การท ารายงานร ปเล ม ภาษาไทย เร องสถานท ท องเท ยว

รายงานวิจยั การศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นและครูท่ีมีตอ่ โครงการ ศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียวนอกสถานท่ี

ของแผนกวชิ าการท่องเทย่ี ว ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562

ดาเนินการโดย นักเรยี นระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) กลมุ่ 216

แผนกวิชาการท่องเทีย่ ว ฝ่ายวิชาการ

วทิ ยาลยั พณชิ ยการธนบุรี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

บทคดั ย่อ

ชื่อวจิ ัย : ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครทู ่ีมีต่อโครงการศกึ ษาดูงานและฝึกปฏิบัติ ทกั ษะการนาเท่ียวนอกสถานท่ีของแผนกวิชาการท่องเทยี่ ว

ชอื่ ผู้วิจัย : นกั เรียน กลุม่ 216 สาขาวิชา : การทอ่ งเทยี่ ว ครทู ี่ปรึกษา : นางสาวนงลักษณ์ ชมขวัญ ปีการศึกษา : 2562 ---------------

การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครูที่มีต่อโครงการ ศึกษาดูงานและ ฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียวนอกสถานท่ีของแผนกวิชาการท่องเที่ยว และ เพื่อ นาข้อเสนอแนะไปพฒั นาปรับปรุงในการดาเนินโครงการครง้ั ต่อไป

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเท่ียว จานวน 40 คน พบว่าผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับความพึงพอใจจากมากที่สดุ ไป นอ้ ยท่ีสุด คือ ความสนุก ความสุข จากการร่วมกิจกรรม (x̃ = 4.81) มีระดับ ความพึงพอใจ มากท่ีสุด และ น้อย ท่ีสุด คือ การชี้แจง อธิบาย แนะนากิจกรรมโดยละเอียด (x̃ = 4.22) มีความพึงพอใจ ระดับ มาก ส่วนความพึงพอใจโดยรวมในการเขา้ ร่วมโครงการน้ี แบง่ เปน็ 2 ข้อ ความพึงพอใจโดยรวม ในการเข้า ร่วมโครงการนี้ (x̃ = 4.54) มีความพึงพอใจระดับ ดีมาก และ ความพึงพอใจโดยรวมต่อคณะ ดาเนินงาน (x̃ = 4.41) มีระดบั ความพงึ พอใจ ดี ตามลาดบั

ข้อเสนอแนะต่อ โครงการ คือ 1. อยากให้เพ่ิมจานวนวนั มากขึน้ เช่น 5วัน 4คืน 2. ควรจัดโปรแกรมใหห้ ลากหลาย เพอื่ ให้นักท่องเทยี่ วได้ผ่อนคลายมากกวา่ น้ี 3. อยากไห้มีอกี สนุกมากๆ

กิตตกิ รรมประกาศ

งานวิจัยฉบับน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียน ฝึก ทักษะปฏบิ ัติ และเกดิ การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมปี ระสบการณม์ ากขึน้

ผู้จัดทาวิจัยขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครูเจ้าหน้าท่ีบุคคลากรของวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี ทุกท่าน ท่ีได้อานวยความสะดวกได้ให้คาปรึกษาและข้อมูลเพ่ือใช้ในการดาเนินการวิจัย การ ดาเนินการวิจัยมิอาจสาเร็จลุล่วงไปได้หากปราศจากความร่วมมือของคณะครู และนักเรียน แผนก วิชาการท่องเท่ียวท่ีให้ความร่วมมือการสนับสนุนในทุกด้านท่ีเกี่ยวข้อง และรวมถึงสถานท่ี ในการ ดาเนนิ การจดั ทาวิจัย จนโครงการนส้ี าเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี

ท้ายนี้ผู้เขียนขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ให้การอุปการะอบรมเล้ียงดู ตลอดจน สง่ เสริมการศึกษาและให้กาลังใจเป็นอยา่ งดีอีกทั้งขอขอบคุณเพ่ือนๆท่ีให้การสนับสนุน และช่วยเหลือ ด้วยดีเสมอมา และขอขอบพระคุณเจ้าของเอกสารและงานวิจัยทุกท่าน ที่ผู้ศึกษาค้นคว้าได้นามา อา้ งอิงในการทาวจิ ัยจนกระท่งั งานวิจยั ฉบับน้ีสาเร็จลลุ ่วงไปได้ด้วยดี

คณะผจู้ ดั ทาวจิ ยั

สารบญั

บทท่ี 1........................................................................................................................................... ความเปน็ มาและความสาคัญ....................................................................................................... ๑

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญ..................................................................................................๑ 1.2 วัตถุประสงค์...........................................................................................................................๑ 1.3 สมมติฐานของการวจิ ัย ...........................................................................................................๑ 1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย ..............................................................................................................๑ 1.5 ตัวแปรท่ศี กึ ษา........................................................................................................................๒ 1.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ...................................................................................................................๒ 1.7 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ .....................................................................................................๒ บทที่ 2........................................................................................................................................... เอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง....................................................................................................................... ๓ 2.1 การวางแผนการท่องเที่ยว ......................................................................................................๓ 2.2 ประเภทของการจดั นาเท่ียว....................................................................................................๕ 2.3 องค์ประกอบในการจัดนาเท่ยี ว...............................................................................................๙ 2.4 คุณสมบตั แิ ละจรรยาบรรณของผวู้ างแผนจัดนาเท่ยี ว..............................................................๙ 2.5 การสารวจเสน้ ทางเพ่ือการจัดนาเที่ยว................................................................................. ๑๑ บทท่ี 3........................................................................................................................................... วิธดี าเนินการ.............................................................................................................................๑๒ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง.................................................................................................. ๑๒ 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ...................................................................................................... ๑๒ 3. การเก็บรวบรวมข้อมลู ......................................................................................................... ๑๒ 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล.............................................................................................................. ๑๓ บทท่ี 4........................................................................................................................................... ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ...............................................................................................................๑๔ 4.1 สัญลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู .................................................................................. ๑๔ 4.2 ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมลู .................................................................................................. ๑๔ 4.3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล....................................................................................................... ๑๔ บทท่ี 5........................................................................................................................................... สรุปอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ ..............................................................................................๑๘ 5.1 อภิปรายผล ......................................................................................................................... ๑๘ 5.2 ขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................ ๑๘

บทที่ 1 ความเป็นมาและความสาคัญ

1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ การจัดทาโครงการ “ศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียวนอกสถานท่ีของแผนกวิชา

การท่องเทยี่ ว” มีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื 1. สง่ เสริมใหน้ กั ศึกษาได้พัฒนาคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคผ์ ่านการเรยี นรนู้ อกสถานที่อย่างมี ความสุข 2. เพ่ือส่งเสรมิ ให้นกั ศกึ ษาได้พัฒนาทักษะหลักพนื้ ฐานดา้ นการฟังการพูดการอา่ นการเขียน และทักษะหลักที่จาเป็นในงานอาชีพ โดยจากวัตถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาผู้เรียนสาขาวิชพี การท่องเที่ยวให้เป็น

ผทู้ ่ีมคี วามร้คู วามสามารถด้านการท่องเทยี่ วจากประสบการณจ์ ริง การจัดทาวิจัยเร่ือง “ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครูที่มีต่อโครงการศึกษาดูงานและ

ฝึกปฏิบตั ิทักษะการนาเทยี่ วนอกสถานที่ของแผนกวิชาการท่องเทีย่ ว” จึงเป็นการศกึ ษาเพือ่ การพัฒนา ใหก้ ารจัดโครงการคร้ังต่อไปมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนและผู้ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องนาไปศึกษา ตอ่ ยอดใหเ้ กิดกจิ กรรมโครงการทมี่ คี ุณคา่ มากยง่ิ ข้ึนตอ่ ไปได้

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนและครูทีม่ ีต่อโครงการศึกษาดูงานและ ฝึกปฏิบัติ

ทกั ษะการนาเที่ยวนอกสถานที่ของแผนกวชิ าการท่องเท่ยี ว 1.2.2 เพือ่ นาขอ้ เสนอแนะไปพัฒนาปรับปรุงในการดาเนนิ โครงการคร้ังตอ่ ไป

1.3 สมมติฐานของการวิจัย นักเรียนและครู มีความพึงพอใจต่อโครงการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียว

นอกสถานที่ของแผนกวิชาการทอ่ งเท่ยี วในระดบั ดี

1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย การวจิ ัยครั้งน้ีมุ่งศึกษาเกี่ยวกับความพงึ พอใจของนักเรยี นและครทู ี่มตี ่อโครงการศึกษาดงู านฯ

โดยครอบคลุมใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์โครงการ ด้านกระบวนการและการดาเนินการ ดา้ นผลท่ไี ดร้ ับจากการเข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ

1.4.1 ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ัยครั้งน้ีได้แก่ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คอื นักเรียนระดบั ปวช. 1 ปวช. 2 และครแู ผนกวชิ าการทอ่ งเทยี่ ว 1.4.2 ขอบเขตด้านกลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือ นักเรียนทุกช้ันปี และครูแผนกวิชาการท่องเที่ยว จานวน 40 คน โดยใชว้ ธิ ีการเฉพาะเจาะจง

1.5 ตัวแปรที่ศกึ ษา ตวั แปรทใี่ ช้ในการศึกษา ประกอบดว้ ย 1. ตัวแปรอสิ ระ ปัจจยั สว่ นบคุ คล ได้แก่ เพศ และสถานภาพ 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจในการใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย

3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านวัตถุประสงค์โครงการ (2) ด้านกระบวนการและการดาเนินการ (3) ดา้ นผลทีไ่ ดร้ บั จากการเขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ

1.6 นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1.6.1 นักเรียน หมายถึง นกั เรยี นระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาีชีพ (ปวช.) ชัน้ ปีท่ี 1 และ 2 ท่ี

กาลงั ศกึ ษาอยู่ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 1.6.2. ความพึงพอใจของนักเรียนและครูที่มีต่อโครงการศึกษาดูงานฯ หมายถึง ความรู้สึก

ชอบ พอใจ หรือมีทัศนคติในแง่บวกของนักเรียนและครูท่ีมีต่อโครงการศึกษาดูงานฯ ท้ัง 3 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านวัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ ดา้ นกระบวนการและการดาเนินการ ด้านผลที่ไดร้ ับจากการ เข้า ร่วมกิจกรรม/โครงการ

(1) ความพึงพอใจด้านระบบการให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจต่อ กิจกรรม ที่มีความสอดคล้องในการพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ การพัฒนาทักษาพ้ืนฐาน เช่น การฟัง พูด อ่านและเขียนและทักษะหลักที่จะเป็นต่อวิชาชีพ เช่น การนาเสนอ ข้อมูล แหล่งท่องเที่ยว อย่าง ถกู ต้องเป็นต้น การมีทัศนคตทิ ี่ดีต่อวิชาชีพ เช่น การให้บรกิ าร นักท่องเท่ียว ด้านขอ้ มลู ด้านสง่ิ อานวย ความสะดวก เป็นต้นและพัฒนาคุณลักษณะพื้นฐาน ด้านความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบและการ วางตวั ใหเ้ หมาะสม

(2) ความพึงพอใจด้านกระบวนการและการดาเนินการหมายถึงความรู้สึกพอใจ เก่ียวกับความสะดวก ความรวดเรว็ ความถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และการมีประสิทธิภาพ ตาม วัตถุประสงค์โครงการ

(3) ความพึงพอใจด้านผลท่ีได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ หมายถึง ความรู้สึก พอใจตอ่ การะบวนการโดยรวมทกุ ดา้ น

1.7 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1. เพื่อทราบถึงความพึงพอใจของผู้เรียนและครูท่มี ตี ่อโครงการศึกษาดงู านฯ 2. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดกิจกรรมคร้งั ต่อไป 3. ผลการวิจยั สามารถนาไปใช้ในการพัฒนากระบวนการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ และ

นาเสนอต่อผู้บริหารเพ่ือเป็นการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนแผนกวิชาการท่องเท่ียว ให้ตระหนัก และเห็นความสาคัญต่อการพฒั นาตนเองในสาขาวิชาชพี ใหด้ ียิ่งขึ้นต่อไป

บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

2.1 การวางแผนการทอ่ งเที่ยว 2.1.1 การวางแผนทอ่ งเที่ยวในเชงิ ธรุ กิจ การวางแผนท่องเท่ียวในเชิงธุรกิจ คือการวางแผนจัดนาเที่ยวซึ่งจะทาโดยบริษัทจัดนา

เที่ยว โดยท่ัวไปจะมีหลักการวางแผนคล้ายกับการวางแผนท่องเที่ยวสาหรับคนทั่วไปที่จัดการเดินทาง ท่องเทย่ี วด้วยตวั เอง จะต่างกันตรงทถ่ี ้าเปน็ การจัดนาเที่ยวในเชิงธุรกิจ ก็จะต้องมีการแสวงหาผลกาไร ผูป้ ระกอบธรุ กิจต้องมีความรูป้ ระสบการณ์ในการเดินทางท่องเที่ยว รเู้ ก่ียวกบั สถานประกอบการต่างๆ ที่เก่ียวข้องในการจัดนาเท่ียว จากน้ันจะต้องมีรูปแบบกระบวนการในเร่ืองการเตรียมความพร้อมเพื่อ รองรับการท่องเท่ียวมาเป็นอย่างดี มีการประสานกับสถานประกอบการท่ีเก่ียวข้องเพื่อขอใช้บริการ ให้ความสาคัญในเร่ืองความปลอดภัย มีการจัดทาเป็นโปรแกรมที่น่าสนใจ น่าเชื่อถือ ราคาเหมาะกับ ความเป็นจริง ต้องมีกระบวนการทางการตลาดเพื่อส่ือให้เข้าถึงกลุม่ เปา้ หมาย ฯลฯ ส่ิงเหลา่ น้ีจะตอ้ งมี ความชัดเจนเพือ่ สร้างความเช่ือม่ันให้เกิดขน้ึ ต่อลูกค้าท่ีจะมาใช้บริการ ตอ้ งสามารถทาการจัดนาเท่ียว ให้เป็นเชิงธุรกิจสินค้าบริการที่สามารถสร้างความประทับใจ ไม่ใช่นึกจะทาอะไรก็ได้ตามใจฉัน ฉะนั้น การเรียนรู้ถึงความสาคัญของการวางแผนจัดนาเที่ยวในเชิงธุรกิจจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับผู้ท่ีเกี่ยวข้อง กับการจัดนาเท่ียว โดยต่อไปนี้จะกล่าวถึง ประโยชน์และความสาคัญของการวางแผนจัดนาเที่ยว ปัจจัยด้านลบและด้านบวกท่ีจะส่งผลกระทบต่อการวางแผนจัดนาเที่ยว เพื่อเป็นแนวทางความรู้ เบ้อื งตน้ สาหรับงานการวางแผนจัดนาเทย่ี ว

2.1.2 ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการวางแผนจดั นาเที่ยว การได้มกี ารวางแผนล่วงหน้าในธรุ กิจจดั นาเทีย่ ว จะก่อให้เกิดประโยชน์มากมาย ดังน้ี 1. เป็นการเตรยี มการเพื่อจองสถานประกอบการต่างๆ ให้พร้อมชดั เจน เพื่อลดความเสี่ยง

ที่จะไม่ได้หอ้ งพัก ไม่ได้รา้ นอาหาร ไมไ่ ด้เข้าชม ไม่ได้รถ ไม่ได้เที่ยวบินท่ีถูกใจ ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ช่วงเทศกาลทอ่ งเที่ยว

2. เป็นการจัดเตรียมการเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผู้นาเท่ียวหรือมัคคุเทศก์(Guide) ผนู้ าเท่ียวจะได้ไมต่ ้องไปประสบกบั ปญั หา และสามารถนาเท่ียวไดอ้ ยา่ งราบรนื่ ประทับใจไมต่ ดิ ขัด หรือ ตอ้ งกังวลตอ่ ปัญหาต่างๆ ทจี่ ะเกิดขน้ึ

3. เป็นเครื่องช้ีให้เห็นถึงความรับผิดชอบในการจดั นาเท่ยี วอย่างเป็นระบบ ทาให้พนักงาน ขายมีความมั่นใจในการตอบคาถามของลูกค้า เช่น จะไปนอนที่ไหน เข้าชมที่ไหนบ้าง เป็นต้น(ในกรณี ที่ได้วางแผนการจองทุกอย่างไว้ชัดเจนแล้ว) ความชัดเจนดังกล่าวจะส่งผลต่อความม่ันใจต่อผู้มาใช้ บริการหรอื นักท่องเท่ยี วด้วย

4. ได้สามารถปรับตัวรู้เท่าทัน สามารถจัดการวางแผนนาเท่ียวของตนเองให้เหนือกว่า บรษิ ทั คแู่ ขง่ ขัน ถอื เปน็ การชว่ งชิงโอกาสใหเ้ หนือคู่แขง่ ขันตลอดเวลา

5. สามารถประมาณการค่าใชจ้ า่ ยได้ถูกต้องชัดเจนใกล้ความเปน็ จรงิ มากทีส่ ุด 6. ได้ร้ถู ึงสภาพทว่ั ไปในเรอ่ื งตา่ งๆ เพ่อื นามาเป็นข้อมลู ในการเสนอขายได้ชดั เจน 7. เป็นการสร้างสัมพันธ์โดยตรงที่ดีให้เกิดข้ึนกับสถานประกอบการต่างๆ จากการได้ไป สารวจเส้นทางและไดเ้ ออ้ื ประโยชนท์ างธรุ กจิ ซงึ่ กันและกนั

8. เป็นกระบวนการให้ทุกฝ่ายทราบถึงทิศทาง แนวทางในการปฏิบัติวางแผนจัดนาเท่ียว และร่วมกันประสานงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ ไมว่ ่าจะเป็นแผนกจอง แผนกจัดนาเท่ียว แผนกบัญชี แผนกมัคคเุ ทศก์ ฯลฯ

9. การวางแผนจัดนาเที่ยว สามารถใช้ตรวจสอบความถกู ต้องของนโยบายแนวปฏิบตั ิของ แตล่ ะฝ่าย สามารถเช็คตรวจสอบดผู ลได้จากการปฏิบตั กิ ารทางานหลังการจัดนาเที่ยวสนิ้ สดุ ลง

10.เปน็ การป้องกัน หรอื ลดความเสี่ยงไม่ให้เกิดปญั หาข้นึ ตอ่ การทางานในอนาคต 11.การวางแผนทาให้เกิดการประหยัด เพราะได้เลือกวิธีการปฏิบัติและสถานท่ี ท่ีเหมาะสมท่ีสุดก่อนแล้วไม่ว่าจะเป็นด้านคุณภาพ ราคา การบริการและข้อตกลงตามต้องการ นับว่า เป็นการลดการสิ้นเปลอื ง ลดการสูญเสียทีจ่ ะเกดิ ขึ้น เนอื่ งจากมที างเลือกป้องกันไวแ้ ลว้ 12.ผู้จัดนาเที่ยวมโี อกาสได้เลือกสถานประกอบการที่ดีท่สี ุด มเี วลาเหลือสาหรบั การแก้ไข ปญั หาทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ ไดท้ นั ท่วงที 2.1.3 ปัจจัยด้านลบท่สี ง่ ผลกระทบต่อการวางแผนจัดรายการนาเทีย่ ว 1. สภาพภูมิอากาศเปล่ียนไป เกิดน้าท่วม พายุเข้า ถนนขาด ส่ิงแวดล้อมหรือแหล่ง ทอ่ งเทยี่ วตอ้ งปดิ ไมใ่ ห้เข้าชม ต้องเปล่ยี นแปลงเส้นทาง 2. คู่แข่งขันทาการตลาดช่วงชิงความได้เปรียบ เช่น ตัดราคา ลดแลกแจกแถมจนบริษัท ตอ้ งปรับตัวตาม 3. ไม่สามารถหาสถานประกอบการไดต้ ามท่ีต้องการ อันเนื่องจากอาจเต็ม โดนเอารัดเอา เปรียบ หรอื ราคาแพงเกนิ ไป 4. ผู้วางแผนทางานผิดพลาดไม่มีความสามารถเพียงพอท่ีจะวางแผนให้ประสบผลสาเร็จ ได้ ประสบการณน์ อ้ ย รู้จกั ผู้ประกอบการท่เี กี่ยวข้องไม่กวา้ งขวาง บารมีไมถ่ ึง ตอ่ รองไม่เกง่ 5. ลกู ค้าเกดิ การเปล่ียนใจกะทันหนั อาจให้เปลยี่ นเส้นทาง หรอื ยกเลกิ การเดนิ ทาง 6. มีสถานการณ์ท่ีส่งผลกระทบต่อการท่องเท่ียวเกิดข้ึน เช่น เกิดโรคระบาด เกิดสงคราม มมี ็อบปิดถนน เกดิ สนึ ามิ เกิดน้าท่วม ฯลฯ 7. ผวู้ างแผนหรือผู้ประสานงานเดิมมีปัญหา เชน่ ทง้ิ งาน ป่วย ลาออก เสียชวี ิต ทาให้การ ประสานงานไม่ตอ่ เน่ือง 8. บางคร้ังมีข้อจากดั เร่ืองความต้องการของนักท่องเท่ียวไมส่ อดคล้องกับความสามารถใน การจัดการและระยะเวลาท่ีมี เช่น นักท่องเที่ยวเพิ่งมาบอกให้จัดนาเที่ยวในช่วงใกล้เทศกาลท่องเที่ยว ผู้จัดนาเที่ยวก็ไม่สามารถหาที่พักหรือเตรียมการวางแผนอื่น ๆ ได้ทัน เป็นต้น มีงบให้น้อย แต่ร้องขอ รายการท่องเทีย่ วมากมาย จดั ใหไ้ มไ่ หว 9. สถานประกอบการที่เกี่ยวข้องทางานผิดพลาด เช่น โรงแรมลืมจองห้องให้ทัง้ ๆ ท่ีตกลง จองและมดั จาไวแ้ ล้ว ทาใหอ้ าจพลาดการไดห้ อ้ ง 10.ผเู้ กยี่ วขอ้ งทางานเพื่อผลประโยชน์ของตัวเองโดยไม่คานึงถงึ ผลเสยี ทจ่ี ะมตี ่อบรษิ ัท

2.1.4 ปจั จยั ดา้ นบวกที่เออื้ ต่อการวางแผนจัดรายการนาเที่ยว 1. สภาพภูมิอากาศ ดินฟ้าลมฝนเปน็ ใจ ไมม่ เี หตกุ ารณ์ใดส่งผลกระทบตอ่ การจัดนาเท่ียว 2. การเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงในภาพรวมต่างๆ ภายในประเทศดีไม่เป็นอุปสรรค

(เป็นผลดีต่อ Domestic-Outbound Tour) การเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงในภาพรวมต่างๆ ในต่างประเทศดี มักเป็นผลดตี อ่ Inbound Tour)

3. มตี วั แทนจาหน่ายหรือตัวแทนจัดการนาเทย่ี วท้องถน่ิ หรือตวั แทนจดั การนาเทีย่ วใน ต่างประเทศ (กรณีจัดนาเทีย่ ว Outbound Tour) ท่ีซ่ือสตั ย์มคี ณุ ภาพ

4. ลูกคา้ มงี บประมาณใหจ้ ัดนาเที่ยวสงู เจรจางา่ ย ไมเ่ ร่ืองมาก ไดล้ กู คา้ มคี ุณภาพ 5. ผู้วางแผนจัดนาเที่ยวมีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์สูง มีเพื่อนในวงการ นาเที่ยวมาก มีทีมงานพนักงานขายที่มีคุณภาพ รวมถึงอาจต้องมีทุนสารองมากพอหากจะต้องจัดนา เที่ยวไปต่างประเทศ เพราะผู้จัดต้องมีไว้สารองท่ีน่ังบนเครื่องบิน โดยเฉพาะช่วงเทศกาลท่องเที่ยวท่ีมี วันหยุดยาว ท่ีช่วงดังกล่าวมักมีความต้องการตั๋วเคร่ืองบินท่ีมากและราคาต๋ัวมักสูงกว่าช่วงปกติมาก เชน่ เดียวกับราคาห้องพกั 6. บริษัทจัดนาเทีย่ วไดร้ บั ความไวว้ างใจจากสถานประกอบการท่เี กี่ยวขอ้ ง มีความน่า เชอ่ื ถือหรือมเี ครดติ ดี ทาใหผ้ ู้วางแผนจดั นาเทย่ี วสามารถทางานได้อยา่ งรวดเรว็ 7. ไดร้ บั การตอบรบั จากสถานประกอบการทีเ่ กย่ี วข้องกับการจดั นาเทยี่ วเป็นอย่างดี 8. บริษทั มีภาพพจนท์ ี่ดี ตรวจสอบประวตั ิไดเ้ ป็นที่น่าเชอื่ ถือจากลูกค้าหรอื ผู้ทีม่ าใชบ้ ริการ มีความเชย่ี วชาญในการจัดนาเทย่ี วโดยเฉพาะเส้นทาง หรอื รายการนาเทย่ี วท่ีลกู คา้ ตอ้ งการ 9. บริษัทจัดนาเท่ียวมีสินค้าบริการหรือรายการนาเที่ยวที่มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร คู่แข่งไม่สามารถลอกเลียนแบบได้ หรืออาจยังมีคู่แข่งน้อยรายเป็นบริษัททัวร์ท่ี มีความสามารถพเิ ศษจดั นาเท่ียวได้เฉพาะเรือ่ ง เชน่ จัดทวั ร์ธรรมะ จดั ทัวรเ์ ส้นทางในประเทศท้องถ่นิ ท่ี พงึ่ ถกู คน้ พบวา่ สวยงามนา่ สนใจ หรือเป็นเมอื งทเี่ พ่งิ เปิดรับทางการท่องเที่ยว 10. ได้ช่วงเวลาเดินทางท่องเที่ยวที่เหมาะสม เช่น นักท่องเที่ยวต้องการให้จัดนาเท่ียว นอกฤดูกาลทาให้บรษิ ทั ผู้จดั นาเที่ยวทางานงา่ ย เช่น ตัว๋ เคร่ืองบนิ ราคาถูก หาง่าย มตี วั แทนจดั นาเทย่ี ว หลากหลาย สถานประกอบการต่างๆ พร้อมใจกันใหร้ าคาพิเศษนอกฤดกู าลท่องเที่ยว อน่ึงบริษัทจัดนาเท่ียวหรือผู้วางแผนจัดนาเที่ยวสามารถตรวจสอบการทางานการจัดนา เทย่ี วของตนไดโ้ ดยสามารถดูไดจ้ าก 1. การทน่ี ักท่องเท่ียวให้ความสนใจและตอบรบั ในรายการนาเทยี่ วน้ันอย่างดี มีการวางมัด จาและ ปดิ การขายไดอ้ ย่างรวดเรว็ 2. บริษทั นาเทีย่ วมผี ลกาไรตามเป้าหมายที่วางไว้ 3. มคั คุเทศก์สามารถนาเที่ยวได้ตามโปรแกรมอย่างไหลลื่นไมต่ ิดขัด หรอื ไมต่ ้องมาจัดสรร โปรแกรมกันใหมห่ รอื มีความวนุ่ วายระหวา่ งการนาเทย่ี ว 4. สถานประกอบการที่เก่ียวข้องให้ความช่ืนชม และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือทาธุรกิจ ต่อไปในอนาคต

2.2 ประเภทของการจัดนาเที่ยว 2.2.1 การจัดนาเท่ียวโดยท่วั ไป การจดั นาเที่ยวโดยท่ัวไปสามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะใหญ่ๆ คือจดั นาเที่ยวตามความ

ต้องการของนกั ทอ่ งเท่ียวและจดั ตามรายการนาเท่ยี วที่ไดเ้ ตรียมไว้แล้ว 1. การจัดนาเท่ียวตามความต้องการของนักท่องเที่ยว การนาเท่ียวแบบน้ีจะกาหนด

งบประมาณรายการต่างๆ ให้สนองตอบตรงความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวให้มากที่สุด ตอ้ งสามารถสรา้ งความประทบั ใจ โดยจดั ให้มกี ิจกรรมสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคข์ องกลุ่มนักท่องเที่ยว บางครั้งเราเรียกการจัดนาเที่ยวแบบนี้ว่ากรุ๊ปเหมา หากเป็นการจัดนาเที่ยวท่ีทางหน่วยงานของลูกค้า ให้จัดนาเท่ียวเพื่อเป็นการเที่ยวพักผ่อนประจาปีหรือการเที่ยวเพ่ือให้รางวัลแก่พนักงาน แบบนี้จะ

เรยี กว่า Incentive Tour โดยที่ลูกค้าหรอื นักท่องเที่ยวจะเป็นผู้มสี ่วนร่วมในการกาหนดความต้องการ ในบางเรื่องหรืออาจทุกเรื่อง เช่น สถานที่ท่องเท่ียว วันเวลาเดินทาง โรงแรมท่ีพัก ร้านอาหาร ฯลฯ โดยท่ีบริษัทนาเท่ียวจะเป็นผู้ดาเนินการจัดลงรายการต่างๆ ให้เหมาะสมกับความต้องการ เวลา และ งบประมาณท่ีลูกค้ามี การจัดนาเที่ยวแบบนี้โดยมากนักท่องเท่ียวมักให้ผู้จัดนาเที่ยวจัดหากิจกรรม ระหวา่ งการเดินทางดว้ ยเช่น จดั ให้มีกจิ กรรมวอล์ค แรลลี่(Walk Rally) จดั ให้มงี านรืน่ เรงิ รอ้ งเพลงคา ราโอเกะ จัดให้มีกิจกรรมมอบรางวัลใหแ้ ก่พนักงาน เปน็ ต้น

2. การจัดนาเที่ยวตามรายการนาเท่ียวทเ่ี ตรยี มไว้แล้ว คอื การจัดนาเที่ยวท่ีบริษัทนาเทยี่ ว เป็นผู้กาหนดรายการนาเท่ยี วทงั้ หมดเปน็ แบบเหมาจ่าย(Package Tour) โดยมีกาหนดวันเวลาเดนิ ทาง มกี ารจัดเตรียมยานพาหนะ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สถานท่ีท่องเท่ยี ว ตลอดจนเส้นทางการเดินทาง และแจ้งราคาขาย แล้วโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าที่สนใจเลือกซ้ือ รายการจัดนาเที่ยวแบบน้ีอาจ เรียกว่ารายการนาเท่ียวสาหรับขายหน้าร้าน(ทัวร์หน้าร้าน) มักเป็นทัวร์ ไปเช้าเย็นกลับ ทัวร์ชมเมือง หรือทวั รย์ อดนยิ มที่จัดไปเทย่ี วไดท้ ุกวัน เท่ยี วหรือเนน้ จดั นาเทย่ี วและขายช่วงเทศกาล

2.2.2 การจดั นาเทยี่ วท่ีเป็นสากล แบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ 1. การจัดนาเที่ยวในประเทศ(Domestic Tour) เป็นการจัดนาเที่ยวท่ีให้นักท่องเที่ยวใน

ประเทศและนักท่องเที่ยวต่างประเทศที่มีถ่ินพานักอยู่ในประเทศ ได้ท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ ภายในประเทศ โดยบริษัทนาเท่ียวจะเปน็ ผู้จัดการท่องเท่ียวท้งั หมด นบั ต้งั แตก่ ารจัดรายการนา เท่ียว ติดต่อท่ีพัก ร้านอาหาร และยานพาหนะ ตลอดจนจัดหามัคคุเทศก์

2. การจัดนาเท่ียวเข้าประเทศ(Inbound Tour) เป็นการจัดนาเที่ยวให้ชาวต่างประเทศ เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศ โดยบริษัทนาเที่ยวในต่างประเทศ จะติดตอ่ ผ่านสาขาหรือตัวแทน จัดจาหน่ายท้องถิ่น(Local Agent หรือ Land Operation) ประจาประเทศไทย ตัวแทนจาหน่าย ท้องถ่ินก็จะทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนจัดการท่องเที่ยวภาคพื้นดิน(Land Arrangement)ให้กับบริษัทนา เที่ยวจากต่างประเทศ การจดั นาเทีย่ วน้ีสามารถทาได้ 2 วิธี คอื

2.1จดั ตามความตอ้ งการของบรษิ ัทนาเท่ียวตา่ งประเทศ 2.2บริษัทนาเท่ียวในประเทศจัดเสนอขายบริการหรือรายการท่องเท่ียวต่างๆ ไปยัง บรษิ ทั นาเท่ยี วตา่ งประเทศ 3. การจัดนาเท่ียวไปต่างประเทศ(Outbound Tour) เป็นการจัดนาเท่ียวที่นา นักท่องเที่ยวในประเทศออกไปท่องเที่ยวยังต่างประเทศ โดยบริษัทนาเที่ยวในประเทศจะติดต่อ ผ่านบริษัทนาเที่ยวในต่างประเทศ(Local Agent) ซ่ึงเปรียบเสมือนเป็นตัวแทนทางการท่องเที่ยว ในต่างประเทศ(Land Arrangement) ให้กับบริษัทนาเท่ียวในประเทศ และจะเป็นผู้รับผิดชอบในการ จัดนาเที่ยวให้กับนักท่องเที่ยวขณะท่ีท่องเท่ียวอยู่ในต่างประเทศ เช่น นักท่องเท่ียวชาวไทยไปเท่ียว ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือประเทศอิตาลี ก็จะมีตัวแทนของบริษัทนาเที่ยวประเทศนั้นๆ คอยต้อนรับ และนาเที่ยวในขณะท่ีอยู่ในประเทศน้ันๆ ตัวอย่างอีกลักษณะหน่ึง เช่น บริษัทนาเที่ยว A ในไทย ให้บริษัทนาเท่ียว B ในประเทศอังกฤษเป็นตัวแทนจัดนาเที่ยวไปยังประเทศสเปน หรือโปรตุเกส ซ่ึงเป็นประเทศที่สาม แบบน้ีก็สามารถเรียกได้ว่า เป็นการจัดนาเที่ยวแบบ Outbound Tour ได้ เช่นกัน การจัดนาเที่ยวประเภทน้ี บริษัทนาเที่ยวไทยจะเป็นผู้รับผิดชอบในด้านการทาการตลาด การส่งเสริมการขาย ส่วนการจัดการท่องเท่ียวในประเทศที่เป็นจุดหมายปลายทางนั้น บริษัทตัวแทน ในตา่ งประเทศจะเปน็ ผ้จู ดั การท้งั หมด (พวงบหุ งา ภมู ิพานิช, 2539)

2.2.3 การจดั นาเทยี่ วโดยแบง่ ตามขนาด แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. Foreign Independent Tour or Free Independent Travelers (F.I.T.) เป็นการ

จัดนาเท่ียวส่วนบุคคล หรือครอบครัว เป็นการจัดนาเที่ยวสาหรับผู้ที่ต้องการเดินทางท่องเที่ยวตาม ลาพัง ไปยังจุดหมายปลายทางท่ีตนต้องการและมีอิสระในการเดินทาง โดยมากเป็นการจัดนาเที่ยว ใหก้ ับลกู คา้ ตา่ งประเทศ

2. Group Inclusive Tour (G.I.T.) คือการจัดนาเที่ยวเป็นกลุ่มให้กับนักท่องเที่ยว ที่ต้องการเดินทางกับบริษัทนาเที่ยว โดยการจัดนาเที่ยวแบบนี้อาจแยกได้เป็น 2 ประเภท คือกรุ๊ปจัด หรือทัวร์จดั และกร๊ปุ เหมาหรือทวั ร์เหมา

2.2.4 การจัดนาเที่ยวตามวิธกี าร สามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. การจัดนาเทย่ี วแบบเหมาจ่าย (Package Tour) 2. การจัดนาเทย่ี วแบบเบด็ เสรจ็ (Inclusive Tour) 3. การจดั นาเท่ียวเพ่ือเป็นรางวัล (Incentive Tour) 4. การจัดนาเที่ยวแบบเช่าเหมาลา (Charter Tour)

2.2.5 การจดั นาเที่ยวตามวัตถุประสงค์ จะมีลักษณะคล้ายกับการจัดนาเที่ยวโดยท่ัวไป คือ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่

การจัดนาเที่ยวตามวัตถุประสงค์ของบริษัท กับการจัดนาเท่ียวตามวัตถุประสงค์ของนักท่องเที่ยว ซึ่ง ระยะเวลา 4-5 ปีหลังท่ีผ่านมา บริษัทนาเที่ยวมักให้ความสาคัญในการจัดนาเที่ยวตามวัตถุประสงค์ เพิ่มมากข้ึน เน่ืองจากปัจจุบันความหลากหลายทางการท่องเท่ียวมีมาก นักท่องเท่ียวแต่ละคน แต่ละกลมุ่ มคี วามชอบท่ีไม่เหมือนกันจึงเปน็ การเสี่ยงทบ่ี ริษัทจะจดั นาเท่ยี วตามวตั ถุประสงค์ของบริษัท อยู่เรอื่ ยไป โดยที่ไมใ่ สใ่ จต่อวัตถปุ ระสงคห์ รือความต้องการของกลมุ่ ลกู คา้

2.2.6 การจดั นาเทย่ี วตามลักษณะชว่ งเวลา การจัดนาเท่ียวลักษณะนี้จะนิยมจัดโดยคานึงถึงสถานที่จุดหมายปลายทางท่ีจะไปและ

เวลาทม่ี สี าหรบั การท่องเท่ยี ว ได้แก่ 1. การจัดนาเที่ยวคร่ึงวัน(Half Day Tour) เป็นการจัดนาเที่ยวท่ีมีช่วงเวลาในการ

ท่องเที่ยวสั้นเพียง 5-7 ช่ัวโมง เช่น อาจออกจากท่ีพัก 08.00 น. เพ่ือไปท่องเที่ยว และกลับถึงที่พัก 14.00 น. เป็นการจัดนาเท่ียวในแหล่งท่องเท่ียวหรือสถานท่ีใกล้ๆ ที่สาคัญซึ่งอาจอยู่ใกล้ที่พักของ นักท่องเท่ียว การจัดนาเที่ยวลักษณะนี้นิยมขายหรือจัดให้กับนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวด้วยตัวเอง ซงึ่ อาจเลอื กซอ้ื รายการนาเทย่ี วครง่ึ วนั นีเ้ มอ่ื เห็นว่าตนมีเวลาวา่ งและสนใจท่จี ะไปเทีย่ วยังสถานทีน่ นั้ ๆ

2. การจัดนาเที่ยวเต็มวัน (One Day Tour) เป็นการจัดนาเที่ยวท่ีมีช่วงเวลาในการจัด ท่องเท่ียวต้ังแต่เช้าจรดเย็นคือประมาณ 10-12 ชั่วโมง เช่น อาจออกจากที่พัก 07.00 น. เพื่อไป ทอ่ งเทย่ี วและกลับถึงท่ีพัก 17.00 น. เป็นการจดั นาเที่ยวในแหล่งท่องเทีย่ วหรือสถานทใ่ี กล้ๆ หรือไม่ ไกลจากที่พักของนักท่องเที่ยวมากนัก การจัดนาเที่ยวลักษณะน้ีนิยมขายหรือจัดให้กับนักท่องเท่ียว ที่มาท่องเท่ียวด้วยตัวเองเช่นเดียวกับการจัดนาเที่ยวคร่ึงวัน บางครั้งมีนักท่องเที่ยวเพียง 1 - 2 คน บรษิ ัทก็สามารถจัดนาเทย่ี วไดแ้ ล้ว

3. การจัดนาเท่ียวมากกว่า 1 วัน(Tour Around) เป็นการจัดนาเท่ียวท่ีมีช่วงเวลาในการ ทอ่ งเทีย่ วมากกว่า 1 วัน คือต้องมกี ารค้างคืนระหวา่ งการเดินทางท่องเท่ยี ว อย่างนอ้ ย 1 คนื เป็นการ

จัดนาเที่ยวในแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วหรือสถานทคี่ ่อนขา้ งมีระยะทางไกลต้องใช้เวลาในการเดนิ ทางนานจึงตอ้ ง มีการค้างคืน เช่น รายการ Around North Thailand Tour(3 Night 4 Day) คือการจัดนาเท่ียว ภาคเหนอื 3 คืน 4 วนั เปน็ ตน้

การจัดนาเทีย่ วแตล่ ะครั้งไมว่ ่าจะจัดโดยวิธีใดก็ตาม ควรคานงึ ถึง การจัดใหไ้ ดท้ ่องเที่ยวใน ลักษณะตอ่ ไปนี้ดว้ ย เนือ่ งจากเป็นการทอ่ งเที่ยวพ้ืนฐานทีน่ กั ทอ่ งเทยี่ วคาดหวงั ว่าจะไดร้ ับ ไดแ้ ก่

1. เท่ียวชมเมือง(City Tour) ได้แก่ การเที่ยวชมสภาพแวดล้อมภายในตัวเมือง เยี่ยมชม สถานที่สาคัญๆ ของเมือง เช่น พิพิธภัณฑ์ อนุสาวรีย์ วัด โบสถ์ วัง เป็นต้น การจัดนาเที่ยวลักษณะนี้ จะมีมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เป็นผู้บรรยายภายในรถ เพ่ือให้ทราบประวัติความเป็นมาของสิ่งดังกล่าวและ สภาพสองข้างทางท่ีรถผ่านไม่ว่าจะเป็นอาคาร ร้านค้าย่านสาคัญๆ โบราณสถานท่ีสาคัญของตัวเมือง การจัดนาเที่ยวลักษณะน้ีจะใช้เวลาระยะสั้น อาจเป็นช่วงเช้าหรือช่วงบ่าย กรณีที่จัดเป็นกลุ่ม เมื่อถึง เมืองตามรายการจะมีการเท่ียวในเมือง อาจให้ลูกค้าได้นั่งอยู่บนรถ ทาให้ทราบว่าเมืองนั้นมีสถานท่ี สาคัญอะไรบ้าง รูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ศูนย์การค้า และแหล่งซื้อของ โบสถ์ ที่สาคัญมีอะไร ลักษณะสถาปัตยกรรมของอาคารสถานท่ี

2. เท่ียวทัศนศึกษาแบบเช้าไปเย็นกลับ(Sightseeing Tour หรือ Excursion Tour) ได้แก่ การเท่ียวชมสถานที่ หรือภูมิทัศน์ท่มี ีจุดเด่นทางการท่องเที่ยวตามธรรมชาติ หรือท่ีมนษุ ย์สร้าง ข้ึนที่อยู่ในเมืองหรือเขตรอบนอกตัวเมือง เช่น ภูเขา ชายหาด เมืองเก่า พระราชวัง ปราสาทโบราณ หรือหมู่บ้านชาวเขา รวมถึงการท่องเที่ยวอ่ืนๆ เช่น ไปชมการแข่งขันกีฬา ไปท่องเที่ยวซ้ือของหรือชม การแสดง เป็นต้น ซึ่งในขณะเดินทางไปตามแหล่งท่องเท่ียว นักท่องเที่ยวจะมีโอกาสเพลิดเพลินกับ ทิวทัศน์สองข้างทางที่ผ่าน บางประเทศจัดนาเที่ยวลักษณะนี้มักเน้นขายให้กับนักท่องเท่ียวที่เดินทาง มาตามลาพัง ซงึ่ จะรวมกิจกรรมเที่ยวชมเมืองดว้ ย และอาจจดั ไปยังเมืองท่ใี กล้เคียงโดยใช้เวลาสาหรับ การทอ่ งเทีย่ วแบบเชา้ ไปเย็นกลับคือใช้เวลาทัง้ วนั สาหรบั การท่องเท่ียว แต่ Sightseeing Tour จะเน้น ทัวร์ครงึ่ วนั ไม่คร่งึ วนั เชา้ กค็ รงึ่ วนั บ่าย สว่ น Excursion Tour จะใช้กบั ทัวรเ์ ตม็ วัน

3. เที่ยวแหล่งบันเทิงยามราตรี(Night Tour) ได้แก่ การเท่ียวชมความงามของแสงสียาม ราตรีและท่องเทย่ี วกลางคืนตามสถานบนั เทิงเริงรมยต์ ่างๆ เช่น การรับประทานอาหารคา่ พร้อมชมการ แสดง ชมละคร ชมการแสดงโชว์ต่างๆ เช่น การแสดงโชว์ ภูเก็ตแฟนตาซี หรือท่ีสยามนิรมิต หรอื ฟัง คอนเสริ ์ต เทยี่ วไนต์คลับ ดสิ โก้เธค ชมการแสดงทางวัฒนธรรม หรอื เข้าร่วมงานเทศกาลประเพณีท่จี ัด ในยามค่าคืน เป็นต้น เป็นการใช้ชีวิตในยามราตรีหาความสนุกสนาน และบางครั้งก็อาจได้รับความรู้ ความเพลิดเพลนิ ไปในเวลาเดียวกัน

4. เท่ียวซือ้ ของ(Shopping Tour) หรือที่รู้จกั กนั ว่าช็อปปิ้งทัวร์ ได้แก่ การจัดนาเทยี่ วเพ่ือ ไปยังจุดหมายปลายทางที่เนน้ การซ้ือของตามเมืองหรอื แหล่งซ้ือของที่สาคญั ๆ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ ไม่ วา่ จะเป็นของใช้ อุปโภค บริโภค หรือของท่ีระลึก และของฝาก ทาให้นกั ท่องเที่ยวได้มีโอกาสศึกษาถึง วิธีการทาการผลิตสินคา้ พื้นเมือง งานศิลปหตั ถกรรมของท้องถิ่นนน้ั นักท่องเที่ยวก็จะได้รับความรู้ใน กระบวนการผลิตควบคู่กับการได้สินค้าที่ถูกใจ สาหรับนักท่องเที่ยวไทยการได้ซื้อของถือว่าเป็น กิจกรรมสาคัญท่ีขาดไม่ได้ เพราะนิสัยคนไทยเป็นคนโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เม่ือเดินทาง ท่องเท่ียว ย่อมต้องมีของฝากสาหรับญาติมิตรเพ่ือนฝูง ด้วยเหตุนี้บริษัทนาเท่ียวไทยจะมีรายการให้ นกั ท่องเท่ียวได้มีโอกาสซื้อของเป็นระยะๆ ตามเมืองหรือย่านการค้าที่มีชื่อ เช่น ปารีส ลอนดอน(พวง บุหงา ภมู ิพานชิ , 2539) ถ้าเป็นประเทศไทยในเขตกรงุ เทพฯ ยา่ นซอ้ื สนิ ค้าทีร่ ะลกึ ไดแ้ ก่ สวนจตจุ ักร

ตลาดโบ๊เบ๊ ร้านจิลเวอร่ี(Jewelry) ต่างๆ แถวถนนศรีอยุธยาหรือถนนสุขุมวิท ส่วนในย่านต่างจังหวัด เชน่ ตลาดไนท์บาซาร์ ถนนคนเดิน จงั หวัดเชยี งใหม่ CO-OP จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปน็ ต้น

2.3 องค์ประกอบในการจัดนาเทีย่ ว 2.3.1 องค์ประกอบของการจดั รายการนาเทยี่ ว องค์ประกอบในการวางแผนจัดรายการนาเที่ยว หมายถึง ส่วนประกอบสาคัญที่เกี่ยวข้อง

กบั การจดั รายการนาเที่ยว ซึง่ ผูจ้ ัดนาเท่ียวต้องศกึ ษาหาขอ้ มลู ล่วงหน้าเพอ่ื นามาวางแผนจดั รายการนา เทยี่ วท่ีสาคัญ ได้แก่

1. พาหนะที่ใช้ในการนาเที่ยว(Transportation) เช่น รถโค้ช รถบสั รถตู้ รถไฟ เรือ หรือ เครอื่ งบนิ (Flight หรือ เท่ยี วบนิ ของสายการบินต่างๆ)

2. โรงแรมหรือท่ีพัก(Hotel or Lodging) เช่น โรงแรม รีสอร์ท เกสต์เฮ้าส์ บูติคโฮเตล รวมไปถงึ บ้านพักอุทยาน ฯลฯ

3. ภตั ตาคารหรือรา้ นอาหาร(Restaurant or Food Shop) เชน่ ภัตตาคารอาหารประจา ชาติ รา้ นอาหารที่ใหบ้ ริการกบั คณะทัวร์ หรือร้านอาหารทีเ่ น้นมีการแสดงประกอบเพิ่มอรรถรสในการ รับประทานอาหาร

4. สิ่งดึงดูดใจทางการท่องเท่ียว(Attractions) หรือสถานที่ท่องเที่ยวน่ันเอง เช่น แหล่ง ทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ โบราณสถาน ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต กิจกรรม เทศกาล สิ่งดึงดูดใจด้าน การท่องเท่ียวต่างๆ แหล่งท่องเที่ยวที่กาลังเป็นท่ีนิยมตามกระแสหรือตามการโฆษณาประชาสัมพันธ์ จากการท่องเท่ียวของแต่ประเทศ-แต่ละพื้นท่ี แหล่งท่องเที่ยวตามความสนใจพิเศษของนักท่องเที่ยว แต่ละคนแต่ละคณะ

5. การบริการนาเที่ยวจากหัวหน้าทัวร์หรือมัคคุเทศก์(Tour Leader and Guide Service) ได้แก่ การบริการนาเที่ยวจากหัวหน้าทัวร์ในการไปต่างประเทศ และบริการมัคคุเทศก์ หรือ มัคคเุ ทศกท์ อ้ งถิน่ เมือ่ ท่องเทยี่ วในประเทศ

6. แหล่งซ้ือของ(Shopping Places) เช่น ร้านขายของที่ระลึกในเมือง ในจังหวัดหรือใน แหล่งท่องเที่ยว ร้านขายสินค้าริมทางผ่าน ร้านขายของตามย่านการค้า ตลาดช่ือดัง รวมถึงร้านค้า ปลอดภาษีตามแนวชายแดน ตามจดุ พักรถและหรอื ภายในทา่ อากาศยานต่างๆ

2.4 คณุ สมบัติและจรรยาบรรณของผูว้ างแผนจดั นาเทยี่ ว องค์ประกอบในการวางแผนจัดนาเท่ียวแต่ละประเภทท่ีกล่าวมาแล้วน้ัน ผู้ท่ีจะเข้าไป

ประสานงานเพื่อนาองค์ประกอบต่างๆ เหล่านั้นมารวบรวมจัดเรียงรายการให้น่าสนใจก็คือ ผู้ประกอบการหรอื ผวู้ างแผนจดั นาเทีย่ วในแผนกจดั นาเทย่ี ว(Tour Operator) ของบริษัทนนั่ เอง ซึง่ ผู้ ที่ทาหน้าท่ีดังกล่าวน้ีจาเป็นต้องพบเจอกับงานที่ละเอียดอ่อน และมีผลประโยชน์ผลได้ผลเสียต่างๆ มากมายเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังน้ันผู้ท่ีจะทาหน้าที่น้ีจาเป็นควรจะต้องมีคุณสมบัติและจรรยาบรรณเป็น ทตี่ ้ังเพ่ือความราบรื่นไรป้ ญั หา ซงึ่ ตอ่ ไปนค้ี อื คุณสมบัติท่ีผ้วู างแผนจดั นาเท่ียว ควรมี ไดแ้ ก่

1. ต้องซ่ือสัตย์ ไม่แสวงหาผลประโยชน์จากสถานประกอบการ หรือจากมัคคเุ ทศก์ 2. วางตัวเป็นกลางไม่เอนเอียงเลือกท่ีรักมักท่ีชังต่อลูกน้องหรือเพื่อนร่วมงาน หรือต่อ สถานประกอบการท่ีเก่ยี วข้อง

๑๐

3. มีประสบการณ์รู้จักตัวแทน-ฝ่ายขายในสถานประกอบการ มีความสามารถในการรู้จัก เรียนรู้ประเภทของคู่ค้า และตัวแทนขาย(Agency) ในสถานประกอบการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัด นาเท่ียว

4. ตอ้ งจัดงานตามความสามารถของมคั คเุ ทศก์ ของทีมงาน ใหเ้ กยี รติเพอื่ นร่วมงาน 5. ต้องมีความสามารถในการเสนอทางเลือกสินค้าบริการได้หลากหลายให้แก่ผู้มาใช้ บรกิ ารหรอื ลกู คา้ 6. สามารถประสานงานได้ดีกับผู้เกี่ยวข้อง ทั้งรถ มัคคุเทศก์ โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร สถานทท่ี ่องเท่ียวต่างๆ ร้จู กั สร้างสัมพนั ธท์ ดี่ ีกับผู้ประกอบการท่ีเกยี่ วข้องกบั การจัดนาเทยี่ ว 7. มคี วามอดทนแตก่ เ็ ปน็ ช่วงๆ แล้วแต่ Peak Season เสยี สละ เพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ 8. ภาษาอังกฤษในการเขียน อ่าน พูด แบบสื่อสารได้(โดยเฉพาะการจัดนาเท่ียวระหว่าง ประเทศ) ถึงแม้บางแผนกจะติดต่อกับลูกค้าในเมืองไทยก็ตาม แต่เอกสารที่เราใช้ในบริษัท และ ติดต่อส่ือสารกันภายในองค์กร แต่ละออฟฟิสสาขาในต่างประเทศ และสานักงานใหญ่ เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดทุกแผนก แต่ถ้าเป็นคนท่ีทางานฐานข้อมูลอย่างแผนก Data / Hotel Data ตอ้ งเขยี นเป็นเรือ่ งเป็นราวมาก 9. ทางานภายใต้แรงกดดันได้ดี เพราะต้องประสานงานต่อจากเซลล์ แต่จะมีความกดดัน จาก Local Office แต่ละประเทศที่ต้องทางานด้วย เม่ือจองโรงแรม รถ ร้านอาหาร ยงั มีความกดดัน จากเวลา ที่เป็นเส้นตายกาหนดไว้ว่าต้องเสร็จวันไหน เวลาไหน เป็นเงิน หรือความเสียหายเป็นลูกโซ่ ทันที บางครั้งลูกค้าท่ีติดต่อด้วยมักจะเป็นเจ้าของบริษัททัวร์มาคุยเอง บางรายอยู่ในวงการมา 20 - 30 ปีแล้ว คุยกับคนที่มีประสบการณ์มาเยอะๆ ท้ังดีและกดดัน เป็นการท้าทาย แต่ได้ ประสบการณ์ แต่กท็ าใหเ้ ครียดไม่นอ้ ย 10. รกั งานบรกิ าร 11. เป็นนักเจรจาและเป็นนักต่อรองเก่งๆ เพราะต้องเปน็ คนไปทา Contract เพ่ือให้ได้ Product ดๆี และราคาไม่แพง 12. ละเอียดรอบคอบ ไม่เอาราคาผิดมาขายลูกค้า.. รู้เก่ียวกับ Deadline ต่างๆ กับ โรงแรม กับ Supplier และต้องดูรายการทัวร์ อาหาร การจัดการรายการท่องเท่ียวให้มันเป็นไปได้ อยา่ งดที ส่ี ุด ในส่วนของจรรยาบรรณ อันได้แก่ความประพฤติโดยรวมของผู้วางแผนจัดนาเที่ยวที่ควรมี ประกอบดว้ ย 1. ควรจัดทัวร์ตามรายการไม่ตัดทอน หรือเปลี่ยนแปลงจากข้อตกลงตามใจชอบหรือจัด รายการเพื่อให้ตนไดป้ ระโยชน์ 2. ไม่จัดทัวร์ผิดกฎหมาย หรือศีลธรรม เช่น เซ็กส์ทัวร์ ทัวร์เปิบพิสดาร แม้กระท่ังทัวร์ ศนู ยเ์ หรียญ หรอื ซอื้ หวั ทวั ร์มาจัดนาเทยี่ ว(Kick Back Tour) เป็นตน้ 3. มีสามัญสานึกในการจัดงาน เวลาจะมอบหมายงานอะไรให้กับใครควรให้เวลาแก่ผู้ ปฏิบตั นิ นั้ ตามสมควร และมอบหมายงานตามความสามารถที่แท้จริงของผู้ปฏบิ ตั ิ 4. ไม่วิจารณ์การทางานของมัคคุเทศกห์ รอื เพ่ือนรว่ มงานคนหนง่ึ ให้อีกคนหนึ่งฟงั 5. ต้องมีความสามารถในการเสนอทางเลือกสินค้าบริการได้หลากหลายให้แก่ผู้มาใช้ บรกิ ารหรอื ลูกค้า ใหค้ าแนะนาลกู ค้าตามสมควรถงึ แม้เขาจะไม่ใช้บริการของเรา

๑๑

6. แสดงความจริงใจ และรับผิดชอบแก้ไขปัญหาในการทางานของตนเม่ือเกิดความ ผดิ พลาดในการจดั นาเทยี่ ว

7. ไม่เลอื กใช้บรกิ ารเฉพาะจากสถานบริการทเ่ี กี่ยวข้องในการจัดรายการนาเที่ยว ทเ่ี หน็ ว่า ตนไดป้ ระโยชน์สว่ นตวั จนไม่คานึงถึงความเหมาะสมถูกต้อง แต่ควรทางานเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของ ลกู ค้า และของบริษัทนาเทยี่ วเปน็ สาคัญ

8. ให้จัดรายการนาเที่ยวโดยคานึงถึงความพึงพอใจของลูกคา้ เป็นที่ต้ังไมเ่ อารัดเอาเปรียบ หมกเม็ดเลน่ คาเพอ่ื หลอกลวงลูกค้าหน้าใหม่ ให้เขาหลงเชื่อตายใจมาใช้บริการ

9. รจู้ กั วางแผนการทางาน ตามงาน ตดิ ตามงาน วางแผนปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หา ประสานงาน ฝา่ ยตา่ งๆ ใหล้ ลุ ่วง ไมท่ ้งิ งาน ควรยืนยันงานใหเ้ ป็นปัจจุบัน

2.5 การสารวจเสน้ ทางเพอื่ การจดั นาเที่ยว การสารวจเส้นทาง คือ เดินทางไปยังเส้นทางแหล่งท่องเท่ียวที่คิดไว้ว่าจะนามาจัดเป็น

รายการนาเท่ียว โดยในเบื้องต้นจะสารวจสภาพภูมิศาสตร์และภูมิประเทศของแหล่งท่องเท่ียวและ บริเวณใกล้เคียง สิ่งสาคัญที่ผู้สารวจเส้นทางจะนามาพิจารณาในการวางแผนที่สาคัญมีหลายเร่ือง ไดแ้ กเ่ รือ่ งแหล่งท่องเทีย่ ว จุดแวะชม ตอ้ งสารวจเสน้ ทางและหาข้อมูลให้ได้ว่าการท่องเท่ียวจะตอ้ งแวะ เท่ียวจุดไหนก่อนหลัง จากนั้นให้สารวจดูการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวในแต่ละจุดว่ายากง่ายอย่างไร ต้องใช้พาหนะอ่ืนเปลี่ยนถ่ายหรือไม่ จากนั้นต้องสารวจบริเวณทางผ่านใกล้เคียงว่ามีร้านอาหาร ที่ สามารถนากรุ๊ปทัวร์มาใช้บริการได้หรือไม่ สารวจว่ามีที่พักตัวเลือกใกล้เคียงเหมาะสมท่ีใดบ้าง ตลอดจนสารวจทางกลับว่ามีร้านขายของที่ระลึกให้นักท่องเท่ียวได้แวะซ้ือเลือกชมอย่างไรหรือไม่ การนาข้อมูลเร่ืองเส้นทางเดินทาง แหล่งท่องเท่ียว และสถานประกอบการต่างๆ ดังกล่าว มาคิด พิจารณาลาดับความเป็นไปได้ก่อนหลัง และเลือกสรรในส่ิงที่คิดว่าเหมาะสมกับความสามารถท่ีผู้จัด สามารถทาได้ หรือเพื่อให้ตอบสนองตามความต้องการของลูกค้ามากท่ีสุดนั้นเป็นส่ิงจาเป็นมาก ท้ังนี้ ต้องมีความเป็นไปได้เรื่องของเวลาระหว่างจุดต่อจุด ค่าใช้จ่ายท่ีเหมาะสม และสามารถจัดไปได้ตาม ช่วงเวลาฤดูกาลของแหล่งท่องเที่ยวในแต่ละที่ โดยการสารวจเส้นทาง อาจมีลักษณะต่างๆ ตามแก่ เหตุผลความจาเป็น ดงั นี้

1. การสารวจเส้นทางเดมิ 2. การสารวจเสน้ ทางใหม่ 3. การสารวจเส้นทางเพื่อเปน็ ตัวแทนขาย(หรือเสน้ ทางตวั อย่าง) 4. การสารวจเสน้ ทางเมื่อต้องมีการจัดนาเท่ยี วในลกั ษณะเฉพาะ/พิเศษ

๑๒

บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ การ

ในการวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนและครู ที่มีต่อโครงการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียวนอกสถานที่ของแผนก วิชาการท่องเท่ียว ซ่ึงผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับวิธีดาเนินการวิจัยและได้นาเสนอ เป็นหัวข้อตามลาดบั ดงั น้ี

1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครัง้ น้ี คือ นักเรียน และครู แผนกวชิ าการท่องเทย่ี ว วิทยาลัยพณิชย-

การธนบรุ ี กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเที่ยว ที่เข้าร่วม

โครงการ จานวน 40 คน เฉพาะเจาะจง

2. เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 2.1 ลกั ษณะเครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ี ประกอบด้วยแบบสอบถาม 1 ชุด โดยแบง่ เปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบ

สารวจรายการ (Check – List) ประกอบด้วยขอ้ มูลสว่ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เพศ และ สถานภาพ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อ

โครงการศึกษาดงู านและฝึกปฏบิ ัตทิ กั ษะการนาเทย่ี วนอกสถานทขี่ องแผนกวิชาการทอ่ งเทยี่ ว ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ 2.2 วิธีสร้างเครื่องมือ สร้างแบบสอบถามเร่ือง“แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน

นักศึกษาที่มีต่อโครงการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเที่ยวนอกสถานที่ของแผนกวิชาการ ท่องเท่ียว โดยผู้วิจัยได้ดัดแปลงมาจากเคร่ืองมือของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เพอื่ ให้ เขา้ กับกิจกรรมโครงการ ผวู้ ิจยั ไดส้ ร้างขน้ึ เอง โดยใช้ Google Form ตามข้นั ตอนดงั นี้

2.2.1 ศกึ ษาหลักการทฤษฎีจากตารา เอกสาร บทความทางวิชาการและงานวิจยั 2.2.2 นาข้อมูลทไี่ ด้มากาหนดกรอบแนวความคิดในการวิจัย 2.2.3 สร้างเคร่อื งมอื เปน็ แบบสอบถามตามมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ จานวน 10 ข้อ คือ

5 หมายถึง ระดบั ความพึงพอใจมากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ ระดับความพึงพอใจมาก 3 หมายถึง ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง 2 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ย 1 หมายถงึ ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยที่สุด

3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.1 ผู้วิจัยขอความร่วมมือจากนักเรียนและครู แผนกวิชาการท่องเท่ยี ว วิทยาลัยพณิชยการ-

ธนบุรี โดยรวบรวมฟอร์มในวนั ท่ีทากจิ กรรม

๑๓

3.2 ผลการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วจิ ัยไดร้ ับแบบสอบถามคืนจานวน 40 ฉบบั คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ของแบบสอบถามท่สี ่งไปทั้งหมด

3.3 รวบรวมแบบสอบถามทัง้ หมดทไ่ี ด้มาดาเนินการตามขน้ั ตอนการวจิ ยั ต่อไป

4. การวเิ คราะห์ข้อมลู

ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้จากแบบสอบถามนามาทาการวเิ คราะห์ โดยใช้คอมพวิ เตอร์โปรแกรม SPSS

(Statistical Package for Social Sciences Version 11.5) เพ่ือวิเคราะห์หาค่าสถิติต่าง ๆ ตาม

ลาดับขน้ั ตอนดังน้ี

ตอนท่ี 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ

แจกแจงความถ่ี หาค่าร้อยละ

ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับแบบสอบถามเก่ียวกับความพึงพอใจทีม่ ีต่อโครงการ ศึกษาดูงานและ

ฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียวนอกสถานที่ของแผนกวิชาการท่องเที่ยว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ

หาคา่ เฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยกาหนดเกณฑ์ในการ

แปลความหมายของค่าเฉลีย่ โดยถอื เกณฑ์ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด 2535, 111)

ค่าเฉลยี่ แปลความหมาย

4.50 – 5.00 มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารงานอยใู่ นระดับมากท่สี ุด

3.50 – 4.49 มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารงานอยู่ในระดับมาก

2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจในการบริหารงานอยูใ่ นระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจในการบริหารงานอยใู่ นระดับน้อย

1.00 – 1.49 มคี วามพึงพอใจในการบรหิ ารงานอยู่ในระดบั น้อยทสี่ ดุ

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ

๑๔

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

การวิจัยเร่อื ง การศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเทย่ี วทีม่ ตี ่อ โครงการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบตั ิทกั ษะการนาเท่ียวนอกสถานท่ขี องแผนกวิชาการท่องเท่ยี ว ผูว้ จิ ยั ตั้ง วตั ถปุ ระสงค์ไว้ 2 ประการ คือ

๑) เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี น และครู แผนกวิชาการทอ่ งเท่ียวทีม่ ีต่อโครงการ ศึกษาดูงานและฝกึ ปฏิบตั ิทักษะการนาเท่ียวนอกสถานทข่ี องแผนกวิชาการทอ่ งเทีย่ ว

  1. เพ่อื นาข้อเสนอแนะไปพัฒนาปรบั ปรุงในการดาเนินโครงการคร้งั ต่อไป ในการวิจัยคร้ังนี้กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเที่ยว ที่เข้าร่วม โครงการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน (Taro Yamane) และใช้วิธีการ เฉพาะเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม จากนั้นนาแบบสอบถามที่รวบรวม ได้มาดาเนินการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพื่อ คานวณหาค่าสถิติสาหรับตอบวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัยให้ครบถ้วนตามท่ีต้ังไว้ มีลาดับ ข้ันตอนดงั นี้ 4.1 สญั ลักษณท์ ่ีใชใ้ นการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู 4.2 ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ข้อมลู 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

4.1 สญั ลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล

เพ่ือความเข้าใจที่ตรงกันในการแปลความหมายข้อมูล จึงกาหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอ

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั น้ี

x̃ แทน ค่าเฉลยี่

S.D. แทน คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน

4.2 ข้นั ตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ และ สถานภาพ ใช้การวเิ คราะห์หา

ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) และนาเสนอในรปู ตารางประกอบการบรรยาย ตอนที่2 ความพึงพอใจของนักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเท่ียวของวิทยาลัยพณิชย-

การธนบุรี ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมที่มีผลต่อโครงการศึกษาดูงานและฝึกปฏิบัติทักษะการนาเท่ียว

นอกสถานที่ของแผนกวิชาการท่องเที่ยว ใช้การวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย (x̃) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.)

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ในการวิจัยเรื่องนี้กลุ่มตัวอย่างท่ีวิจัย ได้แก่ นักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเท่ียว ของ

วิทยาลัยพณิชยการธนบุรีท่ีเข้าร่วมกิจกรรมซ่ึงมีข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ เพศ และ สถานภาพ ใช้การวิเคราะหโ์ ดยการแจกแจงคา่ ความถ่ี (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) แล้ว นาเสนอในแผนภมู ิและตารางประกอบการบรรยาย ปรากฏดังแผนภมู ิท่ี 4.1 - 4.2 และตารางที่ 4.1

๑๕

แผนภูมิที่ 4.1 ค่าร้อยละ (Percentage) ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนก ตามเพศ

เพศ

ชาย 22% หญิง 78%

จากแผนภมู ิท่ี 4.1 พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นมาก เปน็ เพศหญงิ จานวน 31 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 78 และเพศชาย จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 22

แผนภูมิท่ี 4.2 ค่าร้อยละ (Percentage) ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม สถานภาพ

สถานภาพ

ครู 5%

นักเรียน 95%

จากแผนภูมิที่ 4.2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นนักเรียน จานวน 38 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 95 และ เปน็ ครู จานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินผลการจัดกิจกรรม ใช้แบบสอบถาม ใช้ การวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย ( ̃ ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) แล้วนาเสนอในรูปตารางประกอบการ บรรยาย ดงั ตารางท่ี 4.1

๑๖

ตารางที่ 4.1 แสดงค่าเฉลี่ย ( ̃ ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการประเมินผลการจัด กิจกรรมใช้แบบสอบถามพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้ความพึงพอใจต่อคาถามในการประเมินผลการ ประเมนิ จดั กจิ กรรม ดังนี้

รายการประเมิน ̃ S.D. แปลผล ระดับ

ดา้ นวตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ

1. ศึกษาดูงานในสถานท่ี แหล่งท่องเที่ยว หรือ สถานประกอบการที่ 4.73 0.44 มากทส่ี ุด ดีมาก เก่ียวขอ้ งกบั การท่องเทีย่ ว

2. ได้ฝึกปฏิบัติจัดเส้นทางท่องเที่ยว และการนาเที่ยวเพ่ือ 4.59 0.54 มากท่สี ดุ ดีมาก ประสบการณอ์ ยา่ งสร้างสรรค์

ด้านกระบวนการและการดาเนินการ ท่านมีความคิดเหน็ อยา่ งไรเกี่ยวกบั หวั ข้อตอ่ ไปน้ี

3. การประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรม/โครงการ 4.41 0.59 มาก ดี

4. การช้ีแจง อธิบาย แนะนากิจกรรมโดยละเอยี ด 4.22 0.66 มาก ดี

5. ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.51 0.60 มากทส่ี ุด ดีมาก

6. สถานท่ีจดั กจิ กรรม (เส้นทางนาเที่ยว) มีความเหมาะสม 4.57 0.72 มากที่สุด ดีมาก

7. การบริการ การอานวยความสะดวกของคณะทางาน มีความ 4.54 0.60 มากทส่ี ดุ ดีมาก เหมาะสม

ผลที่ได้รบั จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ

8. ความรู้ /ความคดิ 4.49 0.55 มาก ดี

9. ทัศนคตทิ ี่ดตี อ่ วิชาชพี 4.59 0.59 มากที่สุด ดมี าก

10. ทักษะวิชาชีพเบื้องต้น (เช่น การแนะนาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว 4.57 0.55 มากท่สี ดุ ดมี าก การบรกิ ารอาหารและเครื่องดืม่ ระหวา่ งการเดนิ ทาง เป็นตน้ )

11. การมสี ว่ นร่วมและการทางานเป็นทีม 4.65 0.53 มากทส่ี ดุ ดมี าก

12.ความสนุก ความสุข จากการรว่ มกจิ กรรม 4.81 0.46 มากทส่ี ุด ดมี าก

ความพงึ พอใจโดยรวมในการเข้ารว่ มโครงการนี้

13. ความพงึ พอใจโดยรวมตอ่ คณะดาเนินงาน 4.41 0.59 มากทส่ี ุด ดมี าก

14. ความพงึ พอใจโดยรวมในการเขา้ ร่วมโครงการนี้ 4.54 0.55 มากทสี่ ุด ดีมาก

รวม 4.54 0.14 มากที่สุด ดมี าก

๑๗

จากตารางท่ี 4.1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับความพึงพอใจ จากมากที่สุดไปน้อยท่ีสุด พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความสนุก ความสุข จากการร่วมกิจกรรม (x̃ = 4.81) มีความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก ศึกษาดูงานในสถานที่ แหล่งท่องเที่ยว หรือ สถานประกอบการ ที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียว (x̃ = 4.73) การมีส่วนร่วมและการทางานเป็นทีม (x̃ = 4.65) ได้ฝึกปฏิบัติจัดเส้นทางท่องเท่ียว และการนาเที่ยวเพื่อประสบการณ์อย่างสร้างสรรค์ (x̃ = 4.59) ทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพ (x̃ = 4.59) สถานท่ีจัดกิจกรรม (เส้นทางนาเที่ยว) มีความ เหมาะสม (x̃ = 4.57) ทักษะวิชาชีพเบื้องต้น (เช่น การแนะนาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว การบริการ อาหารและเครื่องด่ืมระหว่างการเดินทาง เป็นต้น) (x̃ = 4.57) การบริการ การอานวยความสะดวก ของคณะทางาน มีความ เหมาะสม (x̃ = 4.54) ระยะเวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม (x̃ = 4.51) มีความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก ความรู้ /ความคิด (x̃ = 4.49) การประชาสัมพันธ์ กิจกรรม/โครงการ (x̃ = 4.41) มีความพึงพอใจ ระดับ ดี และรายการประเมินท่ีมีผลน้อยท่ีสุด คือ การชี้แจง อธิบาย แนะนากิจกรรมโดยละเอียด (x̃ = 4.22) มีความพึงพอใจ ระดับ ดี ส่วนความ พึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมโครงการน้ี แบ่งเป็น 2 ข้อ ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วม โครงการนี้ (x̃ = 4.54) มีความพึงพอใจระดับ ดีมาก และ ความพึงพอใจโดยรวมต่อคณะดาเนินงาน (x̃ = 4.41) มรี ะดับความพึงพอใจ ดี ตามลาดบั

๑๘

บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การวิจัยเร่ืองการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาที่มีต่อโครงการศึกษาดูงานและ ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ักษะการนาเทยี่ วนอกสถานที่ของแผนกวชิ าการท่องเที่ยว มีวัตถปุ ระสงค์ เพื่อ

๑) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน และครู แผนกวิชาการท่องเท่ียวท่ีมีต่อโครงการ ศึกษาดูงานและฝกึ ปฏิบัติทกั ษะการนาเทยี่ วนอกสถานท่ขี องแผนกวิชาการท่องเท่ียว

  1. เพอ่ื นาข้อเสนอแนะไปพัฒนาปรบั ปรุงในการดาเนินโครงการคร้งั ต่อไป การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ

5.1 อภิปรายผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ พบว่า ผู้ตอบ

แบบสอบถามส่วนมาก เป็นเพศหญิง จานวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 78 และเพศชาย จานวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 22

จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนมาก เป็นนักเรียน จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 95 และเป็นครู จานวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5 ตามลาดับ

จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลรายการการความพึงพอใจเป็นรายข้อ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีความพึงพอใจโดยเรียงลาดับความพึงพอใจจากมากที่สุดไปน้อยท่ีสุด พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า “ความสนุก ความสุข จากการร่วมกิจกรรม” (x̃ = 4.81) มีความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก “ศึกษา ดูงานในสถานที่ แหล่งท่องเที่ยว หรือ สถานประกอบการท่ีเกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียว” (x̃ = 4.73) “การมีส่วนร่วมและการทางานเป็นทีม” (x̃ = 4.65) “ได้ฝึกปฏิบัติจัดเส้นทางท่องเท่ียวและการนา เท่ียว เพื่อประสบการณ์อย่างสร้างสรรค์” (x̃ = 4.59) “ทัศนคติท่ีดีต่อวิชาชีพ” (x̃ = 4.59) “สถานที่จัดกิจกรรม (เส้นทางนาเที่ยว) มีความเหมาะสม” (x̃ = 4.57) “ทักษะวิชาชีพเบื้องต้น (เชน่ การแนะนาข้อมลู แหล่งท่องเท่ียว การบริการอาหารและเครื่องด่มื ระหว่างการเดินทาง เป็นต้น)” (x̃ = 4.57) “การบริการ การอานวยความสะดวกของคณะทางาน มีความเหมาะสม” (x̃ = 4.54) “ระยะเวลาท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม” (x̃ = 4.51) มีความพึงพอใจ ระดับ ดีมาก “ความรู้ /ความคิด” (x̃ = 4.49) “การประชาสัมพันธ์กิจกรรม/โครงการ” (x̃ = 4.41) มีความ พึงพอใจ ระดับ ดี และรายการประเมินท่ีมีผลน้อยท่ีสุด คือ “การช้ีแจง อธิบาย แนะนากิจกรรม โดยละเอียด” (x̃ = 4.22) มีความพึงพอใจ ระดับ ดี ส่วนความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วม โครงการน้ี แบ่งเป็น 2 ข้อ คือ “ความพึงพอใจโดยรวมในการเขา้ รว่ มโครงการนี้” (x̃ = 4.54) มคี วาม พึงพอใจระดับ ดีมาก และ “ความพึงพอใจโดยรวมต่อคณะดาเนินงาน” (x̃ = 4.41) มีระดับความ พึงพอใจ ดี ตามลาดบั

5.2 ข้อเสนอแนะ 1. อยากใหเ้ พิ่มคืน/วนั ไห้มากข้ึน เชน่ 5วัน 4คืน 2. ควรจดั โปรแกรมให้หลากหลาย เพือ่ ใหน้ ักท่องเทยี่ วได้ผอ่ นคลายมากกว่านี้ 3. อยากไห้มีอีกสนุกมากๆ