การกระทำหร อคำพ ดพระอรห นต เป นแค กร ยาไม ม มโนกรรม

34 สงั โยชน์ ๑๐ เรียกว่ากิเลสอันผกู ใจสัตว์, ธรรมที่มดั สัตวไ์ วก้ ับทกุ ข์ หรอื ผกู กรรมไว้กบั ผล แบง่ เป็นสงั โยชนเ์ บื้องต่ำ ๕ และ

เบื้องสงู ๕ ดงั นี้ ก. โอรัมภาคยิ สงั โยชน์ ๕ สังโยชน์เบื้องตำ่ เป็นอย่างหยาบเปน็ ไปในภพอนั ต่ำ ๑) สกั ายทฏิ ฐิ ความเห็นวา่ เปน็ ตวั ของตน ๒) วจิ ิกจิ ฉา ความสงสัย ลังเล ๓) สสี พั พตปรามาส ความถอื มนั่ ศลี พรตโดยสักวา่ ทำตามๆ กนั ๔) กามราคะ ความกำหนัดในกาม ๕) ปฏฆิ ะ ความกระทบกระท้งั ใจ, ความหงุดหงิดขัดเคือง ข. อธุ มั ภาคิยสังโยชน์ ๕ สังโยชนเ์ บือ้ งสงู เปน็ ไปแม้ในภพอนั สงู ๖) รปู ราคะ ความติดใจในอารมณแ์ ห่งรปู ฌาน ๗) อรปู ราคะ ความติดใจในอารมณแ์ หง่ อรปู ฌาน ๘) มานะ ความสำคญั ตน ถือตนวา่ เป็นน่ันเปน็ น่ี ๙) อทุ ธจั จะ ความฟุง้ ซา่ น ๑๐) อวิชชา ความไม่รูจ้ รงิ ความหลง

35 เช่น องฺนวก. ๒๓/๒๑๖/๓๙๘ ; อภ.ิ ป.ุ ๓๖/๑๐๑/๑๗๘.

ธรรมประยกุ ต์ ๖๕

มตุ ิ ท่เี ขา้ ถึงนพิ พานบรรลุก็เปน็ ภาวะทีท่ ำให้ความทกุ ศีล หรอื ความประพฤติเสียหาย ไม่มีเหลอื ต่อไป36

ดังนั้นจึงสามารถเข้าประเด็นข้อที่ว่า พระอรหันต์ดำเนินชีวิตอย่างไรทำ กิจกรรมหรือประกอบกจิ กรรมการงานอะไรในรปู ลกั ษณะอย่างไร

ประการแรก พระอรหันต์เปน็ ผดู้ บั กรรม หรือส้ินกรรม การกระทำของท่าน ไม่เป็นกรรมอีกต่อไป ในคัมภีร์ฝ่ายอภิธรรมมีคำเรียกการกระทำของทานว่า “กริ ิยา37” ที่วา่ ตดั กรรมนน้ั หมายถงึ ไมก่ ระทำการตา่ งๆโดยมีอวชิ ชา ตณั หา อปุ าทาน ครอบงำหรือชักจูงใจ แต่ทำด้วยจิตใจที่เป็นอิสระ มีปัญญารู้แจ้งชัดตามเหตุผล เลิก ทำการอย่างปุถุชน เปลี่ยนเป็นทำอย่างอริยชน หรือไม่ทำการด้วยความยึดมั่นใน ความดี ความชั่ว ที่เกี่ยวกับตัวฉันของฉัน ผลประโยชน์ของฉัน ที่จะทำให้ฉันได้เป็น อย่างนั้น อย่างนี้ ไม่มีความปรารถนาเพื่อตัวเองเคลือบแฝงอยู่ ไม่ว่าในรูป ที่หยาบ หรอื ละเอียด แม้แต่ความภูมิพองอยภู่ ายในวา่ นั่นเป็นความดีของฉัน หรือว่าฉันได้ทำ ความดี เป็นต้น ทำไปตามวตั ถุประสงค์ของกิจน้ันๆ ตามเหตุผลของเรื่องน้นั ๆ ตามที่ ควรจะเป็นของมันล้วนๆ จึงเป็นการกระทำขึ้นที่ลอดพ้นเหนือกรรมขึ้นไปอีก ส่วน กรรมชั่วเป็นอันไม่ต้องพูดถึงเพราะหมด โลภะ โทสะ โมสะ ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ทำ ความช่วั แลว้

เหตผุ ลข้นั สดุ ท้ายท่ีทำใหผ้ ู้บรรลุ นิพพานแลว้ ไม่ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของ ตนเองหรือหว่ งใยเร่ืองของตนเอง สามารถทำประโยชน์เพ่ือผอู้ ่ืนหรือบำเพ็ญกิจแห่ง กรุณาได้เตม็ ท่กี เ็ พราะเปน็ ผู้ทำประโยชนต์ นเสรจ็ สิน้ แลว้ พระอรหนั ตม์ คี ณุ บท (แสดง คุณลักษณะ) วา่ “อนุปปตั ตสทตั ถะ” แปลวา่ ผู้บรรลปุ ระโยชน์ตนแล้วและกตกรณียะ แปลว่าผู้มีกิจที่จะต้องทำอันได้กระทำแล้วคือ ทำเรื่องของตนเองเสร็จแล้วเมื่อทำ อัตตัตถะ(ประโยชน์ของตน) แล้วก็ไม่ต้องห่วงใยเรื่องของตัวสามารถทำปรัตถะ (ประโยชน์ของผู้อื่น) ได้เต็มที่จะดำเนินชีวิตที่เหลืออยู่ด้วยปรหิต ปฏิบัติ(การปฏิบัติ เพื่อประโยชน์แห่งตนสืบไป38 เมื่อมีความพร้อมเป็นฐานอยู่อย่างนี้แล้ว พระอรหันต์ จึงสามารถมีคุณลักษณะเป็นสรรพมิตร (เป็นมิตรกับทุกคน) สรรพสขะ(เป็นเพื่อน กบั ทกุ คน) และสพั พภตู านุกรรมปกะ(หวังดตี อ่ สรรพสตั ว์)39 ได้อย่างแท้จรงิ

36 องฺทสก. ๒๔/๗๕/๑๔๙. 37 เช่น อภ.ิ ส.ํ ๓๔/๖๖๕/๒๖๐. 38 วนิ ย. ๔/๓๒/๓๙; ส.ํ ส. ๑๕/๔๒๘/๑๕๓. 39 ข.ุ เถร. ๒๖/๓๑๘/๓๖๒.

บทที่ ๕ การดำเนินชวี ติ แบบชาวพทุ ธ

ในการดำเนินชีวิตแบบฆราวาสวิสัย ธรรมะของพระพุทธองค์มีจำนวน มากมายแต่ถ้าหากว่านำตัวอย่างการดำเนินชีวิตตามตัวอย่างพระสูตรก็จะทำผู้ ศึกษาสามารถที่จะดำเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องและดำเนินชีวิตได้อย่างมีแบบอย่าง ใน บทนี้เราจะศึกษาการดำเนินชีวิตแบบชาวพุทธ หรือวิถีพุทธ ตามพระสูตร ๒ พระ สตู ร คอื

๑) สงิ คาลกสูตร ๒) มงคลสตู ร

การดำเนินชวี ติ ตามแนวสงิ คาลกสูตร

ในพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ในเรื่องสิงคาลกสูตรได้กล่าวถึงการดำเนินชีวิตอย่างอริย หรือ อริย พระผู้มีพระ ภาคประทับ ณ เวฬวุ นั ( ป่าไผ่ ) ใกล้กรงุ ราชคฤห์ เชา้ วนั หนึ่งเสด็จกรุงราชคฤห์เพ่ือ บิฑบาต ได้ทอดพระเนตรเห็นสิงคลกมาณพมีผ้าเปียก มีผมเปียก ไหว้ทิศทั้งหกอยู่ ตรัสถาม ทราบว่าเป็นการทำตามคำส่ังของบิดา จึงตรัสว่า ในอริยวินัยไม่พึงไหวท้ ศิ แบบน้ี. เมื่อมาณพกราบทูลถามว่า พึงไหว้อย่างไร สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรง แสดงหลักคำสอนที่เรยี กว่า “สิงคาลกะสูตร” คือก่อนทีส่ ิงคาลกะจะไหวท้ ศิ กไ็ ด้ไป อาบน้ำชำระล้างร่างกาย เตรียมตัวก่อน แล้วจึงมายืนไหว้ แต่การไหว้ทิศในอริย วินัยก็ทำในทำนองเดียวกัน แตจ่ ะตอ้ งทำเป็นขน้ั ๆ ไป คอื ข้นั ที่ ๑ จะต้องรักษาชีวิต ใหส้ ะอาดซง่ึ ไมใ่ ชอ่ ย่ทู ี่การอาบนำ้ ชำระลา้ งร่างกายใช้สบูห่ อมชนดิ ต่าง ๆ น่ันเปน็ การชำระล้างสิ่งสกปรกโสโครกซึ่งเกิดขึ้นจากปฏิกูลภายใน จากฝุ่นละอองภายนอก ทำให้ผิวกาย ร่างกาย และทวารของเราสกปรก เราสามารถใช้น้ำชำระล้างได้ แต่ ความชั่วต่าง ๆ ในร่างกายมีถึง ๑๔ อย่าง มีกรรมกิเลส ๔ อย่าง คือการกระทำให้ ชีวิตมัวหมอง เป็นการกระทำที่เสียหาย คือการดำเนินชีวิตหรือความประพฤติท่ี

เบียดเบียนกัน ๔ ประการ; ไม่ทำกรรมชั่วโดยฐานะ ๔ ; ไม่เสพปากทางแห่งความ

เสื่อมทรัพย์ (โภคานํ อปายมุขานิ ) ๖ ประการ ; เขาปราศจากความชั่ว ๑๔ ดังกล่าวได้แล้ว เป็นผู้ปกปิดทิศ ๖ ชื่อว่าปฏิบัติเพื่อชัยชนะในโลกทั้งสอง คือโลกน้ี และโลกหน้า, เมื่อตายไปก็จะเข้าถึงสคุ ติโลกสวรรค์

ธรรมประยกุ ต์ ๖๗

อะไรคือกรรมกิเลส

กิเลส คือ เครื่องเศร้าหมอง กรรม คือ การกระทำ กรรมกิเลส จึง หมายถงึ การกระทำที่เศร้าหมอง ๔ ประการ พระพุทธเจา้ ตรัสสอนแก่สิงคาลมนพ วา่ ให้ละเว้นกรรมกิเลสน้ี ไดแ้ ก่

๑) ปาณาติบาต การฆ่าสตั ว์ ๒) อทินนาทาน การลกั ทรพั ย์ ๓) กาเมสุมิจฉาจรา การประพฤตผิ ดิ ในกาม ๔) มุสาวาท การพดู ปด หรอื ความประพฤตอิ อกนอกทางของธรรม เรียกวา่ อคติ ๔ อย่าง คือ ๑) ฉันทาคติ หมายถงึ ความลำเอียงเพราะความชอบ ๒) โทสาคติ หมายถงึ ความลำเอียงเพราะความชัง ๓) โมหาคติ หมายถงึ ความลำเอียงเพราะความเขลา ๔) ภยาคติ หมายถงึ ความลำเอียงเพราะความกลัว ฉะนั้น ชีวิตของแต่ละคนที่เป็นฆราวาสเมื่อเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ จะต้องมี ความรับผิดชอบของตนเอง รับผิดชอบสังคม รับผิดชอบการงาน และในที่สุดก็เป็น หัวหน้าครอบครัว เป็นหัวหน้าหน่วยงาน เป็นหัวหน้าชุมชน ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องรกั ษาคอื ความเปน็ ธรรม ใหค้ วามเปน็ ธรรมแกค่ นอื่นที่อยู่ในความดูแลของตน หรือว่าให้กลุ่มคนอื่นหรือหมู่ชนนั้นด้วยความสามัคคีเราจะต้องสร้างความสงบสันติ สุข สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงให้เว้นจากความลำเอียง ๔ อย่างน้ี คือความประพฤติผิดธรรม หรือคลาดเคลื่อนเพราะความชอบ ความชัง ความเขลา และความกลวั แตใ่ ห้เราตงั้ มั่นอยู่ในธรรม สร้างความถกู ต้องดีงามและเที่ยงธรรมให้ เกิดข้ึนรวมเป็น ๘ อยา่ ง อบายมุข1 ๖ อบาย แปลว่า ความเสื่อม ความฉิบหาย มุข แปลว่า ปาก, หน้าอบายมุข จึงแปลว่า ปากทางแห่งความเสื่อม เนื่องจากมันเป็น ปากทาง ส่วนตัวความเสื่อม จริงๆ นั้นอยู่ ปลายทาง เมื่อมองเพียงผิวเผินเราจึงมักยังมองไม่เห็นความเสื่อม แต่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และท่านผู้รู้ทั้งหลายมองเห็น เป็นทางแห่งความเสื่อม หรือ

1 ท.ี ปา.๑๑/๑๗๘-๑๘๔/๑๙๖-๑๙๘.

ธรรมประยกุ ต์ ๖๘

ช่องทางแห่งความหมดเปลืองของทรัพย์สินเงินทองในการทำมาหาเลี้ยงชีพ ชีวิต ของฆราวาสทั้งหลายเร่ืองสำคัญกค็ อื ต้องสามารถเก็บเงินเก็บทองอยู่ เก็บเปน็ และ เก็บได้ แตถ่ า้ มอี บายมขุ แลว้ เงินทองก็จะหมดไปได้ นอกจากความเสอื่ มทรัพย์สินเงิน ทองแลว้ ความเส่อื มทางด้านจติ ใจก็ทำใหจ้ ิตใจของเราไม่อย่ใู นหนา้ ท่กี ารงาน ถ้าอยู่ ในวัยเรียนก็เสียการเรียน ซ้ำร้ายสุขภาพก็เสื่อมโทรมด้วย ฉะนั้น จึงควรเว้นใน อบายมุข คือทางเส่อื ม ๖ ประการ ดังนี้

๑. การเป็นนักเลงสรุ า เป็นนักด่มื หมกหมุ่นอยูก่ บั สุรายาเมา และส่งิ เสพติด ตา่ ง ๆ

๒. การเป็นนักเที่ยว เที่ยวไม่เป็นเวลา เที่ยวเสเพล เที่ยวเรื่อยเปื่อย สมยั ก่อนเรยี กวา่ นกั เที่ยวกลางคนื

๓. การเป็นนักบันเทิง หมกหมุ่นอยู่แต่ในเรื่องสนุกสนาน บันเทิงอยู่กับ สถานที่ สถานเริงรมย์ หาแต่ความสนุกสนานอย่างเดียว มัวเมา และทิ้งการเรียน การงาน ไม่มเี วลาหาเงนิ ทอง และผลาญทรัพยส์ มบัติท่ีมีอยู่

๔. การเป็นนักเลงการพนัน เป็นข้อที่ผลาญทรัพย์อย่างยิ่ง ดังโบราณ ท่านว่า ไฟไหม้ยังดีกว่าเล่นการพนัน ไฟไหม้บ้านหมด ที่ดินก็ยังอยู่ แต่ถ้าลองเล่น การพนนั แลว้ แม้แต่ทดี่ นิ ก็หมดได้โดยไม่เหลืออะไรเลย

๕. การคบคนชั่วเป็นมิตร คือ คบนักเลงสุรา คบนักเลงการพนัน นักเที่ยว เสเพลก็พาไปในทางที่ไม่ดี คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหา ผล

๖. การเกียจคร้านการงาน คือ ไม่เอาใจใส่ในหน้าที่การงาน ดีแต่จะนอนอยู่ สบาย พอมีงานหรือมีเรื่องที่จะต้องทำยากหน่อยก็อ้างโน่นอ้างนี่ และหลบเลี่ยง เร่ือยไป น่คี อื อบายมขุ ๖

สรุป กรรมกิเลส การกระทำทำให้เศร้าหมอง มี ๑๖ ประการ ได้แก่ กรรม กิเลส ๔ อคติ ๔ อบายมุข ๖

ธรรมประยกุ ต์ ๖๙

ทิศ ๖2

ทศิ เบ้ืองหน้า : ไดแ้ ก่ บดิ ามารดา

บุตรพึงปฏบิ ตั ติ ่อท่าน ดงั นี้ บิดามารดา ย่อมอนุเคราะห์ตอบบุตร

๑.ทา่ นไดเ้ ล้ยี งเรามาแลว้ เล้ยี งทา่ น ดงั น้ี

ตอบ ๑. หา้ มมิใหท้ ำความชวั่

๒.ชว่ ยกิจของทา่ น ๒.ใหต้ ้งั อยใู่ นความดี

๓.ดำรงวงศต์ ระกลู ๓.ให้ศึกษาศิลปะวทิ ยา

๔. ประพฤติตนให้เปน็ ผสู้ มควรรับ ๔.หาภรรยาสามที ่ีสมควรให้

ทรพั ยม์ รดก ๕.มอบทรัพยใ์ ห้ในสมัย

๕. เม่อื ท่านลว่ งลบั ไปแลว้ ทำบุญอทุ ิศ ใหท้ ่าน

ทศิ เบ้อื งขวา : ครู อาจารย์

ศษิ ย์พงึ ปฏบิ ัตติ อ่ ท่าน ดงั นี้ ครู อาจารยย์ อ่ มอนเุ คราะห์ศษิ ย์ตอบ ดังนี้ ๑.ดว้ ยลุกขนึ้ ยืนรับ ๑. แนะนำดี ๒.ด้วยเขา้ ไปยนื คอยรบั ใช้ ๒. ให้เรยี นดี ๓.ดว้ ยเชอื่ ฟงั ๓. บอกศลิ ปะใหส้ ิน้ เชงิ ๔.ดว้ ยอุปัฏฐาก ๔. ยกย่องใหป้ รากฏในหมู่เพื่อนฝูง

๕.ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ๕. ทำความปอ้ งกนั ทศิ ท้งั หลาย จะไปทิศทางไหนกไ็ ม่อดอยาก

ทิศเบอื้ งหลงั : สามี ภรรยา

สามพี ึงปฏบิ ัตติ ่อภรรยาดงั นี้ ภรรยาย่อมอนุเคราะหต์ อบสามี ดงั นี้

๑.ด้วยการยกย่องนบั ถือว่าเป็นภรรยา ๑. จัดการงานดี

๒.ด้วยไม่ดหู มิน่ ๒. สงเคราะห์คนข้างเคยี งของสามี

๓.ด้วยไมป่ ระพฤตินอกใจ ๓. ไมป่ ระพฤตินอกใจสามี

๔.ด้วยมอบความเป็นใหญใ่ นบ้านให้ ๔. รกั ษาทรพั ย์ท่สี ามีหามาไดไ้ ว้

๕.ดว้ ยให้เครื่องแต่งตวั ๕. ขยันไม่เกยี จครา้ นกิจการท้ังปวง

2 ที.ปา ๑๑/๑๙๘-๒๐๔/๒๐๒-๒๐๖.

ธรรมประยกุ ต์ ๗๐

ทิศเบอ้ื งซา้ ย : มติ รสหาย

มติ รพึงปฏบิ ัตติ อ่ มิตร ดังน้ี มติ รยอ่ มอนเุ คราะหม์ ิตรตอบ ดงั นี้

๑. ด้วยให้ปนั ส่ิงของ ๑. รักษามติ รผู้ประมาทแล้ว

๒. ด้วยเจรจาถ้อยคำไพเราะ ๒. รักษาทรัพยข์ องมติ รผปู้ ระมาทแล้ว

๓. ดว้ ยประพฤติประโยชน์ ๓. เมือ่ มีภยั เอาเปน็ ที่พง่ึ พำนักได้

๔. ด้วยความเป็นผมู้ ตี นเสมอ (เสมอตน้ ๔. ไมล่ ะทิ้งในยามวิบัติ (ยามฉบิ หาย)

เสมอปลาย) ๕. นับถือตลอดวงศ์ของมติ ร

๕. ดว้ ยไมแ่ กลง้ กล่าวใหค้ ลาดจากความ

เป็นจริง

ทิศเบ้ืองตำ่ : บ่าว/ลูกจา้ ง

นายพึงปฏิบัติต่อบ่าว/ลูกจ้างดังน้ี บ่าว/ลูกจ้างย่อมอนุเคราะห์ตอบนายดังน้ี

๑. ดว้ ยจดั การงานให้ทำตามสมควร ๑.ลกุ ขน้ึ ทำงานกอ่ นนาย

แก่กำลัง ๒.เลกิ การงานหลังนาย

๒. ดว้ ยใหอ้ าหารและรางวลั ๓.ถอื เอาแตข่ องท่ีนายให้

๓. ดว้ ยรักษาพยาบาลในเวลาเจบ็ ไข้ ๔.ทำการงานใหด้ ีขน้ึ

๔. ด้วยแจกของมีรสแปลกๆดๆี ให้กิน ๕.นำคุณของนายไปสรรเสริญในที่ต่างๆ

๕. ด้วยปลอ่ ยใหส้ มยั (ใหส้ นุกรื่นเริงเปน็

ครัง้ เป็นคราวตามสมควรแกโ่ อกาส

ทิศเบอ้ื งบน: สมณพราหมณ์

เราพงึ ปฏบิ ัติตอ่ ท่าน ดังน้ี สมณพราหมณ์ ย่อมอนเุ คราะห์ตอบ ดังนี้ ๑.ดว้ ยกายกรรม คือ ทำอะไรๆ ๑.หา้ มมใิ หก้ ระทำชว่ั ประกอบด้วยเมตตา ๒.ให้ตั้งอยู่ในความดี ๒.ดว้ ยวจีกรรม คือ ทำอะไรๆ ๓.อนุเคราะห์ด้วยน้ำใจอนั งาม ๔.ให้ไดฟ้ ังในสง่ิ ทีย่ งั ไมเ่ คยฟงั ประกอบดว้ ยเมตตา ๕.ทำส่งิ ทเี่ คยฟังแลว้ ให้แจ่มแจ้ง ๓.ดว้ ยมโนกรรม คอื ทำอะไร ๆ ๖.บอกทางสวรรค์ให้ ประกอบด้วยเมตตา ๔.ด้วยเป็นผไู้ ม่ปดิ บังเขา คอื มไิ ด้

หา้ มไม่ให้เข้าบ้านเรือน ๕.ด้วยให้อามสิ ทาน (สิง่ ของ)

ธรรมประยกุ ต์ ๗๑

การดำเนนิ ชวี ติ ชาวพุทธแบบมงคล ๓๘

ท่ีมาของมงคลสูตร นานมาแล้วในสมัยที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติบังเกิดขึ้น ได้มี การถกเถียงกันในชมพูทวีปว่าอะไรเป็นมงคล ต่างคนต่างก็แสดงสิ่งท่ีเป็นมงคลตาม ความเห็นของตน แต่ไม่อาจตกลงกันได้ว่า อะไรแน่เป็นมงคล การถกเถียงกันมิได้ เกดิ ข้ึนในหมมู่ นษุ ย์เทา่ นน้ั หากไดล้ ุกลามไปถงึ พวกเทวดาและพรหม ในสรวงสวรรค์ ด้วย ถึงกระนั้นก็ยังหาข้อยุติไม่ได้จวบจนเวลาล่วงไป ๑๒ ปี สมเด็จพระผู้มีพระ ภาคเจ้าคือพระพุทธเจ้าของเราพระองค์นี้เสด็จอุบัติขึ้นในโลก พวกเทวดาใน ดาวดงึ ส์เทวโลกจึงไดพ้ ากันเข้าไปเฝา้ ท้าวสกั กะเทวราช(พระอินทร์)ผู้เปน็ พระราชาใน ภพดาวดึงสท์ ูลถามถงึ มงคล ท้าวสักกะตรัสถามว่าทา่ นทั้งหลายได้ทูลถามเรือ่ งนี้กับ พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วหรือยัง เมื่อทรงทราบว่ายัง จึงได้ทรงตำหนิว่าพวกท่านได้ ล่วงเลย พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ทรงแสดงมงคลแล้วกลับมาถามเรา เป็นเหมือนทิ้งไฟ เสีย แล้วมาถือเอาไฟที่ก้นหิ้งห้อย ตรัสแล้วชวนกันไปเฝ้าพระพุทธเจ้าที่พระวิหารเช ตวัน ใกล้กรุงสาวัตถีในแคว้นโกศล ถวายบังคมแล้วยืนอยู่ ณ ที่ควรท้าวสักกะ ทรงมอบหมายให้เทวดาองค์หนึ่งเปน็ ผู้ทลู ถามเร่ืองน้ี ในเวลานั้นเทพเจ้าในหมื่นจักรวาล เนรมิตกายให้ละเอียดมาแออัดประชุม กัน เพื่อมงคลปัญหาในที่นั้นด้วย จนพระเชตวันสว่างไสวไปทั่วด้วยรัศมีกายของ เทวดาเหล่านั้น ถึงกระนั้นก็มิอาจบดบังพระรัศมีซึ่งเปล่งออกจากพระกายของ พระพุทธเจ้าได้ เทวดาองค์ท่ีได้รบั มอบหมายให้ทลู ถามมงคลปญั หา กับพระพทุ ธเจา้ ไดท้ ลู ถามปัญหา แกพ่ ระองค์ พระพุทธเจ้าวา่ "เทวดาและมนุษย์ทัง้ หลายเป็นอันมาก หวังอยู่ซึ่งความสวัสดี ได้พากันคิดสิ่งที่เป็นมงคล(แต่ไม่อาจคิดได้)ขอพระองค์โปรด ตรสั บอกอดุ มมงคล3" ตามลำดบั ดังน้ี มงคล คือเหตุแห่งความสุข ความก้าวหน้าในการดำเนินชีวิต ซ่ึง พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้พึงปฏิบัติ นำมาจากบทมงคลสูตรท่ี พระพทุ ธเจ้าตรสั ตอบปญั หาเทวดาทถี่ ามวา่ คณุ ธรรมอนั ใดทท่ี ำใหช้ ีวิตประสบความ เจริญหรือมี "มงคลชีวิต" ในปัญหาแห่งมงคลที่เหล่าเทวดาสงสัย เป็นเพราะความท่ี โลกมนุษยไ์ ดเ้ กิดการโต้เถียงถึงส่ิงท่ีเปน็ มงคล เพราะสง่ิ ท่เี ปน็ มงคลจะเป็นส่ิงที่จะชีวิต

3 .พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕ ขทุ ทกนิกาย ขทุ ทกปาฐะ ข้อ ๕-๖

ธรรมประยกุ ต์ ๗๒

ใหม้ นษุ ยด์ ขี น้ึ เปน็ มงคล เหตนุ น้ั มงคลทพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั แก่เทวดาจึงเปน็ วิถีการ ท่ีมนษุ ยน์ ำไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิตอันจะกอ่ ให้เกิดความสวสั ดีมงคลแก่ตนผู้ปฏิบัติ ซ่ึง มี ๓๘4 ประการโดยไดแ้ บ่ง เป็น หมคู่ าถา เป็น ๑๐ หมู่คาถา ดงั น้ี

คาถาหมู่ที่ ๑ ทำความเห็นใหถ้ กู ตอ้ ง มี ๓ มงคล คือ ๑) อะเสวะนา จะ พาลานัง การไม่คบคนพาล เหตุผลที่ไม่ควรคบคนพาล คือ คบคนพลานแล้วจะนำพาไปสู่ในทางที่ชั่วร้าย ดังกล่าวโทษของการคบคนพาล ดงั นี้ โทษของการคบคนพาล

๑.ยอ่ มถกู ชักนำไปในทางทีผ่ ิด ๒. ย่อมเกดิ ความหายนะ การงานลม้ เหลว ๓. ยอ่ มถกู มองในแงร่ า้ ย ไมไ่ ด้รับความไว้วางใจจากบคุ คลท่วั ไป ๔. ย่อมอดึ อดั ใจ เพราะคนพาลแมเ้ ราพดู ดๆี ดว้ ยก็โกรธ ๕. หมู่คณะย่อมแตกความสามคั คี เพราะการยุยงและไม่ยอมรบั รู้

ระเบยี บวินยั ๖. ภัยอันตรายต่างๆ ยอ่ มไหลเขา้ มาหาตวั ๗.เมอื่ ละโลกแลว้ ย่อมมี

อบายภมู ิเปน็ ที่ไป ลกั ษณะของคนพาล

๑.ชอบคิดชั่วเป็นปกติ ได้แก่ คิดละโมบอยากได้ในทางทุจริต คิด พยาบาทปองร้าย คดิ เห็นผิดเปน็ ชอบ ฯลฯ

๒.ชอบพูดชั่วเป็นปกติ ได้แก่ พูดปด พูดคำหยาบ พูดส่อเสียดยุยง พดู เพ้อเจ้อ ฯลฯ

๓.ชอบทำช่ัวเป็นปกติ ได้แก่ เกะกะเกเร กินเหล้าเมายา ชอบล้างผลาญ ชีวิตคนและสตั ว์ ลักทรัพย์ ฉุดครา่ อนาจาร ฯลฯ

๒) ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา การคบบัณฑิต (คือ ท่านผู้รูท้ ้ังหลาย) เหตุผลท่ี ควรคนทเ่ี ปน็ บณั ฑิตเพราะวา่ ทำใหผ้ คู้ บหาไดร้ บั อานสิ งส์หรอื ประโยชน์ ดังน้ี

๑. ทำใหม้ ีจิตใจผ่องใส สามารถทำความดตี ามไปดว้ ย ๒.ทำใหไ้ ด้ปัญญาเพ่มิ ขน้ึ เปน็ คนหนกั แนน่ มเี หตผุ ล ๓. ทำใหม้ ีความเห็นถูก เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ ๔.ทำให้ไม่ต้องเศรา้ โศกเดือดร้อนเพราะทำผดิ

4 ข.ุ ข.ุ ๒๕/๕/๓;ข.ุ ส.ุ ๒๕/๓๑๗/๓๗๖.

ธรรมประยกุ ต์ ๗๓

๕.ทำให้เป็นท่ยี กยอ่ งสรรเสริญของคนท่วั ไป ๖.ทำให้มคี วามสขุ ปลอดภัยจากอุปสรรคภยั พาลตา่ งๆ ๗.ทำใหม้ ีความเจรญิ ก้าวหน้า สามารถต้งั ตัวได้เรว็ ๘.ทำใหแ้ มล้ ะโลกนไ้ี ปแล้ว ก็ไปสู่สคุ ติโลกสวรรค์ ๙. ทำใหบ้ รรลมุ รรคผลนพิ พานได้โดยง่าย ๓) ปูชา จะ ปูชะนียานัง บูชาบุคคลที่ควรบูชาเป็นอุดมมงคล คำว่าบูชานั้น หมายถงึ การแสดงความเคารพนบั ถือ กก็ ารบูชานั้นมี ๒ อยา่ งคอื อามิสบูชา การบูชาด้วยอามิสคือ สิ่งของเครือ่ งล่อใจ มีเงินทอง ดอกไม้ ของหอม เปน็ ต้น ปฏิบัติบูชา การบูชาด้วยการปฏิบัติดีปฏิบัติชอบมีการเข้าถึงไตรสรณคมน์ รักษาศีล ๕ ศีล ๘ ศีลอุโบสถ เจริญสมถะและวิปัสสนา การศึกษาพระธรรมวินยั เป็นตน้ การบูชานั้นเราบูชาบุคคล ๑ บูชาคุณงามความดี ๑ในการบูชาบุคคลนั้น ท่านแบ่งบุคคลออกเป็น ๓ พวก คือ บุคคลที่สูงด้วยชาติ (ชาติวุฒิ) คือมีกำเนิด สงู เช่น พระราชา พระราชินี พระโอรส พระธิดา เป็นตน้ ๑ บชู าบุคคลทสี่ งู ด้วย วัย (วัยวฒุ )ิ คอื ผู้ทเ่ี กดิ ก่อนเรา เช่น ปู่ย่า ตายาย พอ่ แม่ เปน็ ต้น ๑ บูชาบุคคลที่ สูงด้วยคุณ (คุณวุฒิ) มีครู อาจารย์ ภิกษุ สามเณร พระอริยเจ้าทั้งหลาย พระ ปัจเจกพุทธเจ้า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในบุคคล ๓ จำพวกนี้เราสามารถจะบูชาท่าน ได้ทั้งอามิสบูชาและปฏิบัติบูชาส่วนการบูชาคุณงามความดีนั้น หมายถึงบูชา คณุ ธรรมมีศลี เป็นตน้ โดยไม่คำนึงบคุ คลท่ีประกอบด้วยคณุ ธรรมเหล่าน้นั มีภิกษุ สามเณร เป็นต้น ว่าเป็นคนเกิดในสกุลต่ำ หรือสกุลสูง อายุน้อยหรือมาก ท่าน เหล่านั้นสมควรที่เราจะให้ความนับถือบูชาทั้งสิ้น ผู้ที่บูชาบุคคลที่ควรบูชาจึงเป็น อดุ มมงคลประการหนงึ่ คาถา หมทู่ ี่ ๒ มองปจั จัยพน้ื ฐาน มี ๓ มงคลคอื ๔) ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ การอยู่ในประเทศ(ถิ่น)ที่สมควร การอยู่ใน ประเทศที่สมควรเป็นอุดมมงคล คืออยู่ในถิ่นที่สมควร ประเทศที่สมควรนั้น คือ ประเทศที่เป็นที่อยู่ของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ อุบาสกและอุบาสิกาของ พระพุทธเจ้า ผู้ที่อยู่ในประเทศที่สมควรเหล่านีช้ ื่อว่าเป็นอุดมมงคล เพราะเป็นถิ่นท่ี ให้บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ มีทานเป็นต้น กับเป็นเหตุให้ได้อนุตตริยะ ๖ ประการมีทัสสนานุตตริยะ การเห็นที่ยอดเยี่ยม เป็นต้น ผู้ที่อยู่ในประเทศที่สมควร

ธรรมประยกุ ต์ ๗๔

เช่นนี้ จึงเป็นอุดมมงคล เพราะสามารถที่จะบำเพ็ญบุญกุศลให้สมบูรณ์ จนถึง มรรคผลนพิ พานได้

ถิน่ อันสมควรควรประกอบด้วยสิ่งแวดล้อม ๔ อย่าง ได้แก่ ๑.อาวาสเป็นที่สบาย หมายถึงอยู่แล้วสบาย เช่นสะอาด เดินทางไป มาสะดวก อากาศดี เปน็ แหล่งชุมชน ไม่มีแหลง่ อบายมุขเปน็ ตน้ ๒.อาหารเป็นที่สบาย หมายถึงอาหารการกินอุดมสมบูรณ์ เช่นมี แหล่งอาหารทส่ี ามารถจดั ซื้อหามาไดง้ ่าย เป็นตน้ ๓.บุคคลเป็นที่สบาย หมายถึงที่ที่มีคนดี จิตใจโอบอ้อมอารี ถ้อยที ถ้อยอาศยั มศี ลี ธรรม ไม่มีโจร นักเลง หรือใกล้แหลง่ อทิ ธพิ ลเป็นต้น ๔.ธรรมเป็นที่สบาย หมายถึงมีที่พึ่งด้านธรรม มีที่ฟังธรรมเช่น มี วดั อย่ใู นละแวกน้ัน มีโรงเรียน หรือแหลง่ ศึกษาหาความรเู้ ป็นตน้ ๕) ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา การได้กระทำบุญไว้แล้วในปางก่อน การได้ กระทำบุญไวแ้ ลว้ ปางกอ่ น ก็จัดเป็นมงคลอกี ประการหน่ึง เพราะผู้ที่จะบำเพ็ญกุศล ให้สมบูรณ์ได้นั้นต้องอาศัยความที่ตนได้เคยทำบุญไว้ในอดีตชาติ มาช่วยส่งเสริม สนับสนุนทั้งสิ้น โดยเฉพาะผู้ที่จะได้บรรลุคุณวิเศษเป็นพระอริยบุคคลในชาตินี้น้ัน ย่ิงต้องอาศยั บุญ คอื การอบรมเจริญภาวนาในชาตกิ อ่ นๆ มาเปน็ ปัจจยั สนบั สนุน ทั้งสิ้น ขาดบุญในอดีตแล้วไม่อาจสำเร็จได้เลย แม้พระพุทธเจ้ากว่าที่จะได้สำเร็จ เป็นพระพุทธเจ้าได้ ก็ต้องอาศัยบุญบารมีที่สร้างสมมานานถึง ๔ อสงไขยแสนกัป มาเป็นเครื่องสนับสนุนจึงสำเร็จ การกระทำบุญไว้แล้วในปางก่อนจึงเป็นอุดมมงคล ขึ้นชื่อว่าบุญนน้ั มคี ุณสมบตั ดิ งั ตอ่ ไปนค้ี ือ ๑. ทำให้กาย วาจา และใจ สะอาดได้ ๒. นำมาซึ่งความสขุ ๓. ติดตามไปได้ หมายถึงบญุ จะติดตัวเราไปไดต้ ลอดจนถึงชาติหน้า ๔. เป็นของเฉพาะตน หมายถงึ ขอยมื หรือแบง่ กันไมไ่ ด้ ทำเองได้

เอง ๕. เปน็ ทีม่ าของโภคทรัพยท์ ้งั หลาย คือวา่ ผลของบญุ จะบนั ดาลให้

เกดิ ขึ้นไดเ้ องโดยไม่ไดห้ วังผล ๖. ใหม้ นษุ ย์สมบตั ิ ทิพยส์ มบัติ และนพิ พานสมบัติแกเ่ ราได้

หมายถงึ ความ สมบูรณ์ตงั้ แตท่ างโลก จนถงึ นิพพานได้เลย ๗. เปน็ ปัจจัยใหถ้ ึงซ่งึ นพิ พาน ก็คือเป็นปจั จยั ในการสง่ เสรมิ ให้

ธรรมประยกุ ต์ ๗๕

บรรลถุ ึงนิพพานไดเ้ ร็วข้ึนเมอื่ ปฏิบตั ิ ๘. เป็นเกราะป้องกันภยั ในวฏั สงั สาร หมายถึงในวงจรการเกิด แก่

เจบ็ ตาย หรือที่เรยี กว่าเวยี นวา่ ยตายเกิดนน้ั บุญจะคุ้มครองให้ ผ้นู ั้นเกดิ ในที่ดี อย่อู ยา่ งมีความสขุ หรือตายอย่างไม่ทรมาน ขึน้ อยูก่ บั กำลงั บุญที่สรา้ งสมมา การทำบญุ น้นั มีหลายวิธแี ตพ่ อสรุปไดส้ นั้ ๆดงั นค้ี อื

๑.การทำทาน5 ๒.การรกั ษาศีล ๓.การเจรญิ ภาวนา ๖) อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ การตั้งตนไว้ชอบ การตั้งตนไว้ชอบ ก็เป็นอุดม มงคล ผู้ที่ปรารถนาความดีงาม และความสำเรจ็ ในชาตินีแ้ ละชาตหิ นา้ มกี ารเกิดใน สุคติโลกสวรรค์ และบรรลุมรรค ผล นิพพาน ย่อมตั้งตนไว้ชอบ ประกอบแต่ สุจริตธรรม สัมมาปฏิบัติ มีศรัทธาเลื่อมใส เจริญทาน ศีล ภาวนา อยู่เป็นนิตย์ เพราะฉะนนั้ ผทู้ ตี่ ั้งตนไวช้ อบ ก็คอื ผู้ท่ีตงั้ ตนอยใู่ นกุศลธรรมท้งั หลายนัน่ เอง การต้ัง ตนไว้ชอบจึงเปน็ อุดมมงคลเพราะเปน็ เหตใุ ห้พน้ อบาย และสำเร็จมรรค ผล นิพพาน ดังเรื่องของโจรห้าร้อย ในสมัยของพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่เที่ยวโจรกรรม ดักปล้นชาวบ้านเลี้ยงชีวิต ต่อมาชนทั้งหลายเป็นอันมากรวมตัวกันจะจับโจร พวก โจรก็หนีเข้าป่าไป เมื่อเข้าไปในป่าได้พบภกิ ษรุ ูปหนึ่ง จึงเข้าไปนมัสการวิงวอนขอให้ ท่านช่วย ภิกษุรูปนั้นก็บอกให้รักษาศีล เพราะศีลเป็นที่พึ่งอันประเสริฐในโลกหน้า โจรทั้งหมดก็พากันยินดีรับศีลจากภิกษุรูปนั้น แล้วพากันลาไป ชาวบ้านทั้งหลาย ติดตามมาทัน จึงช่วยกันฆ่าโจรตายหมด ด้วยอานิสงส์แห่งศีลที่พวกโจรรักษา ตายแล้วได้บังเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีวิมานทองงดงาม มีนางฟ้าหนึ่งพันเป็น บริวาร ได้เสร็จสุขอยู่ในวิมานนั้น นี่ก็เพราะการตั้งตนไว้ในศีล ในเวลาใกล้ตาย การตัง้ ตนไว้ชอบ จึงเป็นอดุ มมงคลอย่างนี้ คาถาหมทู่ ่ี ๓ รู้งานดีมวี ินยั มี ๔ มงคลคอื ๗)พาหุสัจจัญจะ การสดับตรับฟังมาก การได้สดับตรับฟังมาก เป็นอุดม มงคล ผู้ที่สดับตรับฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระสูตรเป็นต้น เล่าเรียน ศึกษาพระธรรมวินัย ทรงจำไว้ได้ ชื่อว่าเป็น พหูสูต หรือ พาหุสัจจะ ผู้ที่มีพาหุ สัจจะมากย่อมละอกุศล เจริญกุศล ละสิ่งที่มีโทษ เจริญสิ่งที่ไม่มีโทษ ทำให้แจ้ง

5 บญุ กิริยาวัตถุ ๓ ; ที.ปา ๑๑/๒๒๘/๒๓๐; องฺอฎฐฺ ก.๒๓/๑๒๖/๒๔๕; ข.อติ ิ.๒๕/๒๓๘/๒๗๐.

ธรรมประยกุ ต์ ๗๖

ปรมัตถสัจจะ ได้ในที่สุดด้วยปัญญา แม้การฟังเรื่องราวที่ไม่มีโทษของชาวโลก ก็ จ ั ด ว ่ า เ ป ็ น ม ง ค ล เ ช ่ น ก ั น เ พ ร า ะ เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ เ ก ื ้ อ ก ู ล ท ั ้ ง โ ล ก น ี ้ แ ล ะ โ ล ก ห น้ า

ในสมัยพทุ ธกาล พระอานนทไ์ ด้ช่อื วา่ เป็นผู้สดับตรับฟังมากทสี่ ุด ท้งั ทรง จำไว้ได้ทั้งหมด ท่านจึงเป็นกำลังสำคัญในการทำสังคายนาครั้งแรก ที่มีท่านพระ มหากัสสปเป็นประธาน หากขาดท่านพระอานนท์เสียแล้ว พระธรรมวินัยท่ี พระพุทธเจ้าทรงประกาศไว้ คงจะไม่สมบรู ณ์มาจนถึงปัจจุบัน ให้เราผู้เป็นอนุชนคน รุ่นหลังได้ศึกษา และปฏิบัตติ ามเป็นแน่ ด้วยเหตุนี้พาหุสัจจะ การสดับตรับฟงั มา จึงเป็นอุดมมงคลอีกประการหนึ่งคือเป็นผู้ที่ฟังมาก เล่าเรียนมาก เป็นผู้รอบรู้ โดยมี ลกั ษณะดังน้คี อื

๑.ร้ลู ึก คอื การรใู้ นส่ิงนัน้ ๆ เรอ่ื งนัน้ ๆ อย่างหมดจดทุกแงท่ ุกมุม อย่างมีเหตุ มีผลร้ถู ึงสาเหตจุ นเรียกวา่ ความชำนาญ

๒.รู้รอบคือการรู้จักช่างสังเกตในสิ่งต่างๆรอบตัวเช่นเหตุการณ์แวดล้อม เปน็ ต้น

๓.รู้กว้าง คือการรู้ในสิ่งใกล้เคียงกับเรื่องนั้นๆ ที่เกี่ยวข้องกัน สัมพันธ์กัน เป็นตน้

๔.รไู้ กล คอื การศกึ ษาถึงความเป็นไปได้ ผลในอนาคตเป็นต้น ถา้ อยากจะเป็นพหูสตู ก็ควรตอ้ งมคี ุณสมบัติ ดังว่านีค้ อื

๑. ความต้งั ใจฟงั ก็คอื ชอบฟงั ชอบอ่านหาความรู้ และค้นควา้ เปน็ ต้น

๒. ความตง้ั ใจจำกค็ อื รจู้ กั วธิ จี ำโดยตั้งใจอา่ นหรอื ฟงั ในส่งิ น้ันๆ และจับใจความให้ได้

๓. ความตง้ั ใจทอ่ งก็คือท่องให้รโู้ ดยอตั โนมัติไม่ลืมในสง่ิ ทเ่ี ปน็ สาระสำคัญ

๔. ความตั้งใจพิจารณา ก็คอื การรู้จักพจิ ารณาตรกึ ตรองในสิ่ง นน้ั ๆอยา่ งทะลุปรโุ ปร่ง

๕. ความเขา้ ใจในปัญหา กค็ ือการร้อู ย่างแจ่มแจง้ ในปัญหาอยา่ ถอ่ งแทด้ ว้ ยปัญญา

๘) สิปปัญฺจะ การศึกษาศิลปะ การศึกษาศิลปะเป็นอุดมมงคล ผู้ที่มีศิลปะ คือผู้ที่มีฝีมือไม่ว่าจะมีฝีมือในการเป็นช่างเงิน ช่างทอง เป็นช่างตัดเย็บจีวรเป็นต้น ชื่อว่าอุดมมงคล ขึ้นชอ่ื ว่าศลิ ปะไมว่ ่าจะเปน็ ของคฤหสั ถ์หรอื บรรพชติ หากเป็นศิลปะ

ธรรมประยกุ ต์ ๗๗

ที่ไม่มีโทษแล้ว ชื่อว่าเป็นอุดมมงคลทั้งสิ้น เพราะนำความสุขความเจริญมาให้ทั้ง โลกนี้และโลกหน้า ทั้งเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนเองและผู้อื่นด้วยศิลปะ คือสิ่งท่ี แสดงออกถึงความงดงามและมคี วามสนุ ทรยี โ์ ดยลกั ษณะของมนั มีดังนคี้ ือ

๑.มคี วามปราณีตทำใหข้ องดูมคี ่ามากข้ึน ๒.ทำใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ๓.ไม่ทำใหเ้ กดิ กามกำเรบิ ๔.ไมท่ ำให้เกิดความพยาบาท ๕.ไมท่ ำใหเ้ กดิ ความเบียดเบยี น ถ้าท่านอยากเป็นคนมีศลิ ปะ ควรตอ้ งฝึกให้มคี ุณสมบัติเหลา่ นี้ไวใ้ นตวั คือ ๑.มีศรทั ธาในความงดงามของสิง่ ต่างๆ ๒.หมนั่ สังเกตและพจิ ารณา ๓.มคี วามปราณีตอารมณ์ละเอยี ดออ่ น ๔.เปน็ คนสขุ ุม มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ๙)วนิ ะโย จะ สสุ กิ ขิโต วนิ ัยทศี่ กึ ษาดแี ล้ว ความเป็นผมู้ ีวนิ ัย เป็นอุดมมงคล คำว่าวนิ ัยนน้ั แปลวา่ นำออก คอื นำโทษทางกาย ทางวาจา ทางใจออกไป ดว้ ยเหตุ นี้ผู้ที่ประพฤติสุจริตกรรม เว้นทุจริตกรรม จึงชื่อว่ามีวินัย เพราะนำโทษที่เป็น ทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจ ออกไปวนิ ัย ก็คือขอ้ กำหนด ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ เพื่อควบคุมให้มีความเปน็ ระเบียบนั่นเอง มีทั้งวินัยของสงฆ์และของคนทั่วไป สำหรับ ของสงฆ์นั้นมีทั้งหมด ๗ อย่างหรือเรียกว่า อนาคาริยวินัย ส่วนของบุคคลทั่วไปกม็ ี ๑๐ อย่าง คอื การละเว้นจากอกุศลกรรม ๑๐ ประการ อนาคารยิ วินัยของพระมีดังน้ี ๑.ปาฏิโมกขสังวร6 คือการอยู่ในศีลทั้งหมด ๒๒๗ ข้อ การผิด ศีลข้อใดข้อหนึ่งก็ถือว่าต้องโทษแล้วแต่ความหนักเบา เรียงลำดับกันไปตั้งแต่ ข้ัน ปาราชิกสังฆาทเิ สส ถุลลจั จยั ปาจติ ตยี ์ ปาฏเิ ทสนียะ ทกุ กฏ ทุพภาสติ เปน็ ต้น ๒.อินทรียสังวร คอื การสำรวมอายตนะทั้ง ๕ และกาย วาจา ใจ ให้ อยูก่ บั รอ่ งกับรอย โดยอยา่ ไปเพลดิ เพลนิ ตดิ กับส่ิงท่ีมาสมั ผัสเหลา่ นนั้ ๓.อาชีวะปาริสุทธิสังวร คือการหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบ นั่นก็คือ การออกบณิ ฑบาตร ไม่ไดเ้ รยี กร้อง เรย่ี ไรหรอื เทีย่ วขอเงนิ ชาวบา้ นมาเพื่อความอุดม สมบรู ณข์ องตัวเอง

6 วสิ ุทธิ.๑/๘; ปฏสิ .ํ อ.๑๖; วภิ งคฺ .อ.๔๒๙.

ธรรมประยกุ ต์ ๗๘

๔.ปัจจะยะปัจจะเวกขะณะ คือการพิจารณาในสิ่งของทั้งหลายถึง คุณประโยชน์โดยเนื้อแท้ของสิ่งของเหล่านั้นอย่างแท้จริง โดยใช้เพื่อบริโภค เพื่อ ประโยชน์ ความอยรู่ อด และความเปน็ ไปของชวี ติ เทา่ นนั้

วินัยสำหรับฆราวาส หรือบุคคลทั่วไป เรียกว่าอาคาริยวินัย มีดังน้ี (อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ประการ)

๑.ไมฆ่ า่ ชวี ิตคนหรอื สัตว์ไม่วา่ นอ้ ยใหญ่ ๒.ไมล่ ักทรพั ย์ยกั ยอกเงินสง่ิ ของมาเป็นของตัว ๓.ไม่ประพฤติผิดในกามผิดลกู ผดิ เมยี ข่มขนื กระทำชำเรา ๔.ไมพ่ ดู โกหกหลอกลวงให้หลงเชอ่ื หรือชวนเช่อื ๕.ไมพ่ ูดสอ่ เสียดนนิ ทาว่าร้ายยุยงใหค้ นแตกแยกกนั ๖.ไม่พูดจาหยาบคายให้เป็นท่แี สลงหคู นอนื่ ๗) ไม่พูดจาไร้สาระ หรือที่เรียกว่าพูดจาเพ้อเจ้อไม่มีสาระ เหตุผล หรือ ประโยชนอ์ ันใด ๘)ไม่โลภอยากไดข้ องเขาคือมีความคิดอยากเอาของคนอน่ื มาเป็นของเรา ๙)ไมค่ ิดร้ายผูกใจเจ็บแค้นปองร้ายคนอืน่ ๑๐)ไมเ่ ห็นผิดเป็นชอบ เช่น เห็นว่าพอ่ แม่ไมม่ ีความสำคัญ บญุ หรือกรรมไม่ มจี ริงเป็นตน้ ๑๐. สุภาสิตา จะ ยา วาจา วาจาสุภาษิต วาจาสุภาษิตเป็นอุดมมงคล วาจาสุภาษิตคือวาจาที่กล่าวดีแล้ว เป็นวาจาที่เป็นไม่มีโทษ ประกอบด้วยธรรม เปน็ วาจาที่เปน็ ทีร่ ัก เปน็ วาจาจรงิ ไมเ่ ทจ็ ไมส่ ่อเสยี ด ไมเ่ หลวไหล เพ้อเจ้อ แม้วาจาที่แสดงธรรมแก่ผู้อื่นด้วยมุ่งประโยชน์แก่ผู้ฟัง ก็ชื่อว่าเป็นวาจา สุภาษิต เพราะเป็นปัจจัยให้ผู้ฟังไดร้ ับความสุขทั้งในโลกนแ้ี ละโลกหน้า อีกท้ังยังอาจ ให้บรรลุมรรค ผล นิพพาน อีกโสดหนึ่งด้วยคำว่าวาจาอันเป็นสุภาษิตในที่นี้มิได้ หมายถึงเพยี งว่าต้องเปน็ คำร้อยกรอง รอ้ ยแกว้ เปน็ คำคมบาดใจมีความหมายลกึ ซ้งึ เท่านนั้ แตร่ วมถึงคำพดู ทด่ี ี มีประโยชน์ต่อผู้ฟัง ซ่งึ สรุปวา่ ประกอบด้วยลกั ษณะดงั นี้ ๑.ต้องเป็นคำจริง คือข้อมูลที่ถูกต้อง มีหลักฐานอ้างอิงได้ ไม่ได้ปั้นแต่ง ขนึ้ มาพดู ๒.ต้องเป็นคำสุภาพ คือพูดด้วยภาษาที่สุภาพ มีความไพเราะในถ้อยคำ ไม่ มีคำ หยาบโลนหรือคำด่า

ธรรมประยกุ ต์ ๗๙

๓.พูดแล้วมีประโยชน์ คือมีประโยชน์ต่อผู้ฟังถ้าหากนำแนวทางไปคิด หรือ ปฏิบัติในทางสรา้ งสรรค์

๔.พูดด้วยจิตที่มีเมตตา คือพูดด้วยจิตใจที่มีความปรารถนาดีต่อผู้ฟัง มี ความจริงใจตอ่ ผ้ฟู ัง

๕.พูดได้ถูกกาลเทศะ คือพูดในสถานที่เหมาะสม และในเวลาที่เหมาะสม โดย ความเหมาะสมจะมมี ากนอ้ ยเชน่ ไรกข็ ึน้ อย่กู บั เรื่องท่ีพูด

คาถาหมทู่ ี่ ๔ ทำให้ครอบครวั อบอุน่ มี ๔ มงคลคอื ๑๑) มาตาปติ อุ ปุ ัฏฐานงั การบำรงุ มารดาบิดา ทา่ นวา่ พอ่ แมน่ ัน้ เปรียบได้ เปน็ ทั้ง ครูของลกู เทวดาของลกู พรหมของลูก และอรหันตข์ องลกู ความหมายโดย ละเอียดมีดังต่อไปนี้คือ ที่ว่าเป็นครูของลูก เพราะว่าท่านได้คอยอบรมสั่งสอนลูก เป็นคนแรกก่อนคนอื่นใดในโลก ที่ว่าเป็นเทวดาของลูก เพราะว่าท่านจะคอยปกป้อง คุ้มครอง เลี้ยงดู ประคบประหงมมาตั้งแต่อ้อนแต่ออก บำรุงให้เติบใหญ่เป็นอย่างดี ไมใ่ หเ้ กิดอันตรายต่อลกู ในทุกดา้ น ท่ีว่าเปน็ พรหมของลูก เพราะว่าทา่ นมีพรหมวิหาร ๔ นั่นก็คือ มีเมตตา หมายถึงความเอ็นดู ความปรารถนาดีต่อลูกในทุกๆด้าน ไม่มีท่ี สิ้นสุด มีกรุณา หมายถึงให้ความกรุณาต่อลูก ลูกอยากได้อะไรก็หามาให้ลูก ให้ การศึกษาเล่าเรียน ส่งเสียเท่าที่มีความสามารถจะให้ได้ มีมุทิตา หมายถึงความรักท่ี ยอมสละได้แม้ชีวิตของตัวเองเพื่อลูก ยอมเสียสละได้ทุกอย่าง และมีอุเบกขา หมายถึงการวางเฉย ไม่ถือโกรธเมื่อลูกประมาท ซน ทำผิดพลาดเพราะความไร้ เดียงสา หรือเพราะความไม่รู้ ที่ว่าเป็นอรหันต์ของลูก เพราะว่าท่านมีคุณธรรม ๔ ประการอนั ได้แก่ ๑.เป็นผู้มีอุปการะคุณต่อลูก คืออุปการะเลี้ยงดูมาด้วยความเหนื่อยยาก กวา่ จะเติบโตเปน็ ผใู้ หญ่ ๒.เป็นผู้มีพระเดชพระคุณต่อลูก คือให้ความอบอุ่นเลี้ยงดู ปกป้องจาก ภยนั ตรายต่างๆ นานา ๓.เป็นเนื้อนาบุญของลูก คือลูกเป็นส่วนหนึ่งของกรรมดีที่พ่อแม่ได้ทำไว้ และเป็นผู้รบั ผลบญุ ที่พ่อแม่ไดส้ ร้างไวแ้ ล้วทางตรง ๔.เป็นอาหุไนยบุคคล คือเป็นเหมือนพระที่ควรแก่การเคารพนับถือและรับ ของบูชา เพอื่ เทอดทูลไวเ้ ปน็ แบบอยา่ ง

ธรรมประยกุ ต์ ๘๐

การทดแทนพระคณุ บิดามารดาท่านสามารถทำไดด้ ังน้ี ระหว่างเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่ ก็เลี้ยงดูท่านเป็นการตอบแทน ช่วยเหลือเป็น ธุระเรื่องการงานให้ท่าน ดำรงวงศ์ตระกูลให้สืบไปไม่ทำเรื่องเสื่อมเสีย รวมท้ัง ประพฤติตนให้ควรแก่การเป็นสืบทอดมรดกจากท่าน ครั้นเมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ก็ ทำบญุ อุทิศกศุ ลให้ท่าน สว่ นการเป็นลกู กตัญญูต่อพ่อแม่ในคำสอนของพระพทุ ธเจ้า ทา่ นกล่าวว่าไว้ดังน้ี ๑.ถ้าท่านยังไม่มีศรัทธา ให้ท่านถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือพยายามให้ท่านมี ความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา เชอ่ื ในเร่อื งการทำดี ๒.ถ้าท่านยังไม่มีศีล ให้ท่านถึงพร้อมด้วยศีล คือพยายามให้ท่านเป็น ผู้รกั ษาศีล ๕ ใหไ้ ด้ ๓.ถ้าท่านเป็นคนตระหนี่ ให้ท่านถึงพร้อมด้วยการให้ทาน คือพยายามให้ ท่านรจู้ ักการให้ด้วยเมตตาโดยไม่หวังผลตอบแทน ๔.ถ้าท่านยังไมท่ ำสมาธิภาวนา ให้ทา่ นถึงพร้อมดว้ ยปัญญา คอื พยายามให้ ทา่ นหดั น่งั ทำสมาธภิ าวนาใหไ้ ด้ ๑๒) ปุตฺตะ สังคะโห การสงเคราะห์บุตรและภรรยาบุตร บุตรมาจากคำ วา่ ปตุ ตฺ แปลว่า ลูก มคี วามหมาย ๒ ประการคอื ๑.ผทู้ ำสกลุ ให้บริสุทธ์ิ ๒.ผ้ยู ังหทยั ของพอ่ แมใ่ ห้เตม็ อ่ิม ประเภทของบุตร ประเภทของบุตรแบ่งโดยความดีในตัว ได้เป็น ๓ ช้ัน ดงั นี้

๑. อภิชาตบุตร7 คือ บุตรที่ดีมีคุณธรรมสูงกว่าบิดามารดา เป็นบุตร ชน้ั สงู สรา้ งความเจรญิ ให้แกว่ งศ์ตระกลู

๒. อนุชาตบุตร คือ บุตรที่มีคุณธรรมเสมอบิดามารดา เป็นบุตรชั้น กลาง ไม่สร้างความเจรญิ ให้แก่วงศต์ ระกูล แตก่ ไ็ ม่ทำใหเ้ ส่อื มลง

๓. อวชาตบตุ ร คอื บุตรที่เลวมคี ุณธรรมตำ่ กวา่ พอ่ แม่ เป็นบุตรชั้นต่ำ นำความเสอื่ มเสียมาสู่วงศ์ตระกูล การทเี่ ราเป็นพอ่ เป็นแม่ของบตุ รนั้นมีหน้าที่ท่ีต้อง ใหก้ บั ลูกของเราคอื

๑. หา้ มไมใ่ หท้ ำความช่ัว ๒. ปลูกฝงั สนับสนนุ ใหท้ ำความดี

7 ขุ.อติ .ิ ๒๕/๒๕๒/๒๗๘.

ธรรมประยกุ ต์ ๘๑

๓. ใหก้ ารศกึ ษาหาความรู้ ๔. ให้ได้คคู่ รองที่ดี(ใชป้ ระสบการณข์ องเราใหค้ ำปรึกษาแก่ลกู

ชว่ ยดูให้) ๕. มอบทรพั ย์ให้ในโอกาสอนั ควร (การทำพนิ ยั กรรม ก็ถอื ว่า

เปน็ สิ่งถกู ต้อง)

๑๓ ทารัสสะ สังคะโห สงเคราะห์ สามีภรรยา ความหมายของสามี – ภรรยา สามี แปลวา่ ผูเ้ ลยี้ ง, ผัว ภรรยา แปลว่า คนควรเล้ียง, เมยี คำทัง้ สองน้ี เป็นคำทแี่ ฝงความหมายอยู่ ในตัว และเป็นคำคู่กนั ผชู้ ายที่ได้ช่ือว่า สามี ก็เพราะเลี้ยงดูภรรยา ผู้หญิงที่ได้ชื่อว่า ภรรยาก็เพราะทำตัวเป็นคนน่าเลี้ยงเมื่อว่า ด้วยเรื่องคนที่จะมาเป็นคู่ครองของชาย หรือที่เรียกว่าจะมาเป็นภรรยานั้น ในโลกนี้ ทา่ นแบง่ ลักษณะของภรรยา8 ๗ ประเภทได้แก่

๑. วธกาภรยิ า หมายถึงภรรยาเสมอด้วยเพชรฆาต เปน็ พวกท่ีมจี ติ ใจคดิ ไม่ ดี ชอบทำรา้ ยชอบด่าทอสาปแช่งคดิ ฆ่าสามหี รอื มีช้กู ับชายอื่น

๒.โจรีภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยโจร เป็นคนล้างผลาญ สร้างหนี้สิน หาได้เท่าไรก็ไม่พอ หรือเอาเรื่องในบ้านไปโพทนาให้คนข้างนอกรับรู้ ทำให้เสื่อมเสีย ชอ่ื เสียง

๓.อัยยาภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยนาย เป็นคนชอบข่มสามีให้อยู่ใน อำนาจ ไม่ใหเ้ กยี รติสามีเม่อื อยตู่ ่อหน้าผู้อื่น ชอบสัง่ การหรอื เอาแตใ่ จตัวเอง เหน็ สามี เปน็ คนไรค้ วามสามารถแต่ตัวเองเป็นผู้นำ

๔.มาตาภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยแม่ คือผู้ทีม่ คี วามรักตอ่ สามีอย่าง สดุ ซงึ้ ไม่เคยทอดทง้ิ แมย้ ามทกุ ข์ยากปว่ ยไขไ้ ม่ทำใหม้ เี ร่ืองสะเทือนใจ

๕.ภคินีภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยน้องสาว คือผู้ที่มีความเคารพต่อ สามใี นฐานะพอ่ บา้ น แตข่ ัดใจกนั บา้ งตามประสาคนใกล้ชดิ กันแล้วก็ใหอ้ ภัยกัน โดยไม่ คดิ พยาบาทเดินตามแนวทางของสามตี ้องพึ่งพาสามี

๖.สขีภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยเพื่อน ต่างคนต่างก็มีอะไรท่ี เหมือนกนั ความสามารถพอกัน ไม่จำเป็นต้องพ่ึงพากัน ไม่ค่อยยอมกัน เป็นตัวของ ตวั เอง แต่กร็ กั กันและชว่ ยเหลือกนั โดยต่างคนตา่ งทำหน้าที่ของตวั เอง

8 องฺสตฺตก. ๒๓/๖๐/๙๒; ชา.อ.๔/๙๒.

ธรรมประยกุ ต์ ๘๒

๗. ทาสีภริยา หมายถึงภรรยาเสมอด้วยคนรับใช้ คือภรรยาที่อยู่ภายใต้ คำส่งั สามโี ดยไมม่ ขี ้อโต้แยง้ สามีเปน็ ผเู้ ล้ียงดู สงั่ อะไรกท็ ำอยา่ งนน้ั แม้จะไม่เหน็ ดว้ ยก็ ไม่ออกความเห็น อดทนทำงานตามหน้าที่ตามแต่สามีจะสั่งการ แม้ถูกดุด่า เฆี่ยนตีก็ ยังทนอยู่ได้โดยไม่โต้ตอบ ท่านว่าคนที่จะมาเป็นสามี ภรรยาได้ดีหรือคู่สร้างคูส่ มน้ัน ควรต้องมคี ณุ สมบตั ิดังนี้

๑.สมสัทธาคือมศี รทั ธาเสมอกนั ๒.สมสลี าคอื มีศลี เสมอกนั ๓.สมจาคะคอื มกี ารเสียสละเหมือนกัน ๔.สมปัญญา คอื มีปัญญาเสมอกัน

เมื่อได้แต่งงานกันแล้ว แต่ละฝ่ายก็มีหน้าที่ที่ต้องทำดังนี้ สามีมีหน้าที่ต่อ ภรรยาคอื

๑)ยกย่องนับถือว่าเป็นภรรยา คือการแนะนำเปิดเผยว่าเป็นภรรยา ไม่ ปิดบังกับผู้อืน่ และใหเ้ กยี รติภรรยาในการตดั สินใจเรื่องตา่ งๆดว้ ย

๒)ไม่ดูหมิ่น คือไม่ดูถูกภรรยาเมื่อทำไม่เป็น ทำไม่ถูก หรือเรื่องชาติตระกูล การศึกษาวา่ ตำ่ ต้อยกว่าตนแต่ต้องสอนให้

๓)ไมประพฤตนิ อกใจภรรยา คือการไปมเี มียน้อยนอกบ้าน เลี้ยงต้อย หรือ เทย่ี วเตร่หาความสำราญกบั หญงิ บริการ

๔)มอบความเป็นใหญ่ให้ในบ้าน คือการมอบธุระทางบ้านให้กับภรรยา จดั การ รับฟังและทำตามความเห็นของภรรยาเกีย่ วกบั บา้ น

๕)ให้เครื่องแต่งตัว คือให้ความสุขกับภรรยาเรื่องการแต่งตัวให้พอดี เพราะสตรเี ป็นผรู้ ักสวยรักงามโดยธรรมชาติ

ฝา่ ยภรรยากม็ ีหน้าที่ต้องตอบแทนสามี คือ

๑.จัดการงานดี คืองานบ้านการเรือนต้องไม่บกพร่อง ดูแลด้านความ สะอาด ทำนุบำรงุ รักษาดา้ นโภชนาการให้เรยี บร้อยดี

๒.สงเคราะห์ญาตสิ ามดี ี คอื ใหค้ วามเอื้อเฟ้อื ญาตฝิ ่ายสามี เท่าท่ตี นมีกำลัง พอทำได้ไม่ได้หมายถึงเรอื่ งทรัพยส์ ินเงนิ ทองอย่างเดยี ว

๓.ไม่ประพฤตินอกใจสามี คือไม่คบชู้ หรือปันใจให้ชายอื่น ซื่อสัตย์ต่อสามี คนเดยี ว

ธรรมประยกุ ต์ ๘๓

๔.รักษาทรัพย์ให้อย่างดี คือรู้จักรักษาทรัพย์สินไว้ไม่ให้หมดไปด้วยความ สน้ิ เปลอื ง แตก่ ็ไมถ่ ึงกบั ตระหนี่

๕.ขยันทำงาน คอื ไมเ่ กยี จครา้ นเอาแต่ออกงาน นอน กิน หรอื เท่ียวแตอ่ ย่าง เดียว ตอ้ งทำงานบ้านดว้ ย

๑๔) อะนากุลา จะ กัมมันตา การงานไม่อากูลคั่งค้าง ว่าด้วยสาเหตุที่ทำ ใหง้ านคง่ั ค้างนนั้ สรุปสาเหตุไดเ้ พราะวา่

๑)ทำงานไมถ่ กู กาล ๒)ทำงานไม่ถกู วธิ ี ๓)ไม่ยอมทำงาน

หลักการทำงานให้เสรจ็ ลุลว่ งมีดงั นี้.

๑)ฉนั ทะคอื มีความพอใจในงานท่ีทำ

๒)วริ ยิ ะคอื มีความตงั้ ใจพากเพยี รในงานที่ทำ

๓)จิตตะคือมีความเอาใจใสใ่ นงานท่ที ำ

๔) วมิ งั สา คอื มีการคิดพิจารณาทบทวนงานนน้ั ๆ คาถาหมทู่ ่ี ๕ เกอ้ื หนุนตอ่ สังคม มี ๔ มงคลคอื ๑๕) ทานญั จะ การให้ทาน แปลวา่ การให้ หมายถึงการสละส่งิ ของ ของตน เพื่อให้ประโยชน์แก่ผู้อื่นด้วยความเต็มใจการให้ทาน เป็นพื้นฐานความดีของ มนุษยชาติ และ เป็นส่งิ ท่ีขาดเสยี มไิ ดใ้ นการจรรโลงสันติสุข พอ่ แม่ถา้ ไมใ่ ห้ทาน คือไม่ เลี้ยงดูเรามา เราเองก็ตายเสียตัง้ แต่เกดิ แล้ว สามีภรรยา หาทรัพย์มาได้ ไม่ปันกันใช้ ก็บ้านแตก ครู อาจารย์ ถา้ ไมใ่ ห้ทาน คอื ไม่สั่งสอนถ่ายทอดวิชา ความร้แู ก่เรา เราก็ โงด่ ักดาน คนเรา ถา้ โกรธแลว้ ไมใ่ ห้อภยั ทานกัน โลกน้ี ก็เปน็ กลยี คุ การให้ทาน คือการให้ที่ไม่หวังผลตอบแทนโดยหมายให้ผู้ได้รับได้พ้นจาก ทกุ ข์ แบง่ ออกเป็น ๓ อยา่ งไดแ้ ก่

๑) อามิสทาน คอื การใหว้ ตั ถุ ส่ิงของ หรอื เงนิ เป็นทาน ๒) ธรรมทาน คือการสอนให้ธรรมเปน็ ความรเู้ ปน็ ทาน ๓) อภยั ทาน คือการใหอ้ ภยั ในสงิ่ ที่คนอน่ื ทำไม่ดกี บั เรา ไม่จองเวร หรอื พยาบาทกัน การให้ทานที่ถือว่าเป็นความดี และได้บุญมากนั้นจะประกอบด้วยปัจจยั ๓ ประการอนั ไดแ้ ก่ ๑) วัตถบุ รสิ ุทธิ์ คือเปน็ ของทีไ่ ด้มาโดยสุจรติ ไมไ่ ด้ไปยักยอกมา โกงมา

ธรรมประยกุ ต์ ๘๔

หรือไดม้ าด้วยวิธีแยบยล ๒) เจตนาบริสทุ ธิ์ คือมีจิตยินดี ผ่องใสเบกิ บาน ไมร่ ูส้ กึ เสียดายสงิ่ ทใ่ี ห้

ตงั้ แตก่ อ่ นให้ ขณะให้ และหลงั ให้ ๓) บคุ คลบรสิ ทุ ธิ์ คือให้กบั ผรู้ บั ทมี่ ีศีลธรรม ตัวผ้ใู ห้เองกต็ อ้ งมศี ีลท่ี

บรสิ ุทธ์ิ การใหท้ านท่ีถือว่าไม่ดี และยงั อาจเปน็ บาปกรรมถงึ เรา ทางออ้ มอกี ดว้ ยได้แก่ ๑. ให้สุรา ยาเสพยต์ ดิ เป็นตน้ (ถ้าเขาเมาแลว้ ขับรถชนตาย เราก็มี สว่ นบาปดว้ ย) ๒. ใหอ้ าวธุ (ถ้าอาวุธน้นั ถูกเอาไปใชป้ ระหตั ประหาร บาปก็มาถึงเรา ด้วย) ๓. ใหม้ หรสพ คือการบนั เทิงทกุ รูปแบบ ๔. ให้สตั วเ์ พศตรงข้ามเพื่อผสมพันธ์ุ อันนร้ี วมถึงการจดั หาสาวๆ ไป บำเรอผมู้ ีอำนาจหรอื ผ้นู ้อยดว้ ยเปน็ ตน้ ๕. ให้ภาพลามก หรอื สง่ิ พมิ พล์ ามก เพราะทำใหเ้ กดิ ความกำหนัด เกดิ กามกำเริบ (เม่ือดแู ลว้ เกิดไปฉดุ คร่า ข่มขืนใคร บาปกต็ กทอดมาถึง เราดว้ ย) ๑๖)ธมั มะจะริยา การประพฤติธรรมการประพฤตธิ รรม คือ การประพฤติ ตนให้อยู่ใน กรอบของความถูกต้องและความดีทั้งปรับ ปรุงพฤติกรรมของตนให้ดี สมกับทเี่ กดิ เป็นคน และ ใหม้ คี วามเท่ียงธรรม ไมล่ ำเอียงการประพฤติธรรม กค็ อื การ ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไป แบง่ ออกได้เป็น ๒ อันได้แก่ กายสจุ ริต คอื ๑.การไมฆ่ า่ สตั ว์ หมายรวมหมดตง้ั แต่สัตว์เล็กสัตว์ใหญ่ และมนษุ ย์ ๒.การไม่ลักทรัพย์ หมายรวมถึงการคอรัปชั่น ไปหลอกลวง ปล้นจี้ ชาวบ้านดว้ ย ๓.การไมป่ ระพฤตผิ ดิ ในกาม หมายรวมถงึ การคบชู้ นอกใจภรรยา และการ ข่มขืนด้วย วจสี ุจริต คอื ๑. การไม่พดู เท็จคือการพูดแตค่ วามจรงิ ไมห่ ลอกลวง ๒. การไม่พดู คำหยาบ คอื คำทีฟ่ ังแล้วไมร่ นื่ หู เกิดความรูส้ กึ ไมส่ บายใจรวม หมด

ธรรมประยกุ ต์ ๘๕

๓. การไม่พดู จาส่อเสยี ดการนนิ ทาวา่ ร้าย ๔. การไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล คือการพูดที่ไม่เป็นสาระ หาประโยชน์อันใด มิได้ มโนสุจรติ คอื ๑.การไมโ่ ลภอยากไดข้ องผูอ้ ืน่ คือการนกึ อยากได้ของเขามาเปน็ ของเรา ๒.การไม่คิดพยาบาทปองร้ายผู้อื่น คือการนึกอยากให้คนอื่นประสพ เคราะหก์ รรม คิดจะทำรา้ ยผอู้ ่ืน ๓.การเห็นชอบ คือมีความเชื่อความเข้าใจในความเป็นจริง ความถูกต้อง ตามหลักคำสอนตามแนวทางพระพุทธศาสนา ๑๗) ญาตะกานัญจะ สังคะโห การสงเคราะห์ญาติ ญาติ แปลว่า คน ค้นุ เคย คนใกล้ชิด หมายถงึ บุคคล ที่คุ้นเคยและวางใจกันได้ มี ๒ ประเภทได้แก่ ๑) ญาติทางโลก แบ่งไดเ้ ปน็ ๒ พวก คือ

ก.ญาติโดยสายโลหิต เช่น ทวด ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา พี่ น้อง หลาน เหลน ฯลฯ (สำหรับพ่อแม่ ลูก ภรรยา สามี ถือว่าเป็นคนใกล้ชิดเรามากที่สุด ขอใหก้ นั ไวต้ า่ งหาก เพราะเรามีหนา้ ทีท่ ่ตี อ้ งปฏบิ ตั ิต่อบคุ คลเหลา่ นี้ต่างกนั ออกไป)

ข.ญาติโดยความใกล้ชดิ คุ้นเคย เชน่ เปน็ เพอื่ นสนทิ สนมกับเราโดยตรง หรือสนิทสนมกบั ญาตทิ างสายโลหติ ของเรา

๒) ญาติทางธรรม หมายถงึ ผเู้ ปน็ ญาติเพราะเหตุ ๔ ประการ คอื

ก. เป็นญาติเพราะบวชใหเ้ ปน็ ภิกษุ

ข. เปน็ ญาติเพราะบวชใหเ้ ปน็ สามเณร

ค. เป็นญาตเิ พราะใหม้ ีนิสยั ง. เปน็ ญาติเพราะสอนธรรมได้ ลกั ษณะของญาตทิ ค่ี วรให้การสงเคราะห์ เมอ่ื อย่ใู นฐานะดงั นคี้ อื

๑.เมอ่ื ยากจนหาที่พึง่ มไิ ด้

๒.เม่ือขาดทุนทรัพย์ในการค้าขาย

๓.เมอื่ ขาดยานพาหนะ

๔.เมอื่ ขาดอปุ กรณท์ ำมาหากิน

๕.เมือ่ เจ็บไขไ้ ดป้ ว่ ย

ธรรมประยกุ ต์ ๘๖

๖.เมอ่ื คราวมีธุระการงาน ๗.เมอ่ื คราวถกู ใสค่ วามหรือมคี ดี การสงเคราะห์ญาติ ทำได้ทงั้ ทางธรรมและทางโลกได้แก่ ในทางธรรม กช็ ่วยแนะนำให้ทำบญุ กศุ ล ใหร้ ักษาศลี และทำสมาธภิ าวนา ในทางโลก กไ็ ดแ้ ก่ ๑. ให้ทาน คือการสงเคราะห์เป็นทรัพย์สิน หรือเงินทองเพื่อให้เขาพ้น จากทุกขห์ รือความลำบากตามแต่กำลงั ๒. ใช้ปิยวาจา คือการพูดเจรจาด้วยถ้อยคำที่อ่อนโยน สุภาพ และ ประกอบไปด้วยความปรารถนาดี ๓.มีอัตถจริยา คือการประพฤติตนให้เป็นประโยชน์กับเขา อาจ ช่วยเหลือดว้ ยแรงกายกำลังใจหรือดว้ ยความสามารถทม่ี ี ๔. รู้จักสมานัตตตา9 คือการวางตัวให้เหมาะสม อย่างเสมอต้นเสมอ ปลาย รว่ มทกุ ข์ร่วมสุข ไมถ่ ือตัว ๑๘) อะนะวัชชานิ กัมมานิ การกระทำการงานที่ไม่มีโทษ งานไม่มีโทษ หมายถึง งานที่ไม่มีตำหนิ ดี พร้อม ยุติธรรม ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่เบียดเบียนใคร แต่ เป็นประโยชน์ทง้ั แก่ตนและผูอ้ นื่ งานทไี่ มม่ ีโทษ ประกอบดว้ ยลักษณะดงั ตอ่ ไปนี้ ๑.ไมผ่ ิดกฎหมาย คือทำให้ถูกต้องตามกฎหมายของบา้ นเมือง ๒.ไม่ผิดประเพณี คอื แบบแผนทปี่ ฏิบัตกิ ันมาแตเ่ ดิม ควรดำเนินตาม ๓.ไมผ่ ดิ ศีล คือข้อห้ามที่บัญญัตไิ วใ้ นศลี ๕ ๔.ไมผ่ ิดธรรม คอื หลักธรรมทัง้ หลายอาทเิ ช่น การพนัน การหลอกลวง สว่ นอาชีพต้องห้ามสำหรบั พุทธศาสนกิ ชนได้แก่ ๑.การค้าอาวุธ ๒.การค้ามนุษย์ ๓.การค้ายาพิษ

9 ทั้ง ๔ ขอ้ รวมเรียกวา่ สงั คหวตั ถุ ๔.

ธรรมประยกุ ต์ ๘๗

๔.การค้ายาเสพย์ติด

๕.การค้าสัตวเ์ พ่ือนำไปฆ่า

คาถาหมูท่ ่ี ๖ ปฏิบตั ิธรรมขน้ั พื้นฐาน มี ๓ มงคลคือ

๑๙) อาระตี วีระตี ปาปา การงดการเว้นจากบาป คำ ว่าบาป จึงหมายถึง

ความเสียของจิตนั่นเอง คือการ ที่ใจมีคุณภาพต่ำลง ไม่ว่าจะเสียในแง่ไหนก็เรียกว่า

บาปทง้ั สิน้ บาปคือสงิ่ ท่ไี ม่ดี เสีย ความช่วั ท่ีตดิ ตัว ซง่ึ ไม่ควรทำ ท่านวา่ สงิ่ ท่ีทำแล้วถือ

วา่ เป็นบาปได้แก่ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ คือ

๑. ฆ่าสตั ว์ ๒. ลักทรพั ย์

๓. ประพฤติผิดในกาม ๔. พดู เท็จ

๕. พดู ส่อเสียด ๖. พูดคำหยาบ

๗. พดู เพอ้ เจ้อ ๘. โลภอยากไดข้ องเขา

๙. คดิ พยาบาทปองร้ายคนอื่น ๑๐. เหน็ ผิดเป็นชอบ

๒๐) มัชชะปานา จะ สัญญะโม การสำรวมจากน้ำเมาน้ำเมา โดยทั่วไป

หมายถึงเหล้า แต่ในที่ นี้หมายถึง ของมึนเมาให้โทษทุกชนิด ไม่ว่า จะเป็นน้ำหรือแห้ง

รวมทั้งสง่ิ เสพติดทกุ ชนดิ

ดื่ม ในที่นี้หมายถึงการทำให้ซึม ซาบเข้าไปในร่างกาย ไม่ว่าจะโดยวิธี ด่ืม

ดม อดั นตั ถ์ุ สูบ ฉีด กต็ าม

สำรวม หมายถงึ ระมัดระวงั หรอื เว้น ขาด มีโทษอันได้แก่

๑. ทำให้เสียทรัพย์ เพราะต้องนำเงินไปซื้อหา ทั้ง ๆ ที่เงินจำนวน

เดียวกันนี้ สามารถนำเอาไปใช้ในสง่ิ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์อย่างอื่นไดม้ ากกวา่

๒. ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาท ซึ่งนำไปสู่ความวุ่นวาย เจ็บตัว หรือถึง

แกช่ วี ติ และคดคี วาม เพราะน้ำเมาทำให้ขาดการยบั ยง้ั ช่ังใจ

๓. ทำให้เกิดโรค โรคที่เกิดเนื่องมาจากการดื่มสุราล้วนแล้วแต่บั่นทอน

สขุ ภาพกายจนถงึ ตายได้เชน่ โรคตบั แขง็ โรคหัวใจ โรคความดัน

๔. ทำให้เสียชื่อเสียง เมื่อคนเมาไปทำเรื่องไม่ดีเข้าเช่นไปลวนลามสตรี

ปลอ่ ยตัวปล่อยใจ กท็ ำใหว้ งศ์ตระกูล และหน้าที่การงานเส่อื มเสยี

๕. ทำใหล้ ืมตวั ไม่รจู้ กั อาย คนเมาทำสิง่ ท่ีไม่ควรทำ ทำส่ิงท่ีคนมีสตจิ ะไม่

ทำ เชน่ แกผ้ า้ เดิน หรอื นอนในทสี่ าธารณะเป็นตน้

๖. ทอนกำลังปัญญา ทานแล้วทำให้เซลล์สมองเริ่มเสื่อมลง ก็จะทำให้

สขุ ภาพและปญั ญาเส่ือมถอย ความสามารถโดยรวมก็ด้อยลง

ธรรมประยกุ ต์ ๘๘

๒๑) อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ความไม่ ประมาท คือ การมีสติกำกับตัวอยู่ เสมอ ไม่ว่าจะคิดจะพูด จะทำส่ิงใด ๆ ไม่ยอมถลำ ลงไปในทางที่เสื่อม และไมย่ อมพลาดโอกาสใน การทำความดี ตระหนักดีถึงสิ่งที่ต้อง ทำ ถงึ กรรมท่ตี อ้ งเว้น ใสใ่ จสำนึกอยูเ่ สมอในหน้าท่ี ไม่ปลอ่ ยปละละเลย กระทำอย่าง จริงจัง และดำเนิน รุดหน้าตลอดเวลาคนที่ประมาทในธรรมนั้นมีลักษณะที่สรุปได้ ดงั นี้คอื

๑. ไมท่ ำเหตุดี แตจ่ ะเอาผลดี ๒. ทำตวั เลว แต่จะเอาผลดี ๓. ทำย่อหยอ่ น แตจ่ ะเอาผลมาก

สิ่งทไ่ี มค่ วรประมาทไดแ้ ก่

๑. การประมาทในเวลา คือการปล่อยให้เวลาล่วงเลยไปโดยไม่ทำอะไร ให้เกิดประโยชน์ หรอื ผลัดวนั ประกันพรงุ่ เป็นตน้

๒. การประมาทในวัย คือคิดว่าอายุยังน้อย ไม่ต้องทำความเพียรก็ได้ เพราะยังต้องมีชีวติ อยอู่ กี นานเปน็ ต้น

๓. การประมาทในความไม่มีโรค คือคิดว่าตัวเองแข็งแรงไม่ตายง่ายๆ ก็ปล่อยปละละเลยเปน็ ต้น

๔. การประมาทในชวี ิต คือการไม่กำหนดวางแผนถึงอนาคต คิดอยู่แต่ ว่ายังมชี วี ติ อยอู่ กี นานเปน็ ตน้

๕. การประมาทในการงาน คอื ไมข่ ยันตัง้ ใจทำใหส้ ำเร็จ ปล่อยตามเรื่อง ตามราว หรือปล่อยให้ดนิ พอกหางหมูเปน็ ต้น

๖. การประมาทในการศึกษา คือการไม่คิดศึกษาเล่าเรียนในวัยที่ควร เรียน หรือขาดความเอาใจใสท่ เ่ี พยี งพอ

๗. การประมาทในการปฏบิ ัติธรรม คือการไม่ปฏิบัตสิ มาธิภาวนา หรือ ศกึ ษาหลักธรรมให้ถ่องแท้ เพราะคดิ วา่ เป็นเรอื่ งไกลตวั เปน็ ตน้

คาถา หมทู่ ่ี ๗ ปฏิบตั ธิ รรมขน้ั ต้น มี ๕ มงคลคอื ๒๒) คาระโว จะ ความเคารพ หมายถึง ความตระหนักซาบซึ้งถึงคุณ ความดที ่ีมอี ยู่จริงของบุคคลอน่ื ยอมรับนบั ถอื ความดีของเขาดว้ ยใจจรงิ แลว้ แสดง ความนับถือต่อผู้นั้นด้วยการแสดงความอ่อนน้อม อ่อนโยน อย่างเหมาะสมทั้งต่อ

ธรรมประยกุ ต์ ๘๙

หนา้ และลับหลงั วตั ถทุ ้งั หลายในโลก ตา่ งก็มีคณุ สมบตั ิเฉพาะตัวของมัน ถ้าใครทราบ คุณสมบัติเหล่านั้นตามความเป็นจริง ก็สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น นักวทิ ยาศาสตร์ รคู้ ุณสมบตั ขิ องแม่เหลก็ ก็นำไปใช้ผลติ กระแส ไฟฟา้ ได้ รูค้ ุณสมบตั ิ ของแร่เรเดียม ก็นำไปใช้รักษา โรคมะเร็งได้ แต่การที่จะรู้คุณสมบัติตามความ เป็น จริงของส่งิ ตา่ ง ๆ น้ันทำได้ยากมาก เป็นวิสัยของ นักปราชญ์ ของผมู้ ีปัญญาเท่าน้ัน ทา่ นไดก้ ลา่ วว่าสงิ่ ท่ีควรเคารพมีอยู่ดงั น้ี

๑.พระพุทธเจ้า ๒.พระธรรม ๓.พระสงฆ์ ๔.การศกึ ษา ๕.ความไม่ประมาท คือการดำเนินตามหลักธรรมคำสอนพระพุทธศาสนา อืน่ ๆ ดว้ ยความเคารพ ๖.การสนทนาปราศรัย คือการต้อนรับอาคันตุกะผู้มาเยือนด้วยความ เคารพ ๒๓)นิวาโต จะ การออ่ นนอ้ มถ่อมตน ความถ่อมตนมาจากภาษาบาลวี า่ "นิ วาโต" วาโต แปลว่า ลม พองลม นิ แปลวา่ ไม่ นวิ าโต แปลวา่ ไมพ่ องลม เอาลม ออกแล้ว คือ เอามานะทิฐิออก มีความสงบเสงี่ยม เจียมตน ไม่เบ่ง ไม่ทะนงตน ไม่มี ความมานะถอื ตัว ไมอ่ วดดอ้ื ถือดี ไมย่ โสโอหงั ไมด่ ูถูกเหยียดหยามใคร ไมก่ ระดา้ ง ไม่ เยอ่ หยิง่ จองหอง ทา่ นว่าไว้ว่าโทษของการอวดดีน้นั มอี ยดู่ ังนค้ี ือ

๑.ทำให้เสียคน คือไม่สามารถกลับมาอยู่ในร่องในรอยได้เหมือนเดิม เสยี อนาคต

๒.ทำให้เสียมิตรคือไม่มีใครคบหาเป็นเพื่อนด้วยถึงจะมีก็ไม่ใช่เพื่อนแท้ ๓.ทำใหเ้ สียหมู่คณะ คอื ถา้ ต่างคนตา่ งถอื ดี ก็ทำใหไ้ มส่ ามารถตกลงกันได้ ในท่ีสุดก็ไม่ ถงึ จุดหมาย หรือทำใหเ้ ป็นทเี่ บอ่ื หนา่ ยของคนอื่น

การทำตัวให้เปน็ คนออ่ นน้อมถอ่ มตนนัน้ มหี ลักดงั นี้ คอื ๑. ต้องคบกัลยาณมิตร คือเพ่ือนทด่ี ีมีศีลมธี รรม คอยตักเตือนหรือชกั

นำไปในทางท่ีดีทถี่ ูกทีค่ วร ๒.ต้องรู้จักคิดไตร่ตรอง คือ การรู้จักคิดหาเหตุผลอยู่ตลอดถึงความ

เปน็ ไปในธรรมชาตขิ องมนุษย์ ต่างคนยอ่ มตา่ งจิตต่างใจ และรวมท้ังหลกั ธรรมอน่ื ๆ

ธรรมประยกุ ต์ ๙๐

๓.ต้องมีความสามัคคี คือการมีความสามัคคีในหมู่คณะ อลุ่มอล่วยใน หลกั การ ตกั เตือน รับฟังและเคารพความคิดเหน็ ของผูอ้ ื่นอย่างมเี หตผุ ล

ท่านว่าลกั ษณะของคนถอ่ มตนนั้นมดี ังน้ี ๑.มกี ิริยาทน่ี อบน้อม ๒. มวี าจาท่ีอ่อนหวาน ๓. มีจติ ใจทอ่ี ่อนโยน

สรุปแลว้ กค็ อื สมบรู ณ์พร้อมดว้ ยกาย วาจา และใจน่ันเอง ๒๔) สันตุฏฐี จะ ความสันโดษ สันโดษ มากจากภาษาบาลีว่า สันโตสะ สัน แปลว่า ตน โตสะ แปลว่า ยินดี สันโดษจึงแปลว่า ยินดี ชอบใจ พอใจ อิ่ม ใจ สุขใจ กับของของตน ความหมายโดยย่อคือ ให้รู้ จักพอ รู้จักประมาณ รู้จักพอเพียง ความยินดี ความสุขใจ ความพอใจ ดังได้กล่าวมาแล้วนัน้ ที่จัดว่าเป็นสันโดษ ต้องมี ลักษณะ ๓ อยา่ งดงั ตอ่ ไปนี้ คือ

๑) ยถาลาภสันโดษ หมายถึงความยินดีตามมีตามเกิด คือมีแค่ไหนก็ พอใจเทา่ นนั้ เป็นอยอู่ ยา่ งไรกค็ วรจะพอใจไมค่ ิดน้อยเนือ้ ต่ำใจในส่ิงทตี่ วั เองเปน็ อยู่

๒) ยถาพลสันโดษ หมายถึงความยินดีตามกำลัง เรามีกำลังแค่ไหนก็ พอใจเท่านั้น ตั้งแต่กำลังกาย กำลังทรัพย์ กำลังบารมี หรือกำลังความสามารถ เป็นตน้

๓) ยถาสารูปสันโดษ หมายถงึ ความยนิ ดตี ามควร ซ่ึงโยงใยไปถึงความ พอเหมาะพอควรในหลายๆเรื่อง เช่นรูปลักษณ์ของตนเอง และรวมทั้งฐานะที่เรา เป็นอยู่

๒๕) กะตัญญุตา ความกตัญญูรู้คุณ ความกตัญญู คือ ความรู้คุณ หมายถึงความเป็นผู้ มีใจกระจ่าง มีสติปัญญาบริบูรณ์ รู้อุปการคุณที่ ผู้อื่นกระทำ แล้วแกต่ น ผู้ใดกต็ ามที่ ทำคุณแก่ตนแล้ว ไม่ว่าจะมากกต็ าม น้อยก็ ตาม เช่น เลี้ยงดู สั่งสอน ให้ที่พัก ให้งานทำ ฯลฯ ย่อมระลึกถึง ด้วยความซาบซึ้งอยู่เสมอ ไม่ลืมอุป การคุณนน้ั เลย อกี นัยหนงึ่ ความกตัญญู หมายถงึ ความรูบ้ ุญ หรอื รู้ อุปการระของ บุญที่ตนทำไว้แล้ว รู้ว่าตนเองพ้นจากอันตรายทั้งหลายได้ดีมีสุขอยู่ ในปัจจุบัน ก็ เพราะบุญทัง้ หลายท่ีเคยทำไว้ ในอดีตส่งผลให้ จึงไม่ลืมอุปการะของบุญนั้น เลย และ สร้างสมบุญใหม่ให้ยิ่ง ๆ ขึ้นไป รวมความ กตัญญู จึงหมายถึง การรู้จักบุญคุณ อะไร ก็ตามที่เป็นบุญ หรือมีคุณ ต่อตนแล้วก็ตาม ระลึก นึกถึงด้วยความซาบซึ้งไม่

ธรรมประยกุ ต์ ๙๑

ลืมเลย คนมีกตัญญู ถึงแม้จะนัยน์ตาบอดมืดทั้งสองข้าง แต่ใจ ของเขาใสกระจ่างยิ่ง กวา่ ดวงจนั ทร์ ดวงอาทิตย์ รวม กนั เสียอีก

๑. กตัญญูต่อบุคคล บุคคลที่ควรกตัญญูก็คือ ใครก็ตามที่มีบุญคุณควร ระลกึ ถงึ และตอบแทนพระคุณ เช่น บิดา มารดา อาจารย์ เป็นต้น

๒. กตัญญูต่อสัตว์ ได้แก่สัตว์ที่มีคุณต่อเราช่วยทำงานให้เรา เราก็ควร เล้ยี งดใู หด้ ีเช่นชา้ ง ม้า วัว ควาย หรือสุนัขท่ีชว่ ยเฝา้ บ้าน เป็นตน้

๓. กตัญญูต่อสิ่งของ ได้แก่สิ่งของทุกอย่างที่มีคุณต่อเราเช่น หนังสือที่ให้ ความรู้แก่เรา อุปกรณ์ทำมาหากินต่างๆ เราไม่ควรทิ้งคว้าง หรือทำลายโดยไม่เห็น คุณค่า

๒๖. กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง การฟังธรรมตามกาล ฟังธรรมตามกาล คือ การขวนขวายหาเวลา ไปฟังธรรมคำสั่งสอนจากผู้มีธรรม เพื่อยกระดับจิตใจและ สติปญั ญาให้สงู ขน้ึ โดยเม่อื ฟงั ธรรมแล้ว ก็น้อมเอาคุณธรรมเหลา้ นนั้ มาเปน็ กระจก สะท้อนดูตนเองว่า มีคุณธรรมนั้นหรือ ไม่ จะปรับปรุงคุณธรรมที่มีอยู่ให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น ไปได้อย่างไรเมื่อมีโอกาส เวลา หรือตามวันสำคัญต่างๆ ก็ควรต้องไปฟังธรรมบ้าง เพื่อสดับตรับฟัง สิ่งที่เป็นประโยชน์ในหลักธรรมนั้นๆ และนำมาใช้กับชีวิตเรา เพื่อ ปรับปรุงให้ดขี ้นึ ทา่ นว่าเวลาท่ีควรไปฟงั ธรรมนน้ั มดี ังนี้คอื

๑.วันธรรมสวนะ ก็คอื วนั พระ หรือวนั ท่สี ำคญั ทางศาสนา ๒.เมื่อมีผู้มาแสดงธรรม ก็อย่างเช่น การฟังธรรมตามวิทยุ การที่มพี ระมา แสดงธรรมตามสถานท่ีตา่ งๆ หรอื การอ่านจากสือ่ ตา่ งๆ ๓.เมื่อมีโอกาสอันสมควร อาทิเช่นในวันอาทิตย์เมื่อมีเวลาว่าง หรือในงาน มงคล งานบวช งานกฐนิ งานวดั เป็นต้น คณุ สมบตั ิของผูฟ้ ังธรรมท่ดี ีควรตอ้ งมีดังนค้ี ือ

๑. ไมด่ ูแคลนในหวั ข้อธรรมวา่ งา่ ยเกินไป ๒. ไมด่ ูแคลนในความรู้ความสามารถของผ้แู สดงธรรม ๓. ไมด่ ูแคลนในตัวเองว่าโง่ ไม่สามารถเข้าใจได้ ๔. มีความตงั้ ใจในการฟังธรรม และนำไปพจิ ารณา ๕. นำเอาธรรมนั้นๆไปปฏบิ ตั ิให้เกิดผล คาถาหมู่ที่ ๘ ปฏบิ ัติธรรมขัน้ กลาง มี ๔ มงคลคอื ๒๗. ขันตี จะ ความอดทน ความอดทน มาจากคำว่า ขันติ หมายถึง การรักษาปกติภาวะของตนไว้ได้ ไม่ว่าจะถูก กระทบกระทั่งด้วยสิ่งอันเป็นที่พึง

ธรรมประยกุ ต์ ๙๒

ปรารถนาหรือ ไม่พึงปรารถนาก็ตาม มีความมั่นคงหนักแน่น เหมือนแผ่นดิน ซึ่งไม่ หวั่นไหว ไม่ว่าจะมีคนเท อะไรลงไป ของเสีย ของหอม ของสกปรก หรือของดีงาม ก็ ตาม ทา่ นว่าลกั ษณะของความอดทนน้ันสามารถจำแนกออกไดเ้ ป็นดงั ตอ่ ไปนค้ี ือ

๑.ความอดทนต่อความลำบาก คือความลำบากที่ต้องประสบตาม ธรรมชาติ ซึ่งอาจมาจากสภาพแวดล้อมเปน็ ต้น

๒.ความอดทนต่อทุกขเวทนา คือทุกข์ที่เกิดจากสังขารของเราเอง เช่น ความไมส่ บายกายเป็นต้น

๓.ความอดทนต่อความเจ็บใจ คือการที่คนอื่นทำให้เราต้องผิดหวัง หรือ พูดจาให้เจบ็ ช้ำใจไม่เป็นอย่างทีห่ วงั เป็นต้น

๔.ความอดทนตอ่ อำนาจกิเลส คอื ส่ิงยั่วยวนทง้ั หลายถือเปน็ กเิ ลสทัง้ ทางใจ และทางกายอาทิเช่น ความนึกโลภอยากได้ของเขา หรือการพ่ายแพ้ต่ออำนาจเงิน เปน็ ตน้

วิธที ำให้มีความอดทนคือ มีหิริโอตปั ปะ10

๑.หิริ ได้แก่การมีความละอายตอ่ บาป การที่รู้วา่ เป็นบาปแล้วยังทำอกี กถ็ ือ ว่าไมม่ ีความละอายเลย เมือ่ รวู้ ่าเป็นบาป แม้จะกระทับตอ่ หนา้ ลับหลงั แม้สงิ่ ทจ่ี ะกระทำ ลงไปจะไม่มีใครเห็น แต่ก็ละอาย อย่างน้อยก็คือการละอายต่อตนเองว่าจะทำบาป

๒.โอตัปปะ ไดแ้ กก่ ารมีความเกรงกลวั ในผลของบาปน้นั ๆ ๒๘) โสวะจัสสะตา ความเป็นผู้ว่าง่าย คนว่าง่ายสอนง่าย คือ คนที่อดทน ต่อคำสั่ง สอนได้ เมื่อมีผู้รู้แนะนำพร่ำสอนให้ ตักเตือน ให้โดยชอบธรรมแล้ว ย่อม ปฏิบัติตามคำสอนนั้น โดย มีความเคารพอ่อนน้อม ไม่คัดค้าน ไม่โต้ตอบ ไม่แก้ตัว โดยประการใด ๆ ทงั้ สน้ิ ท่านวา่ ผ้วู ่าง่ายนน้ั มีลกั ษณะท่สี ังเกตได้ดังนี้คือ

๑.ไม่พูดกลบเกลื่อนเมื่อได้รับการว่ากล่าวตักเตือน คือการรับฟังด้วยดี ไม่ใชแ่ กต้ ัวแลว้ ปิดประตคู วามคิดไมร่ ับฟงั

๒.ไม่นิ่งเฉยเมื่อได้รับการเตือน คือการนำคำตักเตือนนั้นมาพิจารณาและ แกไ้ ขขอ้ บกพร่องนน้ั ๆ

10 เรยี กวา่ ธรรมคมุ้ ครองโลก ชว่ ยใหโ้ ลกมีความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย ไมเ่ ดอื ดร้อนและสับสนว่นุ วาย.