การแยกการบ รออกจากของผสมท ม กำมะถ นและผงถ านใช ว ธ

เพื่อศึกษาลักษณะรูปต่าง ๆ ของผลึกกำมะถันมอนอคลินิก (Monoclinic Sulfur) และกำมะถันรอมบิก (Rhombic Sulfur)ได้ และสามารถเตรียมผลึกกำมะถันได้

สารเคมีและอุปกรณ์

รหัสสินค้า รายการ 3097215 กำมะถันผง (ซัลเฟอร์) 350 กรัม 3098050 โทลูอีน 450 ซีซี 862060116160 หลอดทดลอง 16x160 มม. 3013065 จุกยาง เบอร์ 4 (10 อัน/ชุด) 30Y221 เทอร์โมมิเตอร์ แอลกอฮอล์ -20 - 110 °C (ALLA France) 3016095 ที่จับหลอด ทดลองแบบไม้หนีบ (5 อัน/ชุด) 8620201250 บีคเกอร์ 250 มล. 862020890 กระจกนาฬิกา 90 มม. 3015115 ตะเกียงแอลกอฮอล์สแตนเลส 3016085 ที่กั้นลม-ที่วางตะแกรงลวด 3015133 ตะแกรงลวดมีแอสเบสตอส 5 นิ้ว

วิธีการทดลอง

การแยกการบ รออกจากของผสมท ม กำมะถ นและผงถ านใช ว ธ
1. ใส่กำมะถันผง 0.1 g ในหลอดทดลอง และเติมโทลูอีนลงไป 5 cm3 2. อุ่นสารในบีกเกอร์นํ้าร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 75°Cใช้แท่งแก้วคนจนกำมะถันละลายหมด 3. ลดอุณหภูมิของสารละลายอย่างช้า ๆ จนมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิห้อง (ขณะที่ลดอุณหภูมิยังคงแช่สารละลายอยู่ในบีกเกอร์) สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง 4. เทสารทั้งหมดลงบนกระจกนาฬิกาแล้วนำไปวางในที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี สังเกตลักษณะของกำมะถันที่เกิดขึ้น

ตัวอย่างการทดลอง

ผลึกกำมะถันที่เตรียมได้มีสองรูปปนกันอยู่ รูปหนึ่งมีลักษณะเป็นแท่งยาวคล้ายเข็ม ตามรูป ก. และอีกรูปมีลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนตามรูป ข.

อภิปรายหลังการทดลอง

การแยกการบ รออกจากของผสมท ม กำมะถ นและผงถ านใช ว ธ

กำมะถันที่เตรียมได้มี 2 รูป เมื่อเปรียบเทียบผลึกที่เตรียมได้กับรูปผลึกของกำมะถันกับรูปทรงทางเรขาคณิต พบว่ารูปที่มีลักษณะคล้ายเข็มเรียกว่า กำมะถันรูปเข็ม หรือกำมะถันมอนอคลินิก ตามรูป ก. ส่วนรูปที่เหลี่ยมขนมเปียกปูนเรียกว่า กำมะถันรอมบิก ตามรูป ข.

สาเหตุของกำมะถันและธาตุบางธาตุที่มีหลายรูปซึ่งทำให้มีสมบัติแตกต่างกัน เนื่องจากในธรรมชาติมักจะพบกำมะถันรอมบิกเป็นส่วนใหญ่เพราะเสถียรที่อุณหภูมิห้อง ส่วนกำมะถันมอนอคลินิกจะเสถียรที่อุณหภูมิสูงกว่า 96°C แต่จากการทดลองสามารถเตรียมกำมะถันได้ทั้ง 2 รูปได้พร้อมกันเพราะว่ามีการควบคุมสภาวะการตกผลึกให้แตกต่างจากธรรมชาติ

อย่างไรก็ตามผลึกทั้ง 2 รูป มีสูตรโมเลกุลเป็น S8 เหมือนกัน กล่าวคือใน 1 โมเลกุลจะประกอบด้วยอะตอมกำมะถัน 8 อะตอมและแต่ละอะตอมยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโควาเลนต์โครงสร้างลิวอิสและแบบจำลองโมเลกุลกำมะถัน นอกจากนี้การสังเกตเห็นว่าผลึกกำมะถันมีรูปร่างแตกต่างกัน อธิบายได้ว่าเนื่องจากมีการจัดเรียงตัวของโมเลกุลกำมะถันแตกต่างกัน ดังรูปต่อไปนี้

เราจะแยกผงตะไบเหล็กกับผงกำมะถันและน้ำตาล ออกจากกันได้ยังไงคะ

0

การแยกการบ รออกจากของผสมท ม กำมะถ นและผงถ านใช ว ธ

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้

ความคิดเห็นที่ 4

55 คุณ Par นึกถึงมดได้ไงเนี่ย ไอเดียบรรเจิดสุด ถ้าเป็นเราจะทำงี้ 1. เอาแม่เหล็กดูดตะไบเหล็กออก 2. เอาส่วนผสมที่เหลือไปใส่ในน้ำ น้ำจะละลายน้ำตาลแต่ไม่ละลายกำมะถัน ก็หากระดาษกรองมากรองกำมะถันออก 3. ต้มน้ำให้เดือด เอาน้ำออกเหลือแต่น้ำตาล

0

การแยกการบ รออกจากของผสมท ม กำมะถ นและผงถ านใช ว ธ

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

  • 1. 05/06/52 วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชัน ม. 1 ้
  • 2. อสารไม่ผสมกลมกลืน ั 05/06/52 กันเป็ นเนื้ อเดียวกันเกิดจากสารอย่างน้ อย 2 ชนิดขึนไปมาผสมกันโดยเนื้ อสารจะแยกกันเป็ น ้ ส่วน ๆ เช่น น้าโคลน น้ามะนาว น้า มะขามเปี ยก คอนกรีต ฝุ่ นละอองในอากาศ เป็ นต้น
  • 3. การแยกสารเนื้ อผสมออกจากกันส่วนใหญ่เป็ นการ แยกด้วยวิธีการทางกายภาพ เมื่อแยกสารออกจากกัน 05/06/52 แล้ว สารที่ได้จะมีคณสมบัติเหมือนเดิม โดยวิธีการ ุ แยกสารเนื้ อผสมมีหลายวิธี เช่น การกรอง การระเหย จนแห้ง การใช้อานาจแม่เหล็ก การระเหิด แต่เราจะ เลือกใช้วิธีใดนัน ขึนอยู่กบ สมบัติของสารที่เป็ น ้ ้ ั องค์ประกอบ
  • 4. เป็ นวิธีการแยกสารออกจากกันระหว่าง 05/06/52 ของแข็งกับของเหลว โดยที่ของแข็งนันไม่รวม ้ เป็ นเนื้ อเดียวกับของเหลว หรือใช้แยกสาร แขวนลอยออกจากน้า สารที่เป็ นของแข็งมีขนาดอนุภาคใหญ่ไม่ สามารถผ่านกระดาษกรองได้ ( สารติดอยู่บน กระดาษกรอง ) ส่วนน้าและสารที่ละลายน้าได้จะ ผ่านกระดาษกรองลงสู่ภาชนะ เช่น แยกกามะถัน ออกจากน้า
  • 5. 05/06/52 ทีมา :http://www.science.cmru.ac.th/envi/instrument/chapter1_t7.html ่
  • 6. เป็ นวิธีทใช้ แยกสารเนือผสมทีเ่ ป็ นของเหลว 2 ี่ ้ 05/06/52 ชนิดทีไม่ ละลายออกจากกัน โดยของเหลวทั้งสอง ่ นั้นแยกเป็ นชั้นเห็นได้ ชัดเจน เช่ น นากับนามัน ้ ้ เป็ นต้ น
  • 7. วไข 05/06/52 ของเหลวทีอยู่ในชั้นล่ างซึ่งมีความหนาแน่ น ่ มากกว่ าชั้นบนออกสู่ ภาชนะจนหมด แล้ วจึง ค่ อย ๆ ไขของเหลวที่ที่เหลือใส่ ภาชนะใหม่
  • 8. 05/06/52 ที่มา : http://e-chemistry.tripod.com/sasan/s3_2.htm
  • 9. อ 05/06/52 ผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่ งมีสมบัติในการถูก แม่เหล็กดูดได้ เช่น ของผสมระหว่างผง เหล็กกับผงกามะถัน โดยใช้แม่เหล็กถูไปมา บนแผ่นกระดาษที่วางทับของผสมทังสอง้ แม่เหล็กจะดูดผงเหล็กแยกออกมา
  • 10. 05/06/52 อนุภาคใหญ่พอที่จะหยิบออกหรือเขี่ยออกได้ เช่น ข้าวสารที่มีเมล็ดข้าวเปลือกปนอยู่
  • 11. การร่อน ใช้กบสารผสม 2 ชนิด ที่มี ั 05/06/52 ขนาดเล็ก ไม่สามารถใช้มือหยิบออก ได้ เช่น ทรายปนอยู่กบก้อนกรวด จะใช้การ ั ร่อนผ่านตะแกรง เม็ดทรายที่เล็กกว่าจะผ่าน รูตะแกรงลงไปได้ ส่วนกรวดผ่านไม่ได้
  • 12. ใช้แยกของผสมเนื้ อผสมที่เป็ นของแข็ง แขวนลอยอยู่ในของเหลว 05/06/52 โดยนาของผสมนันวางทิ้งไว้ให้สาร ้ แขวนลอยค่อย ๆ ตกตะกอนนอนก้น ในกรณี ที่ ตะกอนเบามากถ้าต้องการให้ตกตะกอนเร็วขึน ้ อาจทาได้โดย ใช้สารตัวกลางให้อนุภาคของ ตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึน น้าหนักจะมาก ้ ขึนจะตกตะกอนได้เร็วขึน เช่น ใช้สารส้มแกว่ง ้ ้
  • 13. ั ใช้กบสารผสมที่มีสมบัติในการละลายต่างกัน ั 05/06/52 เช่น การสกัดน้ามันออกจากพืช ซึ่งตัวทาละลายที่ นิยมใช้สกัด ได้แก่ เฮกเซน (Hexane) โดย อาศัยหลักการที่ว่า "สารที่ต้องการสกัดจะต้อง ละลายในตัวทาละลาย ส่วนสารที่ไม่ต้องการสกัด จะต้องไม่ละลายในตัวทาละลายนัน" ้
  • 14. จงอธิบายการแยกสารต่อไปนี้ 05/06/52 1. แยกผงถ่านออกจากน้า 2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร 3. แยกดินออกจากน้าโคลน 4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล 5. แยกน้ามันออกจากน้า 6. แยกการบูรออกจากเกลือแกง 7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน 8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง 9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส 10. แยกน้ากะทิออกจากกากมะพร้าว
  • 15. การกรอง 05/06/52 2. แยกก้อนกรวดออกจากข้าวสาร ตอบ การหยิบออก 3. แยกดินออกจากน้าโคลน ตอบ การกรอง 4. แยกตะกอนออกจากน้าบาดาล ตอบ การตกตะกอน 5. แยกน้ามันออกจากน้า ตอบ การใช้กรวยแยก
  • 16. การระเหิด 05/06/52 7. แยกของผสมระหว่างเกลือ และผงถ่าน ตอบ การสกัดด้วยตัวทาละลาย และกรอง เพื่อแยกผงถ่าน ออก 8. แยกของผสมระหว่างไอโอดีน ทราย และเกลือแกง ตอบ การระเหิดเพื่อแยกไอโอดีนออก และสกัดด้วยตัวทา ละลายและกรอง เพื่อแยกทรายออกจากสารละลาย น้าเกลือ 9. แยกผงตะไบเหล็กออกจากผงชูรส ตอบ การใช้แม่เหล็กดูดเพื่อแยกผงตะไบเหล็กออก
  • 17. การกรอง 05/06/52