การควบค ม กำจ ด เพล ยะไฟ กล วยไม หวายต ดดอก

สว่ นต่างๆของผ้าซิ่น การแตง่ กายส่วนใหญ่ใช้ผ้าทอมอื ซึ่งทำจากเสน้ ใยธรรมชาติ เชน่ ผ้าฝ้าย และผ้าไหม ผา้ พน้ื เมืองอสี าน ชาวอสี านถือว่าการทอผา้ เปน็ กจิ กรรมยามว่างหลงั จากฤดูการทำนาหรือว่างจากงานประจำอนื่ ๆ ใต้ถุนบา้ นแตล่ ะบ้านจะกางหูกทอผ้ากันแทบทกุ ครวั เรอื น โดยผหู้ ญงิ ในวยั ต่างๆ จะสบื ทอดกนั มาผ่านการจดจำและปฏบิ ัติจากวยั เด็กทง้ั ลวดลายสีสนั การย้อมและการทอ ผ้าทีท่ อด้วยมือจะนำไปใช้ตัดเยบ็ ทำเป็นเครื่องนุ่งหม่ หมอน ทน่ี อน ผ้าหม่ และการทอผ้ายังเป็นการเตรียมผ้าสำหรับการออกเรือนสำหรบั หญิงวัยสาว ทัง้ การเตรียมสำหรบั ตนเองและเจา้ บ่าว ทงั้ ยงั เป็นการวัดถึงความเป็นกุลสตรี เปน็ แมเ่ หย้าแม่เรือนของหญิงชาวอีสานอกี ดว้ ย ผา้ ทที่ อขนึ้ จำแนกออกเปน็ 2 ชนิด คือ 1. ผ้าทอสำหรับใช้ในชีวติ ประจำวัน จะเปน็ ผ้าพ้ืนไม่มีลวดลาย เพราะต้องการความทนทานจึงทอด้วยฝา้ ยย้อมสีตามต้องการ 2.ผา้ ทอสำหรบั โอกาสพิเศษ เชน่ ใชใ้ นงานบุญประเพณตี า่ งๆ งานแต่งงาน งานฟ้อนรำ ผ้าที่ทอจงึ มักมลี วดลายท่ีสวยงามวิจติ รพิสดาร มหี ลากหลายสสี นั ประเพณีทีค่ ู่กนั มากับการทอผ้าคอื การลงขว่ ง โดยบรรดาสาวๆ ในหม่บู า้ นจะพากนั มารวมกลุ่มก่อกองไฟ บ้างก็สาวไหม บา้ งกป็ ่นั ฝ้าย กรอฝา้ ย ฝ่ายชายก็ถือโอกาสมาเกย้ี วพาราสีและนง่ั คุยเป็นเพื่อน บางครัง้ ก็มกี ารนำดนตรพี ้นื บ้านอย่างพณิ แคน โหวต มาบรรเลงจา่ ยผญาโตต้ อบกัน เนื่องจากอีสานมชี นอยหู่ ลายกลมุ่ วฒั นธรรม การผลิตผา้ พ้ืนเมืองจงึ แตกตา่ งกนั ไปตามกลมุ่ วฒั นธรรม กลมุ่ อีสานใต้ คอื กล่มุ คนไทยเชื้อสายเขมรที่กระจดั กระจายตั้งถ่ินฐานอยู่ในแถบจงั หวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษและบรุ รี ัมย์ เปน็ กลุ่มท่ีมกี ารทอผา้ ท่มี เี อกลักษณ์โดยเฉพาะของตนเอง มสี สี นั ท่แี ตกต่างจากกลมุ่ ไทยลาว 38 การแต่งกายของภาคกลาง ภาพท่ี 62 ในปัจจบุ นั การแตง่ กายของแต่ละภาคได้รบั ความกลมกลืนกันไปหมด เน่อื งมาจากถูกครอบคลุมสิ่งที่เรยี กวา่ แฟชนั่ จงึ ทำใหก้ ารแต่งกายมีความคล้ายคลงึ กันไปหมด จนแยกแยะไม่ค่อยออกวา่ บคุ คลไหนอาศัยอยู่ในภาคใด เราลองไปรื้อฟ้นื กันดวู า่ ในสมยั รุ่นก่อนๆ สมัยคณุ ปู่ ย่า ตา ยาย มีการแตง่ กายกันแบบใดบา้ ง โดยแยกแยะในแตล่ ะภาคดังต่อไปน้ี การแต่งกายประจำภาคกลาง การแต่งกายภาคกลาง การแตง่ กายในชีวิตประจำวันทว่ั ไป ชายนงุ่ กางเกงครง่ึ น่อง สวมเสื้อแขนสั้น คาดผ้าขาวม้า สว่ นหญงิ จะนุ่งซ่นิ ยาว สวมเส้อื แขนส้นั หรือยาว ลกั ษณะการแต่งกาย ผู้ชาย สมยั ก่อนการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง นยิ มสวมใสโ่ จงกระเบนสวมเส้ือสขี าว ตดิ กระดมุ 5 เม็ด ทเี่ รยี กวา่ “ราชประแตน” ไวผ้ มสั้นข้างๆตัดเกรียนถึงหนงั ศรี ษะขา้ งบนหวแี สกกลาง ผู้หญงิ สมัยก่อนการเปล่ียนแปลงระบอบการปกครอง นิยมสวมใสผ่ า้ ซ่นิ ยาวครึ่งแข้ง ห่มสไบเฉียงตามสมัยอยธุ ยา ทรงผมเกลา้ เปน็ มวย และสวมใส่เคร่ืองประดับเพื่อความสวยงาม ภาพที่ 64 ภาพท่ี 63 39 การแต่งกายภาคตะวันออก ในภาคตะวันออกการแต่งกายมีลักษณะเช่นเดยี วกับคนภาคกลาง เดมิ ทภี าคน้ีเรียกรวมกับคนภาคกลาง แตเ่ นอ่ื งจากลักษณะภมู ิประเทศซ่งึ ต่างไปจากภาคกลางผลติ ผลและภมู ิอากาศคลา้ ยคลงึ กับภาคใตจ้ งั มลี กั ษ ณะเด่นขัดของตนเองท่ีแยกออกไปได้ ภาคกลางและภาคตะวันออก ชุดไทย ร.5 – ตัวเสอ้ื เปน็ ผา้ ลกู ไมเ้ น้ือนุ่ม เอวใส่ลาสติกระบายสวยงามทัง้ รอบคอและปลายแขนเสอื้ แขนตุก๊ ตาติดกระดุมด้านหลังสวมใสส่ บาย โจรกระเบนผ้าตราดลายไทยสอดด้ิน เด็กหญงิ ในสมยั น้ี นงุ่ โจงกระเบนเช่นเดยี วกบั ผใู้ หญ่ ไม่สวมเสื้อเวลาออกงานจึงสวมเสือ้ คอตดิ ลกู ไม้ทเี่ รยี กวา่ เส้ือคอกระเช้า เวลาแต่งตัวเตม็ ท่นี งุ่ โจงกระเบน สวมเสอ้ื แขนยาวคอปดิ แต่งด้วยผ้าลูกไม้งดงาม สวมถุงเทา้ รองเท้า เจ้านายท่ีทรงพระเยาว์ ทรงฉลองพระองค์แขนยาว พองและทรงเครื่องประดบั มาก ยังคงนิยมไวผ้ มจุก เมอื่ ตัดจุกแลว้ จงึ เริ่มไว้ผมยาว ได้กล่าวไวแ้ ลว้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวไม่มีพระราชประสงค์จะให้ชาวตา่ ง ประเทศดหู ม่ินเหยยี ดหยามคนไทยวา่ แต่งกายเหมือนคนป่า จงึ ทรงกวดขนั เรื่องนีม้ ากถึงกับโปรดให้ออกประกาศ 2 ฉบับ ใช้บังคบั ราษฎร ฉบับแรกคือ ประกาศห้ามคนแต่งตัวไมส่ มควร มใิ หไ้ ปมาในพระราชฐานทเี่ สดจ็ ออก โดยหา้ มผู้ใหญ่ทัง้ ชายหญงิ สวมแตเ่ สอื้ ช้นั ในหรือไมส่ วมเสอ้ื เลย หรือน่งุ กางเกงขาสัน้ เหนือเข่า หรือนงุ่ ผ้าหยกั ร้งั ไม่ปิดเข่าหรือนงุ่ โสรง่ หรอื สวมรองเท้าไม่มถี งุ เท้า ไมว่ า่ รองเทา้ ชนดิ ใด ๆ หรอื สวมรองเท้าสลปิ เปอร์ ตลอดจนเด็กท่ีเปลือยกายเข้ามาในบรเิ วณพระราชวงั ชั้นนอกดา้ นหนา้ กับบรเิ วณวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ยกเวน้ คนทำงานขนของกอ่ สร้าง กวาดล้าง ถา้ ผู้ใดฝา่ ฝืนหรือพาเด็กหรือปล่อยเด็กที่แต่งกายไมส่ มควรดังกล่าวลว่ งเขา้ มาในเขตที่กำหนดไว้ใหน้ ายประ ตูขับไล่ห้ามปราม ถ้าไม่ฟงั ให้จบั ส่งศาลกระทรวงวงั ตดั สนิ โทษ ปรบั ไม่เกนิ คราวละ 20 บาท หรอื ขงั ไวใ้ ช้การไม่เกนิ คราวละ 15 วัน หรือทง้ั ปรับทง้ั ขังตามควรแกโ่ ทษ ถ้าผทู้ ำผดิ เปน็ เด็กอายตุ ่ำกวา่ 15 ปลี งไป บิดามารดาหรอื มูลนายหรือผูเ้ ลย้ี งดูเดก็ นัน้ จะตอ้ งรับโทษแทนทุกประการ ประกาศเม่ือวนั ที่ 20 มกราคม ร.ศ.117 (พ.ศ.2441) ให้ใช้บังคับต้งั แต่1 กุมภาพันธ์ ร.ศ.117 เปน็ ตน้ ไป 40 ภาพที่ 65 เสอื้ คอกระเช้า ชดุ ราชปแตน – เป็นชุดไทยสำหรบั ท่านชายแบบทางการใช้ไดก้ ับการใสเ่ พื่อเขา้ รว่ มงานพิธแี บบไทย หรือเป็นชุดสำหรับเจ้าบ่าว ในพธิ หี มน้ั หรือพธิ มี งคลสมรส ชุดนโ้ี ดยปกติจะใส่กบั โจงกระเบนมีใหเ้ ลือก 8 สดี ว้ ยกนั ตัดเปน็ สำเรจ็ รปู ขอบยางยืด เคร่อื งแตง่ กายของชายไทยในสมัยตน้ รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวนี้ไดป้ รับปรุงตามแบ บประเพณนี ิยมสากลของชาวตะวันตกเป็นครั้งแรก แตห่ ลงั จากเสด็จประพาสอนิ เดีย-พม่า ในปี พ.ศ.2414 แล้ว มพี ระราชดำรวิ ่า การสวมเส้ือนอกแบบฝรั่งซึ่งต้องมีเสื้อเชติ้ สวมข้างในแลว้ ยงั มผี ้าผกู คออีกดว้ ยนั้น ไมเ่ หมาะสมกับอากาศร้อนของเมอื งไทย จงึ โปรดใหด้ ัดแปลงเปน็ เสือ้ นอกสขี าวคอปดิ ตดิ กระดุมตลอดอก 5 เมด็ เรียกวา่ “เสอ้ื ราชแปตแตนท์ (RajPattern) ซงึ่ ต่อมาเรยี กเพี้ยนไปเป็น “เสอื้ ราชปะแตน” ซง่ึ แปลว่า “แบบหลวง” แตย่ งั คงน่งุ ผา้ ม่วงสกี รมทา่ เหมือนเดิม ในสมัยนี้ นิยมสวมหมวกแบบยุโรปหรือหมวกหางนกยูง ถอื ไมเ้ ท้า ซง่ึ มักจะใชค้ ลอ้ งแขนจงึ เรยี กวา่ “ไม้ถือ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2439 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั โปรดให้ทหารนงุ่ กางเกงขายาวแทนผา้ ม่วงโจงกระเบนสีกรมท่า เป็นผลให้ประชาชนเร่มิ นิยมนุ่งกางเกงขายาวและสวมหมวกกะโลก่ ันขน้ึ บ้างในตอนปลายรชั กาล การแต่งกายของชายท่วั ไป ยงั คงนยิ มแต่งกายตามสบายเชน่ เดยี วกับสมยั รชั กาลก่อน ๆ คือ น่งุ ผ้าลอยชาย มผี า้ ขาวมา้ หรอื ผ้าอะไรก็ได้แตะบา่ คลมุ ไหล่หรอื คาดพงุ ซ่ึงคงจะเป็นประเพณีการแต่งกายของคนไทยตามปกติมาแต่โบราณและคาดพุง ไม่นิยมใชผ้ า้ แตะบ่า การน่งุ ลอยชาย คือ การเอาผ้าท้งั ผืนน้ันมาโอบหลงั กะใหช้ ายผ้าขา้ งหน้าเทา่ กนั แลว้ ขมวดชายพก คอ่ นข้างใหญ่เหนบ็ แน่นติดตัว แล้วท้งิ ชายหอ้ ยลงไปข้างหน้า การนุ่งผา้ ลอยชายนี้ บางคนชอบนุ่งใตส้ ะดือ ชายพกท่ีค่อนขา้ งใหญน่ เ้ี พ่ือเก็บกล่องหรอื หีบบุหรีท่ ่ีตนชอบ 41 สว่ นผา้ คาดพงุ ไม่ว่าจะเปน็ ผา้ ขาวมา้ หรอื ผ้าสา่ นหรือผา้ อะไรผูกเป็นโบเงอื่ นกระทก ไวข้ า้ งหน้า ทิ้งชายผา้ ลงมาเล็กน้อย ภาพที่ 66 ภาพท่ี 67 การแตง่ กายประจำภาคใต้ ภาพท่ี 68 ภูมิหลัง ดินแดนทางภาคใตข้ องประเทศไทย อันประกอบดว้ ย 14 จังหวัดนนั้ แต่เดมิ มีผู้คนอาศยั อยตู่ ั้งแต่ยุคกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ จนต่อมาได้พฒั นาเกิดเป็นชุมชนและกลายเปน็ เมืองท่าทส่ี ำคัญ อันเปน็ จดุ เช่อื มโยงระหวา่ งดินแดนตะวันออกและตะวันตกของโลก ซ่งึ เป็นแหล่ง 42 แลกเปลี่ยนวฒั นธรรมท่ีสำคญั โดยเฉพาะประเทศจนี อนิ เดยี และหมเู่ กาะสมุ าตรา เรยี กดนิ แดนแห่งน้ีกนั ว่าอาณาจกั รศรีวชิ ัย อทิ ธิพลในการทอผ้าจากอินเดีย ทมี่ ีการสอดผสมดิน้ เงนิ ด้นิ ทอง ลงในผนื ผ้าสรา้ งรูปแบบแก่ผ้าในภาคใต้ โดยซื้อหาวัสดุสว่ นใหญ่จากอินเดีย ต่อมาเนื่องจากศึกสงคราม บ้านเมือง ล่มสลายลงการทอผ้าอันวิจิตรกส็ ูญหายไปด้วย โดยต่อมาภายหลังหันมานำเขา้ ผ้าพิมพ์ และผา้ แพรจากจีนรวมถึงผ้าบาตกิ จากเกาะชวา และ ผ้ายโุ รปมาสรวมใส่ จากการทชี่ าวใต้มไิ ด้มีการปลูกฝ้ายหรือไหมขนึ้ ใชเ้ อง เน่อื งจากข้อจำกดั ของพืน้ ท่ี จึงทำการ สง่ั ซื้อผ้าสำเร็จรปู โดยเฉพาะผ้าบาตกิ หรอื ปาเต๊ะมาใช้กันจนภายหลังเป็นเครอ่ื งแตง่ กาย ประจำภาคไปในทสี่ ดุ ปัจจุบนั แหล่งทำผา้ แบบดั้งเดิมน้นั เกือบจะสญู หายไป คงพบได้เฉพาะ 4แหลง่ เทา่ นน้ั คอื ทต่ี ำบลพมุ เรียง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี , อำเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช , เกาะยอ จังหวัดสงขลา และตำบลนาหมื่นศรี จังหวดั ตรงั การแตง่ กายของชาวใต้ การแตง่ กายนัน้ แตกต่างกนั ในการใชว้ ัสดุ และรูปแบบโดยมีเอกลักษณ์ไปตามเชื้อชาติ ของผู้คนอันหลากหลายท่ีเข้ามาอยู่อาศัยในดนิ แดนอนั เก่าแก่แหง่ น้ีพอจำแนกเป็นกลุ่มใหญๆ่ ไดด้ ังน้ี 1. กลุ่มเชื้อสายจนี – มาลายเู รียกชนกลมุ่ นว้ี า่ ยะหยา หรอื ยอนย่า เปน็ กลมุ่ ชาวจีน เชือ้ สายฮกเก้ียนที่มาสมรสกับชนพืน้ เมอื งเชือ้ สายมาลายู ชาวยะหยาจึงมกี ารแต่งกายอันสวยงาม ทผ่ี สมผสาน รูปแบบของชาวจนี และมาลายเู ขา้ ดว้ ยกันอย่างงดงาม ฝ่ายหญิงใสเ่ สื้อฉลลุ ายดอกไม้ รอบคอ,เอว และปลายแขนอยา่ งงดงาม นิยมนงุ่ ผ้าซ่นิ ปาเต๊ะ ฝา่ ยชายยังคงแต่งกาย คลา้ ยรปู แบบจีนดง้ั เดิมอยู่ 2. กลุ่มชาวไทยมุสลิมชนดง้ั เดิมของดินแดนน้ีนบั ถือศาสนาอิสลาม และมีเช้ือสายมาลายู ยังคงแตง่ กายตามประเพณี อันเก่าแก่ฝ่ายหญิงมผี า้ คลุมศรี ษะ ใส่เสอื้ ผ้ามสั ลิน หรือลกู ไม้ตัวยาวแบบมลายูนุ่งซิ่นปาเต๊ะ หรือ ซ่นิ ทอแบบมาลายู ฝา่ ยชายใส่เส้อื คอตั้ง สวมกางเกงขายาว และมผี ้าโสร่งผืนส้นั ท่เี รยี กว่า ผา้ ซองเก็ต พนั รอบเอวถ้าอยู่ บา้ นหรือลำลองจะใส่โสรง่ ลายตารางทอด้วยฝา้ ย และสวมหมวกถักหรือ เยบ็ ดว้ ยผา้ กำมะหยี่ 3. กลุ่มชาวไทยพุทธชนพนื้ บ้าน แต่งกายคลา้ ยชาวไทยภาคกลาง ฝ่ายหญิงนยิ มนุ่งโจงกระเบน หรอื ผ้าซนิ่ ดว้ ย ผ้ายกอนั สวยงาม ใส่เสื้อสีอ่อนคอกลม แขนสามสว่ น ส่วนฝ่ายชายนุ่งกางเกงชาวเล หรอื โจงกระเบนเช่นกนั สวมเสอ้ื ผ้าฝา้ ยและ มผี า้ ขาวม้าผูกเอว หรือพาดบ่าเวลาออกนอกบ้านหรอื ไปงานพธิ ี 4. กลุ่มราชสำนกั สยาม เนอื่ งจากผา้ ทอ ทางภาคใต้นั้นมีช่ือเสยี งในความงดงามและ ประณีตด้งั นั้นกลมุ่ เจ้านาย ในราชสำนักต้ังแต่ อดีตของไทยจึงนยิ ม นำผา้ ทอจากภาคใต้ 43 โดยเฉพาะผ้ายกเอามาสวมใส่เปน็ ผา้ ซิ่น และผา้ โจงกระเบน โดยใสเ่ สอื้ หลากหลายแบบ สว่ นใหญจ่ ะนยิ มแบบยโุ รป ประเภทของผา้ ทอท่ีมีชอื่ เสียงของภาคใต้ ผ้ายกเมอื งนครศรีธรรมราช เป็นผา้ ทท่ี อยกโดยการสอดด้ินเงิน และด้นิ ทองสลบั ไหมอันวิจติ ร ผลติ ใช้สำหรบั ราชสำนกั ไทย ผ้ายกทองของนครศรีธรรมราชนนั้ ข้ึนชื่อในความละเอียด ลวดลายแปลกโดยสามารถทำหนา้ กว้างได้ถงึ 70-80 ตระกรอ โดยผ้าขนาด 12 เขานน้ั ตอ้ งใช้คนทำถงึ 3 คน ในอดตี ใช้เปน็ เครือ่ งราชบรรณาการสูร่ าชสำนัก สืบมาต้ังแต่สมยั กรุงศรีอยธุ ยา ธนบรุ ี จวบจนกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ส่วนใหญก่ ารทอจะไดร้ บั อปุ ถัมภ์จากเจ้าเมือง โดยนำรปู แบบและช่างทอจากอนิ เดยี มาชว่ ยสอนอีกด้วย ภาพที่ 69 ลวดลายของผ้ายกเมืองนครศรธี รรมราช ผา้ ยกพุมเรียง ชาวตำบลพุมเรียงอำเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎ์ธานี เปน็ ชาวมสุ ลิม ทหี่ นีภัยสงครามมาจากเขาหัวแดง จงั หวัดสงขลา จากปัตตานี และไทรบุรี ในสมยั ต้นรตั นโกสินทร์ ผ้ายกจะมสี นั สดใสฝีมือประณตี ทมี่ ีช่อื เสียงคือผ้ายกหน้านาง ผ้ายกดอกถมเกสร และดอกลายเชงิ เปน็ ต้น ผ้ายกเกาะยอ เป็นผ้าทมี่ ีชอื่ เสยี งของจงั หวัดสงขลา เดิมคงอพยพหนีสงครามมาจากเขาหวั แดง 44 มาอยทู่ ่ีเกาะยอเน่ืองจากวสั ดใุ นการทอตอ้ งสง่ั ซอ้ื จากตา่ งถ่นิ จงึ ทำใหก้ ารทอผ้ายกของเกาะยอมีปญั หา จนเกือบสญู หายไป เพิ่งมาได้รบั การสง่ เสริมขน้ึ อกี ครง้ั เมื่อหลังสงครามโลกครงั้ ที่ 2 โดยการใช้ก่กี ระตกุ แทนกีเ่ ตยี้ แบบดัง้ เดิม ภาพท่ี 70 ลวดลายของผา้ ยกพุมเรียง ผา้ ยกปัตตานี เมืองปัตตานีเคยเปน็ เมืองท่านานาชาตทิ ่ีสำคัญตัง้ แต่สมยั อยุธยา โดยเปน็ ท่อี ย่อู าศัยของชาวจีน , อนิ เดีย และเปอร์เซยี ที่หนกี ารปกครองของ ชาวโปรตเุ กสจากเมืองมาลักกา โดยนำเทคนคิ การทอผา้ หลายหลากชนิดมาเผยแพร่ จนผสมผสานขนึ้ โดยมีรูปแบบอัน เปน็ เอกลักษณ์ของตนเอง จากสัญลักษณ์ทางศาสนาอสิ ลาม เขา้ มาใช้ในลวดลายผ้า อยา่ งงดงาม ผ้ายกปัตตานี เดิมเรียกวา่ ผา้ ซอแก๊ะ ผ้ามัดหมี่ เรียกวา่ ผา้ อีกัด ผา้ ไหมยกตระกรอ เรียกว่า ผ้าการะดูวอ เป็นตน้ ผ้ายกปตั ตานี ท่ีทอยกทองนน้ั ภายหลงั ไดส้ ญู หายไป คงเหลอื อยู่บ้างก็คอื ผ้าจวนตานีหรือผา้ ล่วงจวน ซง่ึ เปน็ ผา้ มดั หมี่ อนั มีลักษณะพเิ ศษโดยเฉพาะ ภาพท่ี 71 ลวดลายของผ้าจวนตาน ผา้ พานช้าง เปน็ ผ้าขิดใชเ้ ปน็ ผา้ กราบพระ ผา้ เชด็ หน้า หรอื เชด็ นำ้ หมาก ทอยาวติดกนั เพอื่ ใช้ในพิธีทางศาสนาของชาวตำบลบ้านนาหม่ืนศรี จงั หวัดตรงั แตล่ ะช้ินมักเปน็ รูป สเี่ หลยี่ มจตั ุรสั 45 ขดิ ดว้ ยสดี ำ , น้ำเงนิ , ฟ้า , เขยี ว ทอเป็นลายครุฑ , คน และนกยงู สลับตวั หนงั สือโคลงกลอนคติธรรมสอนใจ บางครงั้ ใช้ในพิธศี พ โดยเมอื่ เสรจ็ พธิ ีแล้วจะนำมาตัดแบง่ แจกกนั ในครอบครัวลูกหลานหรือถวายพระเพื่อเปน็ สง่ิ รำลึกสืบไป ผา้ ทอนาหมื่นศรีอย่ทู ่ีตำบลนาหม่นื ศรี อำเภอนาโยง เปน็ ผา้ พนื้ เมืองที่เป็นเอกลักษณ์ ส่วนใหญ่เป็น ผา้ ทอยกดอก อาทิ ลายกลีบบัว ลายส่ีทศิ และลายเสาวรส สำหรับเส้นด้ายยอ้ มสีสด ใชเ้ คร่ืองทอขนาดใหญจ่ ึง ได้ผา้ ผืนกว้าง มีลายเชิงทีม่ ีรูปแบบคล้ายผา้ จากตำบลหาดเสย้ี ว จังหวัดสุโขทัย ผา้ ทอนาหม่นื ศรมี ีความสัมพันธก์ ับประเพณีความเชอ่ื ในชุมชน คือ ผา้ พานชา้ งมีขนาดกวา้ งประมาณ หน่ึงศอก ยาวประมาณหน่ึงวา ใชพ้ าดเหนอื หบี ศพก่อนเผา ลวดลายท่ที อจะเป็นคำกลอนหรอื โคลงประวตั ิผตู้ าย มีคตสิ อนใจให้ยึดมน่ั ในคุณความดี เป็นมรณานุสติ เมือ่ เผาศพแลว้ นิยมตัดแบ่งผา้ พานช้างออกเป็นช้นิ ๆ ถวายพระ เพือ่ ใชเ้ ปน็ ผ้าเชด็ ปาก เชด็ มือและปโู ตะ๊ นอกจากนย้ี ังมผี า้ ทอบา้ นใสบ่อ ผ้าทอบ้านหรั่ง ผ้าทอห้วยนาง ผา้ ทอนาแขก และผา้ บาติก ภาพที่ 72 ลวดลายของผา้ พานชา้ ง ปจั จุบนั ชาวใต้ยงั คงสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมในการถกั ทอผืนผ้าซึ่งสบื ทอดมาจากบรรพบุรษุ ในอดตี ใหป้ รากฏเป็นส่ิงทออนั ล้ำคา่ อนั สืบสาน และโยงใยไปถงึ ความเจรญิ รุง่ เรืองในอดีตกาลของดินแดนแหง่ น้เี พอื่ ใหค้ งอยกู่ บั ผืนแผน่ ดินไทยสบื ต่อไป ช่ัวกาลนาน การแสดงนาฏศิลป์ไทย โดยเฉพาะการแสดงโขนนัน้ ไดจ้ ำแนกผแู้ สดงออกเป็น 4 ประเภท ตามลกั ษณะของบทบาทและการฝกึ หดั คือ ตวั พระ ตวั นาง ตวั ยักษ์ และตวั ลงิ ซง่ึ ในแต่ละตวั นั้น 46 นอกจากบคุ ลิกลักษณะท่ีถา่ ยทอดออกมาใหผ้ ชู้ มทราบจากการแสดงแล้ว เครือ่ งแตง่ กายของผู้แสดงก็ยังเป็นสญั ลกั ษณ์ทสี่ ำคญั อยา่ งหนึ่งท่บี ง่ บอกว่า ผ้นู ันรบั บทบาทแสดงเป็นตัวใด เครอ่ื งแต่งกายนาฏศิลปไ์ ทยมคี วามงดงามและมกี รรมวิธีการประดิษฐท์ ่วี จิ ติ รบรรจงเป็นอยา่ งยงิ่ ท้ังนเี้ พราะท่ีมาของเคร่ืองแตง่ กายนาฏศลิ ปไ์ ทยน้นั จำลองแบบมาจากเครอ่ื งทรงของพระมหากษัตริย์ (เครื่องต้น) แลว้ นำมาพัฒนาใหเ้ หมาะสมต่อการแสดง ซึ่งจำแนกออกเปน็ 4 ฝา่ ย ดังน้ี - เครอ่ื งแต่งตัวพระ - เครือ่ งแต่งตัวนาง - เคร่ืองแต่งตวั ยักษ์ - เครือ่ งแตง่ ตวั ลิง สำหรับเครอื่ งแตง่ ตวั พระและตวั นางดงั กล่าวนี้ จะใชแ้ ต่งกายสำหรับผูร้ ำในระบำมาตรฐาน เชน่ ระบำส่ีบท ระบำดาวดงึ ส์ ระบำพรหมมาสตร์ รำบำย่องหงิด และระบำกฤดาภนิ หิ าร เปน็ ต้น และยงั ใช้แต่งกายสำหรบั ตัวละครในการแสดงละครนอกและละครในด้วย ส่วนในระบำเบ็ดเตลด็ เชน่ ระบำนพรตั น์ ระบำตรีลลี า ระบำไตรภาคี ระบำไกรลาสสำเรงิ ระบำโบราณคดีชดุ ต่างๆ หรือระบำสัตวต์ ่างๆ จะใชเ้ คร่ืองแตง่ กายให้ถูกต้องตรงตามรูปแบบของระบำนั้นๆ เช่น ระบำโบราณคดี ก็ตอ้ งแตง่ กายให้ถูกต้องตรงตามหลกั ฐานทป่ี รากฏในรูปปั้นหรอื ภาพจำหลัก ตามโบราณสถานในยุคสมัยน้ัน เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีการแสดงทเี่ ป็นนาฏศิลปพ์ ้ืนเมอื งของท้องถน่ิ ต่างๆ ซ่ึงจำเปน็ ตอ้ งแตง่ กายให้สวยงามถูกตอ้ งตามวัฒนธรรมของท้องถนิ่ ดว้ ย นอกจากนย้ี ังมเี ครอ่ื งแต่งกายประกอบการแสดงโขน ทเี่ ห็นได้ชัดเจนคือ การแต่งกายชดุ ยักษ์ ชดุ ลิง (หนุมาน) และหวั โขนทใ่ี ชใ้ นการแสดงโขนเรื่องรามเกยี รต์ิ เป็นต้น ภาพท่ี 73 47 ภาพที่ 74 การแต่งกายของโขน ตวั พระ ภาพท่ี 75 เครื่องแตง่ กายโขน ได้เลยี นแบบอยา่ งเคร่ืองแต่งกายของพระมหากษตั รยิ ์ แบง่ ได้ 3 ประเภท คือ 1. ศิราภรณ์ (เครือ่ งประดบั ศรี ษะ) เช่น ชฎา มงกฎุ ป้ันจุเหร็จ รวมถงึ หัวโขนดว้ ย 2. ภูษาภรณ์ (เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม) เช่น ฉลององค์(เส้ือ) สนับเพลา(กางเกง) ห้อยหน้า(ชายไหว) หอ้ ยขา้ ง(ชายแครง) พระภูษา(ผ้านงุ่ ) รัดเอว ผ้าทพิ ย์ เจยี ระบาด สไบ เป็นตน้ 3. ถนิมพิมพาภรณ์ (เครื่องประดับต่าง ๆ) เช่น ป้ันเหน่ง(เข็มขัด) สังวาล ตาบหน้า ตาบทิศ ตาบหลัง อินทรธนู ธำมรงค์ แหวนรอบ ปะวะหล่ำ ทองกร กรองคอ สะอง้ิ พาหุรัด กำไลเท้า เป็นตน้ การแต่งกายโขน แบง่ ออกเปน็ 3 ฝา่ ย ดังน้ี ฝ่ายมนษุ ย์-เทวดา (พระ นาง) ฝา่ ยยกั ษ์ และฝา่ ยลงิ ผู้แสดงตัวพระจะสวมเสื้อแขนยาวปักด้ินและเลื่อม ประดับด้วยปะวะหล่ำ มีอินธนูท่ีไหล่และพาหุรัด ส ว ม ก ร อ งศ อ ทั บ ด้ ว ย ทั บ ท ร ว ง สั งว า ล แ ล ะ ต า บ ทิ ศ ส่ ว น ล่ า งส ว ม ส นั บ เพ ล าไว้ ข้ า งใน นุ่ งผ้ านุ่ งย ก จี บ โจ งไว้ห างห งส์ ทั บ ส นั บ เพ ล า ด้ าน ห น้ ามี ช าย ไห ว แ ล ะช าย แ ค รงห้ อ ย อ ยู่ 48 ป ร ะ ดั บ ด้ ว ย สุ ว ร ร ณ ป ร ะ ก อ บ รั ด เอ ว ด้ ว ย รั ด พั ส ต ร์ ค า ด ป้ั น เห น่ ง ศี ร ษ ะ ส ว ม ช ฎ า ประดับด้วยดอกไม้เพชรท่ีด้านซ้าย ดอกไม้ทัดท่ีด้านขวา มีอุบะ ตามตัวสวมเครื่องประดับต่าง ๆ ประกอบด้วยกำไลเท้า ธำมรงค์ แหวนรอบ กรรเจยี กและทองกร แต่เดิมตัวพระจะสวมหัวโขนในการแสดง แต่ภายหลังไมเ่ ปน็ ท่ีนยิ ม เพียงแต่แตง่ หนา้ และสวมชฎาแบบละครในเทา่ นนั้ การแต่งกายของโขนตัวนาง ภาพที่ 76 ผแู้ สดงตวั นางจะสวมเสอื้ ในนางแขนส้ันเปน็ ช้ันใน มีพาหรุ ดั แลว้ หม่ สไบทบั ทิ้งชายไปด้านหลงั ยาวลงไปถึงน่อง ประดบั ด้วยปะวะหลำ่ สวมกรองศอ สะอ้ิงและจ้นี าง ส่วนล่างนุ่งผา้ นงุ่ ยกจีบหนา้ คาดปั้นเหนง่ ศรี ษะสวมมงกุฎ รดั เกล้ายอด รดั เกลา้ เปลวหรอื กระบงั หน้าตามแต่ฐานะของตวั ละคร ประดับด้วยดอกไม้ทัดท่ีดา้ นซ้าย ดอกไมท้ ัดทด่ี ้านขวา มีอุบะ ตามตัวสวมเครอ่ื งประดบั ต่าง ๆ ประกอบดว้ ยธำมรงค์ กำไลเทา้ แหวนรอบ กำไลตะขาบ กรรเจยี กและทองกร แต่เดิมตัวนางที่เป็นตวั ยกั ษเ์ ช่น นางสำมนักขา นางกากนาสรู จะสวมหัวโขน แตภ่ ายหลงั มกี ารแต่งหน้าไปตามลักษณะของตัวละครน้ัน ๆ โดยไมส่ วมหัวโขน 49 ตัวนางท่เี ป็นนางกษตั ริย์ จะห่มผา้ แบบเพลาะไขว้ตดิ กนั ไวท้ ี่ดา้ นหลัง ทง้ิ ช่วงบรเิ วณหน้าอก ควา้ นบรเิ วณชว่ งลำคอเหมือนกบั การหม่ แบบสองชาย และสำหรับตวั นางทเี่ ปน็ นางยักษ์ จะห่มแบบผา้ ห่มผืนใหญ่ ปกั ลายพุ่มขา้ วบิณฑ์ที่มลี ักษณะลวดลายเปน็ สัตว์ตา่ ง ๆ เช่นหน้าสิงห์ ตัวเสือ้ กางเกงหรือสนับเพลา ผ้านุ่งหรือพระภษู า กรองคอหรอื นวมคอ ใช้แบบ 8 กลบี ปักลายหนุนรูปกระจัง ชายไหวหรอื หอ้ ยหน้า ชายแครงหรือห้อยข้าง ปักลวดลายแบบหนุนด้วยดิ้นแบบโปร่งและปักเลือ่ มเช่นกนั ล้อมรอบตัวลายด้วยดิน้ ข้อ ชายผนื ติดดิ้นครุยสเี งิน รัดเอว ผ้าทพิ ย์ เจียระบาด สไบ เป็นตน้ ตวั นางท่เี ปน็ นางกษตั ริย์ จะห่มผา้ แบบเพลาะไขวต้ ดิ กันไว้ท่ดี ้านหลัง ทิ้งช่วงบรเิ วณหน้าอก คว้านบริเวณชว่ งลำคอเหมือนกับการหม่ แบบสองชาย และสำหรบั ตัวนางทีเ่ ป็นนางยกั ษ์ จะห่มแบบผ้าห่มผืนใหญ่ ปักลายพุ่มขา้ วบิณฑท์ ี่มลี ักษณะลวดลายเปน็ สัตว์ต่าง ๆ เชน่ หน้าสิงห์ ตวั เสือ้ กางเกงหรือสนับเพลา ผา้ น่งุ หรอื พระภูษา กรองคอหรือนวมคอ ใชแ้ บบ 8 กลีบ ปกั ลายหนุนรูปกระจัง ชายไหวหรอื ห้อยหน้า ชายแครงหรือห้อยขา้ ง ปักลวดลายแบบหนุนด้วยดิ้นแบบโปร่งและปักเลื่อมเช่นกนั ล้อมรอบตัวลายดว้ ยดิน้ ข้อ ชายผนื ติดดน้ิ ครยุ สเี งนิ รดั เอว ผา้ ทิพย์ เจียระบาด สไบ เป็นตน้ การแต่งกายของโขน ฝ่ายยกั ษ์ ภาพท่ี 77 ผู้แสดงตวั ยกั ษน์ ้ัน เคร่ืองแต่งกายส่วนใหญ่คล้ายกบั ตวั พระ จะแตกต่างกนั ท่ีการน่งุ ผา้ เท่านั้น ตวั ยักษ์จะนงุ่ ผ้าไม่มีหางหงส์แต่มีผ้าปิดกน้ ลงมาจากเอว 50 สว่ นศีรษะสวมหัวโขนตามลกั ษณะของตวั ละครซ่ึงมีอยู่ประมาณร้อยชนดิ การแตง่ กายของตัวยักษค์ ือทศกัณฐ์ ซึง่ เปน็ พญายักษต์ วั สำคญั ที่สดุ ในการแสดงโขน สวมเสอื้ แขนยาวปักด้นิ และเล่ือม ซ่งึ ในวรรณคดีสมมุตเิ ป็นเกราะ ประดับดว้ ยแหวนรอบ ปะวะหล่ำ มีอินธนูทไี่ หล่ สวมกรองศอทับดว้ ยทบั ทรวง พวงประคำคอ สังวาลและตาบทิศ สว่ นล่างสวมสนับเพลาไว้ข้างใน นงุ่ ผ้านงุ่ ยก ดา้ นหนา้ มชี ายไหวและชายแครงห้อยอยู่ ผ้าปิดกน้ อยู่เบื้องหลงั รดั อกด้วยพระอรุ ะ รัดเอวดว้ ยรดั พัสตร์ คาดปั้นเหนง่ ศีรษะสวมหัวโขนหัวทศกัณฐ์ ตามตวั สวมเคร่ืองประดับต่าง ๆ ประกอบด้วยกำไลเท้า ธำมรงค์ กรรเจยี กและทองกร ถืออาวธุ คือคันศร ซง่ึ ในการแตง่ กายของทศกัณฐ์น้นั ปกติจะมเี กราะสายคาดรอบอกเป็นประจำ ตามบทพระราชนิพนธ์เรอื่ งรามเกยี รติ์ ทศกณั ฐ์มีกุเรปันเปน็ พี่ชายต่างมารดา แตด่ ว้ ยนิสยั สันดาลพาลของทศกัณฐ์ ทำให้เกดิ การแย่งชิงบุษบกแก้วของกุเรปนั บรเิ วณเชิงเขาไกรลาส กุเรปันส้ไู ม่ได้กห็ นีไปขอความชว่ ยเหลือจากพระอิศวรซึ่งประทบั อยู่บนหลังชา้ ง พระอศิ วรจงึ ทรงถอดงาจาก ช้างทรงขวา้ งใสท่ ศกัณฐ์พร้อมกับสาปใหง้ านนั้ ติดอยู่จนกระท่ังทศกัณฐต์ าย ทศกัณฐ์ต้องคำสาปพระอิศวร จึงไปขอให้พระวศิ วกรรมเลื่อยงาช้างส่วนท่ียืน่ ออกมาให้ขาดเสมออก และเนรมิตเกราะสายคาดรอบอกขึน้ เพ่ือปกปิดร่องรอยของงาช้าง ดังนั้นการแตง่ กายของทศกณั ฐต์ ามบทพระราชนพิ นธ์ ตัง้ แต่ทศกัณฐเ์ กดิ จนถึงถูกพระอิศวรสาป จะไม่มีเกราะสายคาดรอบอก การแตง่ กายของโขน ฝ่ายลิง 51 ภาพท่ี 78 ผ้แู สดงตวั ลิง เครอ่ื งแต่งกายส่วนใหญ่คล้ายกบั ตวั ยักษ์ แต่มีหางลิงหอ้ ยอยู่ใต้ผา้ ปิดก้นอีกที สวมเส้ือตามสปี ระจำตวั ในเรอื่ งรามเกียรติ์ ไมม่ ีอนิ ธนู ตัวเสือ้ ปกั ลายขดเปน็ วงทกั ษิณาวรรต สมมุตวิ า่ เปน็ ขนตามตวั ลิง ส่วนศรี ษะสวมหัวโขนตามลักษณะของตวั ละครซึ่งมีอยปู่ ระมาณสส่ี ิบชนิด การแต่งกายของตวั ลิงคือหนมุ าน ซ่ึงเป็นทหารเอกของพระราม สวมเสอ้ื แขนยาวปักดน้ิ และเล่ือมลายวงทักษิณาวรรต มีพาหุรดั ประดบั ดว้ ยแหวนรอบ ปะวะหลำ่ สวมกรองศอทบั ด้วยทบั ทรวง สังวาลและตาบทิศ ส่วนล่างสวมสนบั เพลาไว้ขา้ งใน นงุ่ ผ้านุ่งยก ด้านหน้ามีชายไหวและชายแครงหอ้ ยอยู่ ผ้าปดิ กน้ อย่เู บ้ืองหลงั หางลิง รดั สะเอว คาดปั้นเหนง่ ศรี ษะสวมหัวโขนหัวหนุมาน ตามตวั สวมเครื่องประดับต่าง ๆ ประกอบดว้ ยกำไลเท้า ธำมรงค์ กรรเจียกและทองกร ถืออาวธุ คือตรีเพชร ศิราภรณ์ ศริ าภรณห์ รือเครื่องประดบั มาจากคำว่า \"ศีรษะ\" และ \"อาภรณ์\" หมายความถงึ เครอื่ งประดบั สำหรบั ใชส้ ว มใส่ศรี ษะเชน่ ชฎามงกุฎ ซงึ่ เปน็ ชื่อเรียกเคร่ืองประดับศีรษะละครตวั พระ ที่มวี วิ ัฒนาการมาจากการโพกผ้าของพวกชฎลิ ชฎาที่ใช้ในการแสดงโขนละครในปจั จบุ นั ช่างผ้ชู ำนาญงานมกั จะนิยมทำเปน็ แบบมเี กีย้ ว 2 ช้นั มกี รอบหน้า กรรเจยี กจร ติดดอกไม้ทดั ดอกไม้ร้าน ประดบั ตามช้นั เชิงบาตร ซึ่งลกั ษณะของชฎาน้ี เป็นการจำลองรูปแบบมาจากพระชฎาของพระมหากษตั รยิ ์ในสมัยรตั นโกสินทร์ นอกจากชฎามงกฎุ แลว้ ยังมีชฎายอดชยั ท่เี ป็นชฎามยี อดแหลมตรง มลี กู แก้ว 2 ชน้ั ประดับ เปน็ ชฎาทีน่ ิยมใช้กันอยา่ งแพร่หลายในการแสดงโขนและละคร ซงึ่ ที่มาของชฎายอดชัยนั้น สันนษิ ฐานว่าเป็นการสรา้ งเลียนแบบพระชฎายอดชัยท่เี ป็นเครื่องทรงต้น ในรูปแบบและทรวดทรง มีความแตกตา่ งกันท่ีวัสดุและรายละเอียดในการตกแตง่ เท่านน้ั รดั เกล้ายอด รัดเกล้าเปลว กรอบพกั ตร์หรือกระบงั หน้า ปนั จเุ หร็จ หรอื แม้แต่หัวโขน ก็จดั อยูใ่ นประเภทเครอ่ื งศริ าภรณเ์ ช่นกัน พสั ตราภรณ์ พสั ตราภรณ์หรอื เสื้อผา้ เคร่ืองนงุ่ ห่มเชน่ เส้ือหรือฉลององค์ ในสมยั โบราณการแสดงโขนจะใช้เสื้อคอกลมผ่าด้านหนา้ ตลอด 52 มีการต่อแขนเสื้อแบบต่อตรงและเสรมิ เป้าสเ่ี หลี่ยมตรงบริเวณใต้รักแร้ แตป่ จั จุบนั ไดม้ ีการปรับเปลีย่ นให้ทันตามยุคสมยั เป็นเส้อื คอกลมสำเร็จรปู มี 2 แบบคือแบบเสือ้ แขนสั้นและแขนยาว เว้าวงแขน สเี สอ้ื และสแี ขนเสื้อแตกตา่ งกัน ปักลวดลาย สำหรบั ตัวนางจะมผี า้ หม่ นางโดยเฉพาะ ลักษณะเปน็ ผ้าสไบแถบ ปักลวดลายตามความยาวของสไบเชน่ ลายพุม่ ลายกรวยเชงิ ฯลฯ หม่ โอบจากทางด้านหลงั ใหช้ ายสไบทั้งสองขา้ งเสมอกนั การห่มผ้าในการแสดงโขนมวี ิธีการหม่ ที่แตกตา่ งกัน สำหรบั ตวั นางทีเ่ ป็นนางกษัตรยิ แ์ ละตัวนางทเ่ี ป็นยกั ษ์ ถนิมพิมพาภรณ์ ถนิมพิมพาภรณ์หรือเคร่ืองประดบั ตา่ ง ๆ ตามแต่ฐานะของตัวละคร คำวา่ ถนิมพิมพาภรณ์ มาจากคำวา่ \"พิมพา\" และ \"อาภรณ\"์ หมายถงึ เครื่องประดับตกแตง่ ตามรา่ งกาย สว่ นใหญ่เป็นเครอื่ งประดับ ที่ถมและลงยาเชน่ ทับทรวง ซ่งึ เป็นโลหะประกอบกนั 3 ช้นิ ชบุ เงิน ประดับเพชรตรงกลาง ฝงั พลอยสีแดง ลกั ษณะของสายเป็นเพชรจำนวน 2 แถว มีความยาวประมาณ 28 นิว้ เขม็ ขัดหรอื ปั้นเหนง่ สงั วาล ตาบหน้า ตาบทศิ ตาบหลงั อินธนู ธำมรงค์ แหวนรอบ ปะวะหล่ำ ทองกร กรองคอ สะอิ้ง พาหรุ ัด กำไลเทา้ เปน็ ตน้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเลา่ ไวใ้ นละครพมา่ เม่ือคร้ังทพ่ี ระองคเ์ คยเสดจ็ ไปทอดพระเนตรทเี่ มืองยา่ ง กุ้งวา่ การแตง่ กายของผ้แู สดงโขนนัน้ ใช้การแตง่ กายแบบสามญั ชนคนธรรมดา ไม่ไดม้ กี ารแตง่ ตัวทผ่ี ดิ แปลกกว่าปกตนิ อกจากบทผูห้ ญงิ ทม่ี ีการห่มสไบเฉียงหรอื บทเปน็ ยักษ์เปน็ ลงิ ทีม่ ีการเขยี นหนา้ เขียนตาหรอื สวมหนา้ กาก ใชเ้ คร่ืองแต่งกายของละครแบบยนื เครื่องเช่น สนับเพลา ผา้ นุ่ง กรองคอ ทบั ทรวง สงั วาล เป็นต้น แตเ่ ดิมการแตง่ กายของตวั พระหรือนายโรงจะไม่สวมเส้อื ภายหลงั มกี ารประดิษฐเ์ ครื่องแต่งกายสำหรบั ตวั พระขึน้ จึงเปน็ ท่ีมาของการแตง่ กายแบบยนื เครอ่ื งในปจั จุบัน นาฏศิลปก์ บั บทบาททางสังคม นาฏศลิ ป์ เปน็ ศิลปะแขนงหน่งึ ท่ีสรา้ งสรรค์สุนทรียะดา้ นจติ ใจและอารมณ์ให้กบั คนในสังคมและมีอิทธิพลต่อการดำเนิ นชวี ิตของมนุษย์ทสี่ ามารถสะทอ้ นวถิ ีชวี ติ และกิจกรรมของคนในสังคม ท้งั ทเ่ี ปน็ กิจกรรมส่วนตัวและกจิ กรรมสว่ นรวม ดังพจิ ารณาไดจ้ ากบทบาทของนาฏศลิ ปท์ ่มี ผี ลตอ่ การดำเนินชวี ิตของมนุษย์ในดา้ นต่างๆ เมือ่ กลา่ วถึงคำว่า นาฏศิลป์ไทย ทุกคนคงนกึ ถึงภาพ คนแตง่ กายแบบละคร สวมชฎา มงกุฎ ทำท่าร่ายรำตามทำนองเพลง และมองว่าสิง่ เหล่านเ้ี ปน็ ส่ิงทโ่ี บราณ ครำ่ ครึ ไมเ่ ข้ากับสงั คมยุคสมยั ปัจจุบนั 53 ทีท่ กุ สิ่งทุกอยา่ งต้องรวดเร็ว ฉับไว และดเู ปน็ สากล แต่คงไม่มีใครทราบว่าสิง่ ที่ท่านมองเหน็ ว่าลา้ หลงั น้นั เป็นเครอ่ื งยืนยนั ถงึ อดีต ความเป็นมาและวัฒนธรรมที่ส่ังสม อนั มคี ุณค่ายิ่งของชาตไิ ทย คำว่า นาฏศิลป์ ตามความหมายของพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ. 2530 ได้ใหค้ วามหมายไวด้ ังนี้ นาฏ – น. นางละคร นางฟอ้ นรำ ไทยใช้หมายถึง หญงิ สาวสวย เชน่ นางนาฏ นาฏกรรม - น. การละคร ฟอ้ นรำ นาฏศิลป์ - น. ศลิ ปะแหง่ การละครหรือการฟ้อนรำ นอกเหนือจากน้ี ยงั มที า่ นผู้รูไ้ ด้ให้ความหมายของคำว่า นาฏศลิ ป์ ในแงม่ ุมตา่ งๆ ไวด้ ังน้ี สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพฯ ทรงอธบิ ายถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของนาฏศลิ ปท์ ี่ผูกพนั กับมนษุ ย์ ดังน้ี “ การฟอ้ นรำ ย่อมเปน็ ประเพณี ในเหล่ามนุษย์ทุกชาตทิ ุกภาษา ไม่เลือกวา่ จะอยู่ ณ ประเทศถ่ินสถานทใ่ี ดในพิภพนี้ คงมวี ิธกี ารฟ้อนรำตามวิสยั ชาตขิ องตนด้วยกันทงั้ นนั้ อย่าวา่ แตม่ นุษย์เลย ถงึ แม้สัตว์เดรจั ฉานกม็ ีวิธฟี ้อนรำ ดงั เช่น สนุ ัขกาไก่ เปน็ ตน้ เวลาใดทสี่ บอารมณม์ ันเข้ามนั ก็เตน้ โลดกรดี กรายทำกริ ยิ าท่าทางได้ตา่ งๆ ฯลฯ “ อาจารย์ธนิต อยู่โพธิ์ ได้ให้ความหมายของนาฏศลิ ป์ ไว้ดังนี้ “ คำว่า นาฏยะ หรือ นาฏะ ความจรงิ มีความหมายรวมเอาศิลปะ 3 อย่างไวด้ ว้ ยกัน คือ การฟ้อนรำหนง่ึ การบรรเลงดนตรหี น่ึง และการขบั ร้องหนึ่ง หรอื พูดอยา่ งงา่ ยๆ คำวา่ นาฏยะ มคี วามหมายรวมท้งั การฟ้อนรำขบั ร้องและประโคมดนตรีด้วย ไมใ่ ช่มแี ตค่ วามหมายเฉพาะศิลปะแหง่ การฟ้อนรำอยา่ งเดียวดงั่ ทท่ี า่ นเขา้ ใจกนั “ สรุปความไดว้ ่า นาฏศิลป์ เปน็ ศลิ ปะที่มนษุ ยแ์ สดงออกเม่ือเกดิ อารมณข์ ้นึ มวี ิวัฒนาการมาพร้อมความเจริญของมนษุ ย์ มีการจัดระเบียบแบบแผนให้เกดิ ความงดงาม ประกอบไปด้วย การรอ้ ง การรำ และการบรรเลงดนตรี การแสดงนาฏศลิ ป์ของไทย ปรากฏในรูปแบบของการละคร ฟ้อน รำ ระบำ เต้น การแสดงพื้นเมืองภาคตา่ งๆ ซึ่งมีการขับร้องและการบรรเลงดนตรีรวมอยู่ด้วย ถอื กำเนิดขนึ้ มาจากธรรมชาติ ความเชือ่ ศาสนา ความเปน็ อยู่ วถิ ีชีวติ ผนวกกบั ไดร้ บั อารยธรรมจากประเทศอินเดียที่มคี วามเจรญิ ก้าวหน้าทางศลิ ปวทิ ยาการทางดา้ นต่างๆ ต่อมาไดม้ ีการพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง จนกลายมาเป็นนาฏศิลป์ไทยที่มีแบบแผนอยา่ งเชน่ ในปัจจุบนั นาฏศลิ ป์ไทยในอดตี มีบทบาทสำคญั เพราะเกี่ยวขอ้ งกบั วิถชี ีวติ ของคนไทยตงั้ แต่เกิดจนตาย บทบาทในงานสำคัญของหลวง พธิ ีกรรมต่างๆของชาวบ้าน รวมถงึ การสรา้ งความบนั เทงิ ใหก้ บั ผู้คนในสงั คม เชน่ การแสดงลิเก ละคร โขน เพลงพืน้ เมืองต่างๆ เมื่อสังคมยุคปจั จุบันไดม้ ีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวด เร็ว นาฏศลิ ปไ์ ทยจำเปน็ ต้องปรับเปลี่ยนบทบาทของตวั เองจากท่ีตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์อย่างในอดี ต มาเป็นบทบาททางด้านตา่ งๆทีส่ ามารถจำแนกบทบาทให้เหน็ ได้ ดังน้ี 54 1. บทบาทในพิธกี รรมรัฐพิธแี ละราชพิธี การแสดงนาฏศลิ ปใ์ นพธิ ีกรรมต่าง ๆ สามารถแสดงถงึ ความเชื่อในพลงั เหนือธรรมชาตขิ องภูตฝิ ีปศี าจและส่ิงศักดิส์ ทิ ธทิ์ ั้งหลาย เชน่ การฟ้อนรำในพิธรี ำผฟี า้ เพ่ือรกั ษาโรค หรอื สะเดาะเคราะห์ของภาคอีสาน การฟ้อนผีมดผเี ม็งในภาคเหนือ ที่จะมผี หู้ ญงิ มาเข้าทรงและฟ้อนรำรว่ มกันเป็นหมู่เพื่อการสะเดาะเคราะห์หรอื รักษาโรคการแสดงแกบ้ นในลั กษณะละครแกบ้ น หรอื ลเิ กแก้บน เปน็ ตน้ และยงั มกี ารฟอ้ นรำบูชาสงิ่ ศักด์ิสทิ ธิ์ และบชู าครบู าอาจารย์ต่าง ๆ เช่น การรำไหว้ครมู วยไทย การรำอาวุธบนหลังชา้ ง การรำถวายมือในพธิ ไี หวค้ รูนาฏศิลป์ เปน็ ต้น ภาพที่ 79 2. บทบาทในการสร้างสรรค์ มนุษยม์ ีการพบปะสงั สรรค์กนั ในโอกาสต่างๆ ทง้ั ในหมู่เครือญาติ เพื่อนฝงู และคนในสังคม หรือท้องถิ่นเดียวกัน เชน่ ในงานวนั เกิด งานประเพณี และงานเทศกาลตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ดังเห็นไดจ้ ากงานบญุ ประเพณสี งกรานต์ หรืองานเฉลิมฉลองต่าง ๆ จะมกี ารแสดงนาฏศิลปต์ า่ ง ๆ เช่น การฟ้อนรำ โขน ลิเก เป็นตน้ ซ่ึงเป็นโอกาสใหผ้ คู้ นในท้องถ่นิ ทัง้ หญงิ และชายได้พบปะสงั สรรคแ์ ละสนุกสนานกับการแสดงต่างๆ รว่ มกัน ภาพที่ 80 55 3. บทบาทในการสอ่ื สาร นาฏศลิ ปเ์ ปน็ กระบวนการหนงึ่ ทางการส่ือสารทที่ ำให้มนุษย์สามารถเขา้ ใจกนั ไดโ้ ดยใช้ภาษาท่าทางหรอื ท่าร ำทมี่ ีความหมายจากการเคล่ือนไหวรา่ งกายประกอบการพดู หรอื การเล่าเรื่องตา่ งๆ หรอื ภาษาทา่ ทางในละครใบ้ที่สามารถส่อื ความหมายให้ผชู้ มเข้าใจได้โดยการแสดงออกทางสหี น้า อารมณ์และ ดนตรปี ระกอบที่ช่วยกระตุ้นอารมณ์ให้เข้าใจย่งิ ขึ้น ซ่ึงทา่ ทางหรอื ท่ารำต่าง ๆ น้ี อาจกำหนดขึ้นจากการเลียนแบบลกั ษณะธรรมชาติ เชน่ กิริยาทา่ ทางของมนุษย์หรอื สัตวแ์ ละท่าทางท่ีมนุษยก์ ำหนดข้ึนจากข้อมูลทางวฒั นธรรม เชน่ เทวรปู ภาพจำหลกั เป็นต้น ภาพท่ี 81 4. บทบาทในทางการศกึ ษา นาฏศลิ ป์เปน็ การศึกษาทางด้านศลิ ปะแขนงหน่งึ ที่พัฒนาควบคมู่ ากบั ความเจรญิ ของมนุษย์โดยเฉพาะความ เจรญิ ทางดา้ นศลิ ปะวัฒนธรรมทีม่ กี ารสร้างสรรคแ์ ละทำนุบำรุงศลิ ปะใหร้ ุ่งเรอื ง ด้วยการสรา้ งสถาบันการศกึ ษาด้านนาฏศลิ ป์ เชน่ วิทยาลัยนาฏศิลปข์ องกรมศลิ ปากร ทีเ่ นน้ การเรียนการสอนดา้ นนาฏศลิ ป์ใหก้ บั นักเรียนนักศึกษาของไทยและโรงเรียนสอนการแสดงหรือการรำ นาฏศิลป์ขององคก์ รเอกชนต่าง ๆ ที่จดั การเรียนขึ้นเป็นระยะสน้ั ๆ ให้กบั เยาวชนไทยหรอื ผ้สู นใจทวั่ ไป เพ่ือเปน็ การเสรมิ สร้างบุคลกิ ภาพ ความกล้าแสดงออก และคณุ ภาพชีวติ ของผูศ้ ึกษารวมท้ังยงั เป็นการสร้างนาฏยศิลปินให้มีความเชีย่ วชาญ และสามารถใชน้ าฏศลิ ปเ์ ป็นอาชพี เลี้ยงตนเองได้ ภาพท่ี 82 56 5.บทบาทในการอนุรกั ษ์ และเผยแพร่เอกลักษณ์ของชาติ นาฏศลิ ปเ์ ป็นการแสดงเอกลักษณ์ ประจำชาตอิ ยา่ งหน่ึง เป็นเครื่องหมายแสดงถึงศลิ ปวฒั นธรรมทม่ี ีลกั ษณะเฉพาะโดดเดน่ หรอื แตกต่างจากชนชาติอื่น โดยเฉพาะนาฏศลิ ป์ไทยที่มเี อกลักษณ์ด้านท่ารำ เครือ่ งแต่งกาย และดนตรีไทยประกอบการแสดงซึง่ ยังมคี วามหลากหลายในแตล่ ะท้องถ่นิ ของประเทศ ไดแ้ ก่ ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และภาคใต้ ก็มกี ารแสดงนาฏศลิ ป์ที่แตกต่างกันออกไป โดยแต่ละท้องถิน่ ใดมีการเผยแพร่งานนาฏศลิ ป์ของทอ้ งถ่นิ ออกไปใหก้ วา้ งไกล ท้ังในท้องถิ่นใกล้เคยี งและในต่างประเทศท่ีอยหู่ า่ งไกล เพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเทีย่ ว และการถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมประจำชาติ เชน่ ในงานเทศกาลศิลปวัฒนธรรมและมหกรรมนานาชาติ ตลอดจนให้การสนบั สนุนการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนาฏศลิ ป์ให้เพม่ิ พูนและสืบทอดไปยงั คนรุ่นต่อ ๆ ไป ซง่ึ นบั เป็นภารกจิ ของคนในท้องถ่นิ หรือประเทศชาตนิ ้นั ๆ ที่ต้องมารว่ มมือกัน โดยเรมิ่ จากความรักความช่ืนชมและภาคภูมิใจในงานนาฏศิลปไ์ ทย ของเยาวชนไทยในสหรัฐอเมริกาทีม่ าจัดแสดงนาฏศิลป์ที่โรงละครแหง่ ชาติ ซ่งึ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความชื่นชมในงานนาฏศิลป์ของชาตติ น ทแ่ี ม้จะอย่ถู ึงต่างประเทศก็ยงั ทำการทำนุบำรงุ รกั ษาและสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของบรรพบุรษุ ให้คงอยู่ และเปน็ ที่แพร่หลายต่อไป ปัจจุบนั วัฒนธรรมต่างชาตมิ บี ทบาทอยา่ งมากในสังคมไทย และเปน็ ไปไดว้ ่าอนาคตประเทศไทยอาจถกู กลนื ทางวฒั นธรรมได้ เพื่อให้ความเปน็ ไทยคงอยู่ สิ่งทจ่ี ะช่วยไดน้ ่นั คือ เอกลกั ษณ์ของชาติในดา้ นตา่ งๆ โดยใช้วิธีการเผยแพร่ อนรุ กั ษ์ และสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะการแสดง นอกจากน้ยี งั เป็นการประชาสัมพนั ธแ์ ละสรา้ งความเข้าใจอันดีกบั ประเทศตา่ งๆ เพิ่มขนึ้ อีกดว้ ย จะเหน็ ไดว้ า่ นาฏศลิ ป์ไทยไดป้ รับตัวให้ดำรงอยู่ไดใ้ นสงั คมไทย ช่วยสร้างอาชีพใหก้ ับผู้คน สร้างเสริมความเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งสังคมหน่งึ กับอีกสังคมหนึง่ ส่งเสรมิ เอกลักษณ์ของชาตใิ หช้ ัดเจน ส่งเสริมอตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวนำรายได้เข้าประเทศ และอน่ื ๆอีกมากมายทีส่ อดแทรกอยู่ในวิถีชีวติ ของผู้คนในสงั คม จึงเหน็ ได้ว่า ส่งิ ทบี่ างทา่ นอาจมองอยา่ งไม่เขา้ ใจ ดูวา่ ไมเ่ ปน็ สากลหรอื เข้ากับยคุ สมัย แตส่ ิง่ นเ้ี ป็นส่งิ สำคญั ระดับชาติทชี่ ่วยใหช้ าติไทยดำรงอยู่ได้ เป็นประเทศท่มี ีเอกลักษณ์ของตวั เองไม่เหมือนประเทศใด จงภมู ิใจและชว่ ยกนั รักษาสิง่ นี้ใหค้ งอยู่กับประเทศไทยต่อไปตราบนานเท่านาน สมดงั ปรชั ญาที่สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทาน ในโอกาสครบรอบ 60 ปี วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป์ วา่ ไว้ดงั นี้ “ สาธุ โข สปิ ปก นาม อปี ยาทสิ กีทสิ “ “ ขน้ึ ชื่อว่าศลิ ปะ แมเ้ ช่นใดเช่นหน่ึงกย็ ังประโยชน์ใหส้ ำเร็จได้ ” 57 ๖.บทบาทในการส่งเสริมพลานามัย นาฏศิลป์เปน็ การเคลอ่ื นไหวรา่ งกายให้สวยงาม และมีความหมาย ต้องใชก้ ารฝึกหดั และฝึกซ้อมใหจ้ ดจำท่าทางตา่ งๆภาพท่ี 83 ได้ จงึ เป็นการออกกำลังกายอย่างหนึง่ ที่มกี ารใชก้ ำลงั ยกแขน ขา มือ หรือเคลอื่ นไหวศีรษะและใบหน้า เพอ่ื ใหเ้ กดิ ท่าทางและความสนุกสนานไปพรอ้ ม ๆ กัน เช่น การรำกระบกี่ ระบอง เซิง้ การรำดาบสองมือ การรำพลอง การำงา้ ว กเ็ ป็นการผสมผสานท่าทางนาฏศลิ ป์กบั ศิลปะการกีฬาแบบไทย ๆ นอกจากน้ใี นปัจจบุ นั ยงั มีการเต้นแอโรบกิ หรือการเต้นออกกำลงั กายประกอบเพลง ซึง่ เปน็ การนำนาฏศิลป์มาประยกุ ตใ์ ช้ในการออกกำลังกาย และความแข็งแรงใหก้ ับรา่ งกาย การกำเนิดและความเป็นมาทางด้านศิลปะการแสดง มลู เหตุในการเกิด ภาพที่ 84 1. เกิดจากการที่มนุษยต์ อ้ งการแสดงอารมณท์ ่ีเกิดขนึ้ ตามธรรมชาติ ใหป้ รากฏออกมา โดยมีจุดประสงคเ์ พอื่ การสอ่ื ความหมายเป็นสำคัญเริ่มต้งั แต่ 1.1 มนษุ ยแ์ สดงอารมณต์ ามธรรมชาตอิ อกมาตรงๆ เชน่ การเสียใจกร็ อ้ งไห้ ดีใจก็ปรบมือ หรือส่งเสียงหัวเราะ 1.2 มนษุ ยใ์ ช้กริ ยิ าอาการเป็นสือ่ ความหมายใหช้ ัดเจนขนึ้ กลายเปน็ ภาษาท่า เชน่ กวักมือเขา้ หาตวั เอง 58 1.3 มกี ารประดิษฐ์คิดท่าทางใหม้ ีลลี าที่วิจติ รบรรจงขึ้น จนกลายเป็นท่วงทีลลี าการฟ้อนรำท่ีงดงามมลี ักษณะทเ่ี รยี กวา่ “นาฏยภาษา” หรือ “ภาษานาฏศิลป”์ ท่สี ามารถสอื่ ความหมายด้วยศิลปะแห่งการแสดงท่าทางทงี่ ดงาม 2. เกิดจากการที่มนษุ ยต์ อ้ งการเอาชนะธรรมชาติดว้ ยวิธีตา่ งๆ ท่ีนำไปสู่การปฏบิ ตั ิเพื่อบูชาส่ิงทีต่ นเคารพตามลัทธศิ าสนาของตน ตอ่ มาจึงเกิดเป็นความเชอ่ื เรอื่ งเทพเจ้า ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ สิ่งศกั ดิส์ ิทธท์ิ เี่ คารพบชู า โดยจะเรม่ิ จากวงิ วอนอธิษฐาน จนถึงสุดท้ายจะมกี ารประดิษฐเ์ ครื่องดนตรี ดดี สี ตี เปา่ ต่างๆ การเล่นดนตรี การร้องและการรำจึงเกิดข้ึนเพ่อื ให้เทพเจ้าเกดิ ความพึงพอใจมากข้นึ เช่น การรำบายศรี สขู่ วญั รำผีฟา้ 3. เกดิ จากการท่ีมนษุ ย์ประดิษฐห์ าเครื่องบนั เทิงใจ และการเกี้ยวพาราสี หลงั จากหยุดพักจากภารกจิ ประจำวัน เร่ิมแรกอาจเป็นการเล่านทิ าน นิยาย มกี ารนำเอาดนตรีและแสดงท่าทางตา่ งๆประกอบการร่ายรำ จนถงึ ขั้นแสดงเปน็ เรอ่ื งราว 4. เกดิ จากการเลน่ เลียนแบบของมนุษย์ ซงึ่ เปน็ การเรียนรูใ้ นขน้ั ต้นของมนุษย์ นำไปสกู่ ารสร้างสรรค์ศลิ ปะแบบต่างๆ ทั้งจากมนุษย์เองสงั เกตจากเด็กๆที่ชอบแสดงบทบาทสมมตเิ ป็นพอ่ เป็นแมใ่ นเวลาเลน่ กนั เช่น การเล่นตุ๊กตา การเล่นหมอ้ ขา้ วหม้อแกง หรือเลยี นแบบจากธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมต่างๆ ทำให้เกิดการเล่น เชน่ การเล่นงูกนิ หาง การแสดงระบำนกยูง ระบำกาสร ระบำม้า เปน็ ตน้ การเลยี นแบบธรรมชาติ แบง่ เป็น ๓ ข้ึน คือ ขนั้ ต้น เกิดแต่วิสยั สัตว์ เม่อื เวทนาเสวยอารมณ์ ไมว่ า่ จะเปน็ สุขเวทนาหรอื ทุกขเวทนาก็ตาม ถา้ อารมณ์แรงกล้าไม่กลนั้ ไวไ้ ด้ กแ็ สดงออกมาใหเ้ หน็ ปรากฏ เช่น เดก็ ทารกเมื่อพอใจ กห็ วั เราะตบมือ กระโดดโลดเต้น เมื่อไมพ่ อใจก็รอ้ งไห้ ด้นิ รน ข้ันตอ่ มา เมอ่ื คนรู้ความหมายของกิรยิ าท่าทางมากขึน้ กใ็ ช้กริ ยิ าเหลา่ น้ันเปน็ ภาษาส่ือความหมาย ให้ผู้อืน่ รคู้ วามรสู้ ึกและความประสงค์ เช่น ตอ้ งการแสดงความเสนห่ ากย็ มิ้ แย้ม กรุ้มกริม่ ชมอ้ ยชม้ายชายตา หรือโกรธเคอื งกท็ ำหน้าตาถมึงทงึ กระทืบ กระแทก ต่อมาอกี ขัน้ หน่ึง มีผูฉ้ ลาดเลือกเอากิริยาทา่ ทาง ซ่งึ แสดงอารมณ์ต่างๆ น้นั มาเรียบเรียงสอดคล้อง ติดต่อกนั เปน็ ขบวนฟ้อนรำใหเ้ หน็ งาม จนเป็นทีต่ ้องตาตดิ ใจคน 5. การเซน่ สรวงบชู า มนุษย์แต่โบราณมามีความเช่อื ถือในสง่ิ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ จึงมีการบูชา เซน่ สรวง เพอื่ ขอให้ส่งิ ศกั ดิ์สิทธ์ปิ ระทานพรใหต้ นสมปรารถนา หรือขอให้ขจดั ปดั เป่าสิง่ ที่ตนไมป่ รารถนาให้ส้นิ ไป การบูชาเซน่ สรวง มักถวายสงิ่ ทตี่ นเห็นวา่ ดีหรือท่ีตนพอใจ เชน่ ข้าวปลาอาหาร ขนมหวาน ผลไม้ ดอกไม้ จนถึง การขบั ร้อง ฟอ้ นรำ เพ่ือให้สง่ิ ทีต่ นเคารพบูชาน้นั พอใจ ต่อมามีการฟ้อนรำบำเรอกษตั รยิ ์ดว้ ย 59 ถือวา่ เป็นสมมุติเทพทีช่ ว่ ยบำบดั ทกุ ข์บำรุงสุขให้ มีการฟ้อนรำรับขวัญขุนศึกนกั รบผูก้ ล้าหาญ ที่มชี ยั ในการสงครามปราบขา้ ศึกศตั รู ต่อมาการฟอ้ นรำกค็ ลายความศักดสิ์ ทิ ธ์ลิ งมา กลายเป็นการฟอ้ นรำเพ่ือความบนั เทงิ ของคนท่วั ไป 6. การรับอารยธรรมของอนิ เดยี เม่ือไทยมาอยใู่ นสุวรรณภมู ใิ หม่ๆ นัน้ มชี นชาติมอญ และชาติขอมเจริญร่งุ เรืองอยู่ก่อนแลว้ ชาติท้งั สองน้นั ไดร้ ับอารยธรรมของอนิ เดียไว้มากมายเป็นเวลานาน เม่ือไทยมาอยูใ่ นระหวา่ งชนชาตทิ ั้งสองนี้ กม็ ีการตดิ ต่อกนั อย่างใกลช้ ดิ ไทยจึงพลอยได้รบั อารยธรรมอนิ เดียไว้หลายด้าน เชน่ ภาษา ประเพณี ตลอดจนศิลปะการละคร ได้แก่ ระบำ ละคร นาฏศิลปแ์ ละการละครพ้ืนบ้าน การแสดงนาฎศลิ ปแ์ ละการละครพนื้ บา้ น คือ รูปแบบการแสดงประเภทหนงึ่ ทม่ี มี าต้ังแต่สมยั โบราณ หรือประดิษฐข์ ึน้ มาใหม่ มุ่งเนน้ ศลิ ปะการร่ายรำเป็นหลกั มากกว่าการขับร้อง มีความสอดคล้องในการแสดงท่เี ป็นเอกลักษณป์ ระจำทอ้ งถ่ินน้ัน ซ่งึ การแสดงนาฎศิลปพ์ ้ืนบา้ นพืน้ เมืองนน้ั มีอยู่ท่ัวโลก แต่ในที่นจี้ ะขออธบิ ายเน้นไปทเ่ี ฉพาะนาฎศิลปแ์ ละการละครอสี านของไทยเพ่ือเป็นตวั อย่างในบทเรียนนีเ้ ท่ าน้ัน นาฏศลิ ป์พืน้ บ้านอสี านนัน้ เป็นการฟ้อนของชาวบา้ นและเปน็ การฟ้อนประจำของท้องถ่ิน ซ่งึ มีผสู้ ืบทอดจึงเปน็ กลมุ่ ผสู้ นใจกล่มุ เล็กๆ ในท้องถิ่นและสถาบันทางการศึกษาซ่ึงได้แก่ โรงเรียนวิทยาลยั ครู ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ.2519 ทางวิทยาลยั ครูมหาสารคามปัจจบุ ันคือมหาวทิ ยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ได้จัดงานมรดกอีสานขึ้นนบั เปน็ การกระตุน้ ใหบ้ ุคคลตา่ งๆหันมาสนใจในศลิ ปวัฒนธรรมอีสาน และในปี พ.ศ.2520 ทางมหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒมหาสารคาม ปัจจบุ นั คอื มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ไดจ้ ดั ทำโครงการอนุรกั ษ์ศลิ ปะการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์พ้นื เมืองอีสาน ซ่ึงนับวา่ เปน็ กา้ วแรกของการพฒั นาการแสดงทง้ั ดนตรี และนาฏศิลป์พนื้ เมืองอสี านใหเ้ ป็นทรี่ ู้จักแพรห่ ลายยิง่ ข้นึ หลงั จากน้นั มกี ารจัดตง้ั วทิ ยาลยั นาฏศิลป์ขึ้นในส่ว นภมู ภิ าค โดยในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือได้จัดตง้ั วิทยาลัยนาฏศิลป์ข้นึ 3 แห่ง ได้แก่ 1. วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป์รอ้ ยเอด็ จังหวดั ร้อยเอ็ด 2. วิทยาลยั นาฏศิลป์กาฬสินธ์ุ จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ 3. วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปน์ ครราชสีมา จงั หวดั นครราชสมี า 60 นับวา่ เปน็ แรงกระตุ้นอันสำคัญให้มีการฟื้นฟูดนตรแี ละนาฏศิลป์พืน้ บ้านอีสาน ท้งั ในสถานอุดมศึกษาและสถานศึกษาอน่ื ๆ เพมิ่ ข้นึ อยา่ งมากมาย การฟ้อนพ้ืนเมอื งจึงได้มีการพัฒนาขึ้นมาอีกขน้ั หน่ึง คอื มกี ารแปรแถว และการจดั ขบวนฟ้อนทง่ี ดงามยงิ่ ข้ึน เขตพืน้ ทวี่ ฒั นธรรมทางนาฏศิลป์และการละครพ้นื บา้ นอีสาน 1. อีสานเหนือ ภาคอีสานหรือภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ซ่ึงประกอบด้วย 20 จังหวดั นน้ั เปน็ ภาคทมี่ ีเนื้อที่มากท่ีสุดในประเทศไทย แม้จะเป็นดินแดนทแี่ หง้ แล้ง กนั ดาร ยากจน และมีปญั หามากมายก็ตามแต่ ดนิ แดนท่ีเรยี กว่า “ภาคอีสาน” น้ี นับว่าเปน็ ออู่ ารยธรรมทม่ี ีความเจริญรุง่ เรืองมาแต่อดีตอนั ยาวนานบนทร่ี าบสูงซงึ่ เป็นรปู ร่างคลา้ ยสเ่ี หล่ียมจั ตุรัสน้ี ลักษณะภมู ิประเทศของภาคอีสานน้ันเป็นที่ราบกว้างใหญ่ เรียกวา่ ทร่ี าบสูงโคราช เน้ือทข่ี องภาคอีสาน 2 ใน 3 เปน็ พนื้ ที่ในเขตล่มุ แมน่ ำ้ มูลและแม่นำ้ ชี โดยมีเทือกเขาเพชรบูรณแ์ ละดงพญาเย็นด้านตะวนั ตก เทือกเขาสันกำแพงและพนมดงรกั ก้ันเป็นแนวทางด้านใต้ และอีกดา้ นหนึง่ มลี ำนำ้ โขงทอดยาวตลอดจากทิศเหนือจรดตะวนั ออก ซึ่งก้นั พรมแดนระหว่างประเทศลาวกบั ประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากสภาพทางด้านภมู ิศาสตร์ จงึ อาจแบง่ ภาคอสี าน ได้เป็น 2 กลุ่ม คอื กลุ่มอสี านเหนือและกล่มุ อีสานใต้ กลุม่ อีสานเหนือ เรมิ่ จากบริเวณท่สี ูงและภเู ขาทางด้านใต้ และทางตะวันตกไปจรดแมน่ ้ำโขงตอนเหนือและทางตะวันออก โดยเทอื กเขาภพู านก้ันบรเิ วณออกเปน็ พื้นท่รี าบตอนบน ซึ่งเรียกว่า “แอ่งสกลนคร” ไดแ้ ก่ บริเวณจังหวัดกาฬสินธ์ุ ขอนแก่น นครพนม ชัยภูมิ หนองคาย หนองบวั ลำภู อุดรธานี สกลนคร มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ เลย มุกดาหาร ยโสธร อบุ ลราชธานี และอำนาจเจริญ ซงึ่ คนส่วนใหญจ่ ะใชภ้ าษาไทยอสี านหรือภาษาลาว เพราะชนกลุ่มนีส้ บื ทอดวฒั นธรรมจากกลมุ่ ล่มุ น้ำโขงข้ามมาตง้ั ภูมิลำเนาในภาคอีสานในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ซึ่งชนส่วนใหญใ่ นภาคอีสานนี้เรียกโดยท่ัวไปวา่ กลุ่มไทยลาว และยงั มชี นกลุ่มน้อยบางส่วนอาศัยอยโู่ ดยทั่วไป คือ ผ้ไู ท แสก ยอ้ โส้ โย้ย ฯลฯ ในกลมุ่ อีสานเหนือน้ีมีศลิ ปวฒั นธรรมดา้ นดนตรีและนาฏศลิ ป์และการละครทเี่ ลน่ เป็นเร่ืองราวทเี่ รียกว่าหม อลำ ซึ่งเปน็ กลุ่มวฒั นธรรมใหญ่ที่สุดในภาคน้ี นอกจากนีย้ ังมกี ารฟ้อนอืน่ ๆอาทิเชน่ ฟ้อนตังหวาย 61 ฟ้อนศรีโคตรบรู ณ์ ฟ้อนสาละวัน และมีการฟอ้ นรำของชนกลุม่ นอ้ ยที่อาศยั อยเู่ ชน่ ฟ้อนผู้ไท แสกเต้นสาก ฟ้อนไทญ้อ เป็นต้น 2. อีสานใต้ กลมุ่ อีสานใต้ คอื บริเวณทร่ี าบตอนใต้ทเ่ี รียกวา่ “แอ่งโคราช” ซงึ่ ได้แก่ จงั หวดั นครราชสมี า บรุ รี มั ย์ สุรทิ ร์ ศรสี ะเกษ นี้มกี ารสบื ทอดวัฒนธรรมแบง่ ออกเปน็ 2 กลุ่มใหญ่ คือ 2.1 กลุ่มสืบทอดวฒั นธรรมจากเขมร – สว่ ย ไดแ้ ก่ ชนส่วนใหญ่ในจงั หวดั สรุ ินทร์ บรุ รี ัมย์ และศรีษะเกษ ชนกลมุ่ ท่ีไดร้ ับสืบทอดวฒั นธรรมจากเขมร – สว่ ย จะพดู ภาษาเขมรและส่วย ดังน้ัน ศิลปะการแตง่ กาย ดนตรี ขบั รอ้ ง และการฟ้อนรำ ท่ีเรยี กเป็นภาษาถ่นิ ว่า เรอื ม จะเป็นวัฒนธรรมขากเขมร – ส่วย เชน่ เรอื มอันเร เรือมซันตูจ เรอื มจบั กรับ เรือมกนั ตรมึ เปน็ ต้น 2.2 กลุ่มวัฒนธรรมโคราช ได้แก่ ชนสว่ นใหญท่ ีอ่ าศยั อยู่ในจงั หวดั นครราชสมี าและบางสว่ นในจังหวดั บุรีรัมย์ ซึง่ พูดภาษาโคราช และมีศลิ ปะประจำถ่นิ คือการเล่นเพลงโคราช สรุปลกั ษณะนาฏลักษณ์อีสาน 1. ท่าฟอ้ นของภาคอีสาน ท่าฟ้อนของภาคอีสานนนั้ มีความเป็นอสิ ระสูงคือ ไมม่ ีขอ้ จำกดั ตายตัวทั้งมอื และเทา้ สว่ นใหญ่ท่าฟ้อนจะได้มาจากทา่ ธรรมชาติ และทา่ พืน้ ฐานทแี่ ตกต่างกนั ออกไปเฉพาะถ่นิ เช่น ฟอ้ นภูไท ฟ้อนไทยดำ เรือมอันเร เป็นต้น 2. ทว่ งทำนองของดนตรี จังหวะ ลีลาเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะถน่ิ ซึง่ แตกต่างจากภาคอนื่ ๆของไทย 3. การแต่งกายของผแู้ สดง คือ ถ้าผ้หู ญงิ มักจะนุ่งซน่ิ มดั หมี่สวมเส้ือแขนกระบอก ห่มผ้าสไบหรอื แพรวา ผมเกล้ามวย ส่วยฝา่ ยชายมกั จะสวมเสื้อม่อฮ่อม นุ่งผา้ โสรง่ ผ้าลายเปน็ ตาๆ 4. ลกั ษณะโดดเดน่ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของภาคอสี านอยา่ งชดั เจนคือ เครื่องดนตรี ไดแ้ ก่ พิณ แคนโปงลาง โหวด ไหซอง ฯลฯ ซึ่งแม้ยงั ไม่มีการบรรเลงก็พอจะบอกไดว้ า่ การแสดงต่อไปจะเป็นการแสดงของภาคอสี าน 5. ภาษาอสี านเป็นภาษาเฉพาะถนิ่ ดงั นน้ั ถา้ ได้ยินเสียงเพลงท่ีมีสำเนียงหรือภาษาถิ่นอสี าน กเ็ ปน็ การช้ีชดั ว่าเป็นการแสดงของภาคอสี าน นาฏศิลป์และการละครแบบสร้างสรรค์ นาฏยประดิษฐ์ หรือนาฏศลิ ป์แบบสร้างสรรค์ หมายถึง การคดิ การออกแบบ การสร้างสรรค์ แนวคดิ รูปแบบกลวธิ ีของนาฏศลิ ปช์ ุดหนึ่ง ทีแ่ สดงโดยผแู้ สดงคนเดยี วหรือหลายคน ทง้ั น้รี วมถึงการปรบั ปรงุ ผลงงานในอดตี นาฏยประดษิ ฐ์ จึงเป็นการทำงานท่คี รอบคลุม ปรชั ญา เน้ือหา ความหมาย ทา่ รำ ท่าเต้น การแปรแถว การต้ังซุ้ม การแสดงเดี่ยว การแสดงหมู่ การกำหนดดนตรเี พลง เครอื่ งแต่งกายฉาก และสว่ นประกอบอ่นื ๆ ที่สำคัญในการทำให้นาฏศลิ ปช์ ุดหนึ่งสมบูรณ์แบบตามทต่ี ้ังใจไว้ ผู้ออกแบบนาฏศลิ ป์ เรยี กกนั โดยท่ัวไปวา่ นกั นาฏยประดิษฐ์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษวา่ Choreographer 62 นาฏศิลปแ์ บบสร้างสรรค์แบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะดงั นี้ - Creative Classical การสรา้ งสรรค์ผลงานในลักษณะนี้ จะยดึ หลักอยู่บน พนื้ ฐานวฒั นธรรมเดิมที่มอี ยู่แลว้ มีรปู แบบของ นาฏศิลป์ไทย นาฏศลิ ปพ์ น้ื บา้ น มีการต้งั วง จีบ กระดก ยกหน้า ซ่ึงจะอาศัยเพยี งเอกลกั ษณ์เดน่ ๆ ของนาฏศลิ ปน์ นั้ ๆ มาประดิษฐ์คิดเปน็ กระบวนท่าใหม่ ๆ การเคล่อื นไหวใหม่ ๆ ใหแ้ หวกแนวจากของเดิม และให้ไดค้ วามหมายตรงกับที่ผู้ประดษิ ฐต์ ้องการ หรือตรงตามวตั ถุประสงค์ ทก่ี ำหนดไว้ ทงั้ น้ที ั้งนัน้ กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานในลกั ษณะ Classical การสรา้ งสรรค์จะตง้ั อย่บู นพน้ื ฐานวัฒนธรรมเดิม ซงึ่ รวมไปถึงในเร่อื งของการแตง่ กาย และดนตรปี ระกอบด้วย - Creative New Dance การสรา้ งสรรคผ์ ลงานในลักษณะน้ี อาจพูดได้วา่ เป็นการสร้างสรรค์แบบหลุดโลก คอื การคิดใหม่ ทำใหม่ ไมเ่ คยพบเหน็ ท่ีไหนมาก่อน อิสระทางดา้ นความคดิ จนิ ตนาการ อิสระทางด้านท่าเต้น ทา่ รำ ทา่ ฟ้อน ไม่จำเป็นต้องมีกลิ่นอายของ รำไทย รำพืน้ บ้าน บลั เลต์ ปัจจบุ ันนี้เรยี กนาฏศิลป์แบบน้วี ่า “นาฏศิลป์ร่วมสมัย” ซง่ึ เปน็ สิง่ ทีห่ ลบหลกี กฎเกณฑท์ ง้ั มวล เป็นการเคลือ่ นไหวอยา่ งอิสระเสรี ซี่งเรยี กการเคลื่อนไหวร่างกายแบบน้ีว่า Contemporary Dance สว่ นศิลปะการแสดงละครตะวันตกนัน้ ก็เล่นเป็นเรื่องราวเชน่ เดียวกบั การละครไทย แต่จะแตกตา่ งในรายละเอียดบางประการ เชน่ ภาษาท่ใี ช้ในการแสดงเพอื่ ส่ือสารกับคนดู การใชท้ ่าทางหรือการเต้นท่ีแตกตา่ งจากท่าฟอ้ นรำของไทย ดนตรีและการบรรเลงทำนอง ตลอดจนการแต่งกายตามวฒั นธรรมของตน เป็นต้น การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะการแสดงดงั กลา่ วอาจสรา้ งเป็น ระบำ รำ ฟ้อน หรือ เต้น อย่างใดอย่างหนง่ึ ก็ได้ หรอื อาจนำเสนอเป็นเรื่องราวแบบละครโดยอาศยั เทคนิคทางด้าน แสง สี เสยี ง ประกอบดว้ ยกไ็ ด้ ด้านภาพยนตร์ ภาพยนตร์ ถือว่าเปน็ สื่อศลิ ปะการแสดงท่ีจำเปน็ ตอ้ งอาศยั เครื่องมือทางเทคโนโลยใี หเ้ ขา้ มามีบทบาทในการจดั การแส ดงเพื่อความสมบูรณด์ า้ นการแสดงมากยิ่งขน้ึ เช่น เทคนิคการตดั ต่อ การลำดับภาพ การใชแ้ อฟเฟ็กต่าง ๆ ตลอดจนแสง สี เสียง ทใ่ี ห้ความสมจรงิ มากยิ่งข้นึ กว่าการแสดงหนา้ เวทีสด ๆ ภาพยนตร์น้ันเปน็ ศลิ ปะการแสดงท่เี ล่นเป็นเรอื่ งราวเหมือนละคร และอาจนำเอาศิลปะการแสดงประเภทอน่ื ๆ เชน่ การเตน้ การฟ้อนรำ ทางนาฏศลิ ป์ หรอื การละล่นต่าง ๆ เชน่ หนงั ใหญ่ หมอลำ เขา้ มาเปน็ สว่ นหน่งึ ของภาพยนตรก์ ็ได้ โดยภาพยนตร์ต้อง อาศยั องคป์ ระกอบการแสดงหลาย ๆด้าน เชน่ แนวคิด เนอื้ หาข้อมลู บททีใ่ ชแ้ สดง ตัวละคร ดนตรปี ระกอบ ทา่ ทางประกอบ การแต่งกายแต่งหนา้ ฉาก แสง สี เสยี ง และเทคนิคพเิ ศษตา่ ง ๆ 63 ซง่ึ เป็นสง่ิ ทตี่ ้องลงทุนสูงสำหรับศลิ ปะการแสดงภาพยนตร์ แตส่ ามารถทำให้ผชู้ มไดร้ บั อรรถรสแห่งการชมไดค้ ่อนขา้ งสมบรู ณ์ ความหมายของคำว่าบริบททางสงั คม บรบิ ท แปลวา่ สง่ิ ท่ีเก่ยี วข้องโดยรอบ บริบททางสงั คม ก็คือ ภาคส่วนต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั สงั คม เชน่ การเมอื ง เศรษฐกจิ สาธารณสุข การศึกษา ศาสนาความเช่ือ และวัฒนธรรม ดงั นน้ั คำวา่ ศลิ ปะการแสดงกับบริบททางสงั คมจึงหมายถงึ ศิลปะแห่งการแสดงที่สะท้อนเร่ืองราวที่เกี่ยวข้อง กบั บรบิ ทในแต่ละดา้ นหรือทุก ๆ ดา้ นเพื่อใหค้ นดูหรือผู้ชมได้รับรเู้ ขา้ ใจในเรื่องราวนนั้ ๆ ท่อี าจสะท้อนตัวอย่างจากการแสดงให้เกิดมุมมองและแง่คดิ ทั้งในส่วนดแี ละไมด่ ีของสังคมเพอื่ ท่จี ะไดน้ ำมา ปรบั ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างถูกต้องและมคี วามสุข เพราะนาฏศิลปแ์ ละการละครกเ็ ปรยี บเสมือนกระจกเงาทีส่ ะท้อนให้มองดูตัวเอง นอกจากน้ันศลิ ปะการแสดงยังมีส่วนท่ีเกีย่ วข้องกับบรบิ ทสังคมแตล่ ะดา้ นในยุคสมัยท่ีผ่านมาตั้งแต่อดตี จนถึ งปจั จบุ นั ดงั พอจะสรปุ เปน็ ข้อ ๆไดด้ ังน้ี 1. การครอบงำทางวัฒนธรรม การครอบงำวัฒนธรรมเปน็ การกระทำของประเทศที่มอี ำนาจ แตก่ ็ไมไ่ ด้หมายความว่าต้องเข้ามายดึ พนื้ ท่ีของประเทศอ่นื ๆ แต่อาจหมายถงึ การรับเอาวฒั นธรรมอื่นเข้าไปแทนวัฒนธรรมเดิมของประเทศนน้ั อาทเิ ช่น วัฒนธรรมของอนิ เดยี เนื่องจากปัจจบุ ันประเทศส่วนใหญ่ต่างไดร้ บั อิทธิพลของอนิ เดยี ไม่ว่าจะเปน็ ท้ังทางตรงและทางออ้ ม วรรณคดี ดนตรี เครอ่ื งแตง่ กาย และรวมไปถึงนาฏศลิ ป์ แสดงใหเ้ ห็นถงึ อิทธิพลอินเดียได้อยา่ งชัดเจน ทง้ั นรี้ วมไปถึงประเทศไทยดว้ ย นาฏศลิ ป์ไทยไดร้ ับอทิ ธิพลมาจากอนิ เดยี โดยตรง ประเทศทีไ่ ด้รับมาแลว้ นั้นกต็ ้องมีการพัฒนา และเปลีย่ นแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมของตนเอง กระบวนการครอบงำทางวฒั นธรรมเปน็ กระบวนการท่สี ลบั ซบั ซอ้ นและยาวนาน อกี ทั้งเป็นกระบวนการที่เกดิ ขึ้นอยา่ งช้าๆในอดีต แตใ่ นปัจจบุ ันได้ทวีความรวดเรว็ ขน้ึ ด้วยสื่อสมัยใหม่ 2. นโยบายของรฐั การเมอื งและการปกครอง เดมิ พระราชาเปน็ ผู้นำปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ ดงั น้นั คำสง่ั ของพระราชาจึงเป็นกฎหมายและนับวา่ เป็นนโยบายแหง่ รัฐ เม่อื สังคมเติบโตขน้ึ เปน็ รัฐ มีผนู้ ำประเทศทำการปกครอง สงั คมเปลี่ยนรปู แบบการปกครองเปน็ ระบอบประชาธปิ ไตยบา้ งหรอื สังคมนยิ มบ้าง ดงั นั้นนโยบายแห่งรัฐกต็ กเป็นหน้าทข่ี องรัฐบาลหรือของพรรค 64 ดงั นน้ั เมอ่ื รัฐบาลมหี นา้ ที่ในการปกครองประเทศ ก็จะทำให้มีนโยบายจัดการ การสั่งการให้มหี น่วยรบั ผดิ ชอบ จะเห็นไดจ้ ากสมยั รชั กาลท่ี 1 – 6 นาฏศิลป์ ได้เขา้ มามีบทบาทมากทำใหม้ ีผู้คนเรมิ่ รูจ้ ัก และทรงพระราชทานบรรดาศักด์ิแก่ศลิ ปนิ จนมาถงึ รชั กาลที่ 7 ทรงโปรดดนตรแี ละนาฏศิลป์ แตด่ ว้ ยสภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำ จงึ ทรงยุบกรมมหรสพท่รี ับผิดชอบการแสดงของหลวงลงเปน็ กองมหรสพ จึงทำใหน้ าฏศลิ ป์ได้ลดนอ้ ยถอยลง ภายหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 รฐั บาลไทยตง้ั กรมศิลปากรขน้ึ เพ่ือรบั ผิดชอบดูแลศิลปวฒั นธรรมของชาติแทนราชสาสน์ และการจัดละครเวที เพื่อสร้างวัฒนธรรมใหม่ให้แก่คนไทย จากน้นั ก็มนี โยบายส่งเสรมิ การทอ่ งเทีย่ ว จึงทำใหเ้ กิดนาฏศิลปเ์ พื่อการท่องเทีย่ วมากมาย และมีการเกดิ นาฏศิลปไ์ ปเผยแพร่ตา่ งประเทศอีกดว้ ย 3. เพ่อื ความอยรู่ อดของศิลปนิ ไมว่ า่ จะเปน็ คณะหมอลำ ลูกท่งุ เช่น เสียงอสี าน รวมถงึ ตลก จะสังเกตเห็น การแสดงของชาวคณะว่าจะมีการแสดง และการเต้นทีแ่ ปลกแตกต่างกันใหเ้ ราเหน็ ซง่ึ เป็นท่าที่เปน็ อีสานจริงๆ แต่เพอ่ื ความอยูร่ อดของพวกเขาแลว้ จำเปน็ ต้องมีการพฒั นา และเปล่ยี นแปลงลักษณะทา่ เตน้ อยูเ่ สมอ มีการประยกุ ต์เพ่ือใหเ้ ข้ากบั ยุคสมัย 4. สัญชาตญิ าณของมนุษย์ มนษุ ย์มีการออกท่าทางและการเคลือ่ นไหวไปตา่ ง ๆ นานาเมือ่ เกิดอาการทางร่างกาย หรอื ทางจติ ใจ แตก่ ารแสดงท่าทางเหลา่ น้นั เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตหิ รือพฤติกรรมปกตขิ องมนุษย์หรือท่ีเรียกกันในปัจจุบั นวา่ ภาษากาย หรือ ภาษาท่าทาง หรือภาษาภาพเมื่อเปรยี บกับภาษาพดู สาเหตทุ ม่ี นุษยเ์ ข้าใจท่าทาง และการเคลื่อนไหวท่เี กิดขึน้ หรอื แสดงออกตามธรรมชาติของมวลมนษุ ย์ ตอ่ มามนุษยม์ กี ารพัฒนาด้านดนตรี เชน่ การตเี กราะเคาะไม้และการรอ้ งเพลงมนุษย์เกดิ ความสนกุ สนานไปกับดนตรจี ึงขยบั ร่างกายตามไปดว้ ยแ ละจะยงิ่ ครึกคร้นื ขนึ้ ไปอกี เมอ่ื มกี ารประชันกันดว้ ยสญั ชาติญาณแหง่ การแข่งขนั วา่ ใครจะทำไดด้ ีกวา่ กัน อนั นำไปสู่การมีผู้ชำนาญทำหน้าท่รี ักษาและสบื ทอดนาฏศิลป์ต่อไปในภายหลงั 5. ความเชื่อ มนุษยใ์ นอดีตกาลต้องเผชิญกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอนั เปน็ ภัยนานปั การ มนุษยไ์ มม่ คี วามรูห้ รือปญั ญาทจี่ ะเขา้ ใจและป้องกันภัยเหล่านั้นได้ 65 มนุษยจ์ ึงเกิดความกลัวและเกิดความเช่ือวา่ ภยั เหลา่ นน้ั เป็นอภนิ หิ ารทมี่ ีมหิทธานุภาพเหนือธรรมชาตคิ วามก ลัวภยั เหลา่ นีท้ ำใหม้ นุษย์เกิดความคดิ ท่ีป้องกนั บรรเทา หรอื พยากรณ์เหตุการณน์ ั้น ๆ โดยการเซ่นสรวงสงั เวยดว้ ยพชื พนั ธุ์ธญั ญาหารหรอื ด้วยชวี ติ สัตว์หรอื แม้แต่ชวี ิตมนุษย์ให้แก่ผีหรอื เทพซ่งึ มนุ ษยก์ ำหนดขนึ้ โดยความเช่ือและความกลัวดังกล่าว ครน้ั นานไปพธิ ีกรรมมีความละเอยี ด มีความซับซ้อน และมขี น้ั ตอนมากมายขน้ึ จึงต้องมผี ู้รทู้ ีเ่ รยี กวา่ หมอ หรอื มด หมอหรือมดเหลา่ นเี้ ม่ือทำพิธีกม็ ักดื่มเหลา้ ใหเ้ คลบิ เคล้ิมและอาศยั ดนตรีทซ่ี ้ำ ๆ กันน้ันทำใหต้ กภวังค์คลา้ ยการเข้าทรง จนลืมตัวเองและออกท่าทางตา่ ง ๆ ซง่ึ มักเป็นการเตน้ และการรำ ความเข้าใจอีกประการหนง่ึ ก็คอื การเต้นและการรำเป็นวธิ ีหนึง่ ที่ทำให้ผหี รอื เทพพงึ พอใจ จงึ เกิดเปน็ การเต้นการรำ เพ่ือบูชาเทพหรือผีขนึ้ โดยเฉพาะแยกออกไปจากพิธีของหมอหรอื มด 6. สภาพสงั คม มนุษย์อยูร่ วมกนั เป็นหมเู่ หลา่ มนุษย์แตเ่ ดิมดำรงชีวติ ดว้ ยการลา่ สตั ว์ จึงอพยพสตั ว์ทล่ี า่ เปน็ อาหารไปตลอดเวลา เมอื่ ล่าสตั ว์มาไดก้ พ็ ากนั ดีใจร้องรำทำเพลง หรอื ผลู้ า่ ได้เล่าเร่ืองการล่าสตั วป์ ระกอบทา่ ทางใหเ้ ดก็ ๆฟงั ตอ่ มามนุษย์รูจ้ กั ทำการเกษตรและเปลย่ี นวิถีชวี ิตมาเปน็ เกษตรกรรม ซึง่ ต้องอาศยั น้ำฝน เปน็ ปัจจยั ในการทำการเพาะปลกู มนุษย์จงึ ทำพิธขี อฝนใหม้ าตรงตามฤดูและมีปริมาณพอเหมาะแก่การเพาะปลูก เชน่ พธิ แี ห่นางแมว และพิธีเซ้งิ บ้ังไฟเพ่อื ขอฝนของไทย เปน็ ต้น ครน้ั ถึงฤดูเก็บเก่ยี วชาวนาก็จะรอ้ งรำทำเพลงในระหวา่ งงานเพ่อื ใหเ้ พลิดเพลนิ เชน่ เตน้ กำรำเคยี ว 7. สภาพทางเศรษฐกจิ สภาพทางเศรษฐกิจ เปน็ สภาพความเป็นอย่ขู องประชาชนในสงั คมหนึ่ง การทม่ี ฐี านะทางเศรษฐกจิ ดี หมายความว่า ประชาชนในสังคมน้นั มคี วามเปน็ อยู่ท่ดี ี มขี องกินของใช้ซึ่งเป็นปัจจยั พ้ืนฐานเพียงพอแกค่ วามต้องการ เมื่อประชาชนในสงั คมต่างมีเงินตราสะสมไวม้ าก กย็ อ่ การซ้ือหาส่ิงทีต่ นต้องประสงค์ไดน้ อกเหนอื ไปจากปจั จัยพนื้ ฐาน นาฏศลิ ปจ์ ัดอยใู่ นหมวดเคร่ืองอปุ โภคท่ีให้ความบันเทงิ และเป็นส่งิ ท่ปี ระชาชนทว่ั ไปจะสนับสนุนกต็ ่อเมอื่ ตนเองมีฐานะดแี ล้ว และเปน็ ส่งิ ที่ถกู กระทบกระเทือนก่อนกจิ การอ่ืนๆ เมื่อสภาพเศรษฐกจิ ตกต่ำลง เพราะประชาชนจะตดั กจิ กรรมดา้ นนาฏศิลปอ์ อกไปก่อนเพราะมีความจำเปน็ ต่อการดำรงชพี น้อยกวา่ สงิ่ อื่น ๆในสังคม 66 8. การคมนาคม มนษุ ยม์ ีการคมนาคมหรือการติดต่อไปมาหาสู่กันมาแต่โบราณกาล การเดินทางในอดีตลำบากยุ่งยากและอนั ตรายมาก ต้องเผชิญภยนั ตรายจากโรคภยั ไขเ้ จ็บ สัตว์ปา่ และโจรผู้รา้ ย ดงั น้ันด้านสงั คมของแตล่ ะชมุ ชนจงึ ต้องอยู่อยา่ งโดดเด่ยี วและมีการพฒั นาการของตนเองอย่างเดน่ ชัด ครั้นชมุ ชนมปี ระชากรเพ่ิมขึ้น มขี องกินของใช้เหลอื พอนำไปขาย มีการแต่งงานด้านชุมชน ความตอ้ งการดงั กล่าวทำให้เกิดการคมนาคมเกิดเส้นทางมากมาย ปจั จบุ ันการคมนาคมเจรญิ ข้นึ มถี นน มคี ลองขดุ มีทางรถไฟ มีสนามบนิ และมียานพาหนะเพ่ือเดินทางและขนส่งมากมายและรวดเรว็ การคมนาคมทำให้ผคู้ นไปมาค้าขาย ธุดงคแ์ สวงหาวเิ วก เผยแพรศ่ าสนาแสวงโชค ส่งข่าวสารการศึกษา ฯลฯ คนเหล่านัน้ นำศลิ ปะและวฒั นธรรมของเขาติดตัวไปด้วย และไปเผยแพรก่ ระจายมากบ้างน้อยบ้างอยใู่ นถิน่ ตา่ งๆท่เี ขาเหล่าน้นั ไปถึง จะเห็นได้จากการท่กี รุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการเดนิ ทางโดยทางอากาศแห่งหนงึ่ ของเอเชีย ทำให้บรรดานาฏศิลปนิ ตา่ งๆ ทเี่ ดนิ ทางไปมาระหวา่ งยุโรป อเมริกา ญี่ปนุ่ และออสเตรีย มักนิยมพักและแสดง ณ กรุงเทพฯ จึงทำให้นาฏศลิ ปินไทยได้มีโอกาสรว่ มแสดงและพัฒนาตนเอง ในทางกลบั กนั คณะนาฏศิลป์ของไทยเปน็ จำนวนมากก็ได้เดินทางไปแสดง ณ ต่างประเทศทุกปี การคมนาคมจึงเปน็ ปจั จัยทีส่ ำคญั มากทท่ี ำใหน้ าฏศิลป์สามารถเล่อื นไหลไปมาระหวา่ งชุมชนจนถงึ ภมู ภิ าคท่ี ห่างไกล ทำใหเ้ กดิ การพัฒนาทางนาฏศิลป์เป็นอนั มาก 9. การสือ่ สาร การสอ่ื สารทำให้มกี ารบันทกึ และการถ่ายทอดอย่างเปน็ ระบบ ซึง่ นาฏศิลป์ม่ไี ด้รับการบันทึกและถา่ ยทอดในระบบสื่อสารดังกลา่ วนม้ี าแต่อดีตกาล อาทิ มกี ารทำบทประพนั ธร์ ้อยกรองเพอื่ การฝกึ หัดและแสดงนาฏศิลป์ ในขนั้ เดิมเป็นวรรณคดีมุขปาฐะหรือปากเปล่า ต่อมาเมื่ออุปกรณเ์ ขยี นได้พัฒนาขนึ้ วรรณคดีเหลา่ นั้นจึงมผี ูบ้ นั ทึกไวม้ ากมายในกระดูกสัตว์ เปลือกไม้ หนิ และกระดาษ สำหรับนาฏศลิ ปแ์ ละภาพเขียนดูจะมีคุณค่าในการศกึ ษาทางนาฏประวัตมิ าก เพราะไดเ้ ห็นทา่ ทางและเครื่องแตง่ กายในยคุ น้ันไดด้ ีพอสมควร การสอื่ สารด้านเอกสารในยุคท่พี ิมพ์ทันสมัยขนึ้ ทำให้มีการตพี มิ พ์สาระทางนาฏศลิ ป์ ทำใหอ้ งคค์ วามรู้ด้านนาฏศิลปแ์ พรห่ ลายและได้รบั การแปลเปน็ หลายๆภาษา ซ่งึ นำไปส่กู ารเกิดนักวชิ าการและนักวิจัยทจ่ี ะทำการคน้ คว้าหาความรทู้ ี่ล่มุ ลกึ ต่อไป ทำให้เกดิ การเคล่ือนไหวในกจิ การด้านนาฏศลิ ป์อยเู่ สมอ ประชาชนและผสู้ นใจจงึ ติดตามไดต้ ลอดเวลา และนำมาซึ่งการเข้าร่วมกิจกรรม 67 สื่อภาพยนตรแ์ ละสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น วิทยุ โทรทศั น์ แถบเสียง แถบภาพ หรือ วีดทิ ัศน์ คอมพวิ เตอร์ คอมแพก็ ดสิ ก์ ซดี ีรอม และระบบอินเตอรเ์ น็ตในปัจจุบัน ทำใหน้ าฏศิลป์ท่ีส่งผ่านส่อื เหลา่ นท้ี ำให้ชมในแดนไกลไดร้ ู้จักชื่นชอบ และสามารถบนั ทึก เพ่ือการศึกษารายละเอยี ดซำ้ ได้ อทิ ธพิ ลท่ีสำคัญอนั เกดิ จากการสอื่ สารโดยเฉพาะกลุม่ นี้ คอื การไดเ้ ห็นการเคลื่อนไหว ดนตรี การแตง่ กาย ท่าทางการฟอ้ นรำ ทำให้เกิดการจดจำและเลียนแบบ หรอื บันดาลใจในศิลปินเกดิ แนวคดิ ในการสร้างสรรค์งานใหมๆ่ ขึ้น หรอื เกดิ การลอกเลยี นแบบที่พบเห็นอีกต่อหน่ึง น่นั คือ สอ่ื เหล่านีท้ ำใหเ้ กิดการเลื่อนไหลทางนาฏศิลปอ์ ย่างรวดเรว็ สำหรบั กรณวี ีดทิ ศั น์จะพบวา่ ใหป้ ระโยชนอ์ ย่างยง่ิ ต่อการพัฒนาเปน็ สือ่ การสอนนาฏศิลป์ท่ีสำคัญยงิ่ ในปจั จุ บัน 10. การท่องเท่ียว การทอ่ งเท่ียวมีผลต่อนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งมาก ปัจจุบนั มีหลายประเทศแสวงหารายไดเ้ ข้าประเทศ โดยการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวใหช้ าวต่างชาตินำเงนิ ตราเขา้ มาใชจ้ า่ ยในประเทศของตน ส่งิ หนึ่งทีเ่ ป็นเคร่ืองดึงดูดใจนักทอ่ งเท่ียว คอื นาฏศลิ ปป์ ระจำชาตหิ รือประจำถ่ินเพื่อแสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นนน้ั ๆ การจัดนาฏศลิ ป์ใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวดูมักจดั แสดงกันอยา่ งผิวเผิน เพอ่ื ให้ได้สัมผสั กลิ่นอายทางวฒั นธรรมด้านนบี้ ้าง จึงตอ้ งปรบั ปรุงให้เหมาะกับเวลาและรสนิยมของนกั ท่องเที่ยว การทำเช่นนมี้ ีผลกระทบที่อาจทำให้รปู แบบดงั้ เดมิ อันสมบูรณ์ดว้ ยความงามและความหมายเส่อื มลงหรือกล ายไป หรอื ทำใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์ผลงานชิ้นใหม่ทดแทนของเดมิ ท่หี มดความนิยมไป หรอื ศลิ ปินเบ่ือหน่ายที่ต้องแสดงชดุ เดิมซ้ำซากอยู่เปน็ เวลานานและในกรณีท่ีในทอ้ งถ่ินของตนไม่มีนาฏศิลป์ ดั้งเดมิ พอจะอวดนักทอ่ งเทีย่ วได้ กจ็ ำต้องคิดประดิษฐ์ขึน้ 11. สงคราม สงครามมีมาคูก่ ับประวัติศาสตรข์ องมนษุ ย์ สงครามใหญๆ่ ทำใหผ้ ูแ้ พส้ ญู เสียศลิ ปวฒั นธรรมของตนไปหมดสน้ิ กม็ ีอยมู่ าก และผ้ชู นะก็อาจสืบทอดศิลปวัฒนธรรมของผูแ้ พ้ต่อไปในทศิ ทางและคตินยิ มของตน ตวั อยา่ งเช่น โรมันเม่อื ชนะกรีกก็นำศลิ ปะวทิ ยาการของกรกี ไปเปน็ ของตน แต่คร้นั เวลาผา่ นไปหลายช่ัวคน ภาษาและศิลปะกเ็ ส่ือมไปในทส่ี ุด การสงครามหากมองไปอีกมุมหน่ึง อาจเป็นสภาพการณท์ ่ีทำให้นาฏศิลป์บางรูปแบบมบี ทบาทขึ้นเชน่ ในประเทศทางเอเชยี อาทิ 68 ประเทศไทยตั้งแต่อดตี กาลมีการใช้นาฏศลิ ปเ์ ปน็ พน้ื ฐานในการต่อสูป้ อ้ งกันตวั และในการฝกึ อาวุธ เชน่ การรำมวย การรำกระบี่กระบอง การรำดาบ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ได้มีการจารตี กำหนดไว้ว่า สงครามแม้จะทำใหน้ าฏศิลป์บางอย่างซบเซาลง แต่กท็ ำใหก้ ารรำอาวธุ แพร่หลาย 12. การย้ายถ่ินฐาน การที่มนุษย์ยา้ ยถนิ่ ฐานไปอยู่ในทใี่ หม่ท่ีดีกว่านั้นเปน็ เรื่องปกติ และมนุษย์กท็ ำศิลปะและวฒั นธรรมตดิ ตามตนและหมขู่ องตนไปดว้ ยเสมอ เพราะสิ่งเหล่าน้ีเป็นเครื่องแสดงภมู ปิ ญั ญา แสดงเอกลักษณ์ของเผ่าพนั ธท์ุ ีต่ นภาคภูมิใจ และเป็นสญั ชาตญิ าณแห่งความอยู่รอดอยา่ งหนึ่ง การย้ายถิน่ ฐานท่ีอยู่อยา่ งถาวรซ่ึงทำให้วฒั นธรรมที่ตดิ ตวั คนอพยพมาตกอยูใ่ นถิน่ ใหมแ่ ละพฒั นาต่อไป ในทางกลบั กันอาจมีผู้ทรงคุณวุฒหิ รอื ครูบาอาจารย์ทางนาฏศลิ ป์ต่างชาติได้เดินทางมาพักอาศยั อย่ างถาวรในอีกประเทศหนึ่ง ในการน้ีครูผนู้ ้นั เพยี งคนเดียวกส็ ามารถแพร่กระจายความรู้ทางนาฏศิลปข์ องตนให้กระจายออกไปอยา่ งกวา้ งขวางและสามารถหย่งั รากลึกลงไปในสงั คมท่ีตนมาอยู่ใหม่ได้ 13. การศึกษา การศกึ ษาในทางนาฏศิลป์เปน็ กระแสสำคัญมากสำหรับประวตั ศิ าสตรน์ าฏศิลป์เพราะเป็นกระบวน การถา่ ยทอดศลิ ปะดา้ นนี้ท่สี ำคัญทส่ี ดุ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การสอนรำตัวต่อตัวจากครสู ศู่ ิษย์ การศกึ ษาดา้ นนาฏศิลป์มีมาแตโ่ บราณกาลหลายพนั ปี และในบางยุคบางสงั คมจะมีการสถาปนาโรงเรียนนาฏศลิ ปข์ น้ึ เปน็ สถาบันเฉพาะทาง การศึกษานาฏศิลป์ในยุคโบราณมักเป็นการสืบทอดศิลปะในกลุ่มคนจำนวนน้อยและมักหวงแหนความร้ใู ห้อ ยใู่ นวงจำกัด สำหรบั บุคคลที่สมควรได้รับการถา่ ยทอดเท่าน้นั ต่อมาการจัดการดา้ นการศึกษาเปลย่ี นรปู แบบเปน็ โรงเรยี น วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั และสตดู ิโอ ดังปรากฏในปัจจุบัน เนอื้ หาสาระด้านนาฏศลิ ป์ก็ได้รับจากการจัดหมวดหมู่เป็นสาขาและแบ่งปันเปน็ ขน้ั ความยากงา่ ย มีการให้ประกาศนยี บัตร ปรญิ ญาบัตร และอ่ืนๆเปน็ เอกสารรับรองความสามารถในสถาบนั การศึกษา 69 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การ โครงงานคอมพวิ เตอร์ เร่ืองนาฏศลิ ป์ไทย จดั ทำขนึ้ เพ่ือศึกษาความรู้เกยี่ วกบั นาฏศิลป์ไทย ประกอบวิชาพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร์ โดยมเี น้ือหาเกีย่ วกับประวตั ศิ าสตร์นาฏศิลป์ไทย ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ดนตรีและเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์ การแต่งกายนาฏศิลปไ์ ทย และบทบาททางสงั คมของนาฏศลิ ป์ และจัดเปน็ โครงงานคอมพวิ เตอร์ประเภทโครงงานพฒั นาสือ่ เพ่ือการศึกษา วิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม การเปดิ โปรแกรม Notepad ขนึ้ มาทำงานสามารถเปดิ ได้จากการคลิกทีป่ ุ่ม Start > Programs > Accessories > Notepad หรือจะใชค้ ำสง่ั Run > Notepad ก็ได้เช่นเดียวกนั ซ่ึงจะได้หนา้ ตา่ งการทำงานดังภาพลา่ ง ภาพท่ี 85 กอ่ นการใช้งานต้องมีการปรบั แต่งฟอนต์แสดงผลอีกเลก็ น้อย เพือ่ ใหส้ ังเกตเหน็ ได้ เมื่อมีการป้อนข้อความผดิ พลาด ในหนา้ ตา่ งโปรแกรม ด้วยการกำหนดใหใ้ ช้ฟอนต์ MS Sans Serif หรือ Tahoma ซง่ึ พมิ พ์อักษรไทยได้ ขนาด 10-12 พอยต์ (แลว้ แตส่ ายตาคนทำมองได้ชัดเจน) ย่งิ โตมากพืน้ ที่การทำงานก็จะลดลงต้องเล่อื นจอ (Scroll) ไปทา งขวามาก ดังภาพข้างล่างน้ี 70 ภาพที่ 86 เทคนคิ ในการป้อนข้อความคำสั่งต่างๆ ลงในโปรแกรม Notepad นัน้ ควรจะจดั แถวให้มีการเยื้องในแต่ละคำสั่ง เป็นคๆู่ เพื่อให้สามารถตรวจสอบคู่คำส่ัง เปดิ /ปดิ ไดช้ ดั เจน แยกระหว่างส่วนคำสงั่ และข้อความออกจากกนั จะดูได้งา่ ยดังภาพล่างนี้ ภาพท่ี 87 ที่สำคญั อย่างยงิ่ คือการจดั เกบ็ ไฟล์ (Save) เพราะ Notepad เป็น Text Editor ค่าปกติของโปรแกรมเมื่อจดั เก็บไฟลจ์ ะมสี กลุ เป็น .txt เสมอ เมอื่ ต้องการจัดเก็บเว็บเพจทมี่ ีสกุลของไฟล์เปน็ .htm หรือ .html จะต้องเปล่ียนชนดิ ของการจดั เก็บจาก Text Documents (*.txt) เป็น All Files และกำหนดชือ่ ไฟลพ์ ร้อมสกลุ เป็น .html ดังตัวอย่างกำหนดช่อื เปน็ notepad.html 71 ภาพที่ 88 เมื่อจดั เก็บได้ถูกต้องบนแถบไตเตลิ้ บารข์ อง Notepad จะปรากฏช่ือไฟล์เปน็ notepad.html ถู กตอ้ งดังภาพลา่ ง ภาพที่ 89 เมอ่ื ใช้บราวเซอร์ Internet Explorer เปิดไฟล์ ถ้ามีการตั้งชือ่ ไฟล์ และไม่เปลย่ี นชนดิ ไฟลจ์ ะได้ไฟล์ชอื่ notepad.txt ถ้ากำหนดชอื่ และสกลุ ไฟล์ถกู ต้อง แต่ไม่เปล่ียนชนดิ ไฟลจ์ ะได้ไฟล์ช่อื nodepad.html.txt ดังวงกลมแดงในภาพ ซึ่งจะไม่สามารถแสดงผลได้ ต้องเปดิ ได้เฉพาะไฟล์ notepad.html เทา่ นนั้ ภาพท่ี 90 72 และน่คี ือการสแดงผลจากไฟล์ท่เี ราจัดเกบ็ ไว้ถกู ต้องคือ notepad.html จะปรากฏข้อความบนไต เตล้ิ บาร์และในสว่ นเนอ้ื หาถูกต้องตามที่เขียนทุกประการ ภาพท่ี 91 บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ 73 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องนาฏศิลป์ไทย จัดทำข้ึน เพ่ือศึกษาความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย ประกอบวิชาพัฒ นาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์นาฏศิลป์ไทย ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ดนตรีและเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์ การแต่งกายนาฏศิลป์ไทย แ ล ะ บ ท บ า ท ท า ง สั ง ค ม ข อ ง น า ฏ ศิ ล ป์ ภาพท่ี 92 และจดั เป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทโครงงานพฒั นาสื่อเพื่อการศึกษา การใชโ้ ปรแกรม Notepad ประกอบการพฒั นาสอ่ื เพ่ือการศึกษา 74 บทที่ 5 อภิปรายผล ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากโครงงาน และข้อเสนอแนะ โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ืองนาฏศิลป์ไทย จัดทำข้ึน เพ่ือศึกษาความรู้เกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย ประกอบวิชาพัฒ นาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์นาฏศิลป์ไทย ประเภทของนาฏศิลป์ไทย ดนตรีและเพลงประกอบการแสดงนาฏศิลป์ การแต่งกายนาฏศิลป์ไทย แ ล ะ บ ท บ า ท ท า ง สั ง ค ม ข อ ง น า ฏ ศิ ล ป์ และจัดเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทโครงงานพฒั นาสื่อเพ่ือการศึกษา อภิปรายผล จากการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เรือ่ ง นาฏศลิ ปไ์ ทย ทำให้ทราบว่านาฏศิลป์ไทยมีคุณค่ามากในฐานะท่ีเปน็ ทร่ี วมของศลิ ปะหลายแขนง ปลูกฝงั จริยธรรมและเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติ ที่แสดงถึงความเปน็ อารยประเทศ อาทิ ศิลปะแขนงวจิ ติ รศิลป์ หรือ ประณตี ศิลป์ ประโยชน์ท่ีได้รบั จากโครงงาน จ า ก ก า ร ด ำ เ นิ น ง า น โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ รื่ อ ง น า ฏ ศิ ล ป์ ไ ท ย ท ำให้ ได้ รับ ป ระ โย ช น์ คื อ ได้ ช่ื อ ว่ าเป็ น ช าว ไท ย ท่ี ส ม บู รณ์ รู้จั ก วั ฒ น ธ รรม ข อ งช าติ ต น เน่ืองจากการเรียนรู้วิชานาฏศิลป์ในปัจจบุ นั ชาวต่างประเทศให้ความสนใจมาก ไดเ้ ข้ามาสนใจศึกษาคน้ คว้า แต่พ วกเราชาวไท ยถ้าห ากไม่สน ใจแล้ว วัฒ น ธรรมในแขนงนี้ก็จะตกไป อยู่ใน มือต่างช าติ ต่ อ ไ ป เ ม่ื อ เ ร า ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ก็ ค ง จ ะ ต้ อ ง อ า ศั ย ข้ อ มู ล จ า ก พ ว ก เ ข า แ ล้ ว อ ย่ า ง นี้ จ ะ ไ ด้ ช่ื อ ว่ า เ ป็ น วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร พวกเราชาวไทยควรศกึ ษาศิลปวฒั นธรรมของเราเองไวใ้ หด้ ี จะได้ชอ่ื ว่าเป็นชาวไทยทแี่ ท้จริง ข้อเสนอแนะในการพฒั นาโครงงานในอนาคต จากการดำเนินงานโครงงานคอมพวิ เตอร์ เรื่อง นาฏศลิ ป์ไทย ในคร้งั ต่อไปควรจะมีการศกึ ษาข้อมูลเกย่ี วกบั ศิลปะการแสดงของพ้ืนที่ตา่ งๆผสมดว้ ย ควรมีการจัดทำเนอื้ หาของโครงงานใหห้ ลากหลายครบเนอ้ื หาในมมุ ลกึ กว่าน้ี การนำเสนอความรู้สามารถตกแต่งความสวยงาน ไดต้ ามความเหมาะสม 75 ภาคผนวก ก ภาพตัวอย่างเวบ็ ไซต์ 76 . ภาคผนวก ข เนือ้ หาในการทำเว็บไซต์ http://online.fliphtml5.com/ujlze/xzyq 77 ภาคผนวก ค CD ไฟล์เว็บไซตโ์ ครงงาน ช่ือโครงงาน : นาฏศิลป์ ไทย ผู้จัดทา 1. เดก็ หญงิ ณัฐพร นารายพทิ ักษ์ เลขที่ 13 2. เด็กหญิงปริยากร งามมุข เลขท่ี 25 3. เดก็ หญิงปาณสิ รา ประสิทธ์ิประสาท เลขท่ี 26 4. เด็กหญงิ พมิ พ์ณดา ชัยวรรธนศักด์ิ เลขที่ 32 5. เด็กหญิงมิลนิ ทรา กรรมารบุตร เลขท่ี 37 78 โครงงานนเี้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวชิ า รหัสวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 (คอมพวิ เตอร์ 3) ประวัติผู้จัดทำ ช่ือ เด็กหญิงณฐั พร นารายพิทกั ษ์ ช้นั ม.3.11 เลขท่ี 13 รูปถ่าย ท่ีอยู่ 149/4 หม8ู่ ซอยสุขสวสั ด์ิ72/2 ถนนสุขสวสั ด์ิ ต.บางครุ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130 E-mail: [email protected] IG: mmintt_nn ชื่อ เด็กหญิงปริยากร งามมุข ช้นั ม.3.11 เลขที่ 25 รูปถ่าย ที่อยู่ 125/309 ซ3/1ม สายลม ถ แจง้ วฒั นะ ต ปากเกร็ด อ ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 E-mail : [email protected] IG : nine.ten 79 ชื่อ เดก็ หญิงปาณิสรา ประสิทธ์ิประสาท ช้นั ม.3.11 เลขท่ี 26 รูปถา่ ย ท่ีอยู่ 789/12 ถนนพรานนก แขวงบา้ นช่างหลอ่ เขตบางกอกนอ้ ย กทม. 10700 E-mail: [email protected] IG: prxdpran ชื่อ เดก็ หญิงพิมพณ์ ดา ชยั วรรธนศกั ด์ิ ช้นั ม.3.11 เลขท่ี 32 รูปถ่าย ท่ีอยู่ 162 ซ.จรัญสนิทวงศ4์ 9/1 ถ.จรัญสนิทวงศ์ แขวงบางบาหรุ เขตบางพลดั จ.กทม 10700 E-mail : [email protected] IG : chr.pc ช่ือ เด็กหญิงมิลินทรา กรรมารบตุ ร ช้นั ม.3.11 เลขที่ 37 รูปถ่าย ที่อยู่ 159 ถ.เฟ่ื องนคร แขวงวงั บรู พาถิรมย์ เขตพระ นคร กรุงเทพมหานคร 10200 E-mail: [email protected] IG : namtarn_kmb บรรณานกุ รม Pumitin Slipperz. (2558). วิวฒั นาการนาฏศลิ ป์ไทย สบื คน้ จาก. https://prezi.com/ep_8chfs___z/presentation/ สารานุกรมเสรี. (2561). นาฏยศาสตร์. สบื คน้ จาก. https://th.wikipedia.org/wiki/ สำนักงานสงั คีต. (ม.ป.ป.). ระบำดาวดึงส.์ สืบคน้ จาก http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item 80 เอกชยั ดำเลก็ . (ม.ป.ป.). นาฏศิลปไ์ ทย แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท. สืบคน้ จาก. https://sites.google.com/site/zzenper07/natsilp-thiy-baeng-xxk-pen-4- prapheth บ้านรำไทย. (ม.ป.ป.). ระบำไกรลาศ. สืบคน้ จาก. http://www.banramthai.com/html/krailas.html Sittipanareerat. (ม.ป.ป.). ระบำ รำ ฟ้อน. สบื คน้ จาก. https://sites.google.com/site/sittipanareerat422 คณุ ครูวรี ะพร เสนาวฒั น์. (21 กันยายน 2006). ประเภทของนาฏศลิ ปไ์ ทย. สืบคน้ จาก. http://www.mtk.ac.th/ebook/forum_posts.asp?TID=498&PN=1 หอสมุดแห่งชาตเิ ฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ิ์พระบรมราชนิ นี าถ. (ม.ป.ป.). โขน. สืบค้นจาก. http://www.finearts.go.th/nakhonphanomlibrary/parameters/km/item Yinapoy. (ม.ป.ป.). เสือ้ ผา้ เครอ่ื งแตง่ กาย. สบื ค้นจาก. https://sites.google.com/site/yinapcy/phu-cad-tha ท้องถิน่ ภาค อีสาน. (ม.ป.ป.). การแตง่ กายของภาคอสี าน. สืบค้นจาก. https://sites.google.com/site/fangkhaw19/kar-taeng-kay-khxng-phakh-xisan ธนวรรณ เตชสราญ. (ม.ป.ป.). การแตง่ กายของภาคอสี าน. สืบค้นจาก. https://sites.google.com/site/thanawantachasarsnsirikul43 วฒั นธรรมต่างๆในภูมิภาคของไทย. (ม.ป.ป.). การแตง่ กายของภาคใต้. สบื คน้ จาก. https://sites.google.com/site/startasean/kar-taeng-kay/phakh-ti ปรยี าภรณ์ ทองสุข. (ม.ป.ป.). นาฏศลิ ปไ์ ทยในสังคมปจั จุบนั . สืบคน้ จาก. https://sites.google.com/site/krumiimeawsdu/natsilp-thiy-ni-sangkhm-paccuban Ajthus. (ม.ป.ป.). นาฏศลิ ปไ์ ทยในสงั คมปจั จบุ ัน. สืบค้นจาก. https://sites.google.com/site/ajanthus/natsilp-thiy-ni-sangkhm-paccuban 81