การค ดค าเส อมต องรวมภาษ ม ลค าเพ มม ย

คำย่อ

พันธสัญญาเดิม

ปฐก.

ปฐมกาล

อพย.

อพยพ

ลนต.

เลวีนิติ

กดว.

กันดารวิถี

ฉธบ.

เฉลยธรรมบัญญัติ

ยชว.

โยชูวา

วนฉ.

ผู้วินิจฉัย

นางรูธ

นางรูธ

๑ ซมอ.

ซามูเอล ฉบับที่หนึ่ง

๒ ซมอ.

ซามูเอล ฉบับที่สอง

๑ พกษ.

พงศ์กษัตริย์ ฉบับที่หนึ่ง

๒ พกษ.

พงศ์กษัตริย์ ฉบับที่สอง

๑ พศด.

พงศาวดาร ฉบับที่หนึ่ง

๒ พศด.

พงศาวดาร ฉบับที่สอง

เอสรา

เอสรา

นหม.

เนหะมีย์

อสธ.

เอสเธอร์

โยบ

โยบ

สดด.

เพลงสดุดี

สภษ.

สุภาษิต

ปญจ.

ปัญญาจารย์

พซม.

เพลงซาโลมอน

อสย.

อิสยาห์

ยรม.

เยเรมีย์

พคค.

เพลงคร่ำครวญ

อสค.

เอเสเคียล

ดนล.

ดาเนียล

โฮเชยา

โฮเชยา

โยเอล

โยเอล

อาโมส

อาโมส

อบด.

โอบาดีห์

โยนาห์

โยนาห์

มีคาห์

มีคาห์

นาฮูม

นาฮูม

ฮบก.

ฮาบากุก

ศฟย.

เศฟันยาห์

ฮกก.

ฮักกัย

ศคย.

เศคาริยาห์

มลค.

มาลาคี

พันธสัญญาใหม่

มธ.

มัทธิว

มาระโก

มาระโก

ลูกา

ลูกา

ยอห์น

ยอห์น

กิจการ

กิจการของอัครทูต

รม.

โรม

๑ คร.

โครินธ์ ฉบับที่หนึ่ง

๒ คร.

โครินธ์ ฉบับที่สอง

กท.

กาลาเทีย

อฟ.

เอเฟซัส

ฟป.

ฟีลิปปี

คส.

โคโลสี

๑ ธส.

เธสะโลนิกา ฉบับที่หนึ่ง

๒ ธส.

เธสะโลนิกา ฉบับที่สอง

๑ ทธ.

ทิโมธี ฉบับที่หนึ่ง

๒ ทธ.

ทิโมธี ฉบับที่สอง

ทิตัส

ทิตัส

ฟม.

ฟีเลโมน

ฮบ.

ฮีบรู

ยากอบ

ยากอบ

๑ ปต.

เปโตร ฉบับที่หนึ่ง

๒ ปต.

เปโตร ฉบับที่สอง

๑ ยน.

ยอห์น ฉบับที่หนึ่ง

๒ ยน.

ยอห์น ฉบับที่สอง

๓ ยน.

ยอห์น ฉบับที่สาม

ยูดา

ยูดา

วว.

วิวรณ์

พระคัมภีร์มอรมอน

๑ นี.

๑ นีไฟ

๒ นี.

๒ นีไฟ

เจคอบ

เจคอบ

อีนัส

อีนัส

เจรอม

เจรอม

ออมไน

ออมไน

คม.

ถ้อยคำของมอรมอน

โมไซยาห์

โมไซยาห์

แอลมา

แอลมา

ฮีล.

ฮีลามัน

๓ นี.

๓ นีไฟ

๔ นี.

๔ นีไฟ

มอร.

มอรมอน

อีเธอร์

อีเธอร์

โมโร.

โมโรไน

หลักคำสอนและพันธสัญญา

คพ.

หลักคำสอนและพันธสัญญา

ขก.—๑

ข้อประกาศอย่างเป็นทางการ—๑

ขก.—๒

ข้อประกาศอย่างเป็นทางการ—๒

ไข่มุกอันล้ำค่า

โมเสส

โมเสส

อับรา.

อับราฮัม

จส—ม

โจเซฟ สมิธ—มัทธิว

จส—ป

โจเซฟ สมิธ—ประวัติ

ลช.

หลักแห่งความเชื่อ

คำย่ออื่น ๆ และคำอธิบาย

คมพ.

คู่มือพระคัมภีร์

ปจส.

งานแปลของโจเซฟ สมิธ

ฮีบรู

คำแปลอีกความหมายหนึ่งจากภาษาฮีบรู

กรีก

คำแปลอีกความหมายหนึ่งจากกรีก

อส.

คำอธิบายสำนวนและโครงสร้างที่เข้าใจยาก

คบ.

แสดงถึงคำในอีกความหมายหนึ่งเพื่ออธิบายความหมายของข้อความสมัยโบราณ

นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกับ กวีนิพนธ์ และร้อยกรอง ได้แก่ บทกวี บทประพันธ์ คำประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานท์ กานท์ รวมทั้งคำว่า ฉันท์ กาพย์ และกลอน ซึ่งในปัจจุบันหมายถึงคำประพันธ์ที่มีรูปแบบต่างกัน ก็เคยใช้ในความหมายเดียวกันกับ กวีนิพนธ์ และ ร้อยกรอง มาในยุคสมัยหนึ่ง

ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่า บทกวี ส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าว เรียกว่า กวี

บทกวี คือ ภาษาของอารมณ์ความรู้สึกนึกคิด คือเครื่องมือที่จะนำสิ่งที่เรารู้สึกว่าเป็นข่าวสารออกมาแสดงให้ประจักษ์ ตระหนัก ตระหนก สะทก สะท้อน กวีอาจไม่มีหน้าที่สรุปหรือฟันธงความจริง แต่กวีอาจหมุนแปรคำและความให้เห็นความจริงใหม่ ๆ ของชีวิตหลายด้าน ทั้งเรื่องที่บางทีคนทั่วไปคิดไม่ถึง และแม้แต่ตัวกวีเองก็เพิ่งจะคิดถึง

องค์ประกอบของบทกวี[แก้]

องค์ประกอบของบทกวี มี 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่

1. ความรู้สึก สารหรือเรื่องที่ต้องการถ่ายทอด บทกวีที่ดีออกมาจากความรู้สึกของผู้เขียน ความรู้สึกอาจเกิดขึ้นโดยกะทันหันหลังจากไปกระทบบางสิ่งบางอย่าง ก่อเกิดแรงบันดาลใจ อาจรู้สึก เปี่ยมสุข เปี่ยมความหมาย หรือรู้สึกนิ่งลึกดิ่งจมในเหวหุบแห่งความเศร้า ฯลฯ

2. รูปแบบที่กวีเลือกในการนำเสนอ

รูปแบบของกวีนิพนธ์[แก้]

แบ่งตามประเภทของกวีและวรรณกรรมที่ปรากฏเป็น 2 รูปแบบ คือ

  • กวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์
  • กวีนิพนธ์ไร้ฉันทลักษณ์

กวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์[แก้]

  • กวีนิพนธ์ราชสำนัก (ดู ฉันทลักษณ์) ได้แก่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และร่าย
  • กวีนิพนธ์ท้องถิ่น ได้แก่ กานต์ กาบ (อีสาน) กอน (อีสาน) กาพย์ (เหนือ) ค่าว และแร็ป

กวีนิพนธ์ไร้ฉันทลักษณ์ หรือไร้การสัมผัส[แก้]

ในช่วงที่การแต่งกลอนประเภทเคร่งฉันทลักษณ์และพราวสัมผัสถึงจุดอิ่มตัว บรรดากวีเริ่มแสวงหารูปแบบคำประพันธ์ใหม่ ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงความจำเจ และสามารถสื่อ สาร ได้อย่างเสรี ไม่ติดในกรอบฉันทลักษณ์ จึงปรากฏรูปแบบกวีนิพนธ์ที่เรียกกันว่า กลอนเปล่า หรือ กวีนิพนธ์แบบไร้ฉันทลักษณ์ กวีนิพนธ์รูปแบบนี้ได้รับความนิยมมากขึ้น และเป็นที่ยอมรับในวงวรรณกรรมของไทยสูงสุด เมื่อหนังสือรวมบทกวี ไม่มีหญิงสาวในบทกวี ของ ซะการีย์ยา อมตยา ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์อิสระ ได้รับการคัดเลือกให้ชนะเลิศรางวัลซีไรต์ ในปี พ.ศ. 2553

กลอนเปล่า เป็นคำประพันธ์ที่พัฒนามาจากฟรีเวิร์ส (อังกฤษ: Blank Verse) ของตะวันตก เป็นกลอนในวรรณคดีอังกฤษที่ไม่มีการสัมผัสคำ แต่มีการเน้นเสียงในลักษณะ lambic Pentameter คือ 1 บาท แบ่งเป็น 5 จังหวะ จังหวะละ 2พยางค์ พยางค์แรกเสียงเบา (ลหุ) พยางค์หลังเสียงหนัก (ครุ) กลอนเปล่าได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญของกวีนิพนธ์ประเภทบรรยายโวหารยาว ๆ (soliloquy) รวมทั้งงานด้านปรัชญาและการละคร นับตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา กลอนเปล่าปรากฏอยู่ทั่วไปในงานประพันธ์บทละครของเชคสเปียร์ โดยมักเป็นบทพูดของตัวละครที่มีบทบาทสำคัญ หรือมีฐานันดรสูงกว่าคนปกติ บทกวีมหากาพย์ Paradise Lost ของจอห์น มิลตัน ใช้รูบแบบฉันทลักษณ์ของกลอนเปล่าประพันธ์ทั้งหมด

กลอนเปล่าของไทย เริ่มนับตั้งแต่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงนำกลอนเปล่าเข้ามาใช้ในไทย โดยใช้เป็นบทสนทนาที่แปลมาจากบทละครของเช็คเสปียร์ ต่อมา จิตร ภูมิศักดิ์ เขียนบทร้อยกรองชื่อพิราบขาวในลักษณะของกลอนเปล่า แต่เป็นกลอนเปล่าที่เปลี่ยนแปลไปจากเดิมในความหมายจากตะวันตก ซึ่งทำให้มีผู้เรียกว่า กลอนปลือย

กลอนเปล่าและกลอนเปลือยที่ไทยใช้ จึงหมายถึงงานเขียนที่ผู้แต่งมุ่งประหยัดและพิถีพิถันในการใช้คำและที่สำคัญ คือ ผู้เขียนพยายามจัดถ้อยคำเป็นวรรค หรือเป็นรูปใดรูปหนึ่งคล้ายร้อยกรอง เพียงแต่ไม่มีสัมผัสบังคับเท่านั้น

วรรณรูป หรือกวีนิพนธ์รูปธรรม (อังกฤษ: Concrete Poetry) เป็นการผสมผสานทัศนศิลป์และวรรณศิลป์เข้าด้วยกัน กวีผู้โดดเด่นในเรื่องนี้ได้แก่ จ่าง แซ่ตั้ง ซึ่งใช้ความเป็นจิตรกรในการเขียนงานกวีนิพนธ์ งานวรรณรูปของเขามีทั้งแบบที่ใช้ถ้อยคำเรียงกันแบบกลอนเปล่า และแบบที่ใช้ถ้อยคำเรียงกันเป็นรูปภาพ งานวรรณรูปที่ปรากฏในปัจจุบันมิได้บ่งชัดว่าได้รับอิทธิพลจากชาติใด นับเป็นความริเริ่มของ จ่าง แซ่ตั้ง เลยทีเดียว

แคนโต้ จัดเป็นบทกวีประเภทหนึ่ง มีลักษณะเป็นกลอนเปล่า 3 บรรทัด “แคนโต้” เป็นเพียงบทกวีที่ประกอบไปด้วยกลุ่มถ้อยคำสั้น ๆ แต่สิ่งที่น่าแปลกก็คือ เมื่อกลุ่มคำเหล่านี้ ถูกจัดเรียงเป็นสามบรรทัดแล้ว กลับเต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง เมื่อได้อ่านแคนโต้ของใครผู้ใดก็ตาม เป็นความยาวต่อเนื่องจำนวนมาก คุณจะกลายเป็นผู้ล่วงล้ำ เข้าไปรับรู้ถึงอารมณ์ และห้วงความคิดคำนึงของชีวิตใครผู้หนึ่ง ในลักษณะปะติดปะต่อ และในยามที่คุณเผชิญหน้ากับถ้อยคำสั้น ๆ เหล่านั้น คุณจะได้พบกับความหมายบางอย่าง ผ่านความอ่อนไหว จากชีวิตเล็ก ๆ บนโลกนี้

แคนโต้ เป็นบทกวีไทยร่วมสมัย เกิดขึ้นโดยคนไทย มีลักษณะเป็นลูกผสมระหว่างตะวันออกและตะวันตก รูปแบบคล้ายกวีไฮกุของญี่ปุ่น มีความแตกต่างกันเล็กน้อย ตรงที่ไฮกุจะเน้นไปทางการแสวงหาความหลุดพ้น แต่แคนโต้นั้นเดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย

ในประเทศไทยมีผู้เขียนบทกวี 3 บรรทัดอยู่บ้างประปราย แต่คนที่นิยาม การรวมกลุ่มของบทกวี 3 บรรทัด ที่มีความยาวต่อเนื่อง 400 บทขึ้นไปว่า “แคนโต้”นั้น คือ ฟ้า พูลวรลักษณ์

จากแคนโต้หมายเลขหนึ่ง

บทที่ 1

บ้านของข้าเงียบสงับ

อยู่ในตรอก

ข้าไม่มีเพื่อนสักคน

ในการสื่อสารด้านอารมณ์ การเขียนกวีนิพนธ์มักมีรูปแบบที่สั้นและกระชับ หรืออาจมีการใช้การพ้องเสียงหรือการกล่าวซ้ำ ๆ เพื่อสร้างให้เกิดผลคล้ายดนตรีหรือคำพูดในพิธีกรรม คุณภาพของบทกวีมักขึ้นอยู่กับการสร้างให้เกิดมโนภาพ การเกี่ยวข้องกันของคำ และความไพเราะของภาษาที่ใช้

ดูเพิ่ม[แก้]

  • ฉันทลักษณ์
  • วรรณกรรม

เชิงอรรถ[แก้]

  • พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  • สุภาพร มากแจ้ง, กวีนิพนธ์ไทย, โอเดียนสโตร์, 2535.
  • พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  • ไพวรินทร์ ขาวงาม, ว่าด้วยบทกวี, http://amarinwriter.exteen.com/20061221/entry-3 เก็บถาวร 2011-07-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ซะการีย์ยา อมตยา, องค์ประกอบของบทกวีมีอะไรบ้าง, http://www.thaipoetsociety.com/index.php?topic=7.0 เก็บถาวร 2012-12-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน