลการด�ำเนินงานดา้ นการปฐมนิเทศผตู้ ้องขังเข้าใหม่....................................... 116 1 คู่มือการปฏิบัติงานด้านการปฐมนิเทศผู้ต้องขังเข้าใหม่ ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม บทน� ำ การปฐมนเิ ทศผู้ต้องขงั ถือเปน็ กระบวนการสำ� คญั ส�ำหรับการเร่ิมต้นชีวิตของผู้ต้องขัง เข้าใหม่เม่ือก้าวเข้าสู่ เรอื นจำ� และทณั ฑสถาน ไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ การแนะนำ� สมาชกิ ใหมข่ องรว้ั เรอื นจำ� ใหร้ จู้ กั สภาพแวดลอ้ ม วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ น ตามกฎระเบียบของทางเรือนจ�ำ หรือการใช้ชีวิตร่วมกัน เพอ่ื นผตู้ อ้ งขงั อนื่ ๆ ในเรอื นจำ� แตย่ งั เปน็ การใหแ้ งค่ ดิ ชแ้ี นะ แนวทางท่ีถูกต้องเพื่อเปลี่ยนวิกฤติเป็นโอกาสท่ีจะเตรียม วางแนวทางการใชช้ วี ติ อยใู่ นเรอื นจำ� อยา่ งมเี ปา้ หมายและ ใจเปน็ สุข ดงั นน้ั เรอื นจำ� และทณั ฑสถานทกุ แหง่ จะตอ้ งทำ� การ ปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั ซงึ่ ถอื เปน็ สมาชกิ ใหมเ่ พอ่ื ใหข้ อ้ มลู ตา่ งๆ ท่ี จำ� เปน็ กบั การใชช้ วี ติ ในเรอื นจำ� ชว่ ยใหผ้ ตู้ อ้ งขงั มคี วามรคู้ วาม เข้าใจทีถ่ กู ตอ้ งในระยะเริม่ แรกที่เข้ามาในรว้ั เรอื นจำ� โดยเจ้า หน้าท่ีเรือนจ�ำที่รับผิดชอบงานด้านการปฐมนิเทศผู้ต้องขัง ต้องตระหนักว่า การให้ข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบ กิจวัตร ประจำ� วนั หนา้ ทหี่ รอื งานทจี่ ะตอ้ งทำ� สง่ิ ทค่ี วรหรอื ละเวน้ การ ปฏิบัติ มีความส�ำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้ต้องขังตลอดระยะ เวลาที่ถูกคุมขังในเรือนจ�ำ ให้ปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ไมส่ ร้างปญั หาให้กับเรือนจ�ำ ซงึ่ วธิ ีการปฐมนิเทศผู้ ต้องขังในระยะเวลาท่ีผ่านมา แต่ละเรือนจ�ำอาจมีวิธีการ ปฏิบัติและกิจกรรมแตกต่างกัน ดังน้ัน เพ่ือให้รูปแบบการ ปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหมม่ มี าตรฐานการดำ� เนนิ งานเดยี วกนั ส�ำหรับเรือนจ�ำและทัณฑสถานทั่วประเทศ คู่มือนี้จึงได้ ก�ำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี และราย ละเอียดข้ันตอนของการดำ� เนนิ งาน ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำ� คู่มือปฐมนเิ ทศผู้ต้องขังเขา้ ใหม่ 1. เพื่อให้เรือนจ�ำและทัณฑสถานมีการด�ำเนินงานด้านการปฐมนิเทศผู้ต้องขังเข้าใหม่ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและเป็นมาตรฐานเดยี วกัน 2. เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบงานดา้ นการปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหมม่ แี นวทางการปฏบิ ตั งิ านตามคมู่ อื ท่ีชัดเจนและเปน็ มาตรฐาน 3. เพื่อให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ได้รับการปฏิบัติที่ถูกต้องและเหมาะสมในการได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ การด�ำรงชวี ิตในเรือนจ�ำและไมส่ รา้ งปัญหาให้กับเรือนจ�ำ การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังเข้าใหม่นับเป็นขั้นตอนแรกแห่งการ ปฏิบัติต่อผู้ต้องขังที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อย และ ประสิทธิภาพแห่งการปกครองในเรือนจ�ำและทัณฑสถานอย่างย่ิง จึงได้มบี ทบัญญัตใิ นเรือ่ งนไี้ ว้ในมาตรา 8-10 แหง่ พระราชบัญญตั ิ ราชทัณฑ์ และกฎกระทรวงมหาดไทยมาตรา 58 แห่งพระราช บญั ญัตริ าชทัณฑ์ ขอ้ 35-39 สรุปได้ดงั น้ี 1. การรบั ตัวผตู้ อ้ งขังต้องมีท้ังตัวคนและหมายอาญาหรือเอกสารอนั เป็นคำ� สงั่ ของเจ้าพนักงาน ผู้มอี �ำนาจ โดยมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัตริ าชทัณฑ์ ไดบ้ ญั ญัติทางปฏิบัติไว้อยา่ งชัดแจง้ ว่า “เจา้ พนักงานจะ ไมร่ บั บคุ คลใดๆ ไว้เป็นผู้ตอ้ งขงั ในเรอื นจ�ำ เวน้ แต่จะได้รับหมายอาญาหรือเอกสารอันเป็นค�ำสั่งของพนกั งานผู้มี อำ� นาจ” เม่อื เจ้าหน้าทเี่ รือนจ�ำหรอื ทณั ฑสถานท�ำการรบั ตวั ผูต้ อ้ งขัง ได้ตรวจสอบทง้ั คนและเอกสารถกู ตอ้ งครบ ถว้ นแลว้ ตอ้ งใหเ้ จา้ หนา้ ทซ่ี ง่ึ ควบคมุ ตวั ผตู้ อ้ งขงั มาสง่ ยงั เรอื นจำ� หรอื ทณั ฑสถานนนั้ ๆ ลงชอ่ื กำ� กบั ไวใ้ นเอกสารนำ� สง่ หรือสมดุ รับส่งเป็นหลักฐานเพื่อประโยชนใ์ นการตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. ข้ันตอนการปฏิบตั ิทางทะเบยี นในการรับตวั ผู้ต้องขัง โดยมาตรา 4 (2) แห่งพระราชบญั ญตั ิ ราชทัณฑ์ ไดบ้ ญั ญัติแยกความหมายของ “ผู้ต้องขัง” หมายความรวมตลอดถึงนกั โทษเดด็ ขาด คนตอ้ งขงั และคน ฝาก ฉะนนั้ ขน้ั ตอนแหง่ การปฏบิ ตั ทิ างทะเบยี นในการรบั ตวั ผตู้ อ้ งขงั ยอ่ มแตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะผตู้ อ้ งขงั แตล่ ะ ประเภทดงั น้ี 2.1 การรับตัวคนฝาก มหี ลกั ปฏิบตั ิดังน้ี 1.) ด�ำเนินการตรวจหนังสือน�ำส่งตัว ซึ่งเป็นเอกสารอันเป็นค�ำส่ังของเจ้าพนักงานผู้มีอ�ำนาจว่า เป็นการถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ เมื่อถูกต้องก็ให้รับตัวไว้พร้อมกับลงชื่อก�ำกับท้ังฝ่าย ผูส้ ง่ และผู้รับ 2.) ด�ำเนนิ การเก็บข้อมลู ในทะเบียนแบบ รท.101 3 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 3.) จัดการมอบตัวให้หมวดควบคุมและรายงานให้ผู้บัญชาการเรือนจ�ำ ผู้อ�ำนวยการหรือ ผปู้ กครองทณั ฑสถานทราบภายใน 24 ช่วั โมง 2.2 การรับตัวคนตอ้ งขังระหวา่ งสอบสวน มีหลักปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1.) ตรวจดหู มายขงั ของศาลว่าถูกต้องหรอื ไม่ ถา้ ถูกต้องให้รบั ตวั ไว้ 2.) ตรวจสอบหมายขงั ของศาลวา่ ชอ่ื นามสกลุ ในหมาย กบั ตวั คนตรงกนั หรอื ไม่ (หากมเี ลขบตั ร ประจำ� ตัวประชาชน เลข 13 หลกั ใหบ้ ันทกึ ไว้) 3.) พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือซ้ายขวาที่ข้างหมายน้ันทันที เพ่ือสอบหมายกับตัวคนเพ่ือป้องกันการ สบั ตวั หรอื สบั หมาย ในเม่ือไมอ่ าจทำ� ทะเบยี นรายตวั เสร็จภายในวันทรี่ ับตัวนั้นได้ 4.) จัดท�ำทะเบียนรายตัว รท.101 5.) พมิ พล์ ายนิว้ มอื ทั้งสิบนวิ้ ในแบบพมิ พล์ ายนิว้ มอื 3 ฉบบั เก็บไว้ในทะเบียนรายตัว 101 6.) ถา่ ยรูปตดิ ทะเบียนรายตวั ทัง้ นีอ้ าจถ่ายในวันรบั ตวั หรอื วนั ถดั มากไ็ ด้ 7.) จดั การลงทะเบยี นหรือใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ในการบนั ทึกขอ้ มลู แยกตามตัวอกั ษร 8.) จัดการลงทะเบียนก�ำกับคนต้องขังระหว่างสอบสวน (รท.22 ทะเบียนผู้ต้องหาและคน พจิ ารณา) 2.3 การรบั ตวั คนตอ้ งขงั ระหวา่ งพจิ ารณา การรบั ตวั คนตอ้ งขงั ประเภทนมี้ หี ลกั ปฏบิ ตั ิ เชน่ เดยี วกบั การรบั ตัวคนต้องขงั ระหว่างสอบสวนในขอ้ 1-8 ดังกลา่ วขา้ งตน้ ทุกประการ การรบั ตัวคนต้องขังระหว่างอทุ ธรณ-์ ฎกี า มีหลกั ปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. การรับตัวคนตอ้ งขงั ระหวา่ งอทุ ธรณ์-ฎีกา ใหป้ ฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกบั คนต้องขังระหว่างสอบสวน ตัง้ แต่ข้อ 1-7 ใหค้ รบถ้วน 2. ลงทะเบียนแบบ รท.23 ก. (แยกอกั ษร) 3. จดั การลงทะเบียนแบบ รท.26 (ก�ำหนดปลอ่ ยตวั ประจำ� เดือน) 4. ถา้ เปน็ ผตู้ อ้ งขงั ยา้ ยมาจากเรอื นจำ� อน่ื ซงึ่ ไดจ้ ดั ทำ� ทะเบยี นรายตวั ไวแ้ ลว้ กใ็ หต้ รวจสอบกบั ตวั คนกบั ทะเบยี นรายตวั หมายศาลใหต้ รงกัน แลว้ นำ� ทะเบียนรายตวั นั้นมาลงทะเบยี น รท.23 ก (รายนามผ้ตู อ้ งขงั ระหว่างอุทธรณ์ฎีกา) และ รท.26 (ทะเบียนปลอ่ ยตวั นกั โทษ) แลว้ ด�ำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้ - จดั ท�ำหนงั สือรบั ตัว ส่งไปยังเรอื นจำ� หรือทณั ฑสถานที่สง่ ตวั มา - จดั ทำ� หนงั สอื รายงานการรบั ตวั ไปยงั กรมราชทณั ฑพ์ รอ้ มบญั ชรี ายชอ่ื ผตู้ อ้ งขงั ยา้ ยเรอื นจำ� หรือทณั ฑสถาน 2.4 การรับตวั นักโทษเดด็ ขาด มีหลักปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. การรับตัวนักโทษเด็ดขาด ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการรับตัวผู้ต้องขังระหว่างอุทธรณ์-ฎีกา ในข้อ 1-4 ทุกประการ ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่4 2. จดั สง่ แผน่ พมิ พล์ ายนวิ้ มอื ไปตรวจสอบประวตั กิ ารกระทำ� ผดิ ยงั กองทะเบยี นประวตั ิ อาชญากร หรือพิมพ์ลายนว้ิ มือสง่ กรมต�ำรวจ แลว้ แต่กรณี 3. จัดการขอคัดส�ำเนาค�ำพิพากษาของศาลและส�ำเนาค�ำฟ้องของอัยการมาเก็บรวมไว้ใน ทะเบยี นรายตัว 4. จัดการแจ้งย้ายเข้ามาอยู่ ณ เรือนจ�ำหรือทัณฑสถานต่อนายทะเบียนราษฎร์ท่ีเรือนจ�ำหรือ ทัณฑสถานรบั ตวั น้นั ๆ ตั้งอยู่ 5. ด�ำเนนิ การสมั ภาษณแ์ ละรายงานในแบบเก็บขอ้ มลู รายตวั ผตู้ อ้ งขังสง่ กรมราชทัณฑ์ 1 ฉบับ เกบ็ ไวก้ บั ทะเบียนรายตัวอีก 1 ฉบับ กระบวนการแรกรบั ผูต้ ้องขัง แบ่งออกเป็น 3 ข้นั ตอน คือ 1. กระบวนการรบั ตัวผูต้ ้องขัง ตงั้ แตก่ า้ วแรกทผี่ ตู้ อ้ งขงั เขา้ เรอื นจำ� และทณั ฑสถาน ขอใหเ้ จา้ หนา้ ทดี่ ำ� เนนิ การตามขนั้ ตอนตา่ งๆ ของ การรบั ตวั ให้ครบถว้ น เปน็ ไปด้วยความถูกต้องเหมาะสม โดยใหฉ้ ายวดี ที ัศน์เร่อื งข้อควรรู้เม่อื เข้าส่ปู ระตเู รือนจ�ำ ให้ฝกึ ระเบียบวินยั และออกกำ� ลงั กายทกุ วัน 2. การอบรมปฐมนเิ ทศผูต้ อ้ งขังและการดแู ลใจผตู้ อ้ งขังเขา้ ใหม่ เรือนจ�ำและทัณฑสถานทุกแห่ง เม่ือรวบรวมรายช่ือผู้ต้องขังเข้าใหม่ ได้จ�ำนวนหนึ่งแล้ว (ประมาณ 20 – 50 คน) ให้ด�ำเนินการจัดอบรมปฐมนิเทศตามหลักสูตรที่ก�ำหนด โดยสามารถปรับเปล่ียนระยะเวลา ในการอบรมไดต้ ามความเหมาะสม แตท่ ้งั น้ีให้มีเนื้อหาครบทกุ หมวดตามท่กี รมราชทัณฑก์ ำ� หนด 3. การจำ� แนกลกั ษณะผตู้ ้องขังและการวางแผนปฏิบตั ิต่อผ้ตู ้องขังเป็นรายบคุ คล Sentence Plan หลังจากการอบรมปฐมนิเทศ ขอให้ดำ� เนนิ การจ�ำแนกลกั ษณะผตู้ ้องขัง โดยการสัมภาษณ์ จัดท�ำประวัติ สาเหตกุ ารกระทำ� ผดิ เพอ่ื วางแผนปฏบิ ตั ติ อ่ ผตู้ อ้ งขงั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ภมู หิ ลงั ความถนดั และความสามารถของ แตล่ ะบคุ คล คมู่ อื การปฐมนเิ ทศผตู้ ้องขังเข้าใหม่ 5 ข้ันตอนท่ี 1 ขน้ั ตอนท่ี 2 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม กระบวนการรับ การอบรมปฐมนิเทศผตู้ อ้ งขงั และ ตวั ผูต้ ้องขัง การดแู ลใจผู้ตอ้ งขังเข้าใหม่ ขัน้ ตอนที่ 3 5 การจําแนกลักษณะ ผู้ต้องขงั และการวาง แผนการปฏบิ ตั ติ ่อผตู้ ้องขงั ขน้ั ตอนที่ 1 กระบวนการรับตวั ผูต้ อ้ งขงั มีกระบวนการดงั น้ี ข้นั ตอนท่ี 1 ก34251.....ร 3124756ะกกกกก.......บาาาาารรรรรวกกกกทกกสตตตราาาาาาําับนอัรรดรรรรรรแววฝบผกตรตตสฉบจจาบัมปอรัดราาบครกววยฝแบผรร่าทน้สจจวะาจมปงรด่ิงครีดกรวกแกรา่ขบัส่าน้สีทตัะจเางงอคองิ่รศัวเิกตยกกบขบา่รงตันเาวัางคอื่ออื้สสิเ์เยกยบรรงงผุขงุขาือ่ือ่อ้ืแสตภภู้ตยงงงบขุน้าาขแตอ้ภพบพ้อบน้(างจขรคบพขติ(ทอวขรรง1งัทอ(รใแ0ง1ชู้เมบ1ใม0จ้ชบ)ือ่1กี �ำจ้ เ)แเรขPาํ ปลแเMะา้ ปน็ละสบHน็เะปู่ ลเQวรลขะนขป-ตปกรTเู รระาHะอื จรAจน�ำดาํIจต)ตาํังัววั นปปร้ีระะชชาาชชนน 6. 8ก.ารฝฉกึ ารยะวเบดี ีทยี บัศวนนิ ์เรยั ือ่แงลขะ้ออคอกวกรราํ ลเู้ มงั อื่กเาขยา้ (สทู่ปุกรวะนั ต)ูเรือนจ�ำ 7. ท�ำแบบทดสอบสขุ ภาพจิต (แบบ PMHQ - THAI) 8. ฝึกระเบียบวินยั และออกก�ำลังกาย (ทกุ วัน) ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่6 1. การตรวจคน้ รา่ งกาย การตรวจคน้ ตวั ผู้ต้องขังมีเป้าหมายเพื่อปอ้ งกนั เหตรุ ้ายและรกั ษาความปลอดภัยในการควบคุม เม่ือ มีผูต้ อ้ งขังเข้าใหม่ เจา้ หนา้ ที่เรอื นจำ� และทณั ฑสถานจ�ำตอ้ งตรวจคน้ ตัวและสง่ิ ของผู้ต้องขัง เพ่ือไมใ่ หม้ สี ่ิงของผิด กฎหมายหรอื ของตอ้ งหา้ ม อาทิ ยาเสพตดิ ของมนึ เมา เครอ่ื งอปุ กรณใ์ นการหลบหนี ศาสตราวธุ ของเนา่ เสยี วตั ถุ ระเบดิ หรือน้ำ� มันเชอื้ เพลงิ และสตั ว์มีชีวติ เข้าไปเรือนจำ� และทัณฑสถาน ทง้ั นม้ี ีขอ้ สงั เกตว่า การตรวจคน้ สง่ิ ของทตี่ วั ผตู้ อ้ งขงั ชายใหเ้ จ้าพนกั งานชายเปน็ ผตู้ รวจคน้ หากเป็นผตู้ ้องขงั หญงิ ใหเ้ จา้ พนกั งานหญงิ เปน็ ผตู้ รวจคน้ หากไมม่ เี จา้ พนกั งานหญงิ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั หญงิ นนั้ แสดงสง่ิ ของทม่ี ตี ดิ ตวั มาตอ่ หนา้ พนกั งานที่มีหน้าทีต่ รวจค้น หากยังเป็นท่ีสงสัยว่าผู้ตอ้ งขังจะไม่แสดงสิ่งของทมี่ อี ยู่ทั้งหมด ใหเ้ ชิญหญิงอืน่ ท่ีเชือ่ ถือมาช่วยทำ� การตรวจให้ 2. การรับฝากสิง่ ของ การรบั ฝากส่ิงของท่นี �ำตดิ ตวั มาของผู้ต้องขงั ไดก้ �ำหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ริ าชทัณฑ์ พ.ศ.2479 ไว้ว่า “บรรดาส่ิงของซ่ึงมิใช่ส่ิงของต้องห้ามและมิใช่ส่ิงของที่อนุญาต หากผู้ต้องขังน�ำติดตัวมาให้เจ้าพนักงานเรือนจ�ำ จัดให้ผู้ต้องขังมอบหมายไว้กับญาติมิตรหรือบุคคลอ่ืนท่ีอยู่นอกเรือนจ�ำ หรือจ�ำหน่ายเสีย หากไม่อาจกระท�ำ ดังกล่าวแล้วได้ หรือถ้าเป็นเงินให้เจ้าพนักงานเรือนจ�ำเก็บรักษาไว้ให้ฐานรับฝากตามระเบียบข้อบังคับและ ในที่ซ่ึงทางการกำ� หนดไว”้ ดังนั้น เจ้าหน้าที่เรือนจ�ำซึ่งท�ำหน้าที่ในการรับตัวผู้ต้องขัง ต้องด�ำเนินการตามระเบียบ ให้ผู้ต้องขัง เขยี นคำ� รอ้ งตามแบบฟอรม์ ทเ่ี รอื นจำ� กำ� หนดเพอ่ื ขอฝากสงิ่ ของไว้ (ภาคผนวก 1) และเกบ็ รกั ษาไวจ้ นกวา่ จะมญี าติ มาติดตอ่ รับไป หรอื จนกว่าผู้ต้องขังดงั กลา่ วจะพ้นโทษ 3. การตดั ผม แจกเคร่ืองแบบของใช้จำ� เป็น ระเบียบกรมราชทณั ฑว์ า่ ดว้ ยการตดั ผมผู้ต้องขงั พ.ศ.2557 ได้ก�ำหนดแนวทางไว้ ดงั นี้ 3.1 นัดโทษเด็ดขาดชาย ให้ตัดผมสั้น ด้านหน้าและกลางศีรษะยาวไม่เกิน 5 เซนติเมตร ชายผม รอบศรี ษะเกรยี นชิดผวิ หนัง 3.2 นกั โทษเดด็ ขาดหญงิ ใหไ้ วผ้ มยาวไมเ่ กนิ ตน้ คอ หรอื หากไวผ้ มยาวเกนิ กวา่ ตน้ คอ ตอ้ งรวบผมหรอื ผูกผมให้เรยี บรอ้ ย **ในกรณีมีเหตุท่ีไม่อาจจะด�ำเนินการได้ ให้เรือนจ�ำแจ้งเหตุผลและความจ�ำเป็นเพ่ืออธิบดี พิจารณาสงั่ ผ่อนผันเปน็ กรณพี ิเศษ 3.3 คนฝากและคนต้องขังชายให้ตัดผมแบบชนสามัญ เว้นแต่อธิบดีสั่งผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษจะให้ ตัดผมแบบอน่ื ก็ได้ 3.4 คนฝากและคนตอ้ งขงั หญงิ ใหไ้ วผ้ มตามประเพณนี ยิ ม กรณที ไ่ี วผ้ มยาวเกนิ กวา่ ตน้ คอ ตอ้ งรวบผม หรอื ผูกผมให้เรยี บร้อย 3.5 ผตู้ อ้ งขงั แปลงเพศหรอื กลมุ่ ทมี่ จี ติ ใจแตกตา่ งไปจากเพศกำ� เนดิ ใหถ้ อื สถานะของเพศกำ� เนดิ ในการ ตัดผมหรอื ไว้ผมขณะถูกคมุ ขงั อยูใ่ นเรอื นจำ� 7 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 3.6 เพื่อประโยชน์แก่การอนามัยของผู้ต้องขังหรือสุขาภิบาลของเรือนจ�ำ หากเห็นเป็นการสมควร เรอื นจำ� จะส่งั โกนผมผู้ตอ้ งขงั นนั้ กไ็ ด้ 4. การตรวจร่างกาย สขุ ภาพ การให้แพทย์ตรวจอนามัยผู้ต้องขังเข้าใหม่ การตรวจร่างกายและอนามัยผู้ต้องขังเข้าใหม่จ�ำเป็น อย่างยิ่งต่อการอนามัยและสุขาภิบาลทั้งในส่วนของเรือนจ�ำและทัณฑสถานตลอดจนตัวผู้ต้องขัง จึงก�ำหนด ให้เจ้าพนักงานเรือนจ�ำและทัณฑสถานแยกตัวผู้ต้องขังที่รับไว้ใหม่จากผู้ต้องขังอ่ืน เพ่ือให้แพทย์ได้ตรวจ ในวันรับตัวนั้น ถ้าไม่อาจจะมาตรวจในวันน้ันได้ก็ให้ตรวจในวันอื่นโดยเร็ว เม่ือแพทย์ตรวจพบว่าผู้ต้องขังคนใด เจบ็ ปว่ ยจะตอ้ งทำ� การรกั ษาพยาบาลหรอื มโี รคตดิ ตอ่ ซงึ่ จะลกุ ลามเปน็ ภยั ตอ่ ผอู้ นื่ ใหแ้ พทยช์ แ้ี จงแนะนำ� การปฏบิ ตั ิ แกเ่ จา้ หนา้ ทแ่ี ละตวั ผตู้ อ้ งขงั หากแพทยม์ คี วามเหน็ วา่ ผตู้ อ้ งขงั คนใดมอี าการเจบ็ ปว่ ยซง่ึ จำ� เปน็ ตอ้ งสง่ ออกไปรกั ษา ตัวนอกเรือนจ�ำให้แพทย์แจ้งต่อพัศดีและท�ำรายงานย่ืนต่อผู้บัญชาการเรือนจ�ำเพื่อประกอบการพิจารณาส่งตัว ออกไปรกั ษาพยาบาลนอกเรือนจ�ำทีเ่ หน็ ควรจดั สง่ ไปรกั ษาพยาบาลตามความจำ� เปน็ ได้ ทั้งน้ี การตรวจร่างกายควรด�ำเนินการด้วยความละเอียดรอบคอบ และมีการบันทึกรายละเอียดให้ ครบถ้วน โดยเฉพาะกรณีทีผ่ ูต้ ้องขงั มีรอ่ งรอยบาดแผล หรอื การถูกท�ำรา้ ย ตามแบบฟอร์มที่กำ� หนดให้ และมกี าร ใหผ้ ูต้ อ้ งขังอ่นื ลงลายมอื ชื่อไว้เปน็ พยาน (ภาคผนวก 2) เพอื่ ปอ้ งกันปัญหาทีอ่ าจเกิดขนึ้ ตามมาในภายหลัง 5. การสอบประวตั เิ บอ้ื งต้น (รท101) และเลขประจ�ำตวั ประชาชน เจา้ หนา้ ทดี่ ำ� เนนิ การสอบถามขอ้ มลู ใหค้ รบถว้ น ตามรายละเอยี ดของทะเบยี นรายตวั ผตู้ อ้ งขงั รท.101 (ภาคผนวก 3 ) เกยี่ วกบั ภมู ลิ ำ� เนา อายุ ญาตพิ นี่ อ้ งหรอื เพอ่ื นสนทิ โดยดวู า่ มที อ่ี ยเู่ ปน็ หลกั แหลง่ สามารถตดิ ตอ่ ได้ หรือไม่ ซ่ึงข้ันตอนนี้จะมีส่วนช่วยเจ้าหน้าท่ีควบคุม กรณีมีข้อมูลในการติดตามผู้ต้องขังหากหลบหนี และ ควรระบเุ ลขประจำ� ตวั ประชาชนของผตู้ อ้ งขงั เพอื่ สทิ ธปิ ระโยชนใ์ นการรกั ษาพยาบาล 6. การฉายวีดีทัศน์เรอื่ งขอ้ ควรรูเ้ มอ่ื เข้าส่ปู ระตูเรอื นจ�ำ เจ้าหน้าท่ีด�ำเนินการฉายวีดีทัศน์ “ข้อควรรู้เมื่อเข้าสู่ประตูเรือนจ�ำ” ท่ีกรมราชทัณฑ์ได้จัดท�ำข้ึนให้ ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกคนได้รับชมร่วมกัน เพื่อให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นเก่ียวกับแนวทางการใช้ชีวิตในเรือนจ�ำ มคี วามยาวประมาณ 15 นาที ควรจดั สถานทใี่ นการฉายวดี ที ศั นใ์ หม้ คี วามเหมาะสม และใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ทกุ คนสามารถ ดไู ด้อย่างท่วั ถงึ กัน ทัง้ ในช่วงเวลากลางวนั หรอื เวลากลางคืนหลงั ขึ้นเรือนนอน 7. ท�ำแบบทดสอบสุขภาพจติ (แบบ PMHQ - THAI) การประเมินสุขภาพจิตผู้ต้องขังเข้าใหม่ มีความส�ำคัญอย่างยิ่งเพราะท�ำให้ทราบข้อมูลเบ้ืองต้นว่า ผู้ต้องขังดังกล่าวมีความวิตกกังวลหรือเครียดมากน้อยเพียงใด และมีความเส่ียงต่อการท�ำร้ายตนเองหรือ การฆ่าตัวตายหรือไม่ ดังน้ันเจ้าหน้าที่ต้องด�ำเนินการให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกราย ได้ท�ำแบบทดสอบสุขภาพจิต (PMHQ-Thai) (ภาคผนวก 4) ตามทกี่ องบรกิ ารทางการแพทย์ กรมราชทณั ฑ์ ไดม้ หี นงั สอื สง่ั การท่ี ยธ 0708/ว47 8 เรื่อง การให้การสง่ เสริมสุขภาพจติ ผ้ตู ้องขงั (คลีนิคคลายเครียด) ลงวันท่ี 1 สงิ หาคม 2548 โดยให้ทำ� การตรวจ ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพจิตผู้ตอ้ งขังด้วยแบบประเมินภาวะสุขภาพจติ สำ� หรับผ้ตู อ้ งขังในเรอื นจ�ำไทย PMHQ-Thai ในกลมุ่ ผูต้ ้องขังเขา้ ใหมท่ กุ ราย ตลอดจนกลมุ่ ผูต้ ้องขังระหวา่ งตอ้ งโทษทกุ ประเภท (เฉพาะในรายกรณีท่สี งสยั วา่ อาจจะมปี ัญหาสขุ ภาพจติ ) และใหบ้ ริการปรึกษาปัญหาสขุ ภาพจิตและจติ เวช รวมท้ังการผ่อนคลายความเครยี ด เม่ือพบวา่ ผตู้ อ้ งขังมีปัญหาสุขภาพจติ จากการตรวจประเมิน พรอ้ มท้ังให้มกี ารบนั ทึกข้อมลู การปรกึ ษาลงในแบบ บันทึกข้อมูลโดยให้จัดเก็บแบบบันทึกข้อมูลรวบรวมไว้ ณ คลินิกคลายเครียดเพ่ือการตรวจสอบและเป็นข้อมูล สว่ นบคุ คลของผตู้ อ้ งขงั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในดา้ นสขุ ภาพจติ ในกรณกี ารใหค้ ำ� ปรกึ ษาไมส่ ามารถดำ� เนนิ การ ต่อไปได้ เน่อื งจากผตู้ ้องขงั มอี าการทางจติ รนุ แรง (ประสาทหลอน) ใหป้ ระสานสถานพยาบาลบ�ำบัดทางยาต่อไป 8. ฝกึ ระเบียบวนิ ยั และออกกำ� ลังกาย (ทุกวนั ) ผู้ต้องขังเข้าใหม่ต้องได้รับการฝึกระเบียบวินัยและการออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำเพื่อสุขภาพร่างกาย ที่แข็งแรง และความพร้อมของสภาพจติ ใจในการเผชิญตอ่ ปญั หาอุปสรรคต่างๆในชีวติ สอนให้รจู้ ักการปฏิบตั ิตน อยใู่ นกฎระเบยี บ ซง่ึ ถอื เปน็ แนวทางปฏบิ ตั เิ พอ่ื สรา้ งบรรยากาศแหง่ ความเปน็ มติ รและลดความกงั วลใจของผตู้ อ้ ง ขังในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง จึงให้เจ้าหน้าที่เรือนจ�ำและทัณฑสถานตระหนักในความส�ำคัญ ของการออกก�ำลังกาย การฝึกระเบียบแถว และการฝึกผู้ต้องขังให้อยู่ในระเบียบวินัยด้วยการช้ีแจงผู้ต้องขังเข้า ใหม่ใหเ้ ขา้ ใจถงึ ระเบียบ ขอ้ บังคับ การรักษาระเบียบวนิ ยั ในระหว่างทีถ่ ูกคุมขังอยู่ในเรอื นจ�ำและทณั ฑสถาน ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ 9 ขน้ั ตอนที่ 2 การอบรมปฐมนิเทศผ้ตู ้องขงั และการดูแลใจผู้ตอ้ งขังเข้าใหม่ ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม วัตถปุ ระสงค์การอบรม 1. เพ่อื ให้ผตู้ อ้ งขงั ทราบกฎระเบียบ รู้วธิ กี ารใชช้ ีวติ ในเรอื นจ�ำ 2. เป็นการฝึกระเบียบวินัย เพื่อให้เป็นคนมีความอดทน มีวินัย มีความรับผิดชอบ 3. เพื่อให้ผู้ต้องขังผ่อนคลายความเครียดสามารถปรับตัวได้อย่างมี ความสุขตามอัตภาพ 4. เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การควบคมุ ผตู้ อ้ งขงั ใหอ้ ยใู่ นระเบยี บวนิ ยั ของเรอื นจำ� 5. เพ่ือให้ผู้ต้องขังมีการวางเป้าหมายในการพัฒนาตนเองขณะอยู่ ในเรือนจำ� โปรแกรมการอบรมปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั และการดูแลใจผตู้ ้องขงั เข้าใหม่ หมวด หวั ขอ้ วทิ ยากร/การใช้สือ่ ในการอบรม หมวดท่ี 1 1.1 แนะนำ�สถานที่ ต่างๆ ในเรือนจ�ำ ฝ่ายควบคมุ / ช่วงเชา้ 1.2 กิจวตั รประจ�ำ วนั ของผตู้ ้องขงั 1.3 กฎระเบยี บของเรือนจำ�/วินยั ผ้ตู อ้ งขัง สอื่ ทใี่ ช้- กล่องสีขาว ช่วงบา่ ย 1.4 การเย่ยี มและการติดตอ่ กบั บคุ คลภายนอก 1.5 สิ่งของตอ้ งห้าม เจ้าหนา้ ทส่ี ถานพยาบาล/ หมวดที่ 2 1.6 การเขียนคำ�รอ้ งต่างๆ สื่อที่ใช-้ คลิปการเคลื่อนไหว ช่วงเช้า 1.7 กจิ กรรมกลอ่ งสขี าว 1.8 ละลายพฤติกรรม สร้างสติ 10 ทา่ 1.9 บรหิ ารกายใจยืดเหยยี ด ฝ่ายฝกึ วชิ าชีพ 1.10 การดแู ลสุขภาพและการรักษาพยาบาล 1.11 การรกั ษาอนามัยและการสุขาภิบาลภายในเรือนจำ� 1.12 อันตรายจากการลักลอบสักร่างกาย 2.1 การทำ�งานและการฝกึ วชิ าชีพของผู้ต้องขงั 2.2 การจ่ายเงนิ ปันผลให้ผตู้ ้องขงั ชว่ งบา่ ย 2.3 การให้การศกึ ษาและการใชห้ ้องสมุดภายใน เรือนจำ� ฝา่ ยการศกึ ษาและพัฒนาจิตใจ 2.4 การเรียนธรรมศกึ ษาและการนง่ั สมาธิ ผู้นำ�ทางศาสนา 2.5 การบรรยายธรรมะในชีวติ ประจำ�วนั /การปฏบิ ตั ิ ฝ่ายปกครองและเจา้ หนา้ ทที่ เ่ี กย่ี วข้อง กจิ ทางศาสนา/ทำ�บุญตกั บาตร 2.6 ตอบคำ�ถามจากกล่องสีขาว 10 หมวด หัวข้อ วทิ ยากร/การใชส้ ื่อในการอบรม หมวดที่ 3 3.1 สทิ ธิ/ประโยชน์ของผู้ตอ้ งขัง ฝ่ายทณั ฑปฏิบัติ ชว่ งเชา้ 3.2 การเลือ่ นลดชั้น/การย้ายผตู้ อ้ งขัง ช่วงบา่ ย 3.3 พกั โทษ/ลดวันต้องโทษ/อภยั โทษ หมวดที่ 4 ช่วงเชา้ 3.4 การใหก้ ารช่วยเหลอื และสงเคราะห์ ฝ่ายสวัสดิการและสงเคราะห์ ชว่ งบ่าย 3.5 การเลี้ยงอาหาร/การเบิกจา่ ยเงนิ ซื้อของ/การฝากเงนิ 3.6 การอบรมโปรแกรมเฉพาะในการพฒั นาพฤตนิ สิ ัย หมวดท่ี 5 ช่วงเช้า 4.1 การให้ความรูด้ า้ นกฎหมายและการให้คำ� ยุติธรรมจงั หวดั /อัยการ /ศาล ฯลฯ ปรกึ ษาด้านคดีความ 4.2 กจิ กรรมทักษะผอ่ นคลาย การฝึกหายใจท่ี • คลิปการฝึกหายใจดว้ ยทอ้ ง ถกู ต้อง โดยใช้สือ่ เสียงเพลงบรรเลง • เพลงบรรเลงของจำ�รสั เศวตาภรณ/์ 4.3 การเขา้ ใจอารมณ์และความเครยี ด ดง่ั ดอกไม้บาน 4.4 คุยกันเรือ่ งความสุขกับชวี ิต • แบบประเมนิ ความเครียด (ST-5) (หน้า 39) • ใบงานเขา้ ใจอารมณแ์ ละความเครียด • เครือ่ งมือเซยี มซีความสุข (หนา้ 92) 5.1 กิจกรรมมองโลกในแง่ดี • ใบงานดหี รอื รา้ ยอยู่ท่มี มุ มอง (หนา้ 50) 5.2 บริหารกายใจ ยดื เหยียด ชว่ งบ่าย 5.3 กิจกรรมรสู้ กึ ดกี ับตัวเอง • ใบความรู้ ความรู้สกึ ดีต่อตัวเอง (หน้า 54) 5.4 ฝกึ ทกั ษะผอ่ นคลาย • สือ่ เสยี งถามชวี ิต 5.5 ตอบค�ำ ถามจากกล่องสขี าว หมายเหตุ - ฝกึ ระเบยี บวนิ ยั และออกก�ำ ลงั กายทุกวัน - หมวดที่ 4 และ 5 วทิ ยากรคอื นกั สังคมสงเคราะห์/นักจติ วิทยา/อนุศาสนาจารย์/วทิ ยากรภายนอก - ระยะเวลาการอบรมใหป้ รับเปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสมแตใ่ หม้ ีเนือ้ หาครบทุกหมวด ตามทก่ี ำ�หนดไวใ้ นโปรแกรม ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ การรายงานผลการอบรมปฐมนเิ ทศและการดแู ลใจผตู้ ้องขงั เขา้ ใหม่ ขอให้เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานรายงานผลการด�ำเนินงานด้านการปฐมนิเทศผู้ต้องขังเข้าใหม่ตามแบบฟอร์ม ภาคผนวก 7 (หนา้ 116) โดยใหร้ ายงานผลการดำ� เนนิ งานมายงั กรมราชทณั ฑป์ ลี ะ 1 ครง้ั ภายในวนั ที่ 31 สงิ หาคม ของทุกปี 11 การอบรมหมวดที่ 1 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 1.1 การแนะน�ำสถานที่ต่างๆ ในเรือนจ�ำ เม่ือผู้ต้องขังเข้าใหม่ ก้าวเข้ามาสู่ประตูเรือนจ�ำ ใน ล�ำดับแรกเจ้าหน้าที่เรือนจ�ำควรแนะน�ำถึงสถานท่ีต้ังของ อาคารสถานที่ต่างๆ ภายในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน และ อธิบายถึงอ�ำนาจหน้าท่ีของส่วน/ฝ่ายต่างๆ ภายในเรือน จ�ำท่ีผู้ต้องขังอาจมีความจ�ำเป็นต้องติดต่อประสานขอ ความช่วยเหลือ รวมท้ังต้องแจ้งให้ผู้ต้องขังทราบว่า บริเวณใดที่เป็นเขตพื้นท่ีหวงห้าม เพ่ือให้ผู้ต้องขังทราบ ว่าจะสามารถเดินไปท่ีจุดใดได้บ้างในบริเวณเรือนจ�ำ 1.2 กจิ วตั รประจำ� วนั ของผ้ตู อ้ งขัง ช่วงเวลา กจิ กรรม ช่วงเช้า-กลางวัน ให้สญั ญาณปลกุ /เตรียมตัวลงเรือนนอน ลงจากเรอื นนอน ปฏบิ ัตกิ จิ สว่ นตวั กลางวนั ฝึกกายบรหิ าร / ฝึกระเบียบแถว ช่วงบ่าย-เย็น รบั ประทานอาหารเชา้ เข้าแถวเคารพธงชาติ รับฟงั การชแ้ี จง กลางคืน ฝกึ วชิ าชีพหรอื ศึกษาอบรม รบั ประทานอาหารกลางวัน ฝึกวชิ าชีพ หรือศกึ ษาอบรม อาบนำ้� รบั ประทานอาหารเย็น ข้ึนเรือนนอน ปฏบิ ัติศาสนกจิ ก่อนนอน ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่12 1.3 กฎระเบียบของเรือนจ�ำ/วินัยผู้ตอ้ งขัง การนบั ยอดผ้ตู ้องขัง เรอื นจำ� และทณั ฑสถานควรชแ้ี จงใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ทราบวา่ การตรวจรบั นบั ยอดผตู้ อ้ งขงั ถอื เปน็ สง่ิ ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ิ เปน็ ประจำ� ต้งั แตต่ น่ื นอนในตอนเชา้ จนกระท่ังขน้ึ เรือนนอนในตอนเยน็ เพอ่ื ให้ทราบวา่ ผตู้ อ้ งขงั อยคู่ รบตามยอด ผู้ตอ้ งขงั ในแต่ละวนั ซ่ึงจำ� นวนครงั้ ในการนับยอด และขน้ั ตอนปฏบิ ัติว่ามีการนับยอดในช่วงเวลาใดบา้ ง ตอ้ งแจ้ง ใหผ้ ู้ตอ้ งขงั เขา้ ใหมท่ ุกคนทราบเพอ่ื ใหป้ ฏิบตั ิตวั ได้อยา่ งถูกต้อง กฎระเบียบของเรือนจ�ำ/วนิ ยั ผู้ตอ้ งขัง เรอื นจ�ำและทัณฑสถานทกุ แหง่ ก�ำหนดให้ผ้ตู อ้ งขงั ทุกคนตอ้ งอยู่ภายใต้กฎระเบยี บ และวินยั ของเรอื นจำ� และทัณฑสถานเพื่อสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการอยู่ร่วมกัน และความปลอดภัยทั้งต่อตัวผู้ต้องขังเอง และบคุ คลอืน่ หากฝ่าฝืนจะถูกด�ำเนนิ การลงโทษทางวนิ ยั ขอ้ สำ� คัญทผ่ี ้ตู อ้ งขงั ต้องทราบและน�ำไปปฏิบตั ิ คือ “5 ต้อง 12 ไม”่ 5 ตอ้ ง คอื สิ่งที่ผู้ต้องขังทุกคนพงึ ปฏบิ ตั ิขณะอยใู่ นเรอื นจำ� ได้แก่ 1 ตอ้ ง ประพฤตติ นอยู่ในระเบยี บของเรือนจ�ำ 2 ตอ้ ง เชอ่ื ฟังและให้ความเคารพผบู้ ังคบั บัญชาทกุ ระดบั 3 ต้อง มีความเคารพในสิทธขิ องผอู้ นื่ ทัง้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจ 4 ตอ้ ง มีความรบั ผดิ ชอบในหน้าทีก่ ารงานที่ได้รับมอบหมาย 5 ตอ้ ง มคี วามระมดั ระวังในการใชท้ รพั ยส์ ินของทางราชการไมใ่ หเ้ กิดความเสยี หาย 12 ไม่ คือส่งิ ทผ่ี ้ตู อ้ งขังทกุ คนพงึ หลกี เลย่ี งและห้ามประพฤตปิ ฏบิ ัตโิ ดยเด็ดขาด ไดแ้ ก่ 1 ไม่ หลบหนหี รอื พยายามหลบหนี 2 ไม่ นำ� เข้า ครอบครอง จดั ท�ำ หรอื คา้ สงิ่ ของตอ้ งห้าม 3 ไม่ กระด้างกระเดือ่ งตอ่ ค�ำส่งั ผู้บังคบั บัญชา หรือแสดงกริ ิยาวาจาท่ไี ม่เหมาะสม 4 ไม่ ทะเลาะวิวาทหรือท�ำร้ายร่างกายผ้อู ่นื 5 ไม่ เล่นการพนนั 6 ไม่ เสพสรุ า ยาเสพตดิ หรือของมนึ เมาอย่างอืน่ 7 ไม่ ละทง้ิ หน้าท่กี ารงาน หรือท�ำให้งานผูอ้ ่นื ตดิ ขดั 8 ไม่ ทำ� ใหท้ รพั ยส์ ินของหลวงหรือของผ้อู นื่ เสียหาย 9 ไม่ ประพฤติผิดระเบียบเกี่ยวกับการเยย่ี ม 10 ไม่ ครอบครองหรือใชเ้ งนิ สด 11 ไม่ กระทำ� ผิดอาญาทุกฐานความผิด 12 ไม่ ประพฤติผดิ ระเบียบเรือนจำ� กรณอี นื่ ๆ เช่น ลักลอบสักลาย 13 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 1.4 การเยี่ยมและการติดต่อกับบุคคลภายนอก ในระหวา่ งท่ีถูกคุมขงั ในเรือนจำ� และทัณฑสถาน ชอ่ งทางในการได้รบั การเยีย่ มญาตหิ รือติดต่อกับบคุ คล ภายนอกประกอบดว้ ย 1. การเย่ยี มทเ่ี รอื นจ�ำ พอ่ แม่ พ่นี ้อง สามี ภรรยา บตุ รธิดา ญาติ เจา้ หน้าทีก่ งสุล สถานทูตหรอื เพือ่ น สามารถเยี่ยมไดต้ ามวนั เวลา ทเ่ี รอื นจำ� กำ� หนด เวน้ แต่อยูใ่ นระหวา่ งถกู ลงโทษทางวนิ ยั ตดั การอนุญาตใหเ้ ยย่ี ม 2. การพบทนายความ ตอ้ งเปน็ ทนายความทศี่ าลแตง่ ตงั้ เทา่ นน้ั และตอ้ งกรณเี ฉพาะการพบเกยี่ วกบั เรอื่ ง คดี โดยท่ัวไปจะพบไดท้ กุ วัน ตามเวลาทเี่ รอื นจำ� ก�ำหนด เว้นวันหยุดราชการ 3. การติดต่อทางจดหมาย เจ้าหน้าท่ีจะต้องตรวจสอบจดหมายก่อน ทั้งรับและส่ง เพ่ือป้องกันการ ซุกซอ่ นสิง่ ของตอ้ งห้าม ตลอดจนขอ้ ความท่ไี มเ่ หมาะสม 4. ในกรณที มี่ กี ารเยย่ี มญาตใิ กลช้ ดิ ผตู้ อ้ งขงั ทมี่ คี วามประพฤตดิ แี ละมคี ณุ สมบตั คิ รบตามทก่ี รมราชทณั ฑ์ ก�ำหนด จะได้รับการเย่ียมแบบถึงตัว ในท่ีท่ีเรือนจ�ำจัดไว้และสามารถรับประทานอาหารร่วมกับ ญาติได้ ทัง้ น้ีเรอื นจ�ำจะประกาศแจ้งให้ทราบเพื่อให้ญาตจิ องเยยี่ ม 5. กรณีการเยี่ยมอื่นๆ เช่น การเย่ียมทางโทรศัพท์ หรือการเยี่ยมทางไกลผ่านจอภาพ ให้เป็นไปตาม วธิ กี ารและเงอื่ นไขทีก่ รมราชทัณฑก์ �ำหนด 1.5 ส่ิงของต้องห้าม เจ้าหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกคนทราบว่า สิ่งของต่อไปน้ี ห้ามมิให้น�ำเข้ามาหรือเก็บรักษาไว้ ในเรอื นจำ� (กฎกระทรวงมหาดไทย ขอ้ 127 ออกตามความในมาตรา 58 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ าชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ์ พุทธศกั ราช 2479) 1. ยาเสพติดใหโ้ ทษ วัตถอุ อกฤทธติ์ อ่ จิตและประสาทและสารระเหย 2. สรุ า หรอื ของเมาอยา่ งอนื่ 3. อปุ กรณ์ส�ำหรบั เลน่ การพนนั 4. เครือ่ งมอื อันเป็นอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการหลบหนี 5. อาวธุ เครือ่ งกระสนุ ปืน วตั ถรุ ะเบิด ดอกไม้เพลิงและสงิ่ เทียมอาวุธปนื 6. ของเนา่ เสีย หรอื ของที่มีพิษตอ่ รา่ งกาย 7. น�ำ้ มนั เชอื้ เพลงิ 8. สัตว์มีชวี ิต 9. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์หรอื เครอ่ื งมอื ส่อื สารอน่ื รวมท้ังส่งิ ของสำ� หรบั อปุ กรณ์ดงั กล่าว 10. วตั ถุ เอกสารหรอื ส่ิงพมิ พ์ ซ่งึ อาจกอ่ ให้เกดิ ความไมส่ งบเรียบร้อยหรอื เส่อื มเสยี ตอ่ ศลี ธรรมอันดีของ ประชาชน ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่14 1.6 การเขียนค�ำร้องต่างๆ ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานควรจะมีแบบฟอร์มต่างๆ หลาก หลายประเภทไว้ให้ผู้ต้องขังเพื่อสะดวกในการกรอกข้อมูล ทั้งการ ขออนุญาตออกนอกแดน การขอความสงเคราะห์ช่วยเหลือ ฯลฯ โดยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในส่วน/ฝ่ายต่างๆ ต้องอธิบายให้ผู้ต้อง ขังทราบว่า การจะด�ำเนินการขอรับความช่วยเหลือหรือขออนุญาต ด�ำเนินการใดๆ ก็ตาม ต้องเป็นไปตามข้ันตอนตามกฎของเรือนจ�ำ เพื่อให้เกิดความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และมีหลักฐานท่ีชัดเจน ดังนั้น เจ้าหน้าท่ีควรอธิบายให้ผู้ต้องขังเข้าใจวิธีการกรอกรายละเอียด ในแบบฟอร์มต่างๆ ของเรือนจ�ำและทัณฑสถาน เพื่อขอรับความช่วยเหลือได้ตรงตามความต้องการ เช่น แบบฟอร์มขอพบทนาย แบบฟอร์มขอไปแดนพยาบาล แบบฟอร์มขอรับการสงเคราะห์ เป็นต้น ตัวอย่างแบบฟอร์มการเขียนค�ำร้อง ปรากฏในภาคผนวก 1 หน้า 62 1.7 กิจกรรมกลอ่ งสขี าว วัตถปุ ระสงค์การทำ� กิจกรรม 1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมได้มีโอกาสตั้งประเด็นค�ำถามท่ีสงสัยใส่ในกล่อง 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ค�ำตอบจากเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องโดยไม่ต้องหาค�ำตอบด้วยตนเอง ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความผดิ พลาดหรือเข้าใจคลาดเคล่ือน ข้นั ตอนการทำ� กิจกรรม 1. ช้แี จงกบั ผูเ้ ขา้ รับการอบรมในการเขยี นค�ำถามทอี่ ยากรู้ใสก่ ลอ่ งไดต้ ลอดระยะเวลาการอบรม 2. เปิดค�ำถามในกล่องเพื่อตรวจสอบว่าค�ำถามนั้นเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่ในส่วน/ฝ่ายใดท่ีจะสามารถ ตอบประเด็นค�ำถามดงั กลา่ วได้ 15 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 3. การเปดิ กล่องค�ำถามควรจะมกี ารตอบวันละ 1-2 ครง้ั ตามความเหมาะสม 4. ประสานขอขอ้ มลู หรอื ให้เจา้ หน้าทจ่ี ากสว่ น/ฝ่ายน้ันมาชแี้ จงทำ� ความเขา้ ใจใหก้ บั ผเู้ ข้ารบั การอบรม 5. รวบรวมประเด็นค�ำถามต่างๆ และจัดอันดับประเด็นค�ำถามที่พบบ่อยเพื่อเป็นแนวทางในการตอบ ค�ำถามในรนุ่ ต่อๆไป เคร่อื งมอื /ส่อื ทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรม 1. กล่องหรือลงั สีขาว 2. เศษกระดาษส�ำหรับเขียนคำ� ถาม 3. ปากกา หมายเหต ุ กรณีเป็นค�ำถามด้านข้อกฎหมายที่เจ้าหน้าท่ีไม่สามารถตอบได้ ให้ประสานจาก วทิ ยากรผเู้ ชย่ี วชาญภายนอก 1.8 ละลายพฤติกรรม กจิ กรรมละลายพฤตกิ รรมเปน็ เทคนคิ การอบรมประเภทหนง่ึ ท่ีใช้เกมส์เป็นสื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมท่ีไม่เคยรู้จักกันมาก่อน ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม จากท่เี คยเคร่งขรึม สงวนท่าท ี ไมก่ ลา้ แสดงออก มาเป็นย้ิมแย้มแจ่มใส กล้าแสดงออก ร่วมกัน สรา้ งบรรยากาศใหท้ กุ ๆ คนรจู้ กั กนั เกดิ เปน็ สมั พนั ธภาพทด่ี ตี อ่ กันอีกด้วย กระบวนการนี้มักจะใช้เป็นกิจกรรมแรก ๆ ในการ ฝึกอบรม เพื่อละลายพฤติกรรมของผู้เข้าอบรมให้เปิดใจท�ำ ความรู้จักกัน ให้กล้าแสดงออก เช่น การถามชื่อ การแนะน�ำ ตัวเอง วิทยากรจะมีเทคนิคในการที่จะให้เรารู้จักกับคนอื่น ๆ ไดไ้ มย่ าก วิทยากรแตล่ ะคนก็มเี ทคนิคไมเ่ หมือนกัน ส่งิ ที่วทิ ยากรกระบวนการจะต้องคำ� นงึ ถึงเมือ่ ใช้เกมส์ประกอบการฝกึ อบรม อนั ดบั แรกคือ 1.) อายุ เพราะความสนใจ และสุขภาพของคนในวัยต่างๆ มีความแตกต่างกัน การให้ผู้เข้าอบรมลุก นง่ั บอ่ ย ๆ คนทม่ี อี ายมุ ากจะล�ำบาก 2.) เพศ ผูห้ ญิงควรมีเกมส์ทสี่ นุกสนาน ร้องร�ำท�ำเพลง ส่วนผชู้ ายควรใช้เกมสแ์ บบแขง่ ขนั 3.) ประสบการณข์ องผูเ้ ข้าอบรม และเวลาในการจดั กิจกรรม ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่16 วตั ถุประสงค์กิจกรรม เพือ่ ให้ผูต้ อ้ งขงั เกดิ ความรูส้ ึกเป็นกนั เอง ไว้วางใจ และทำ� ความรู้จกั คนุ้ เคยกบั กล่มุ ท่ที �ำกจิ กรรมรว่ มกัน กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคดิ เหน็ ในการทำ� กิจกรรมอ่นื ๆ ตอ่ ไป ข้นั ตอนการท�ำกจิ กรรม 1. ส�ำรวจกล่มุ เปา้ หมายทเี่ ขา้ รบั การอบรมว่าอยใู่ นชว่ งวัยใด 2. สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรมมพี นื้ ทลี่ กั ษณะใด เปน็ หอ้ งทมี่ พี น้ื ทจ่ี ำ� กดั หรอื มบี รเิ วณกวา้ งทจ่ี ะสามารถจดั กจิ กรรมนอกอาคาร 3. วิทยากรท่านใดมีความถนัดหรือเช่ียวชาญในการท�ำกิจกรรมละลายพฤติกรรม เพื่อให้ผู้ต้องขังท่ีเข้า รบั การอบรมมคี วามร้สู ึกรว่ มกับการท�ำกจิ กรรมให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลสูงสดุ เคร่ืองมอื /สื่อที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรม ขนึ้ อยกู่ บั ประเภทกจิ กรรม เน่ืองจาก กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์ หรอื กิจกรรมละลายพฤตกิ รรม (Ice breaking) มเี ปา้ หมายสำ� คญั เพ่ือให้ ผู้ต้องขังท่ีเข้ารับการอบรม โดยเฉพาะกลุ่มผู้ต้องขังเข้าใหม่ เปิดใจและยอมรับกับการเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งการ เลอื กกจิ กรรมละลายพฤตกิ รรมสามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสมของสถานทแ่ี ละเงอ่ื นไขตา่ งๆ ในแตล่ ะ เรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน กิจกรรมในคู่มือเป็นเพียงตัวอย่างของกิจกรรมที่สามารถน�ำไปด�ำเนินการ โดยมีตัวอย่าง กจิ กรรม ดงั น้ี ตวั อยา่ งกิจกรรม 1. เกมส์ แนะน�ำตัวเอง-ทาแปง้ วิธีเล่น : จดั ผู้เล่นเปน็ วงกลม ให้ผเู้ ลน่ แนะน�ำชอ่ื ตัวเองพร้อมบอกวา่ ชอบทาแป้งท่.ี ..(อวัยวะ) และเหตผุ ลท่ที าทอ่ี วัยวะนน้ั ด้วย เชน่ ผมชื่อบอยชอบทาแป้งทห่ี ลังเพราะเยน็ ดี 2. เกมส์ แสดงท่าประกอบช่ือ วธิ เี ลน่ : จัดผู้เล่นเป็นวงกลม ให้ผู้เล่นแนะน�ำชื่อตัวเองพร้อมท�ำท่าประกอบ จากน้ันให้คนถัดมา (ทางซา้ ยหรอื ทางขวากไ็ ด)้ บอกชอื่ พรอ้ มทำ� ทา่ ของคนทแ่ี ลว้ และบอกชอื่ ตวั เองพรอ้ มทำ� ทา่ ประกอบ และให้คนถัดไปท�ำเหมอื นกนั (แนะนำ� จำ� นวนคนเล่นประมาณ 5 คนตอ่ หน่งึ ชดุ ) 3. เกมส์ บก นำ�้ อากาศ วธิ เี ลน่ : จัดผู้เล่นเป็นวงกลม ให้ผูเ้ ลน่ พูด “บก น�้ำ อากาศ” เมือ่ ผู้นำ� ไปหยุดที่ใครแล้วพดู ว่า “บก” ให้ผู้เลน่ บอกช่อื สัตว์บก แต่ถา้ เป็น “นำ�้ ” ใหบ้ อกชือ่ สตั ว์น�ำ้ และถา้ เป็น “อากาศ” ใหบ้ อกชอ่ื สัตวท์ ีบ่ นิ ได้ 17 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 4. เกมส์ ทิชชู่ สบู่ ยาสฟี ัน วธิ ีเล่น : ก�ำหนดค�ำข้ึนมา 3 ค�ำ คือ “ทิชชู่” “สบู่” “ยาสีฟัน” จัดผู้เล่นเป็นวงกลม เมื่อผู้น�ำช้ีที่ผู้เล่น แล้วบอกวา่ “ทิชชู”่ ผู้เลน่ ตอ้ งบอกชือ่ ทเ่ี หลอื ก็คือ สบู่ ยาสฟี นั 5. เกมส์ เปา่ ยิงฉบุ ชิงแชมปโ์ ลก เนอื้ เพลง : ซ้ายและกซ็ ้าย ขวาและกข็ วา ขา้ งหนา้ ข้างหลัง ข้างหน้าๆๆๆ ใครขวางหน้าให้เปา่ ยงิ ฉบุ ยงิ ฉุบ ยิงฉบุ ยงิ ฉบุ วธิ เี ลน่ : จัดผเู้ ลน่ เปน็ ค่หู รือวงกลมสองวงซอ้ นกัน ร้องเพลงพร้อมทำ� ทา่ ประกอบ เมือ่ จบเพลงใหผ้ เู้ ล่นเปา่ ยิงฉุบ คนที่แพ้ต้องไปต่อหลังคนที่ชนะ จากน้ันจึงไปเปายิงฉุบ กับแถวอ่ืนๆต่อไป จนกว่าจะได้แถวท่ีชนะ แถวเดยี ว 6. เกมส์ ลมเพลมพัดกลุ่ม เนื้อเพลง : ลมเพลมพดั โบกสะบัดพัดมาไวๆ(ซ้ำ� ) ลมเพลมพดั อะไร ลมเพลมพัดอะไร ฉนั จะบอกให.้ .. วิธีเลน่ : จัดผูเ้ ลน่ วงกลมหรอื กลุ่ม เมือ่ ผ้นู ำ� รอ้ งเพลงจบแลว้ ผู้น�ำสงั่ ว่า “พดั คนทใี่ ส่กางเกง” ให้คนทีใ่ สก่ างเกง วงิ่ ไปยงั ฝ่งั ตรงข้าม หรอื ยา้ ยต�ำแหนง่ ท่ียืนอยู่ไปยงั ต�ำแหนง่ อืน่ 7. เกมส์ รักเมอื งไทย เนอื้ เพลง : รักเมอื งไทย ชชู าติไทย ทำ� นุบ�ำรุงให้รุง่ เรือง สมเป็นเมืองของไทย วธิ ีเล่น : จัดผู้เล่นเป็นวงกลม คนที่ถูกชี้คนแรกให้ท�ำท่าโบกธง คนข้างๆคนโบกธง (ซ้ายและขวา) ใหว้ ันทยาหตั ถ์ และคนตอ่ มาใหเ้ ดนิ สวนสนาม คนที่สใี่ ห้ยิงปนื คนทหี่ ้าให้ขวา้ งระเบิด 8. เกมส์ ฝึกทหาร วธิ เี ล่น : จัดผู้เล่นเป็นวงกลม เม่ือพูดน�ำว่า “หน่ึง” (หรือค�ำว่าอะไรก็ได้) ให้ผู้เล่นก้าวไปทางซ้าย 1 ก้าว เม่ือผนู้ �ำพูดค�ำวา่ “สอง” ใหผ้ ้เู ล่นกา้ วไปข้างหนา้ 1 ก้าว เม่ือผู้น�ำพดู ค�ำว่า “สาม” ใหผ้ ู้เล่นก้าวไป ทางขวา 1 ก้าว และผู้นำ� พดู ค�ำว่า “ส”่ี ให้ผู้เล่นก้าวถอยหลงั 1 ก้าว แตถ่ า้ พูดค�ำว่า “ตะลุมบอน” ใหผ้ ู้เล่นวง่ิ ไปยงั ฝัง่ ตรงขา้ มและจัดกลมุ่ เป็นวงกลมเหมือนเดิม 9. เกมส์ปรบมือแนะน�ำชอื่ วิธเี ล่น : จดั ผเู้ ลน่ เปน็ วงกลม หรอื ครง่ึ วงกลม เวลาเลน่ ผนู้ ำ� เกมสจ์ ะใหส้ ญั ญาณเรมิ่ ผเู้ ลน่ ทกุ คนจะตอ้ งปรบมอื เป็นจังหวัด 2 คร้ัง ในขณะเดียวกันในจังหวะท่ี 3 ให้ผู้เล่นคนแรกช้ีตัวเอง แล้วบอกชื่อตัวเอง แล้วทุกคนปรบมือเป็นจังหวะ 2 คร้ัง จังหวะท่ี 3 ผู้เล่นคนต่อไป ก็บอกชื่อตัวเองต่อ ท�ำเช่นนี้ จนกว่าจะแนะน�ำตัวครบทกุ คน แลว้ กป็ รบมือตอ้ นรับกนั และกนั 10. เกมสล์ ดชอ่ งวา่ งระหวา่ งกัน วธิ เี ลน่ : ความร้สู กึ แตกต่างเพราะมีที่มาแตกตา่ งกนั ท�ำใหเ้ กิดชอ่ งวา่ งระหวา่ งบคุ คล 1. ใหต้ ้งั กติกาข้ึนมาวา่ ...ตอ่ ไปน้ี ไม่วา่ เจอกนั เมอื่ ไหร่ ให้ยกมือไหว้ หรือทกั ทาย และบอกช่อื ตวั เอง หา้ มเดนิ ผ่านกนั ไปเฉยๆ 2. ถือเป็นมารยาทของการเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ ...อาวุโสน้อยกว่า จะต้องทักทายผู้มีอาวุโส มากกวา่ เสมอ แต่ผูม้ ีอาวโุ สมากกวา่ จะไม่เมนิ เฉยกับการทกั ทายน้ันเด็ดขาด คู่มือการปฐมนเิ ทศผู้ตอ้ งขงั เข้าใหม่ 18 มากกวา่ เสมอ แต่ผมู้ ีอาวุโสมากกวา่ จะไม่เมินเฉยกบั การทักทายนน้ั เด็ดขาด น้อมพรอ้ มอพ อรผก้อลมปทอาอไ่ีผกดกลพป้ทจดูาไ่ี ดะกไ้พปเจกูดะดิเไกจปธดิะรธจทรระมราํ ทมใเ�ำเนหนใหยี้เยี ก้เมมกิดกกิดหาหารวััวรทขขทกั ้อ้อทกั สาสทนยนารทะทยนหรนาวกะา่าันหงกกมวนั นัาา่ กมตงขาาก้ึนกมันลขเำ�ม้ึนตด่ือาบั ไเมอดมา้พลอื่ วูดาํ โุไสคดดเุยับ้พกกดิอดูันขาคมน้ึ วาุยกุโกกสาขรนัเ้ึนทกมกัดิชาท่อขกางึ้นยขวท่าึน้ กมี่งนากี ช้ันริร่อยิทกงา็จักอวะอ่ทา่ หนงาานนยยอ้ไั้นทปมก่มี จ็กี ะิรหยิ าายอไอ่ ปน พรอ้ มกับกําพแรพ้อมงกทบั ่ตี กั้งำ� ไแวพ้ งท่ีตั้งไว้ 1.9 บริหา1ร.9กบารยิหใารจกยาืยดใเจหยืดยเียหยดียด วัตถุประสว งัตคถ์ขุปอร1งะ.ก สเิจพง่ือคกใ์รขหรอ้ผมงู้เขก้าิจรกับรกรามรอบรมมีความรู้สึกผ่อนคลายก่อนเข้าสู่กิจกรรม 1. เพ่ือใ2ห. ้ผเพู้เื่อขใ้าหร้ผับู้เขก้าารรับอกาบรรอมบรมมีคมวีคาวมามรพู้สรึก้อผม่ทอ้ังนรค่างลกาายแกล่อะนจิตเขใจ้าใสนู่กาิจรกทร�ำกริจมกรรม 2. เคเรพ่ือื่องมใอืห/้ผสู้เอื่ ขท้าใี่ ชรัใ้บนกกาารรจอัดบกรจิ มกรมรีคมว าคลมปิ พANร้IอMมATทII้ังOรN่ากงากรเาคยลอื่ แนลไหะวจสิรตา้ ใงสจตใิน10กทาา่รทาํ กิจกรรม เครอ่ื งมอื /ส่อื ทใ่ี ชใ้ นการจดั กิจกรรม คลิปANIMATIION การเคลื่อนไหวสร้างสติ 10 ทา่ ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ คูม่ ือการปฐมนเิ ทศผูต้ ้องขังเข้าใหม่ 20 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม่ 19 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม่ 20 ค่มู ือการปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ 21 คูม่ ือการปฐมนเิ ทศผูต้ ้องขังเข้าใหม่ 22 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม่ 21 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม่ 22 ค่มู ือการปฐมนเิ ทศผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ 23 คูม่ ือการปฐมนเิ ทศผูต้ ้องขังเข้าใหม่ 24 ค่มู อื การปฏบิ ัตงิ านด้านการปฐมนเิ ทศผ้ตู ้องขงั เข้าใหม่ 23 24 คู่มือการปฐมนเิ ทศผตู้ ้องขงั เขา้ ใหม่ 1.11.010กกาารรดดูแูแลลสุขภาาพพแแลละะกการารักรษักาษพายพายบาบลาล ผอเเชตจ มใสดู้ื่ตนหื้อร�ำุี้ขาก้อสๆี้มนยนโภาุงขรีภวมรราขภคน่าแูมคพังจงามพิควเเาํกพผปขาุ้มารนหากู้้ตาเ่็มกนกยวรปใใ้อันรพปใืนนอห็นงหะัรจเมมขมปจปร้ม้อจีังกา่ืทอาัีคจ้อัมเยกายนขุกวจงสดรใข้กาจาัคย�นำ้าแใอม�ัำนสนคหนเพงแโํารัญมเรโรขรืคอพรค่่ทา่ใ็งกัคญนรนไงแุกราดไกจกรใคะดะค้ดํานงาานจอ้งวีทยรก่าาาสร่ีดสใาคจยยไมเหุ�ดำรวมดพขขบร้มดร้ีค้ึรนอรงูรพีไําคับวาชดณงฤรวาะีดโกว้รงต์มาริอตัับงาชิแกมเคนอารกสีวลรแไ้ัจแนยาี่ยิตระดขรมูจ่งมรรอ้ง็แงต้ีก่งวคักท่ายแจใ่อมาควี่พยู่รห้งรรกกาว่ึขงวใง้เทาัมานหก้ึตมนรมรเร้กทรกตสสสาะัีบยรันิดี่บยะมทาดมผเกองบบ�วำชังูค้ตัตาบ่ใาูว้ือรนวห้อด่อก่าผณโั้าน้งเรกกาู้ตมปข์ยคารา้อพ็นัง่อรดแรกองนรดมหูตแลขื่าน้อูิแสทริดละัรงมๆืัลอย�ำ 25 รัคกือควกาามรสหะมอ่ันาทด�ำควายม่อสมะอทาาํ ดใหร่า้มงีภกูมายิคุ้มลก้าันงมือกป่อ้นอรงับกัปนรโระคทไาดน้ดอีทาหี่สาุดร ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ พกาฤรตไมิกใ่ รชรภ้ มาชทน่ีพะึงรกว่ รมะกทนั าํ กใาหร้เทปง้ิ ็นขยนะิสใัหยล้คงือถงั ฯกลาฯรอหยมา่ ่ังนไทรกาํ ต็คาวมาใมนสเระอื อนาจดำ� รแ่าลงะกทาณั ยฑสถลา้านงทมกุ ือแกห่อง่ มนสี รถับาปนพระยทาบาานล สอำ�าหหราบั รรกั กษาารอไามก่ใาชร้ภเจาบ็ ชปนว่ ะยรเบ่วอื้มงกตันั ใหกแ้ากรผ่ทตู้ิงอ้ขงยขะงั ตใหาม้ลคงวถาังมเฯหลมฯาะสอมยแา่ งลไะรคกวต็ าามมจำ�ใเนปเน็รอืแนหจง่ โาํ รแคละหทากณั กฑาสรเถจาบ็ นปทว่ ุกย แขหอง่ ผมู้ตสี ้อถงาขนังพมยีลาักบษาณลสะําฉหุกรเับฉินรักเรษ่งาดอ่วานกาหรรเจือ็บมปีอว่ายกเาบรอ้ืเจง็บตปันใ่วหยแ้ทก่ีเกผ่ ินู้ตขอ้ ีดงขคงัวตาามมสคาวมาามรเถหขมอางะสสถมาแนลพะยคาวบาามลจําใเหป้สน็ ่งไป แรักหษง่ โารยคังโรหงาพกยกาาบราเจลบ็ ภปาว่ยยนขออกงเผรตู้ ือ้อนงจข�ำังมหีลาักกษเณปะ็นฉผุกู้ตเฉ้อินงขเรังง่ หดญว่ นิงตั้งหครือรมภอี ์ าคกวารรนเจ�ำบ็ไปปฝว่ ายกทคีเ่ กรินรขภดี์แคลวะาคมลสอาดมบารุตถร ขยังอโงรสงถพายนาพบยาาลบภาาลยนอใหก้สสง่ �ำไหปรรบักั ษเดาก็ ยตังดิโรผงูต้พ้อยงาขบงั าทลี่ยภังาไมยน่สาอมกาเรรอืถนนจ�ำอาํ อกหจาากกเปเรน็ ือผนตู้ จ้อำ� งไดข้งั เหรอืญนิงจต�ำ้งั ตค้อรงรจภัด์ ใหคว้ไดร้รนบั ําไนปม มอเฝใผอหรหาาูีพา้ตาือ้กจกหกฒั้อนพาคกางจนรรจิรรขําราราเณตัักงกสภรไอ้ษีาทณร์แปงริามี่ลราจคตอักะยัดุามาตคษ้ามใกขรลยหาวาังวอผพไ้รยั ยดจ้ตูดเยัจงร้สอ้บาณบ็ับุขงหตุบปขนภฑราาังมว่ยกาลสไยังพกปใถอขโนรใคราาอหณโงุมนหงรพ้ไทีขผาโงดยรรงัี่รพตู้ ้รายงเกั้อยสับบพงัษงารณาภยขาิมบลูมพฑงัาาภนบติคยสลานั้รุาา้ถมภยวบไลากนาดจนารันยอ้สลาโนโกขุรใชรนงอภทคพโกาสัณรยพมําง(าวฑใาหพบหัครร์ยหา้ไะซบัาดลรยีนบเื้รอรดะา)ับาเ็กหลรชภตตนืภอทมู ดิาึ่งานัณคิมผแยจมุ้ฑเตู้นล�กำก้อ์ห้อวทณันงอกรี่อขโอืฑามรงัยเกา์คทรู่ใราแอืกี่ยะร(ลนวังลยไไัคะจม้เะมสซคาํ่ดห่สทนีี่งยีขนาเอี่)ง้ึนมสึง่ กยตแาเรัใู่บรารลิมกือมถโว้ใลรนนเอหก้เงคจําา้มณพอก�ำยี ีพยอาอฑงัฒรกกาา์ ไแบบัจจนมลาพโาด่ารกะลิจกขีงเสทาพราน้ึ ่งรอื่ีรสยเเณรสตนาาอื ราบมจานมิมํายาาจใไลวร้าหดําัยถย้้ ทีส่ ามารถให้การรักษาอาการเจบ็ ป่วยของผู้ตอ้ งขังนั้นได้ 25 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 1.11 การรักษาอนามัยและการสุขาภิบาลภายในเรือนจ�ำ การอาศัยอยู่ร่วมกันของผู้ต้องขังจ�ำนวนมากในเรือนจ�ำ/ ทัณฑสถาน การรักษาอนามัยถือว่ามีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น การสุขาภิบาลด้วยการจัดการและควบคุมดูแลเรือนจ�ำและทัณฑสถานที่ อยู่อาศัยให้สะอาดถูกสุขลักษณะ ให้ได้ตามความต้องการข้ันมูลฐาน ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และจัดให้ปลอดภัยจากการเกิดอุบัติเหตุและการ เกดิ โรคระบาดในกลมุ่ ผตู้ อ้ งขงั ทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื จากทกุ ฝ่าย ซึ่งเจ้าหน้าท่ีต้องให้ความรู้และอบรมให้ผู้ต้องขังเข้าใหม่ทุกคนทราบว่า ท่ีอยู่อาศัยท่ีดีสะอาดและ ถูกสุขลักษณะตามหลักสุขาภิบาล จะช่วยส่งเสริมให้ผู้อาศัยมีความสุขและสบายทั้งร่างกายและจิตใจ ปลอดภัยจากการเกิดอุบัติเหตุและโรคติดต่อท่ีเกิดจากที่พักอาศัยเป็นสาเหตุได้ โดยเฉพาะการท้ิงขยะให้เป็นที่ การช่วยกันรักษาความสะอาดในเรือนนอน ห้องสุขา โรงเลี้ยง ไม่ใช้ภาชนะร่วมกัน เป็นต้น 1.12 อันตรายจากการลักลอบสัก การสักในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน นอกจากจะเป็นข้อห้าม และมีบทลงโทษทางวินัยแล้ว ผู้ต้องขังต้องทราบว่า การรับตัว ผู ้ ต ้ อ ง ขั ง เ ข ้ า ใ ห ม ่ ใ น เ รื อ น จ� ำ จ ะ มี ก า ร บั น ทึ ก ข ้ อ มู ล ร อ ย สั ก ที่ มี ติดตัวมาจากภายนอกเรือนจ�ำหากหลังจากคุมขังมาเป็นระยะ เวลาหน่ึงแล้วมีรอยสักเพ่ิมเติมจากข้อมูลท่ีบันทึกไว้เดิมจะถูก ลงโทษทางวินัยทันที นอกจากน้ัน อุปกรณ์ที่ใช้ในการสัก มักไม่ได้ท�ำความสะอาด และดัดแปลงจากสิ่งของต่างๆ ท่ีหามาได้ในเรือนจ�ำ ท�ำให้การสักมี ความเสยี่ งในการตดิ เชื้อโรค ทงั้ โรคเอดส์ ไวรัสตบั อักเสบ ฯลฯ อนั ตรายและขอ้ เสยี จากการสกั 1. เกดิ การตดิ เชือ้ ผิวหนังอกั เสบเปน็ หนอง ถ้ากรรมวิธกี ารสกั ไม่สะอาดพอ 2. เส่ยี งตอ่ การแพร่เช้อื ไวรสั ตบั อักเสบและเช้อื เอดส์ 3. รอยสกั ทส่ี กั โดยมือสมัครเล่นจะลบออกได้ยาก 4. รอยสักที่อยู่นอกร่มผ้าจะเป็นอุปสรรคต่อการออกหางานท�ำเม่ือพ้นโทษแล้ว เพราะคนส่วนใหญ่ ยงั เช่อื กันวา่ คนที่มีรอยสกั มากๆ มกั เป็นพวกนกั เลงหรอื อนั ธพาล ไมน่ า่ ไว้วางใจ * ดังนน้ั อยา่ ลักลอบสักร่างกายในเรือนจำ� เพราะเสยี่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื และ ลบไมอ่ อก * ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่26 การอบรมหมวดที่ 2 2.1 การท�ำงานและการฝึกวิชาชีพของผูต้ ้องขัง เรอื นจ�ำและทัณฑสถาน ควรอธิบายใหผ้ ตู้ ้องข้งเข้าใหมท่ ราบว่า เรือนจ�ำและทณั ฑสถานทุกแหง่ ไดจ้ ัดให้ มีการเรียนการสอนสายอาชีพระยะส้ัน ตามหลักสูตรกรมการศึกษานอกโรงเรียน กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน นอกจากนย้ี งั มหี ลกั สตู รวชิ าชพี ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จากภาคเอกชน เช่น ห้างร้าน สมาคม มูลนิธิ เป็นต้น นอกจากการศึกษาวิชาชีพดังกล่าวข้างต้นแล้ว เรือนจ�ำยังได้จัดให้มี การฝกึ วชิ าชพี ตามความถนดั และสนใจของผู้ต้องขงั กรมราชทัณฑ์ มีนโยบายในการแก้ไข ฟื้นฟู และพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยส่งเสริมให้เรือนจ�ำ/ ทัณฑสถานทั่วประเทศ ด�ำเนินการจัดฝึกอบรมวิชาชีพสาขาต่างๆ ให้แก่ผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้ต้องขังเกิดทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ มีแนวทางในการประกอบอาชพี เลี้ยงตนเอง และสามารถอยรู่ ว่ มกบั สังคมได้ ภายหลังจาก พน้ โทษ โดยการฝกึ วิชาชีพของผู้ตอ้ งขงั ปจั จบุ นั แบง่ ดังนี้ 1. การฝกึ อาชพี ในระบบโรงงาน เปน็ การฝกึ อาชพี ตามหลกั สตู รมาตรฐาน ทำ� ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั เกดิ ความชำ� นาญ ในวชิ าชีพนน้ั ซง่ึ สามารถยกระดบั ฝีมอื ใหส้ งู ขึน้ เทียบเท่ามาตรฐานภายนอก เช่น ช่างไม้เครอื่ งเรือน ชา่ งสี ชา่ ง ปูน ช่างจกั สาน ชา่ งเชือ่ ม เป็นตน้ 2. การฝึกอาชีพงานบริการ นอกจากจะเป็นการฝึกวิชาชีพภายในเรือนจ�ำแล้ว ผู้ต้องขังท่ีผ่านการฝึก อบรมยงั สามารถนำ� วชิ าชพี ทไี่ ดร้ บั ใหบ้ รกิ ารผอู้ นื่ ทงั้ ภายในและภายนอกเรอื นจำ� เชน่ การนวดแผนไทย ชา่ งเสรมิ สวย ตัดผม คาร์แคร์ การประกอบอาหารคาว-หวาน (ครวั ชวนชม) เบเกอรร์ ่ี กาแฟสด ฯลฯ 3. การฝึกอบรมอาชพี ระยะสั้น เนน้ กระบวนการฝกึ อาชพี (Trianing) พรอ้ มสร้างอาชีพตามความสนใจ ของผเู้ ขา้ รบั การอบรม ทำ� ใหม้ แี นวทางในการประกอบอาชพี ทห่ี ลากหลาย เมอื่ ผา่ นการฝกึ อบรมแลว้ สามารถนำ� ความรแู้ ละทกั ษะทีไ่ ดร้ ับไปประกอบอาชพี อสิ ระไดท้ นั ที เชน่ การประกอบอาหารจานเดยี ว (ผดั ไทย ก๋วยเตยี๋ ว ราดหน้า นำ้� เต้าหู้ ปาทอ่ งโก๋) งานเย็บปกั ถกั รอ้ ย การซ่อมเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ภายในบ้าน งานประดษิ ฐ์ ต่างๆ ฯลฯ 4. การฝึกวิชาชีพการเกษตร โดยกรมราชทัณฑ์ได้น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงมาด�ำเนิน การ เพ่ือให้ผู้ต้องขังรู้สึกหวงแหนในท่ีดินท�ำกิน ด�ำรงชีวิตอย่างเพียงพอพึ่งพาตนเอง โดยจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งในเรือนจ�ำชว่ั คราว และสง่ เสรมิ วิชาชีพการเกษตรในเรอื นจำ� /ทัณฑสถาน ท้งั ด้านการ ปลูกพชื เล้ยี งสัตว์ สวนป่า หัตถกรรมตามภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ฯลฯ นอกจากการฝึกวิชาชีพในระดับเบ้ืองต้นตามที่กล่าวมาแล้ว ส่วนฝึกวิชาชีพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ยังได้ เน้นให้เกิดการยกระดับฝีมือและพัฒนาการฝึกวิชาชีพข้ึน โดยจัดให้มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานวิชาชีพ ชา่ งไม้เครื่องเรอื น การจดั การประกวดผลติ ภัณฑ์จากการฝึกวิชาชพี ผตู้ ้องขงั และการจดั การแขง่ ขันทกั ษะฝีมอื ผู้ ตอ้ งขงั ในงานนทิ รรศการผลติ ภณั ฑร์ าชทณั ฑ์ เปน็ ประจำ� ทกุ ปี ทงั้ น้ี เพอื่ ใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะฝมี อื ให้ เปน็ มาตรฐาน และเปน็ ท่ยี อมรบั ของสังคมภายนอกดว้ ย การฝกึ วชิ าชพี ผตู้ อ้ งขงั ของกรมราชทณั ฑ์ ไดร้ บั ความรว่ มมอื สนบั สนนุ จากหนว่ ยงานและบคุ คลภายนอก เพื่อให้เกิดการพฒั นาการฝกึ วชิ าชีพในหลายด้าน ท้งั เร่อื งของวิทยากรทเี่ ขา้ มาจดั ฝึกอบรม ในหลักสูตรต่างๆ ให้ 27 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม มคี วามหลากหลาย ซงึ่ หน่วยงานที่ให้การสนบั สนนุ ทีผ่ า่ นมาประกอบดว้ ย วิทยากรจาก กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ส�ำนกั งานอาชวี ศึกษา สำ� นักงานเกษตร ปราชญ์ชาวบา้ น และวิทยากรทอ้ งถ่ิน เปน็ ต้น ปัจจุบนั กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุตธิ รรม และกระทรวงแรงงาน ไดม้ ีนโยบายสง่ เสริมการมีงานท�ำของผู้ พน้ โทษ เพ่อื สง่ เสรมิ การมงี านทำ� ท้งั ในและต่างประเทศของผูพ้ ้นโทษจากกรมราชทณั ฑ์ เป็นการให้โอกาสในการ มอี าชพี รายได้ สามารถอยใู่ นสงั คมอยา่ งปกตแิ ละเปน็ กำ� ลงั แรงงานทม่ี คี ณุ ภาพตอ่ การพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ ที่จะเสริมสรา้ งขีดความสามารถของประเทศ 2.2 การจ่ายเงินปันผลให้ผู้ต้องขงั กรมราชทณั ฑม์ ภี ารกจิ ทสี่ ำ� คญั ในการเสรมิ สรา้ งสงั คมทด่ี มี คี ณุ ภาพ จงึ ไมใ่ ชเ่ พยี งแตก่ ารควบคมุ ดแู ลบคุ คล ที่กระท�ำผดิ เท่าน้นั หากแตม่ ีภารกิจในการปรับและยกระดับคุณภาพของทรัพยากรบุคคลของสังคม ไมใ่ ห้สร้าง ปญั หาและเปน็ ภาระของสังคม ดงั น้นั กรมราชทัณฑ์จงึ ไมไ่ ดค้ วบคมุ บคุ คลผู้ซ่ึงกระทำ� ความผดิ แต่อย่างเดยี ว ยงั ตอ้ งแกไ้ ขพฒั นาพฤตนิ สิ ยั โดยใหไ้ ดร้ บั โอกาสในการศกึ ษาอบรมฝกึ ฝน ทกั ษะวชิ าชพี ทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ และจัดหางานจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีตลาดปัจจุบันต้องการเข้ามาให้ผู้ต้องขังได้ฝึกฝน จนเกิด ความช�ำนาญ เช่น ตัดเยบ็ เสือ้ ผ้า ปกั มกุ ดอกไมป้ ระดิษฐ์ ถักแห–อวน ฯลฯ ในการนี้ กรมราชทณั ฑไ์ ดป้ ระชาสมั พนั ธเ์ ผยแพรก่ ารรบั จา้ งแรงงานผตู้ อ้ งขงั ใหส้ งั คมภายนอกไดร้ บั ทราบ ซง่ึ ผปู้ ระกอบการจะไดท้ ราบวา่ เรอื นจำ� /ทณั ฑสถานมแี รงงานรบั จา้ งผตู้ อ้ งขงั ทม่ี ศี กั ยภาพในการรบั งาน เรอื นจำ� / ทณั ฑสถานใดทมี่ ผี พู้ น้ โทษชำ� นาญงานจะไดต้ ดิ ตอ่ และรบั เขา้ ทำ� งานในสถานประกอบการได้ ดงั นน้ั นโยบายดา้ น การทำ� งานและการใชแ้ รงงานผตู้ อ้ งขงั จงึ เปน็ การสนบั สนนุ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผตู้ อ้ งขงั ใหม้ งี านทำ� มี ความรู้ความชำ� นาญ ฝึกความเพียรให้มีความมานะอดทน รักการทำ� งาน สง่ ผลทางดา้ นจิตใจให้รสู้ กึ วา่ ตนเอง มี คุณคา่ และรายไดส้ ว่ นหนงึ่ ผ้ตู อ้ งขังจะได้รบั รางวัลปันผลไวใ้ ช้จ่ายระหวา่ งต้องโทษ นอกจากเป็นการสง่ เสริมการ มีงานท�ำของผู้ต้องขังในระหว่างที่ถูกต้องโทษแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการท�ำงานของผู้ต้องขังก่อน กลับสู่สังคมภายนอก เมื่อพ้นโทษออกไปแล้ว ผู้ต้องขังได้รับความรู้และมีทักษะ สามารถหางานท�ำในสถาน ประกอบการได้ มีรายไดใ้ ชเ้ ปน็ นในการประกอบอาชพี เลย้ี งตนเองและครอบครวั ภายหลังพน้ โทษ ผลดตี ่อตวั ผู้ต้องขงั • ผูต้ ้องขงั มีงานทำ� ใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ไมค่ ิดฟุ้งซา่ น มสี มาธิจดจอ่ กับการทำ� งาน • ผูต้ ้องขังได้รับความรู้ความชำ� นาญ สร้างนิสยั รักการท�ำงาน และฝึกระเบยี บวนิ ัยกับตนเอง • ผ้ตู ้องขงั ได้รบั เงินปันผลเก็บไวใ้ ช้ระหวา่ งตอ้ งโทษหรือใชเ้ ปน็ ทนุ ประกอบอาชีพได้ ประโยชนข์ องเรอื นจำ� • ดา้ นบริหารงานเรอื นจ�ำ ผู้ต้องขงั มงี านท�ำโดยคนมาอยทู่ �ำงานรวมกนั ทำ� ใหง้ า่ ยตอ่ การควบคุม • ลดปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าท่ีด้านการควบคุม ผู้ต้องขังอยู่ในโรงงานหรือพ้ืนที่ท่ีก�ำหนด จงึ ใชเ้ จ้าหนา้ ทีใ่ นการควบคมุ น้อย • เรือนจ�ำ/ทัณฑสถานมเี งนิ ทุนหมนุ เวยี นไว้ใช้ในการฝกึ วิชาชพี ให้กับผตู้ ้องขังตอ่ ไป ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่28 2.3 การให้การศึกษาและการใช้ห้องสมุดภายในเรือนจ�ำ เจ้าหน้าท่ีต้องให้ข้อมูลกับผู้ต้องขังท่ีต้องการจะเข้ารับการศึกษาต่อในเรือนจ�ำ เน่ืองจากเรือนจ�ำและ ทณั ฑสถานทกุ แหง่ มกี ารให้การศกึ ษาผตู้ อ้ งขงั ตัง้ แต่การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 12 ปี เปน็ การศกึ ษาให้เปล่าโดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยแตอ่ ยา่ งใด หากผเู้ รยี นสำ� เรจ็ การศกึ ษาจะไดร้ บั วฒุ กิ ารศกึ ษาซง่ึ มศี กั ดแ์ิ ละสทิ ธเิ์ ทยี บเทา่ กบั สถานศกึ ษา ภายนอก โดยประชาชนทั่วไปจะไม่ทราบว่าผู้เรียนส�ำเร็จการศึกษาในขณะต้องโทษ หากในขณะที่ผู้เรียนก�ำลัง ศกึ ษาอยแู่ ละไมจ่ บหลกั สตู รในขณะทต่ี อ้ งโทษอาจเนอื่ งจากการปลอ่ ยพน้ โทษกอ่ นการจบหลกั สตู รหรอื กรณที ยี่ า้ ย เรือนจำ� เนื่องจากการระบายความแออดั ของเรือนจำ� ผูเ้ รยี นสามารถนำ� ผลการเรยี นทไี่ ด้ไปศกึ ษาตอ่ ภายนอกจน จบหลกั สตู รซึ่งจะไมม่ ลี ักษณะการสญู เปล่าทางการศกึ ษา โดยแบ่งออกเปน็ ระดบั การศึกษาดงั น้ี - ระดับผู้ไมร่ หู้ นังสือ (เป็นการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเข้ารับการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา) - ระดบั ประถมศกึ ษา - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สว่ นการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช กรมราชทณั ฑไ์ ดด้ ำ� เนนิ การใหผ้ ู้ ตอ้ งขังทีม่ คี วามสนใจ สามารถสมคั รศึกษาตอ่ ได้ โดยตอ้ งเสียคา่ ใช้จ่ายเอง นอกจากนน้ั ในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานยงั มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื ให้ผู้ต้องขังได้เกิดการเรียนรู้โดยได้มีการสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายขึ้นภายในเรือนจ�ำและ ทณั ฑสถาน ดงั น้ี • ห้องสมุดพร้อมปัญญา ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กมุ ารที รงพระราชทานชอื่ หอ้ งสมดุ ภายในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานวา่ “หอ้ งสมดุ พรอ้ มปญั ญา” ซง่ึ ภายใน เรอื นจ�ำและทัณฑสถานจะจัดให้ห้องสมดุ กลาง ซงึ่ มีหนังสอื หลากหลายประเภท มวี ารสาร นติ ยสาร ท่ีมีเน้ือหาสาระที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาชีพ ศีลธรรมจรรยา กฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม หนังสือพิมพ์ ตลอดจนส่ือด้านโสตทัศนูปกรณ์ประเภท เทปบันทึกเสียง CD ผู้ต้องขังทุกคนสามารถสมัครเป็นสมาชิกของห้องสมุดเพ่ือเข้ารับบริการศึกษาค้นคว้าได้ นอกจากนั้น ไดจ้ ัดให้มีหอ้ งสมุดยอ่ ยตามแดนตา่ ง ๆ เช่น แดนหญงิ เรอื นนอน และหอ้ งสมดุ เคล่ือนทโี่ ดยหมุนเวียน สือ่ ทรพั ยากรสารสนเทศจากห้องสมดุ กลางไปใหบ้ รกิ ารกบั ผ้ตู อ้ งขังอยา่ งต่อเนอื่ งและครอบคลุม ทง้ั น้ี ได้ส่งเสริมให้ผู้ต้องขังเกิดแรงจูงใจในการอ่านหนังสือและประโยชน์ต่อการเรียนรู้พัฒนาตนเอง ยังได้ จัดใหม้ ีกจิ กรรมเรื่องเลา่ จากหอ้ งสมดุ กจิ กรรมเสยี งตามสาย อีกดว้ ย • ห้องศูนยก์ ารเรยี นรู้ (Learning Center) เพอื่ เป็นการทจ่ี ะพัฒนาผูต้ ้องขงั ให้ได้รบั การศึกษาอบรม ท้งั ด้านวชิ าสามญั วชิ าชพี และให้มีความเปน็ มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ท้ังด้านรา่ งกาย จติ ใจ มคี วามพร้อมท้ัง สติปญั ญา ความรู้ ความสามารถกอ่ นออกไปใชช้ วี ิตในสงั คมภายนอก สง่ เสรมิ ให้ผตู้ อ้ งขงั มีองค์ความรู้ 29 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม ท่ีหลากหลาย สามารถศึกษาค้นควา้ หาความรจู้ ากส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในดา้ นวชิ าการและวิชาชพี สาขา ตา่ งๆ ตลอดจนใหผ้ ตู้ อ้ งขงั ไดใ้ ชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ โดยการศกึ ษาหาความรู้ ซงึ่ จะชว่ ยผอ่ นคลาย ความตงึ เครยี ด มีกำ� ลังใจ ไม่ท้อแท้ มีความหวงั ในชวี ติ มองเห็นคณุ คา่ และศกั ยภาพของตนเอง โดย ภายในเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานไดจ้ ดั บรเิ วณอาคารเรยี นสว่ นใดสว่ นหนงึ่ เปน็ หอ้ งศนู ยก์ ารเรยี นรู้ (Learning Center) ประกอบด้วยมุมเทคโนโลยี (เครือ่ งคอมพวิ เตอร์พรอ้ มเคร่อื งพมิ พ์ โทรทัศน์ เครื่องเล่น DVD และแผ่น CD วิชาชีพตา่ ง ๆ ) มุมหนงั สอื ประเภทวรรณกรรม ศาสนาต่าง ๆ วารสารแนวทางการ ประกอบอาชพี กฎหมายฯลฯ มมุ การอา่ นและการเรยี นรู้ เปน็ มมุ ทผ่ี ตู้ อ้ งขงั สามารถเขา้ มาศกึ ษาคน้ ควา้ และใชส้ ำ� หรับจัดอบรมวชิ าการ หลกั สูตรวิชาชพี ต่างๆ นอกจากกจิ กรรมทหี่ ลากหลายภายในหอ้ งสมดุ พรอ้ มปัญญาและห้องศนู ยก์ ารเรยี นร้แู ล้ว กรมราชทณั ฑ์ ยังได้มอบโอกาสทางการเรียนรู้ด้านงานศิลปะให้กับผู้ต้องขัง โดยได้จัดในรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้ต้อง ขังแตล่ ะประเภท ดงั น้ี • กิจกรรมค่ายศิลปะ ส�ำหรับกลุ่มผู้ต้องขังชาย/หญิงประเภทคดีท่ัวไป ท่ีมีโทษคงเหลือ 10-30 ปี กรมราชทณั ฑไ์ ดร้ บั สนองแนวพระราชกระแสรบั สงั่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ที่รังสรรค์ประโยชน์เอนกอนันต์ต่องานราชทัณฑ์ โดยเฉพาะการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยด้วยงานศิลปะ “ งานวาดภาพ เป็นงานศิลปะที่ท�ำใหเ้ กิดความออ่ นโยน ทางด้านจิตใจของผตู้ ้องขัง และผู้ตอ้ งขงั จะมี ความรคู้ วามสามารถในดา้ นน้ี รวมทงั้ งานศลิ ปะจะทำ� ใหม้ สี มาธิ หากจะนำ� มาสอนในเรอื นจำ� ทางศลิ ปนิ หลายทา่ นยนิ ดจี ะเขา้ มาชว่ ยเหลอื เพราะการวาดภาพเปน็ งานทส่ี รา้ งสรรคอ์ อกมาจากใจ เรยี นแลว้ จะ ท�ำให้จิตใจเยือกเย็น” (พระราชกระแสรับสั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี วัน จนั ทร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2547 เสดจ็ ฯทรงเปิดหอ้ งสมดุ พร้อมปัญญา เรือนจำ� จังหวัดนา่ น) กจิ กรรมคา่ ยศลิ ปะ กำ� หนดจัดขนึ้ ปีละ 1 ครง้ั ๆ ละ 4 วัน โดยจะคดั เลอื กผตู้ ้องขังท่มี ีความสนใจและ สมคั รใจ เขา้ รว่ มกิจกรรม ซึง่ จะมงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้ต้องไดพ้ ัฒนาความคดิ สร้างสรรค์ เรยี นรพู้ นื้ ฐานด้านศิลปะ นอกจากนนั้ ยงั รว่ มถงึ การเรยี นรทู้ จี่ ะทำ� งานรว่ มกนั กบั ผอู้ นื่ การแบง่ ปนั และการรจู้ กั ทจี่ ะเปน็ ผใู้ ห้ และ ประการส�ำคัญให้ผู้ต้องขังได้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย มีจิตใจที่อ่อนโยน เพื่อน�ำไปสู่การปรับเปล่ียน ทศั นคติในแนวทางทีถ่ ูกต้อง 2.4 การเรียนธรรมศึกษาและการนั่งสมาธิ ผตู้ อ้ งขงั เขา้ ใหม่ ควรทราบวา่ เรอื นจำ� และทณั ฑสถานทกุ แหง่ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารเรยี นการสอนดา้ นศาสนาเพอ่ื พฒั นาจิตใจผตู้ ้องขงั ทุกคน ทงั้ การนิมนต์พระมาเทศน์หรือท�ำศาสนกจิ ในวันสำ� คญั ทางศาสนา การสวดมนตเ์ ปน็ ประจำ� ทกุ วนั กอ่ นนอน การนง่ั สมาธิ นอกจากนน้ั ยงั มกี ารเรยี นการสอนทงั้ ในระดบั ธรรมศกึ ษาตรี ธรรมศกึ ษาโท ธรรมศกึ ษาเอก ตามหลกั สูตรของคณะสงฆ์และสง่ เขา้ สอบธรรมสนามหลวงประจ�ำปี โดยก�ำหนดเปิดเรียนตัง้ แต่ วนั วสิ าขบูชา (ประมาณเดือนพฤษภาคม) จนถึงกำ� หนดสอบไล่ (ประมาณเดอื นพฤศจิกายน) หมายเหตุ : ผู้ต้องขังท่ีนับถือศาสนาอ่ืนๆ ให้ปฏิบัติกิจทางศาสนาตามความเหมาะสม 30 2.5 การบรรยายธรรมะในชีวิตประจ�ำวัน/การปฏิบัติกิจทางศาสนา/การท�ำบุญตักบาตร ผตู้ อ้ งขังเข้าใหม่มักมีความรสู้ กึ เครียด วิตกกงั วลและขาดสิง่ ยึดเหน่ยี วทางจิตใจ การถูกคมุ ขงั ในเรือนจ�ำ แมว้ า่ จะไมไ่ ดม้ โี อกาสในการเขา้ วดั ทำ� บญุ ทำ� ทาน แตห่ ากเรอื นจำ� /ทณั ฑสถาน จดั กจิ กรรมทางศาสนาเพอ่ื บรรยาย ธรรม การนิมนต์พระมาเพ่ือรับบาตร มาเทศน์ให้ผู้ต้องขังได้ฟังธรรมเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญแก่การพัฒนาจิตใจผู้ต้องขัง เพอื่ ใหช้ วี ติ ในเรอื นจำ� มคี วามสงบสขุ เพราะทกุ ๆ คนอยากจะมแี ตค่ วามสขุ ความเจรญิ ดว้ ยกนั ทงั้ นน้ั แตเ่ หตทุ ท่ี ำ� ให้ คนเราไม่สามารถไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นได้ ก็เป็นเพราะว่าใจยังมืดบอดอยู่ การฟังเทศน์ฟังธรรมอย่าง สม่�ำเสมออย่างต่อเนื่อง จึงเปน็ สิง่ ท่ีสำ� คัญกบั ชีวิตจติ ใจ จะไดข้ จัดความไม่รู้ ความสงสัยทมี่ ีอยูภ่ ายในใจ ทำ� ความ เห็นให้ถูกต้อง ท�ำจิตใจใหม้ คี วามสงบร่มเยน็ เปน็ สขุ การอยู่ในเรือนจ�ำอาจเปรยี บเหมอื นกบั คนท่ีอยใู่ นทม่ี ดื จะ ไม่รวู้ ่าอะไรเป็นอะไร จะไมแ่ นใ่ จวา่ สง่ิ ทอี่ ยขู่ ้างหนา้ มองไม่เหน็ อนาคต ดงั นน้ั ตอ้ งสร้างปัญญา มีแสงสวา่ งแหง่ ธรรมจงึ จะเหน็ ได้ เนอื้ หาการบรรยายธรรม อาจเนน้ ในเรอื่ งกฎแหง่ กรรม บญุ บาป ศลี 5 การมสี ตแิ ละสมาธิ แนวทางการนำ� ธรรมมาใช้ในชวี ติ ประจำ� วนั หมายเหตุ : ผู้ต้องขังท่ีนับถือศาสนาอ่ืนๆ ให้ปฏิบัติเชิญผู้น�ำศาสนามาท�ำกิจกรรมทางศาสนาในเรือนจ�ำ/ ทัณฑสถานเชน่ เดยี วกัน 2.6 ตอบค�ำถามจากกลอ่ งสขี าว **ดำ� เนนิ การโดยการตอบคำ� ถามผู้ต้องขงั ทีม่ ีประเด็นค�ำถามใสไ่ ว้ในกลอ่ งสีขาว ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ 31 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม การอบรมหมวดที่ 3 3.1 สทิ ธิ/ประโยชนข์ องผตู้ ้องขงั การใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับสทิ ธิประโยชนข์ องผูต้ ้องขงั เปน็ ส่ิงส�ำคัญเนอ่ื งจากเปน็ การสรา้ งแรงจูงใจและกำ� ลงั ใจส�ำคัญให้ผู้ต้องขังมีความหวังและมีเป้าหมายการด�ำเนินชีวิตขณะอยู่ในเรือนจ�ำ ต้ังใจที่จะปฏิบัติตนให้เป็นไป ตามกฎระเบยี บของทางเรอื นจำ� เพอื่ ประโยชนใ์ นการไดเ้ ลอื่ นชนั้ และไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนต์ า่ งๆ เปน็ การตอบแทน อันจะท�ำให้การควบคมุ และแกไ้ ขผู้ต้องขงั เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขนึ้ ผตู้ ้องขงั คนใดมคี วามประพฤตดิ ี ขยนั ขนั แข็ง มผี ลการศกึ ษาอบรมกา้ วหน้า ท�ำงานไดผ้ ลดี หรือทำ� ความชอบใหแ้ กท่ างราชการและปฏิบตั ิตนอยู่ ในระเบียบวินัยของทางเรือนจำ� ก็อาจไดร้ บั ประโยชนอ์ ย่างใดอย่างหนง่ึ หรือหลายอย่าง ดังตอ่ ไปน้ี (1) ความสะดวกบางประการในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน เช่น การเย่ียมญาติใกล้ชิด , การท�ำกิจกรรม นันทนาการตา่ งๆ (2) เลอ่ื นชนั้ (3) ต้งั ให้เป็นผ้ชู ว่ ยเหลอื เจ้าพนกั งาน (4) การพกั การลงโทษ (5) การลดวนั ต้องโทษจำ� คุก (6) ลาไม่เกิน 4 วัน (งานศพ) **หลกั เกณฑเ์ ป็นไปตามทกี่ รมราชทัณฑก์ ำ� หนด 3.2 การเลื่อนลดช้นั /การยา้ ยผู้ต้องขงั ความสำ� คัญของการเล่ือนช้ัน ชนั้ มคี วามสำ� คญั ตอ่ นกั โทษเดด็ ขาดเปน็ อย่างมาก ในระหว่างถกู คมุ ขงั ในเรอื นจำ� นกั โทษเดด็ ขาดจะตอ้ ง พยายามประพฤตติ นใหด้ ขี นึ้ และไมก่ ระทำ� ผดิ วนิ ยั ในทางกลบั กนั หากกระทำ� ผดิ วนิ ยั จะถกู ลงโทษลดชน้ั และถกู ตัดประโยชนท์ ี่ตนพงึ จะไดร้ บั ฉะนั้น จึงใหผ้ ู้ต้องขังทกุ คนต้องรกั ษาช้ันไว้ อยา่ กระทำ� ผิดวินยั ของเรอื นจำ� ผู้ทไี่ ด้ รบั การปลอ่ ยตวั พกั การลงโทษ ลดวนั ตอ้ งโทษ และจากการออกทำ� งานสาธารณะ เปน็ การใหโ้ อกาสใชช้ วี ติ อยนู่ อก เรอื นจำ� กอ่ นท่ีจะครบก�ำหนดโทษตามคำ� พิพากษา ดังน้นั นักโทษเด็ดขาดจะตอ้ งมผี ้อู ปุ การะและมที ่ีอยแู่ นน่ อน มิฉะนน้ั จะไมไ่ ด้รบั การปลอ่ ยตัว ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่32 คุณสมบตั ิของผู้ต้องขงั ท่ีต้องการย้ายกลบั ภมู ลิ ำ� เนา 1. เป็นผ้ตู ้องขงั ตง้ั แตช่ นั้ ดีขนึ้ ไป 2. ต้องไมเ่ คยกระท�ำผิดวนิ ยั หรือมีพฤตกิ ารณ์ในการเสพยาเสพตดิ ในเรอื นจ�ำ 3. ต้องไม่มคี ดีอายัด เว้นแต่เป็นอายัดของสถานีต�ำรวจในท้องทีข่ องเรอื นจำ� /ทณั ฑสถานทจี่ ะยา้ ยไป 4. ผตู้ ้องขงั วัยหนมุ่ - ก�ำหนดโทษไม่เกิน 5 ปี ตอ้ งคุมขังทเี่ รือนจำ� ฝ่ายยา้ ยอยา่ งน้อย 6เดือน - ก�ำหนดโทษไมเ่ กนิ 10 ปี ต้องคมุ ขงั ที่เรอื นจ�ำฝ่ายยา้ ยอย่างน้อย 1 ปี - กำ� หนดโทษเกิน 10 ปี ตอ้ งคุมขังทเี่ รอื นจำ� ฝ่ายยา้ ยอย่างน้อย 2 ปี 5. ก�ำหนดโทษของผู้ต้องขังท่ีจะขอย้ายต้องไม่สูงกว่าอ�ำนาจการควบคุมของ เรือนจ�ำท่ีจะย้ายไป 6. ผูต้ อ้ งขงั วัยหนุ่มอายไุ ม่เกนิ 25 ปี ต้องย้ายไปคมุ ขังที่ทัณฑสถานวยั หนมุ่ หรือสถานแรกรบั ผ้ตู ้องขงั วยั หน่มุ ท่ใี กล้เคียงภมู ลิ ำ� เนาเดมิ 7. ผู้ต้องขังคดีพรบ.ยาเสพติด(เฉพาะเสพ) หรือผู้ต้องขังคดีอ่ืนท่ีมีพฤติการณ์ หรือมีประวัติในการเสพ ตอ้ งยา้ ยไปคุมขังทท่ี ัณฑสถานบำ� บดั พเิ ศษท่ีใกล้เคียงภูมิล�ำเนาเดมิ หลักฐาน 1. คำ� รอ้ งขอยา้ ยกลับภูมลิ ำ� เนา 2. ส�ำเนาทะเบยี นบา้ นต้นฉบับของผูต้ ้องขงั ทจี่ ะขอยา้ ยกลับภมู ลิ �ำเนา 3. กรณีญาตเิ ป็นผยู้ ่ืนคำ� ร้อง ญาติจะต้องมีชอ่ื อยใู่ นทะเบียนบา้ นเดยี วกนั กับผู้ตอ้ งขัง อยา่ งนอ้ ย 6 เดือน 4. ถา้ เปน็ สามี - ภรรยาที่ถกู ต้องตามกฎหมายจะต้องนำ� หลักฐานมาแสดง 3.3 พักโทษ/ลดวันต้องโทษ/อภัยโทษ 3.3.1 การพักการลงโทษ หมายถึง การปลดปล่อยออกไปก่อนครบก�ำหนดโทษตามค�ำพิพากษาศาลภายใต้เงื่อนไข คุม ประพฤตทิ ่ีกำ� หนด การพกั การลงโทษมใิ ช่สิทธขิ องผู้ตอ้ งขงั แตเ่ ป็นประโยชน์ทท่ี างราชการให้แกน่ ักโทษเดด็ ขาด ทมี่ คี วามประพฤติดี มคี วามก้าวหน้าทางการศกึ ษา ท�ำงานเกดิ ผลดแี กเ่ รอื นจ�ำหรอื ทำ� ความชอบแกท่ างราชการ เป็นพเิ ศษ ผู้ทีจ่ ะไดร้ ับการปลอ่ ยตัวพักการลงโทษ ตอ้ งมีคณุ สมบัติตาม พ.ร.บ.ราชทณั ฑแ์ ละกฎกระทรวงเก่ียว กบั การพกั การลงโทษ เม่อื อยู่ในเกณฑพ์ กั การลงโทษแล้ว นกั โทษเด็ดขาดจะต้องทำ� อย่างไรบา้ ง ภายหลงั จากที่เจ้าพนักงานเรอื นจำ� ไดป้ ระกาศรายชอ่ื ใหท้ ราบทัว่ กันแล้ววา่ มผี ้ใู ดบ้างอยใู่ น หลักเกณฑ์ ได้รบั การพกั การลงโทษ นักโทษเด็ดขาดจะตอ้ งปฏิบตั ดิ ังน้ี • เตรียมให้ข้อมูลท่ีถูกต้องแก่เจ้าพนักงานเรือนจ�ำท่ีเกี่ยวข้องกับตนเอง พร้อมถ่ินท่ีอยู่และแจ้งชื่อ ผู้ท่จี ะรับเปน็ ผู้อุปการะ 33 • ท�ำค�ำร้องขอคัดส�ำเนาค�ำพิพากษาผ่านเรือนจ�ำ โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมแต่อย่างใดหรือ ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม เพอื่ ความสะดวกรวดเรว็ แจง้ ใหญ้ าตไิ ปตดิ ตอ่ ขอคดั สำ� เนาคำ� พพิ ากษาจากศาลเพอ่ื สง่ ใหเ้ รอื นจำ� โดยตรง • แจ้งให้ญาติไปติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่ปกครองและเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ เพื่อขอให้รับรอง ความประพฤตติ ามเอกสาร (พ.3 หรือ พ.4 พเิ ศษ) แล้วนำ� มอบให้เรอื นจ�ำ • เมอื่ เจา้ พนกั งานเรอื นจำ� รวบรวมเอกสารครบถว้ นแลว้ จะนำ� เขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของคณะกรรมการเรอื นจำ� และสง่ เร่อื งไปยังกรมราชทัณฑ์ เพ่อื พิจารณาอนุมัติ • เมือ่ กรมราชทณั ฑ์อนมุ ตั แิ ลว้ จะแจ้งให้เรอื นจ�ำทราบเพอ่ื ท�ำการปล่อยตวั ตอ่ ไป 3.3.2 การลดวนั ตอ้ งโทษจำ� คุก ผทู้ จ่ี ะไดร้ ับการปล่อยตวั ลดวนั ตอ้ งโทษจำ� คกุ ต้องมีคณุ สมบัตติ ่อไปนี้ - เปน็ นกั โทษเดด็ ขาดทีจ่ �ำคกุ มาแลว้ ตงั้ แต่ 6 เดือนขึ้นไป ส�ำหรบั โทษจ�ำคกุ ตลอดชีวติ ต้องจ�ำมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่า 10 ปี จึงจะไดร้ ับวันลดโทษสะสม โดยจะ ลดโทษใหต้ ามช้ันของนกั โทษ คือ ชนั้ เยีย่ ม จะได้รับวันลดโทษเดือนละ 5 วนั ชน้ั ดมี าก จะไดร้ ับวันลดโทษเดือนละ 4 วนั ชั้นด ี จะได้รับวันลดโทษเดอื นละ 3 วนั เรือนจ�ำจะรวมวันลดต้องโทษสะสมของผู้ต้องขังทุกรายไว้ให้ เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการกรม ราชทณั ฑพ์ ิจารณาอนุมตั ใิ หป้ ลอ่ ยตวั เมอ่ื มีวันลดโทษสะสมเทา่ กบั โทษท่ีเหลือ การพิจารณา จะทำ� ทุกเดือนหาก ไม่ไปกระทำ� ผิดวินัยเสียก่อน การได้รบั วันลดโทษจำ� คกุ เม่อื ออกไปทำ� งานสาธารณะ ผทู้ จ่ี ะไดร้ บั การปลอ่ ยตวั ลดวนั ตอ้ งโทษจำ� คกุ เมอื่ ออกไปทำ� งานสาธารณะ นกั โทษเดด็ ขาดทไ่ี ดร้ บั อนญุ าต ใหอ้ อกไปทำ� งานสาธารณะนอกเรอื นจำ� จะไดร้ บั ประโยชนล์ ดวนั ตอ้ งโทษจำ� คกุ ใหเ้ ทา่ กบั จำ� นวนวนั ทอี่ อกไปทำ� งาน คือ ออกไปทำ� งาน 1 วนั กจ็ ะไดร้ ับวันลด 1 วนั เป็นตน้ คุณสมบตั ิของผทู้ จี่ ะได้รบั การพจิ ารณาออกไปท�ำงานสาธารณะ 1. เป็นนักโทษเด็ดขาดท่ีเหลือโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี และไม่เป็นผู้กระท�ำผิดในคดีความผิดต่อ พระมหากษตั รยิ ์ พระราชนิ ี รัชทายาท และผูส้ ำ� เร็จราชการแทนพระองค์ ความผดิ ต่อความมั่นคงของรฐั ภายใน หรือภายนอกราชอาณาจกั ร ความผดิ ตอ่ กฎหมายว่าดว้ ยยาเสพย์ติดใหโ้ ทษ ส่วนความผิดอื่นๆ นอกจากท่กี ล่าวนี้ ทำ� งานสาธารณะไดท้ ั้งนน้ั 2. จะตอ้ งเหลอื โทษจำ� คุกตามระยะเวลาในแตล่ ะชั้นของผตู้ อ้ งขัง ดงั นี้ - ช้ันเย่ียม จ�ำคกุ มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 5 - ช้ันดมี าก จำ� คุกมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 1 ใน 4 - ชัน้ ดี จ�ำคกุ มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ใน 3 - ชนั้ กลาง จำ� คกุ มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 1 ใน 2 การทนี่ กั โทษเดด็ ขาดคนใดไดอ้ อกไปทำ� งานสาธารณะหรอื ไมน่ นั้ ตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการ คดั เลอื กของเรือนจำ� เสยี กอ่ น ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่34 3.3.3 การอภยั โทษ การพระราชทานอภยั โทษ มี 2 ประเภท 1.) การพระราชทานอภยั โทษเฉพาะราย - ในคดีทั่วไป ผู้ต้องโทษและผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้อง มีสิทธิยื่นเรื่องทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอ พระราชทานอภัยโทษได้ทนั ทีที่คดีถงึ ทส่ี ดุ - ในคดโี ทษประหารชวี ติ ตอ้ งยนื่ ภายใน 60 วนั นบั แตค่ ดถี งึ ทส่ี ดุ ผมู้ สี ทิ ธยิ น่ื เรอื่ งราวทลู เกลา้ ฯ ถวายฎีกา - ผู้ตอ้ งโทษคดีถึงทีส่ ดุ ทกุ คน - ผทู้ มี่ ปี ระโยชนเ์ กย่ี วข้อง อาทิ บดิ า มารดา บุตร คสู่ มรส ฯลฯ - สถานทตู (กรณีนกั โทษชาวต่างชาติ) หมายเหตุ ทนายความไมถ่ อื วา่ เปน็ ผมู้ ปี ระโยชนเ์ กยี่ วขอ้ ง สง่ิ ทต่ี อ้ งใชใ้ นการยน่ื ฎกี าทลู เกลา้ ฯ ขอพระราชทานอภัยโทษ ส่ิงท่ีต้องใชใ้ นการย่ืนฎกี าทูลเกลา้ ฯ ขอพระราชทานอภยั โทษ - เร่ืองราวทลู เกลา้ ฯ ลงลายมอื ช่อื ผู้เขียน - เอกสารหลักฐาน ประกอบข้ออ้างในฎีกาทูลเกล้า เช่น หนังสือรับรองความประพฤติใน กรณที ำ� ความดคี วามชอบ บำ� เพญ็ ประโยชน์ การศกึ ษาอบรม ใบรบั รองแพทยก์ รณเี จบ็ ปว่ ย พกิ าร มคี วามบกพรอ่ งทางจิตใจและอารมณ์ ฯลฯ - สำ� เนาคำ� พพิ ากษาทกุ ชน้ั ศาล - เอกสาร หลกั ฐานอื่นๆ เชน่ แบบสอบสวนเร่อื งราวขอพระราชทานอภยั โทษ สำ� เนาหมาย จำ� คุกเม่อื คดีถึงทีส่ ดุ ฯลฯ - เรอื นจ�ำ/ทัณฑสถาน จะด�ำเนนิ การรวบรวมเอกสารขา้ งตน้ ไปยงั กรมราชทณั ฑ์ เพ่ือเสนอ ความเห็นให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมน�ำความกราบบังคับทูลฯ ผ่านส�ำนัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี และส�ำนักราชเลขาธิการเม่ือทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยเช่นไร ก็จะส่งผลฎีกาดังกล่าวให้กรมราชทัณฑ์ทราบและด�ำเนินการ ซ่ึงกรมราชทัณฑ์จะรีบ แจ้งผลใหผ้ ้ยู ่ืนเรือ่ งราวทูลเกลา้ ฯ ถวายฎีกาทราบโดยเรว็ 2.) การพระราชทานอภัยโทษเป็นการทวั่ ไป ผตู้ อ้ งโทษคดถี งึ ทส่ี ดุ จะไดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ พระราชทานอภยั โทษในวโรกาสมหามงคล ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ห์ รอื เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ของบา้ นเมอื ง โดยทางราชการจะดำ� เนนิ การให้ ในทุกข้ันตอน 35 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 3.4 การใหก้ ารช่วยเหลือและสงเคราะห์ เรือนจ�ำและทัณฑสถานทุกแห่งจะมีฝ่าย/ส่วนสงเคราะห์ผู้ต้องขังที่มีหน้าท่ีช่วยเหลือหรือ จัดหาสวัสดิการต่างๆ ให้กับผู้ต้องขังภายในเรอื นจำ� ตงั้ แตร่ บั ตวั เข้ามาจนกระทง่ั พน้ โทษกลบั สสู่ งั คม ทง้ั ใน กรณที ผ่ี ตู้ อ้ งขงั ไมม่ ญี าตมิ าเยยี่ ม, ผตู้ อ้ งขงั ทม่ี ฐี านะยากจน, ผตู้ อ้ งขงั พกิ าร ผตู้ อ้ งขงั ชรา , การขอรบั ทนุ การศกึ ษา บุตร ฯลฯ โดยประสานงานขอรับการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่ง ผู้ต้องขังทุกคนสามารถขอรับความช่วยเหลือได้โดยตรง หรือกรอกแบบฟอร์มขอรับความช่วยเหลือ ตามท่ีเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานก�ำหนด 3.5 การเลี้ยงอาหาร/การเบกิ จ่ายเงนิ ซ้อื ของ/การฝากเงิน ผู้ต้องขังทุกคนจะได้รับการจัดเลี้ยงอาหารวันละ 3 ม้ือ อย่างเพียงพอ หากแต่ผู้ต้องขังคนใดท่ีต้องการ ซื้ออาหารรับประทาน ก็สามารถท�ำได้ โดยทุกเรือนจ�ำ/ทัณฑสถานมีร้านสงเคราะห์ผู้ต้องขัง ท�ำหน้าที่ อ�ำนวย ความสะดวกเกีย่ วกบั สง่ิ อปุ โภค บรโิ ภค ทจี่ ำ� เป็น โดยการจัดซอ้ื สงิ่ ของอุปโภค บรโิ ภค มาจ�ำหนา่ ยใหก้ บั ผตู้ ้องขงั ในราคาเดยี วกบั ทอ้ งตลาดทว่ั ไป โดยไมม่ งุ่ เนน้ ในเชงิ พาณชิ ย์ และนำ� รายไดท้ ไ่ี ดม้ าจากการจำ� หนา่ ยสนิ คา้ มาพฒั นา เรอื นจำ� และเปน็ สวสั ดกิ ารแกผ่ ตู้ อ้ งขงั ในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ตดิ ตงั้ เครอื่ งกรองนำ้� ดมื่ ใหก้ บั ผตู้ อ้ งขงั ปรบั ปรงุ อา่ งอาบนำ้� จัดท�ำห้องสุขาเพ่ิม จัดซื้อพัดลมติดในห้องนอน จัดซ้ือโทรทัศน์และเช่าวีดีโอให้ผู้ต้องขังชมทุกวันเพื่อผ่อนคลาย ความตึงเครียด เปน็ ตน้ ทั้งนญ้ี าตสิ ามารถฝากเงินใหก้ ับผูต้ อ้ งขังเพอ่ื ไวใ้ ช้จ่ายในเรือนจำ� ได้ กฎระเบยี บของรา้ นสงเคราะหผ์ ตู้ ้องขัง ผ้ตู ้องขงั สามารถซื้อสนิ คา้ ไดว้ ันละไม่เกิน 200 บาท/วัน (บางแห่งวันละไมเ่ กนิ 300 บาท/วนั ) ผู้ตอ้ งขงั ต้องมาซื้อสนิ คา้ ดว้ ยตนเองไมส่ ามารถให้ผู้ต้องขงั คนอ่ืนมาซ้อื สนิ ค้าแทนได้ 3.6 การอบรมโปรแกรมเฉพาะในการพฒั นาพฤตนิ ิสยั โปรแกรมการแก้ไขผูต้ ้องขัง แบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. แกไ้ ขฟน้ื ฟขู นั้ พน้ื ฐานไดแ้ กก่ ารฝกึ วชิ าชพี การใหก้ ารศกึ ษาทงั้ สายสามญั สายอาชพี การอบรมศลี ธรรม กจิ กรรมทางศาสนา สวสั ดกิ ารนันทนาการตา่ งๆเป้าหมายกลมุ่ ผตู้ ้องขงั ทั้งหมด 2. แกไ้ ขฟนื้ ฟูเฉพาะ มงุ่ เนน้ แตล่ ะความผดิ มุ่งปรับเปล่ียนทศั นคติและพฤตกิ รรมของผกู้ ระทำ� ผดิ โดยมี หลกั สตู รในการใหค้ วามรู้ ฝกึ ทกั ษะ ใชก้ ระบวนการกลมุ่ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการปรบั เปลยี่ น เชน่ คดคี วาม ผดิ เกยี่ วกบั เพศ เกยี่ วกบั ชวี ติ และรา่ งกาย เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ เปน็ ตน้ นอกจากนยี้ งั อาจทำ� ไดใ้ นลกั ษณะ เปน็ สวสั ดิการ เช่น ผู้สงู อายุ ผู้ปว่ ย โรคจติ ชาวตา่ งชาติ เปน็ ต้น ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่36 3. การแกไ้ ขฟนื้ ฟูย่อยเป็นโปรแกรมระยะสนั้ 1-2 วัน เพอื่ ฝึกทักษะ ให้ความรู้ แนะน�ำเฉพาะด้าน เฉพาะทาง เชน่ ผกู้ ระทำ� ผดิ ซำ�้ ซาก การจดั การกบั ความโกรธ ทกั ษะการหางานทำ� ทกั ษะสมั ภาษณเ์ พอ่ื เขา้ ทำ� งาน การฝกึ วิชาชพี ระยะส้ัน เป็นตน้ เน่ืองจากการแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังด้วยโปรแกรมการแก้ไขฟื้นฟูพ้ืนฐานยังไม่ได้ลงลึกถึงสาเหตุและ มลู เหตุจงู ใจ ตลอดจนพฤตกิ รรมในการกระทำ� ผิดชอบผู้ตอ้ งขังแตล่ ะประเภทแตล่ ะบคุ คลซ่ึงมีความแตกต่างกนั กรมราชทณั ฑจ์ งึ ไดม้ กี ารพฒั นาโปรแกรมการแกไ้ ขฟน้ื ฟขู นึ้ มาอกี ระดบั หนง่ึ เปน็ โปรแกรมการแกไ้ ขฟน้ื ฟู เฉพาะ ทมี่ งุ่ ปรบั เปลย่ี นทศั นคตแิ ละพฤตกิ รรมของผตู้ อ้ งขงั โดยเฉพาะพฤตกิ รรมอาชญากร ซง่ึ จะมหี ลกั สตู รเฉพาะ ในการใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ทกั ษะรวมทง้ั การใชก้ ระบวนการกลมุ่ เปน็ เครอื่ งมอื ในการปรบั เปลย่ี นทศั นคติ พฤตกิ รรม ผตู้ อ้ งขงั แต่ละกล่มุ แต่ละบคุ คลตามความเหมาะสม เชน่ โปรแกรมการแกไ้ ขผกู้ ระทำ� ผดิ ทางเพศโปรแกรมการ แก้ไขผู้กระท�ำผิดเก่ียวกับทรัพย์ โปรแกรมการแก้ไขผู้ค้ายาเสพติดรายย่อย และโปรแกรมการปรับพฤติกรรม ผกู้ ระทำ� ผดิ ท่ีใชค้ วามรนุ แรง เปน็ ต้น โปรแกรมการแกไ้ ขฟน้ื ฟเู ฉพาะน้ี อาจแยกตามประเภทคดหี รอื แยกตามพฤตกิ รรมของผตู้ อ้ งขงั กไ็ ด้ ทงั้ น้ี ข้ึนอยู่กับวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั โปรแกรมว่าจะมงุ่ แก้ไขฟ้ืนฟผู ูต้ อ้ งขังกลุม่ ใด ตวั อยา่ งการจดั โปรแกรมแก้ไขฟืน้ ฟูผู้ตอ้ งขงั เฉพาะกลมุ่ โปรแกรมการแกไ้ ขผู้ค้ายาเสพตดิ รายยอ่ ย ผตู้ อ้ งขงั ในคดคี า้ ยาเสพตดิ รายยอ่ ยทกี่ ระทำ� ผดิ โดยความจำ� เปน็ สว่ นใหญจ่ ะกระทำ� ผดิ เพราะปญั หาทาง เศรษฐกจิ และการมีทศั นคตแิ ละค่านิยมทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ดังนัน้ การแกไ้ ขฟ้นื ฟุผตู้ อ้ งขังกลุ่มน้ี จึงตอ้ งเน้น แก้ไขฟ้นื ฟูใน 3 สว่ น คือ 1. สว่ นแรกจะเน้นการฝึกอาชีพตามความถนัดเป็นกลุ่มหรอื เป็นรายบุคคลใหม้ ีความรู้และทักษะในการ ประกอบอาชพี เพือ่ จะไดม้ อี าชีพรองรับหลงั พ้นโทษและไม่กลับไปกระทำ� ผดิ ซำ�้ อกี 2. สว่ นทส่ี องจะเนน้ การฝกึ จติ ใจและการปรบั ทศั นคติ คา่ นยิ ม ใหม้ สี มั มาอาชวี ะ และรกั การทำ� งานสจุ รติ โดยอาศยั หลกั สตู รการอบรมผา่ นกระบวนการกลมุ่ เพอื่ ปรบั เปลยี่ นทศั นคตกิ ารสรา้ งวนิ ยั เพอ่ื สมาชกิ ไดย้ ึดตดิ และเกดิ การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรม 3. สว่ นทส่ี ามคอื การปรบั สภาพแวดลอ้ ม เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ มเปน็ สง่ิ สำ� คญั แมต้ ง้ั ใจจะกระทำ� ดหี าก สภาพแวดล้อมไมเ่ อ้อื อำ� นวยกอ็ าจเป็นอปุ สรรคได้ 37 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม การอบรมหมวดที่ 4 4.1 การให้ความรู้ดา้ นกฎหมายและการให้คำ� ปรึกษาดา้ นคดคี วาม เมื่อผู้กระทำ� ผิดดงั กล่าวเข้าสกู่ ารด�ำเนนิ คดตี ามกระบวนการยุติธรรม ไมว่ า่ จะอยู่ในข้นั ก่อนฟ้องคดี แล้วไม่ได้รับการประกันตัวหรืออยู่ในข้ันฟ้องคดีแล้ว ตลอดจนศาลมีค�ำพิพากษาถึงท่ีสุดให้จ�ำคุกก็ตาม การเข้า มาอยู่ในเรือนจ�ำ/ทัณฑสถาน ท�ำให้ผู้น้ันขาดซ่ึงอิสรภาพและโอกาสที่จะปรึกษาในการด�ำเนินคดีหรือเร่ืองอ่ืน ๆ ซ่ึงจะท�ำให้บุคคลเหล่านี้ขาดไปซึ่งสิทธิบางอย่างที่ควรจะได้หรือควรจะรู้ อาทิ สิทธิต่าง ๆ ที่ควรทราบ ณ ขณะจับกุม ขั้นตอนการต่อสู้คดีในกระบวนการยุติธรรม การขอประกันตัว ตลอดจนเสร็จส้ินกระบวนการ ในชน้ั ศาล ดงั นั้น ผตู้ ้องขงั เขา้ ใหมส่ ว่ นใหญม่ คี วามเครยี ดและวิตกกังวลเก่ียวกับคดคี วาม และตอ้ งการท่ปี รึกษา ซงึ่ ส่วนใหญ่ในระยะเวลาทผ่ี ่านมา ผู้ต้องขังมกั ปรึกษากันเองจากผู้ตอ้ งขงั ที่อยู่มากอ่ น น�ำไปสู่การหลอกลวงหรือ แสวงหาผลประโยชน์ต่างๆ จากผู้ต้องขังเข้าใหม่ จนเกิดปัญหาอ่ืนๆ ตามมา ดังน้ัน เรือนจ�ำและทัณฑสถาน ทกุ แหง่ ควรจดั ใหม้ นี กั กฎหมาย เขา้ มาใหค้ วามรแู้ ละคำ� แนะนำ� ทถ่ี กู ตอ้ งในดา้ นคดี อาจเปน็ เจา้ หนา้ ทซ่ี งึ่ ทำ� หนา้ ท่ี นติ กิ รของเรือนจำ� หรือเชญิ ทนายความจากองคก์ รภายนอกเขา้ มาใหค้ วามร้ใู นเรอื นจำ� 4.2 กจิ กรรมทกั ษะผอ่ นคลาย การฝึกหายใจที่ถกู ตอ้ ง วัตถุประสงค์ของกิจกรรม 1. เพื่อให้ผู้ต้องขังท่ีเข้ารับการอบรมเข้าใจการหายใจที่ถูกต้องและน�ำไปปฏิบัติ 2. เพ่ือให้ผู้ต้องขังรู้สึกผ่อนคลายจากการเข้าร่วมกิจกรรม และรู้จักช่วยเหลือตนเองเม่ือ เกิดความรู้สึกเครียด เคร่ืองมือ/สื่อท่ีใช้ในการจัดกิจกรรม คลิปการฝกึ หายใจด้วยทอ้ ง การหายใจใหถ้ ูกวิธี คนเราหายใจวันละประมาณ 20,000 ครัง้ แตส่ ว่ นใหญ่ไม่รู้ วา่ ตวั เองหายใจอยา่ งไร หลายคนคงเคยไดย้ นิ คำ� แนะนำ� ทว่ี า่ เวลารสู้ กึ ไมส่ บายใจให้สดู ลมหายใจเขา้ ลกึ ๆ แลว้ นบั หนง่ึ ถึงสิบ เพ่ือใหม้ ีเวลา ตงั้ สติ ปรับอารมณ์ใหส้ งบลงกอ่ นจะคดิ ตดั สินใจท�ำอะไรลงไป เวลาเครยี ด คนเรามกั จะ ‘หายใจโดยใชท้ รวงอก’ (กลา้ มเนอื้ ระหวา่ ง ซโี่ ครง) ซ่งึ เปน็ การหายใจทต่ี ื้น ถ่ีเรว็ และไมส่ ม่�ำเสมอ อากาศจะเข้า สูป่ อดน้อยลง ทำ� ให้หวั ใจต้องเตน้ เรว็ ขึ้น และมกี ารเกร็งตัวของกล้าม เน้อื ในส่วนต่าง ๆ 38 การหายใจโดยใชท้ รวงอก ยงั อาจเกดิ ขนึ้ ได้โดยไมร่ ้ตู วั เช่น ในขณะท่เี รานัง่ ท�ำงาน หรือดทู ีวี การหายใจ แบบน้ีจะท�ำใหเ้ ราเครียดได้งา่ ย แทนที่จะรสู้ กึ ผ่อนคลาย การหายใจอีกแบบหน่งึ ทด่ี ีกวา่ คือ ‘การหายใจด้วยท้อง’ (กล้ามเน้อื กระบงั ลมในช่องทอ้ ง) การหายใจ ดว้ ยท้องทถี่ กู วธิ ี จะทำ� ให้ลมหายใจ ลึก ช้า และสม�ำ่ เสมอ ทำ� ให้ระบบการหายใจทำ� งานอยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ น�ำพาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้เต็มท่ี ช่วยลดการเต้นของหัวใจและลดความดันโลหิตลง ช่วยให้เรารู้สึกสงบ ผอ่ นคลายมากกวา่ การหายใจดว้ ยทรวงอก ขั้นตอนการฝึกหายใจดว้ ยทอ้ ง ➢ นอนราบไปกบั พนื้ หรอื นงั่ ในทา่ ท่ีผ่อนคลาย ไม่กอดอกหรือไขวห่ า้ ง ➢ หลับตา จดจ่อความรู้สกึ อยกู่ บั ลมหายใจ รับรู้ยามลมหายใจผ่านเข้าออกรูจมกู ➢ วางมือขา้ งหน่ึงบนอกและวางอกี ข้างที่บรเิ วณท้อง ➢ ดงึ ลมหายใจเขา้ สูช่ อ่ งท้อง จนมอื ขา้ งท่ีวางบริเวณทอ้ งรู้สกึ ได้ถึงการทที่ อ้ งขยายพองข้นึ ➢ จากนัน้ เมือ่ หายใจออก ทอ้ งกจ็ ะคอ่ ยๆ ยบุ ลง หายใจเข้า = ทอ้ งพอง หายใจออก = ทอ้ งยบุ ➢ อยูใ่ นสภาวะเช่นนค้ี รหู่ น่ึง ปลอ่ ยลมหายใจเข้าออกตามสบาย ➢ หมน่ั ฝึกฝนเป็นประจ�ำ ทกุ ครง้ั ทพ่ี บกบั ปญั หาหรอื รสู้ กึ เครยี ด ลองกลบั มาอยกู่ บั ลมหายใจ และหายใจดว้ ยทอ้ ง รา่ งกายและจติ ใจ จะผอ่ นคลายลงจนเหน็ ได้ชดั เมื่อรสู้ กึ ดีข้นึ กจ็ ะมีความพรอ้ มในการคิดแกป้ ัญหาต่าง ๆ ได้ดีข้นึ ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่ 4.3 การเข้าใจอารมณ์และความเครยี ด วัตถุประสงค์ของกิจกรรม 1. เพื่อให้ผู้ต้องขังที่เข้ารับการอบรมทราบระดับความเครียดของตนเอง 2. เพื่อให้ผู้ต้องขังรู้จักการประเมินความเครียดและผลกระทบที่เกิดข้ึนกับร่างกายจาก ความเครียด 39 เคร่ืองมือ/สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรม แบบประเมินความเครยี ด ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม แบบประเมินความเครยี ด (ST- 5) ความเครียดเกิดข้ึนได้กับทุกคน สาเหตุท่ีท�ำให้เกิดความเครียดมีหลายอย่าง เช่น รายได้ที่ไม่เพียงพอ หน้ีสิน ภัยพิบัติต่างๆ ที่ท�ำให้เกิดความสูญเสีย ความเจ็บป่วย เป็นต้น ความเครียดมีท้ังประโยชน์และโทษ หากมากเกินไปจะเกิดผลเสียต่อร่างกายและจิตใจของท่านได้ขอให้ท่านลองประเมินตนเองโดยให้ คะแนน 0- 3 ท่ีตรงกบั ความรู้สกึ ของทา่ น คะแนน 0 หมายถงึ เปน็ น้อยมากหรือแทบไมม่ ี คะแนน 1 หมายถึง เป็นบางครัง้ คะแนน 2 หมายถงึ เป็นบ่อยครั้ง คะแนน 3 หมายถงึ เปน็ ประจำ� ขอ้ ท่ี อาการหรอื ความรสู้ กึ ทเ่ี กิดในระยะ คะแนน 2 - 4 สัปดาห์ 0123 มีปญั หาการนอน นอนไมห่ ลับหรือนอนมาก 2 มสี มาธนิ อ้ ยลง 3 หงดุ หงดิ / กระวนกระวาย / วา้ วุน่ ใจ 4 รูส้ กึ เบื่อ เซ็ง 5 ไม่อยากพบปะผ้คู น คะแนนรวม การแปลผล คะแนน 0 – 4 เครยี ดนอ้ ย คะแนน 5 – 7 เครียดปานกลาง คะแนน 8 – 9 เครียดมาก คะแนน 10 – 15 เครยี ดมากทสี่ ุด ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่40 ความเครยี ดกบั อาการทางกาย ความเครียดสามารถเกิดได้ทุกแห่งทุกเวลาอาจเกิดจากสาเหตุภายนอก เช่น การย้ายบ้าน เปลี่ยนงาน ความเจ็บป่วย การหย่าร้าง ภาวะวา่ งงาน ความสมั พันธก์ บั เพอ่ื น ครอบครัว ความเครียดเปน็ ระบบเตอื นภัยของ รา่ งกายใหเ้ ตรยี มพรอ้ มท่ีกระทำ� สงิ่ ใดส่ิงหน่งึ การมคี วามเครียดน้อยเกนิ ไปและมากเกนิ ไปไม่เปน็ ผลดตี ่อสุขภาพ ส่วนใหญ่เข้าใจว่าความเครียดเป็นส่ิงไม่ดีมันก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดกล้ามเน้ือ หัวใจเต้นเร็ว แน่นท้อง มือเท้าเย็น แตค่ วามเครียดก็มีสว่ นดีเชน่ ความตนื่ เตน้ ความทา้ ทายและความสนุก สรปุ แล้วความเครียดคอื สงิ่ ทม่ี าท�ำให้เกิดการเปลย่ี นแปลงชวี ติ ซึ่งมที ั้งผลดแี ละผลเสยี ชนดิ ของความเครียด 1. Acute stress คอื ความเครยี ดทีเ่ กิดขน้ึ ทันทแี ละร่างกายก็ตอบสนองตอ่ ความเครยี ดนั้นทนั ทเี หมือน กนั โดยมกี ารหลง่ั ฮอรโ์ มนความเครยี ด เมอ่ื ความเครยี ดหายไปรา่ งกายกจ็ ะกลบั สปู่ กตเิ หมอื นเดมิ ฮอรโ์ มนกจ็ ะกลบั สู่ปกติ ตัวอย่างความเครียด - เสยี ง - อากาศเยน็ หรอื รอ้ น - ชมุ ชนที่คนมากๆ - ความกลัว - ตกใจ - หิวขา้ ว - อันตราย 2. Chronic stress หรอื ความเครียดเร้อื รังเป็นความเครยี ดท่เี กดิ ข้ึนทกุ วันและรา่ งกายไมส่ ามารถตอบ สนองหรอื แสดงออกตอ่ ความเครยี ดนน้ั ซงึ่ เมอ่ื นานวนั เขา้ ความเครยี ดนน้ั กจ็ ะสะสมเปน็ ความเครยี ดเรอ้ื รงั ตวั อยา่ ง ความเครียดเรื้อรงั - ความเครียดทที่ ำ� งาน - ความเครียดที่เกดิ จากความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคล - ความเครยี ดของแม่บ้าน - ความเหงา ผลเสียต่อสขุ ภาพ ความเครียดเป็นส่ิงปกติท่ีสามารถพบได้ทุกวัน หากความเครียดนั้นเกิดจากความกลัวหรืออันตราย ฮอรโ์ มนที่หลั่งออกมาจะเตรยี มให้ร่างกายพรอ้ มท่จี ะต่อสู้ อาการทีป่ รากฏกเ็ ป็นเพียงทางกายเช่นความดันโลหติ สงู ใจสนั่ แตส่ ำ� หรบั ชวี ติ ประจำ� วนั จะมสี กั กค่ี นทจ่ี ะทราบวา่ เราไดร้ บั ความเครยี ดโดยทเี่ ราไมร่ ตู้ วั หรอื ไมม่ ที างหลกี เล่ยี ง การทีม่ ีความเครียดสะสมเร้ือรังทำ� ใหเ้ กิดอาการทางกาย และทางอารมณ์ 41 โรคทางกายที่เกิดจากความเครียด ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม - โรคทางเดินอาหาร - โรคปวดศีรษะไมเกรน - โรคปวดหลงั - โรคความดนั โลหติ สูง - โรคหลอดเลือดสมอง - โรคหวั ใจ - ติดสุรา - โรคหอบหดื - ภูมิคุ้มกันต่ำ� ลง - เป็นหวดั ง่าย - อุบตั ิเหตุขณะทำ� งาน - การฆา่ ตัวตายและมะเร็ง ผู้ที่มีความเส่ยี งตอ่ โรคทเี่ กิดจากความเครยี ด คณุ มคี วามเครยี ดหรอื ไม่ ถามตวั คณุ เองวา่ มีอาการเหล่านี้หรือไม่ อาการแสดงทางรา่ งกาย มึนงง ปวดตามกลา้ มเน้อื กดั ฟัน ปวดศรี ษะ แนน่ ท้อง เบื่ออาหาร นอนหลับ อาการแสดงทางด้านจติ ใจ ยาก หัวใจเตน้ เรว็ หูอือ้ มือเย็น ออ่ นเพลยี ท้องรว่ ง ทอ้ งผูก จกุ ท้อง มึนงง เสยี งดังในหู คล่นื ไสอ้ าเจียน หายใจไมอ่ ่ิม ปวดทอ้ ง วิตกกังวล ตดั สนิ ใจไมด่ ี ขี้ลืม สมาธิส้ัน ไม่มีความคิดรเิ ร่มิ ความจ�ำไม่ดี ไม่ สามารถเรียนรู้สิ่งใหมๆ่ โกรธง่าย วติ กกงั วล รอ้ งไห้ ซมึ เศร้า ทอ้ แท้ หงุดหงดิ ซมึ เศรา้ มองโลกในแง่ อาการแสดงทางดา้ นอารมณ์ รา้ ย นอนไมห่ ลับ กัดเล็บหรือดงึ ผมตัวเอง อาการแสดงทางพฤติกรรม รบั ประทานอาหารเกง่ ตดิ บุหรี่สุรา โผงผาง เปล่ยี นงานบอ่ ย แยกตัว การแก้ไข เมอ่ื อยู่ในภาวะทเี่ ครียดมาก หากท่านมีอาการเครียดมากและแสดงออกทางร่างกายดังนี้ - ออ่ นแรงไม่อยากจะทำ� อะไร - มอี าการปวดตามตวั ปวดศีรษะ - วติ กกงั วล - มีปัญหาเรอื่ งการนอน - ไม่มคี วามสุขกับชีวติ - เป็นโรคซึมเศร้า ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่42 ใหท้ ่านปฏิบตั ิตามค�ำแนะนำ� 10 ประการ (ปรบั ตามคูม่ อื การช่วยเหลอื ของกองแพทย์) 1. ใหน้ อนเป็นเวลาและต่ืนเปน็ เวลา เมอ่ื ภาวะเครียดมากจะทำ� ให้ความสามารถในการกำ� หนดเวลาของ ชวี ติ เสยี ไป ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หานอนไมห่ ลบั หรอื ตน่ื งา่ ย การกำ� หนดเวลาหลบั และเวลาตน่ื จะทำ� ใหน้ าฬกิ า ชวี ิตเริม่ ทำ� งาน และเมอ่ื ความเครียดลดลง ก็สามารถทีจ่ ะหลบั ได้เหมือนปกติ ในการปรับตวั ใชเ้ วลา ประมาณ 3 สัปดาห์ บางครงั้ เมอื่ ไปนอนแลว้ ไม่หลับเป็นเวลา 45 นาที ใหห้ าหนังสือมาอา่ น เมือ่ งว่ ง ก็ไปหลับ ข้อส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือให้ร่างกายได้รับแสงแดดยามเช้า เพื่อส่งสัญญาณให้ร่างกาย ปรบั เวลา 2. หากเกดิ อาการดังกล่าวตอ้ งจดั เวลาใหร้ า่ งกายไดพ้ ัก 3. การรับประทานอาหารให้รับประทานผกั ให้มากเพราะจะทำ� ให้สมองสร้าง serotonin เพิม่ สารตัวนี้ จะช่วยลดความเครยี ด และควรจะไดร้ ับวิตามนิ และเกลอื แรใ่ นปริมาณที่เพียงพอ 4. ใหอ้ อกกำ� ลังกายอยา่ งสม�่ำเสมอ หากปฏบิ ตั ิตามวิธดี งั กลา่ วแลว้ ยังมีอาการของความเครยี ดใหป้ รึกษาแพทย์ ขอ้ เทจ็ จริงเกี่ยวกับความเครยี ด - ความเครียดเหมือนกันทุกคนหรือไม่ สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความเครียดในแต่ละคนไม่เหมือนกันและ การตอบสนองตอ่ ความเครยี ดกแ็ ตกตา่ งในแตล่ ะคน - ความเครียดเป็นสิ่งไม่ดีจริงหรือไม่ ความเครียดเปรียบเหมือนสายกีตาร์ ตึงไปก็ไม่ดี หย่อนไปเสีย กไ็ ม่ไพเราะ เช่นกนั เครียดมากก็มีผลต่อสขุ ภาพเครยี ดพอดจี ะช่วยสรา้ งผลผลิต และความสขุ - จรงิ หรอื ไมท่ คี่ วามเครยี ดมอี ยทู่ กุ แหง่ คณุ ไมส่ ามารถจดั การกบั มนั ได้ แมว้ า่ จะมคี วามเครยี ดทกุ แหง่ แต่ คุณสามารถวางแผนท่จี ะจัดการกบั งาน ลำ� ดับความสำ� คญั ความเร่งดว่ นของงานเพื่อลดความเครียด - จริงหรือไม่ท่ีไม่มีอาการคือไม่มีความเครียด ไม่จริงเนื่องจากอาจจะมีความเครียดโดยที่ไม่มีอาการ กไ็ ด้และความเครียดจะสะสมจนเกินอาการ - ควรใหค้ วามสนใจกบั ความเครยี ดทม่ี อี าการมากๆใชห่ รอื ไม่ เมอื่ เรมิ่ เกดิ อาการความเครยี ดแมไ้ มม่ าก ก็ต้องให้ความสนใจ เช่นอาการปวดศีรษะ ปวดท้องเพราะอาการเพียงเล็กน้อยจะเตือนว่าคุณต้อง เปลยี่ นแปลงวิธีการดำ� เนินชีวติ เพอ่ื ลดความเครียด - ความเครียดคือโรคจิตใช่หรือไม่ ไม่ใช่เน่ืองจากโรคจิตจะมีการแตกแยกของความคิด บุคลิกภาพ เปล่ียนไปไมส่ ามารถด�ำเนินชีวิตเหมือนคนปกติ - ขณะทม่ี คี วามเครยี ดคณุ สามารถทำ� งานไดอ้ กี แตค่ ณุ ตอ้ งจดั ลำ� ดบั กอ่ นหลงั และความสำ� คญั ของงาน - ไมเ่ ชอื่ วา่ การเดินจะช่วยผอ่ นคลายความเครียด การเดินจะชว่ ยผอ่ นคลายความเครยี ดน้นั - ความเครียดไมใ่ ช่ปญั หาเพราะเพียงแคส่ ูบบุหร่ีความเครียดกห็ ายไป การสบู บหุ ร่หี รือดืม่ สุราจะท�ำให้ ลมื ปัญหาเทา่ นนั้ นอกจากไม่สามารถแก้ปัญหาแลว้ ยังก่อให้เกดิ ปญั หาตอ่ สขุ ภาพในระยะยาวอกี ด้วย 43 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 4.4 คุยกนั เร่ืองความสุขกบั ชวี ติ วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม 1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมไดส้ นกุ กบั การเสย่ี งทายความสขุ ในชวี ติ แตแ่ ฝงไวด้ ว้ ยสาระในชวี ติ และคำ� ถาม ชวนคิดทีใ่ ห้แงม่ ุมดีๆ 2. เพื่อให้ทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้มีโอกาสตอบค�ำถามชวนคิดของทุกคนร่วมกัน และแลกเปล่ียน ประสบการณ์เพอื่ กระตุ้นให้เกิดความรู้สกึ มสี ว่ นร่วมและทบทวนถึงชีวติ ตนเองไปพร้อมๆกนั อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการทำ� กิจกรรม 1. เครื่องมอื เซียมซคี วามสุข 2. ใบทำ� นายความสุข ชน้ั ตอนของกจิ กรรม 1. ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมออกมาเสี่ยงเซียมซที ีละคนวา่ ไดเ้ ลขอะไร (เลข 1-24) (ภาคผนวก6 หนา้ 92) 2. แต่ละคนรบั ใบเซียมซขี องตนเอง และออกมาอา่ นให้เพือ่ นๆ ฟัง 3. แบง่ กลมุ่ อภปิ รายวา่ ตรงกนั กบั ตวั เราหรอื ไม่ และใหต้ ง้ั คำ� ถามชวนคดิ ใหท้ กุ คนมสี ว่ นรว่ มในการตอบคำ� ถาม 4. วิทยากรสรุปสาระส�ำคญั ของการท�ำกิจกรรม หมายเหตุ ส�ำหรับผู้เข้ารับการอบรมท่ีนับถือศาสนาอิสลามหรือศาสนาอื่นๆ ให้วิทยากรอธิบายท�ำความเข้าใจกับ ผเู้ ข้ารบั การอบรมวา่ กิจกรรมนี้ มใิ ช่เปน็ ไปเพ่อื ประกอบกิจกรรมตามความเชือ่ ในหลักศาสนา เป็นเพียงกจิ กรรม ที่ท�ำให้ทุกคนได้ลองทบทวนความสุขในชีวิต และต้ังค�ำถามกับตนเองถึงการด�ำเนินชีวิตท่ีผ่านมา และสิ่งที่จะ ดำ� เนนิ ตอ่ ไปเพือ่ ใหช้ ีวิตตอ่ จากน้ี เต็มไปดว้ ยความสขุ ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่44 การอบรมหมวดที่ 5 5.1 กจิ กรรมมองโลกในแงด่ ี วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม 1. เพื่อใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมเข้าใจความแตกตา่ งระหว่างการมองโลกแง่ดแี ละการมองโลกแง่ร้าย 2. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมมคี วามยดื หยุ่นทางความคิด รจู้ ักมองโลกแงด่ ีและมคี วามหวงั ข้ันตอนการดำ� เนนิ กิจกรรม “มองโลกแงด่ ี : เคลด็ วิธใี ช้ชวี ิตแบบมีก�ำไร” 1. เกรนิ่ นำ� “คนเราทกุ คนตอ้ งการความสขุ อยากหนจี ากความทกุ ข์ แตช่ วี ติ คนเราเหมอื นตวั ละครตวั หนง่ึ ...” วนั น้ี เราจะเรยี นร้เู ร่อื งท่จี ะช่วยเตมิ ความสุขใหก้ ับชวี ิตของเรา นน่ั คอื การมองโลกแงด่ ี 2. สอบถามผ้เู รียนในประเด็นตอ่ ไปนี้ 2.1 มใี ครรจู้ ักคนท่มี องโลกแง่ดบี า้ งหรอื ไม่ 2.2 คนเหล่าน้ันมลี กั ษณะอะไร ท่คี ดิ วา่ เป็นการมองโลกแง่ดี 3. วิทยากรรวบรวมลักษณะของคนมองโลกแง่ดีจากค�ำตอบของผู้เรียน เขียนบันทกึ แยกแยะประเด็นให้ ชดั เจนในตำ� แหน่งใหม้ องเหน็ ได้ง่าย เชน่ บนกระดานหรอื กระดาษโปสเตอร์ 4. วิทยากรบรรยายส้ัน ประโยชนข์ องการมองโลกแง่ดี คอื 4.1 เจ็บปว่ ยน้อยกว่า 4.2 ภมู คิ มุ้ กนั ท�ำงานไดด้ กี ว่า 4.3 มีอายุยืนยาวกว่า 4.4 ประสบความส�ำเร็จและมีความสุขมากกว่า 4.5 มีพฤตกิ รรมสขุ ภาพท่ีดกี ว่า เชน่ การเลือกรับประทานอาหาร ออกก�ำลงั กาย 5. วทิ ยากรยกตวั อยา่ งปญั หาขนึ้ มาหนง่ึ เรอื่ ง จากนน้ั ใหผ้ เู้ รยี นชว่ ยกนั พจิ ารณามองหาแงด่ ใี นสถานการณ์ ดงั กล่าว เชน่ ปัญหาอกหัก ลูกด้ือ เปน็ หนส้ี นิ หรอื คนรกั เจ็บป่วย 6. วทิ ยากรยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณท์ ค่ี นสว่ นใหญม่ กั มองวา่ เปน็ เรอื่ งดขี นึ้ มาหนง่ึ เรอ่ื ง จากนน้ั ใหผ้ เู้ รยี นชว่ ย กันมองหาแง่รา้ ยในสถานการณด์ งั กลา่ ว เช่น ถูกหวย ได้หยดุ พกั ผอ่ น 7. วทิ ยากรสรปุ วา่ เรอ่ื งทกุ เรอื่ งในชวี ติ สามารถมองใหด้ กี ไ็ ด้ มองใหร้ า้ ยกไ็ ด้ ถา้ มองใหด้ กี จ็ ะรสู้ กึ ดมี กี ำ� ลงั ใจ แต่ถ้ามองใหร้ า้ ยกจ็ ะร้สู ึกออ่ นแอ ท้อแท้ ขนึ้ อย่กู ับว่าเราจะเลือกมองอย่างไร 8. วิทยากรบรรยายเร่ืองการมองโลกแงด่ ีทำ� อยา่ งไร เน้นประเดน็ ทเ่ี ปน็ ลักษณะเดน่ ของ คนมองโลกแงด่ ีทกี่ ระทบกับ 3 มติ ิของชีวติ ดังรายละเอยี ดต่อไปนี้ 8.1 เม่อื พบเหตุการณร์ า้ ย ➢ คนมองโลกแงด่ จี ะมองวา่ เร่ืองนี้จะเป็นอย่ไู มน่ าน เด๋ียวกผ็ า่ นไป(มติ ิเวลา) ➢ ไมก่ ระทบกับชีวิตในดา้ นอื่นๆ (มิตผิ ลกระทบตอ่ ชีวติ ) ➢ ไมไ่ ด้เกิดจากข้อบกพร่องทแ่ี ก้ไขไม่ได้ ไมถ่ ือเปน็ ความล้มเหลวของตน (มติ ิดา้ นตวั ตน) 45 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม 8.2 เม่อื พบเหตกุ ารณด์ ี ➢ คนมองโลกแงด่ ีจะมองวา่ เร่ืองดี ๆ สามารถเกดิ ขึ้นได้บอ่ ย ๆ (มิตเิ วลา) ➢ ชว่ ยใหช้ ีวติ ดา้ นอ่ืนๆ ดีข้ึนด้วย (มิติผลกระทบต่อชีวติ ) ➢ เปน็ ผลมาจากความสามารถ ถือเปน็ ความส�ำเร็จ (มิติด้านตวั ตน) 9. ใหผ้ ูเ้ รยี นฝกึ มองโลกแงด่ ีอีกรอบ โดยใชต้ ัวอยา่ งของเหตุการณท์ ่เี กดิ ขนึ้ จรงิ ของผเู้ รียน ให้ครอบคลมุ ท้ังสามมิตขิ องการมองโลกแงด่ ี อาจแบ่งกลมุ่ ใหช้ ่วยกนั คิด 10. วทิ ยากรสรปุ ประเดน็ พรอ้ มกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นนำ� สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปทดลองใช้ แลว้ นำ� มาแลกเปลย่ี นกนั ประเดน็ การเรยี นรู้ คนเราจะมองโลกแงด่ หี รอื รา้ ยขน้ึ อยกู่ บั วา่ เราอธบิ ายสงิ่ ตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ของเราอยา่ งไร วธิ อี ธบิ าย สง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ น้ี เราสามารถเปลย่ี นใหมใ่ หด้ ขี นึ้ ได้ เพอื่ ใหเ้ รามองโลกในแงด่ ี มคี วามสขุ และประสบความสำ� เรจ็ มากขน้ึ แตท่ ัง้ น้ที ้ังนน้ั ตอ้ งเปน็ การมองโลกในแง่ดีทีส่ อดคล้องกบั ความเป็นจริง และที่สำ� คัญต้องไม่หลอกตวั เอง มองโลกแง่ดีมปี ระโยชน์อยา่ งไร  เจ็บปว่ ยนอ้ ยกวา่  มพี ฤติกรรมสขุ ภาพท่ดี กี ว่า  ภมู คิ มุ้ กนั ท�ำงานไดด้ กี ว่า  มีอายยุ ืนยาวกว่า  ประสบความสำ� เรจ็ และมคี วามสขุ มากกวา่ มองโลกแงด่ ี VS มองโลกแงร่ า้ ย บทความสำ� หรบั วิทยากร ทมี่ า : สา-ระ-ขนั มองโลกแง่ดี “เป็นยังไงบา้ ง จีบน้องเจี๊ยบไปถงึ ไหนแล้ว นิรตุ ติ์ยมิ้ อย่างมีความสุข “ก็ไมเ่ ลวนกั ”เขาตอบ ตอนน้ี ฉมชักจะมีก�ำลงั ใจขึ้นมาแล้ว “จริงร”ึ เพอื่ นถาม “เธอเริ่มยม้ิ หวานให้คุณแลว้ หรอื ” “ก็ไมเ่ ชงิ ทีเดียว”นิรุตติ์ตอบ “แต่เม่อื คืนเธอพดู กับผมวา่ เธอขอบอกว่า ‘No’เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย ่คู ืมอการป ิฏบั ิตงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผู ้ตอง ัขงเ ้ขาใหม่46 มองโลกแง่รา้ ย ชายสองคนเป็นเพื่อนกันมานานหลายปี คนหน่ึงมองโลกในแง่ดี ส่วนอีกคนมองโลกในแง่ร้ายตลอดศก คนท่มี องโลกในแงด่ ีจึงพยายามหาทางช่วยให้เพ่ือนเปล่ียนโลกทศั นบ์ า้ ง วนั หน่งึ คนมองโลกแง่ดีเหน็ สนุ ัขตวั หนงึ่ เดินบนนำ้� “ได้การละ เจา้ คนมองโลกแงร่ า้ ยคงจะหาขอ้ เสยี ของหมาตวั น้ไี ม่ไดแ้ นๆ่ ”เขาคดิ ในใจ เขาจงึ พาเพื่อนไปลา่ นกเปด็ น้ำ� เพอื่ ใหเ้ ห็นพรสวรรค์ของสนุ ขั วิเศษตัวน้ัน ตกสาย พวกเขายงิ นกเปด็ น้�ำตวั หนงึ่ รว่ งลงมาและหลน่ ลงทอี่ กี ฟากของหนองน้�ำ คนมองโลกในแงด่ สี ง่ั ให้ สุนัขออกไปคาบนกมา สัตวแ์ สนรรู้ ีบวิ่งไปบนผิวนำ้� แลว้ คาบนกกลบั มาให้ “เหลือเชื่อไหมละ่ ” คนมองโลกแงร่ า้ ยตอบวา่ “หมาตวั น้ีวา่ ยนำ้� ไมเ่ ป็นใชไ่ หม” ท่มี า : หวั เราะคือยาวิเศษ รวมเรอ่ื งขำ� ขันจากสรรสาระ มขี อ้ สรปุ ทนี่ า่ คดิ จากงานวจิ ยั ของตา่ งประเทศชน้ิ หนง่ึ วา่ คนมองโลกแงด่ จี ะมชี วี ติ ยนื ยาวกวา่ และประสบ ความส�ำเร็จไดม้ ากกว่าคนมองโลกแงร่ ้าย แต่ขณะเดยี วกัน คนมองโลกแงร่ ้ายอาจมองอะไรได้ใกลเ้ คยี งกบั ความ จรงิ มากกวา่ โดยเฉพาะการคาดการณ์ปญั หาท่ีอาจเกิดขึ้น อาจกล่าวไดว้ า่ ... ‘คนมองโลกแงด่ ’ี มีโอกาสประสบความสำ� เร็จและมคี วามสุขได้มากกวา่ ขณะท่ี ‘คนมองโลกแงร่ ้าย’ จะคาดการณ์ปัญหาและระมัดระวงั ภัยไดด้ กี ว่า มมุ มองท่แี ตกต่าง :‘คนมองโลกแงด่ ’ี VS ‘คนมองโลกแงร่ า้ ย’ เอก เป็นคนมองโลกแง่ดี เวลามีเรื่องดีๆ เกิดขึ้น เขามักจะมองว่า สิ่งดี ๆ เช่นน้ีเกิดขึ้นได้เสมอ และ เกดิ ขนึ้ ในทกุ ดา้ นของชวี ติ เปน็ ผลจากความเปน็ ตวั เขาเอง สว่ นเวลาทเ่ี อกเจออะไรรา้ ยๆเขากม็ กั มองวา่ เหตกุ ารณ์ นนั้ วา่ เปน็ เพยี งเรอ่ื งไมด่ ที เ่ี กดิ ขนึ้ เฉพาะครงั้ นเี้ ทา่ นน้ั แลว้ เดยี๋ วกจ็ ะผา่ นไป โดยไมก่ ระทบดา้ นอน่ื ๆ ของชวี ติ และ ไมโ่ ทษว่าเรอื่ งทเ่ี กดิ ข้ึนเปน็ มาจากความบกพรอ่ งของตนเอง ในทางตรงกันข้าม อู๊ด เป็นคนมองโลกแง่ร้ายเม่ือเขาพบกับส่ิงดี ๆ ก็มักมองว่าสิ่งท่ีเกิดข้ึนเป็นเพียง เหตกุ ารณ์เฉพาะในคราวนี้เท่านนั้ เด๋ียวเรื่องดๆี อย่างนีก้ จ็ ะผ่านไป และคงจะไม่เกดิ ข้นึ อีก เรื่องดี ๆ นีเ้ ป็นเพยี ง ข้อยกเว้นของชีวิตเทา่ นัน้ แต่เม่ือใดท่ี อดู๊ พบเหตุการณร์ ้ายๆ เขามกั จะมองวา่ เร่ืองร้าย ๆ แบบนี้จะต้องเกิดขึน้ อกี แนๆ่ และคงจะไมม่ วี นั ดขี น้ึ ได้ เรอื่ งรา้ ย ๆ นจี้ ะกระทบกบั ทกุ ดา้ นของชวี ติ และโทษวา่ ตน้ เหตขุ องความโชครา้ ย น้ีมาจากความบกพร่องหรือความด้อยความสามารถของตัวเอง 47 ู่ค ืมอการป ิฏ ับติงานด้านการปฐม ินเทศ ้ผูต้องขังเข้าให ่ม ดว้ ยวธิ ีคิดท่ีต่างกนั คนทงั้ สองแบบจงึ มวี ิธีมองปัญหาในชวี ิตตา่ งกนั ดังแสดงในตาราง ‘คนมองโลกแง่ร้าย’จะ ปญั หาทเี่ กิดขึน้ จะอยคู่ ง ปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนไดส้ ่ง ปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ มี ยอมแพต้ ่อปัญหาทเี่ กดิ ขึ้น ทนถาวรตลอดไป ไมม่ ี ผลกระทบไปทกุ ด้าน สาเหตุมาจากความผิด ได้งา่ ย ไมม่ ีความหวงั วา่ ทางดีข้นึ ของชวี ติ พลาด และบกพรอ่ ง จะดขี ้ึน ของตวั เอง ‘คนมองโลกแง่ด’ี ปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ จะดำ�รง ปญั หาทีเ่ กิดข้ึนอาจมี ปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ มสี าเหตุ จะตอ่ สู้กบั ปัญหา และมี อยู่เพยี งช่วั คราว และจะ ผลกระทบกับชีวิต แต่ มาจากปัจจัยตา่ ง ๆ ความหวงั วา่ จะดีข้ึน ตอ้ งเปลย่ี นแปลงไป ไม่ จำ�กัดวงของปญั หา ไม่ ภายนอก ซง่ึ หลายอยา่ ง อยูค่ งทนถาวร ได้ขยายไปส่ดู ้านอ่ืน ๆ ควบคมุ ไม่ไดโ้ ดยตรง ของชีวติ เรอ่ื งน่าคดิ ของการมองโลกแงด่ ีและการมองโลกแงร่ า้ ย คนมองโลกแงด่ ี = เคยชินกับการมองเห็นด้านบวกในสถานการณ์ลบ คนมองโลกแง่รา้ ย = เคยชินกับการมองเหน็ ด้านลบในสถานการณบ์ วก ‘การมองโลกแงด่ ี’ ดีกวา่ ‘การมองโลกแงร่ ้าย’.... แต่ถ้าจะให้ดียิ่งขึน้ เราควรฝึกทีจ่ ะ ‘มองโลกตามความเปน็ จรงิ ’ เพราะ ‘การมองโลกตามความเป็นจริง’ คือ การมองเห็นท้ังแง่ดีและแง่ไม่ดี ไม่หลอกตัวเอง แต่ก็ไม่ ทำ� ลายความหวังของตวั เอง สามารถค้นหาเปา้ หมายท่ดี ี และมคี ณุ ค่าไดใ้ นทกุ สถานการณ์ของชีวิต