กร งศร อย ธยาได ม การนำเร องรามเก ยรต แสดงมหรสพ

เ ค รื่ อ ง แ ต่ ง ก า ย ลิ ง ๖ หัวหนมุ าน กรองคอ หรอื นวมคอ ทับทรวง พาหรุ ัด เสอื้ ในทีน่ ีส้ มมติเปน็ ขนตามตัวของลงิ สังวาล เข็มขัด หรือป้นั เหนง่ กำไลแผง หรือทองกร ตาบทศิ ปะวะหลำ่ หอ้ ยข้าง หรอื เจยี ระบาด แหวนรอบ ผ้านงุ่ หรือภูษา หรือชายแครง สนับเพลา กำไลเทา้ หอ้ ยหนา้ หรอื ชายไหว 97

แอบดูลิง จดั แสดงด้วยวดี ทิ ศั น ์ ฉายทา่ ทางของโขนตัวลงิ สามารถชมได้โดยมองผา่ น ชอ่ งเลนส์ขนาดเลก็ บนผนัง ซ่งึ เขียนลวดลายคล้ายขนลงิ ตามท่ปี รากฏบนเครอื่ งแต่งกาย ของตวั โขน แอบดูลิง อิริยาบถลิงเป็นส่ิงที่สร้างสีสันในการรับชมโขนได้เป็นอย่างมาก เนื่องจากผู้ประดิษฐ์ท่าทางได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยพยายามลอกเลียนอากัปกิริยา ของลิง ประยุกต์กับการเคลื่อนไหวแบบนาฏศิลป์โดยยังคงความเป็นธรรมชาติ ไว้มากท่ีสุด จงึ ทำใหล้ งิ เปน็ ตัวละครท่มี ีเอกลักษณ์ ดูน่ารกั น่าจดจำ แตกต่าง จากทา่ ทางของตัวละครอืน่ ๆ ๕9๘8

๗ ภาษาทา่ ทางโขน การท่ีเราเห็นผู้เล่นโขนออกมาเต้นและรำอยู่เป็นเวลานานนั้น ก็คือ ผู้แสดงโขนกำลังพูดอยู่ เพราะท่าเต้นท่ารำน้ันเป็นหัวใจของโขนเสมือนเป็น ภาษาพูด ถ้าเรารู้ภาษาโขน เราก็ย่อมเข้าใจความหมาย ยิ่งศิลปินผู้เล่นโขน เป็นผู้ได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดีและมีฝีไม้ลายมือในการส่งภาษานาฏศิลป ์ ด้วยแล้ว รสสนุกในการดูก็จะทวีย่ิงข้ึนเช่นเดียวกับเราไปฟังนักพูดคารมดี ฉะน้ันถ้าเราดูโขนรู้เรื่องแล้ว บางทีเราจะเห็นว่าโขนออกรสสนุกและไม่น่าเบื่อ และหากผู้เล่นโขนหรือละครรำคนใดสามารถเต้นและรำให้ถูกต้องงดงาม และสามารถสื่ออารมณ์ของตวั ละครออกมาอย่างพอดีได้ ผนู้ ้นั ก็จะไดร้ ับยกย่อง วา่ เปน็ ผ้ทู ่ี “ตบี ทแตก” การเล่นโขนจะต้องแสดงท่าให้ ป ร ะ ส า น ก ล ม ก ลื น กั น ไ ป กั บ จั ง ห ว ะ ข อ ง ค ำ พ า ก ย์ คำเจรจา คำขับร้อง และ เพลงหน้าพาทย์ ซึ่งเป็น หลักสำคัญของการเต้น การรำ ท่าทางท่ีนำมาแสดง เหล่านั้นจึงงดงามแตกต่างไปจากกิริยา ท่าทางสามัญของมนุษย์ ภาษาท่าทาง ท่ีสามารถสื่อสารให้ผู้ชมเข้าใจได้แบ่งออก เมือ่ ดงึ แผ่นปา้ ยขนึ้ เปน็ ๓ ประเภท คือ จะปรากฏภาพตวั ละคร ๑. ท่าทางที่ใช้แทนคำพูด เช่น แสดงกริ ยิ าทา่ ทางโขน รบั ปฏิเสธ สัง่ เรยี ก ไป มา ฯลฯ ตามที่เขยี นไว้บนป้าย ๒. ท่าแสดงกิริยาอาการหรือ อิริยาบถ เชน่ เดนิ นง่ั นอน เคารพ ฯลฯ ๓. ท่าที่แสดงอารมณ์ภายใน เช่น รกั โกรธ ดีใจ เสียใจ รา่ เรงิ ฯลฯ ยกั ษ์อาย 99

๘ รำ ภาษานาฏศลิ ปเ์ พ่ือสนุ ทรียรส รำ หรอื การฟอ้ นทมี่ มี าแต่โบราณในเหลา่ มนษุ ยท์ กุ ชาตทิ กุ ภาษา คำเหลา่ นี้ หมายถงึ ลลี าการเคลื่อนไหวทุกส่วนของรา่ งกายตง้ั แต่ศรี ษะ ไหล่ แขน ลำตวั จนถงึ เทา้ ให้ประสานกลมกลืนกับจงั หวะดนตรี โดยดัดแปลงทา่ ตา่ งๆ ใหว้ ิจติ ร พิสดาร งดงามกว่าท่าธรรมชาติโดยท่ัวไป นอกจากเพ่ือเป็นการส่งภาษา ให้หมายรู้กันด้วยสายตาแล้ว ในทางนาฏกรรมก็จำเป็นต้องมุ่งให้เต้นและรำ ได้อย่างงดงามและเป็นสง่าท่ีเรียกว่าสุนทรียรสอีกด้วย ซึ่งแต่เดิมมีเพียงระบำ รำฟอ้ นเปน็ ชุดเท่านั้น ต่อมาจงึ ประกอบเป็นเรอ่ื งราวทส่ี นุกสนานมากข้นึ 1๕0๘0

รำไทย ต้นเค้าจากอนิ เดีย รำ กบั ระบำ ต่างคำตา่ งรูป รำ ใช้เรยี กการรำเด่ียว รำคู่ กระบวนรำท่ีใช้ในการพธิ ตี ลอดลงมาจนถงึ การเลน่ ระบำและโขนละครนนั้ ไดแ้ บบอยา่ งมาจากอินเดีย เพราะชาวอินเดียถือว่าการฟ้อนรำเป็นของที่เทพเจ้า รำประกอบเพลง รำอาวธุ รำทำบท ได้ทรงคิดประดิษฐ์ขึ้น แล้วสั่งสอนให้มนุษย์ได้ฟอ้ นรำเปน็ สวสั ดมิ งคล ใครฟอ้ น รำหรือให้มีการฟ้อนรำตามเทวบัญญัติ ก็เช่ือว่าจะได้รับประโยชน์และจะได้ไปสู่ ระบำ คอื การรำพร้อมกัน สุคติในเบอ้ื งหนา้ ฉะนน้ั แต่โบราณ พราหมณท์ ่ีเข้ามาเปน็ ครบู าอาจารย์ จงึ ไดน้ ำ แบบแผนการรำเข้ามาฝึกหัดให้กับชาวไทย ซึ่งภายหลังคนไทยได้ผสมผสาน เป็นหมู่ ถ้าระบำมศี ลิ ปะการรำ การรำให้สอดรับกับแบบท้องถ่ินของตนเองมากข้ึน เช่น การย่อก้นเตี้ยๆ แบบไทยเหนอื ก็เรยี กกันว่า ฟ้อน จนกลายเป็นรำไทยทม่ี ที ่วงทา่ อันเปน็ เอกลกั ษณ ์ รูปแบบการรำไทยนั้นมีมาต้ังแต่คร้ังกรุงสุโขทัย โดยปรากฏในศิลาจารึก หลักท่ี ๘ สมัยรัชกาลพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ แต่ไม่ได้อธิบายถึงลักษณะ การรา่ ยรำ ครนั้ ถงึ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดป้ รากฏภาพลายเสน้ รำไทยขนึ้ มชี อื่ เรยี กวา่ ตำรารำไทย มีการระบุช่ือเรียกท่าต่างๆ ทำนองเดียวกับตำรานาฏยศาสตร ์ ของชาวอินเดีย แต่แปลงชื่อเรยี กเปน็ ภาษาไทย 101

๖๖ นทาา่ ฏรำกรตรน้มส าย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุ ฬ า โ ล ก ม ห า ร า ช ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำรารำไทย โดยเขียนรูปท่ารำเป็นแบบแผนถึง ๖๖ ท่า ระบายสีปิดทองไว้เป็น หลักฐานในการรักษาและสืบสาน รูปแบบรำไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา มิให้สูญหาย นับเป็นตำรารำไทย ท่ีเก่าแก่และสมบูรณ์ที่สุด ทำให้ คนรุ่นหลังได้รู้ว่า การรำไทยในอดีต มรี ูปแบบเชน่ ไร ตำราท่ารำที่จัดทำขึ้นในสมัย รัชกาลที่ ๑ นั้น ได้รับการสืบทอด อย่างต่อเนื่อง และได้รับการบันทึกไว้ ในสื่ออันทันสมัย โดยสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชา นุภาพ โปรดให้มีการบันทึกภาพท่ารำ โดยน่าจะมีการเทียบเคียงกับตำรา ท่ารำของรัชกาลที่ ๑ โดยมีนายวงศ์ กาญจนวัฒน์ เป็นตัวพระ และ นางสาวเสง่ียม นาวีเสถียร (ภายหลัง ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น น า ม ใ ห ม่ จ า ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ง กุ ฎ เ ก ล้ า เจ้าอยู่หัวว่า อนินทิตา) เป็นตัวนาง โดยใช้เคร่ืองแต่งกายของกรมมหรสพ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ และใช้วังวรดิศ เปน็ สถานทถี่ ่ายภาพ 102

๘ “พระรถโยนสาร” ๑ ใน ๖๖ ทา่ รำ ที่ปรากฏในตำรารำไทยสมัยรชั กาลท่ี ๑ 103

รำและระบำ รำประเลง การรำเบิกโรงอย่างหนึ่งของ ละครในซึ่งมีมาแต่โบราณ ผู้แสดง แต่งกายยนื เครอ่ื งพระ ๒ คน สวมหวั เทวดาไม่มียอด เป็นการสมมติว่า เทวดาลงมารำ เพอื่ ความเปน็ สริ ิมงคล และปัดรังควานป้องกันเสนียดจัญไร ตวั นายโรงทง้ั ๒ คนทร่ี ำประเลง จะตอ้ ง ถือหางนกยูงทั้งสองมือออกมาร่ายรำ ตามทำนองเพลง โดยไม่มีบทร้อง ส่วนเพลงหน้าพาทย์ประกอบการรำ ประเลง บ้างก็ใช้เพลงกลม บ้างก็ใช้ เพลงโคมเวียน แล้วออกด้วยเพลง ตะบองกัน รำกง่ิ ไมเ้ งนิ ทอง จดั แสดงความเปน็ มา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ของรำและระบำ ๕ ชุดการแสดง ให้ประดิษฐ์ข้ึนใหม่แทนรำประเลง สำหรับเป็นรำเบิกโรงละครใน ผู้รำ ๒ คน ด้วยการฉายวีดทิ ัศน์ โดยสามารถ แตง่ กายยนื เครื่องพระ ศีรษะสวมชฎาแทนการสวมหัวเทวดาโล้น สมมติวา่ เปน็ กดปุม่ เลือกชมได้ตามอัธยาศยั เทวดา มือข้างขวาถือก่ิงไม้ทอง ส่วนมือข้างซ้ายถือก่ิงไม้เงิน ลีลาท่ารำ ดำเนนิ ไปตามบทขับร้องทีพ่ ระองค์ทรงพระราชนพิ นธ์ข้ึน โดยมีพระราชประสงค์ ให้เกดิ ความสวสั ดมิ งคลแก่การแสดงและผู้แสดง ตลอดจนผู้ชมโดยท่ัวกนั 104

๘ ฉยุ ฉาย กงิ่ ไม้เงินทอง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระดษิ ฐ์ทา่ รำและพระราชนิพนธ์บทขบั รอ้ ง สำหรับเป็นการรำเบิกโรงละครไทย ผูร้ ำ ๒ คน แตง่ กาย ยืนเคร่อื งนาง มอื ข้างขวากำกิ่งไม้ทอง สว่ นมือข้างซ้ายกำ กิ่งไม้เงิน รำไปตามบทขับร้องและทำนองเพลงฉุยฉาย เป็นฉุยฉายพวง คือร้องรวบความจนจบท่อน โดยไม่ม ี ป่ีเป่ารับ นับเป็นวิวัฒนาการอีกขั้นหนึ่งซึ่งมีมาต้ังแต ่ สมยั โบราณ ฉุยฉาย เบญกายแปลง ฉุยฉายเบญกายแปลง อยู่ในการแสดงโขนเรื่อง รามเกียรติ์ ชุดนางลอย เป็นการรำเดี่ยวเพ่อื อวดลีลาท่ารำ ของตัวละครนางเบญกายท่ีสามารถแปลงกายเป็นสีดา สำเรจ็ และชมโฉมความสวยงามของตวั เองดว้ ยความพอใจ บทร้องฉุยฉายเบญกายน้ี เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ์ ระบำดาวดงึ ส์ ระบำดาวดึงส์ เป็นระบำมาตรฐานชุดหนึ่งอยู่ใน ละครดึกดำบรรพ์เร่ืองสังข์ทอง ตอนตีคลี ซึ่งสมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไดท้ รงพระนพิ นธ์บทร้องขึ้น พรรณนาถงึ ความสง่างามของ เหลา่ เทพบตุ ร เทพธดิ า ทพิ ยว์ มิ าน อนั มโหฬารตระการตา ขององค์อมรินทร์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ จึงนับเป็นระบำ มาตรฐานทส่ี วยงามชดุ หนงึ่ 105

ละคร ละคร คือ มหรสพที่วิวัฒนาการมาจากระบำ รำเตน้ ประกอบเพลงต่างๆ เพอื่ ความบนั เทงิ ของพ้นื ถิน่ ดั้งเดิม ต่อมาได้เล่นเป็นเรื่องราว กลายเป็นละครรำ และละครร้องแบบตา่ งๆ ของไทย ทงั้ ทา่ เตน้ รำ เนอ้ื รอ้ ง ดนตรี และเพลงท่ีเล่นเป็นละครไทย เป็นผลรวมของ วัฒนธรรมพ้ืนถิ่นอุษาคเนย์กับวัฒนธรรมนำเข้า เช่น อินเดีย เปน็ ตน้ กลายเป็นเอกลักษณ์ของละครไทย 106

คร้นั ถึงจงึ เห็นนางสุวญิ ชา ยิง่ โกรธาหนุ หนั หมัน่ ไส ้ ๘ กระทบื บาทกกึ กอ้ งท้ังหอ้ งใน ช้ีหน้าวา่ ไปกบั นงลกั ษณ ์ เสียแรงเราชุบเลี้ยงถงึ เพยี งน ้ี ควรหรอื มีลูกอ่อนเป็นทอ่ นสัก ให้อับอายขายหน้านักหนานกั ส้ินรกั ใคร่กนั แล้ววันนี้ แมน้ เลย้ี งไวใ้ นเมอื งจะเลอ่ื งลอื ข้นึ ช่อื ว่าเปน็ เมยี เสยี ศักดศิ์ รี ชอบแตส่ งั หารผลาญชีวี ภมู ีฮึดฮดั ขดั แค้นใจ บทละครนอกเรือ่ ง ไชยเชษฐ์ ตอน นางสวุ ญิ ชาถกู ขบั ไล่ พระราชนพิ นธข์ องพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลัย ละครด้ังเดิม ละครปรบั ปรุงใหม ่ ละครมักเล่นเพื่อการแก้บนและในงานบุญต่างๆ ต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา วิถีชีวิตเริ่ม เช่น งานวัด งานฉลองพระ ฉลองโบสถ์ เป็นต้น เร่ืองท่ี เปล่ียนแปลงไปทางตะวันตกทีละน้อย มีผลทำให้รสนิยม นิยมมากที่สุด คือ มโนราห์ เป็นเหตุให้เรียกการละเล่น การละครของไทยปรับตัวให้มีลักษณะเป็นตะวันตกมากข้ึน อย่างนวี้ า่ ละครมโนราห์ แล้วกรอ่ นเสียงเปน็ โนรา โดยการนำความคิดมาประยุกต์อย่างไทยๆ จนเกิดละคร ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เรียกละครนี้ว่า โนราชาตรี แผนใหมห่ ลายชนิดดว้ ยกัน เม่ือราชสำนักเลียนแบบละครชายจริงหญิงแท้ของชาวบ้าน ไปหัดให้ผู้หญิงในวังเล่นละครแบบชาวบ้าน แต่รำเอง อย่างเดียว ไม่ได้ร้องเอง ใช้คนร้องกลุ่มหน่ึงโดยนำ จดั ฉายวีดทิ ศั น์ตัวอยา่ งการแสดงละครใน เพลงมโหรมี ารอ้ งแทน เรยี กวา่ ละครใน (วงั ) หรอื ละครใน เรอื่ งอณุ รทุ ละครดกึ ดำบรรพ์ เร่ืองอเิ หนา (เจา้ นาย) ทำใหเ้ รียกละครของชาวบา้ นวา่ ละครนอก และละครรอ้ ง เรอื่ งสาวเครือฟ้า โดยสามารถ ละครใน เลน่ เพอ่ื สนุ ทรยี ะของการรำกบั รอ้ งเปน็ หลกั กดปุ่มเลือกชมได้ตามอธั ยาศยั ไม่นยิ มเลน่ เพอื่ ความตลกคะนองใหข้ บขัน นยิ มแสดงเพยี ง ๓ เรอ่ื ง คือ เรื่องรามเกยี รต์ิ อณุ รุท และอิเหนา จะไม่เล่น เรอื่ งอนื่ หากละครผหู้ ญงิ ของหลวงเลน่ เรอื่ งอน่ื กจ็ ะเรยี กวา่ ละครนอก ละครนอก เล่นกันแต่เรื่องอ่ืนๆ เช่น เร่ืองสังข์ทอง คาวี เปน็ ตน้ ถอื เอาการทจ่ี ะเลน่ เพอ่ื ความสนกุ สนานชอบใจ ของมหาชนเป็นหลัก ไม่เน้นการฟ้อนรำสวยงาม แต่ม ี การขับร้องเชน่ ละครใน 107

ละครพนั ทาง ละครดึกดำบรรพ์ ละครเสภา เกิดขึ้นในปลายรัชกาลที่ ๔ เป็นละครรำท่ีปรับเปล่ียน สมัยรัชกาลที่ ๔ ได้มีผู้คิดเอา ได้รับการพัฒนาในรัชกาลท่ี ๕ โดย รูปแบบการแสดงให้คล้ายกับโอเปร่า ตัวละครเข้ามารำประกอบคำขับเสภา เ จ้ า พ ร ะ ย า ม หิ น ท ร ศั ก ด์ิ ธ ำ ร ง (Opera) ผู้แสดงร้องเองรำเอง ไม่มี และมีป่ีพาทย์รับ เรียกว่า เสภารำ ดัดแปลงพงศาวดารของชาติต่างๆ การบรรยายกิริยาของตัวละคร และ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กว ี เชน่ จนี มอญ มาผกู เรอ่ื งเปน็ บทละคร พยายามแสดงให้สมจริงสมจัง ช่วยกันแต่งเสภาเรื่อง นิทราชาคริต เพ่ือใช้แสดงละครรำแบบแหวกแนว มากที่สุด ออกแสดงคร้ังแรก พ.ศ. เพ่ือใช้ขับเสภาในเวลาทรงเครื่องใหญ่ ผสมผสานเข้ากับละครพูด เพลงและ ๒๔๔๒ ที่โรงละครดึกดำบรรพ์ของ สมัยรัชกาลท่ี ๖ สมเด็จพระเจ้า ทา่ รำออกภาษาตามเนอื้ เรอื่ ง เดนิ เรอื่ ง เจ้าพระยาเทเวศรวงษ์วิวัฒน์ จึงได้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ตามคำรอ้ ง บางครงั้ มตี น้ เสยี ง และลกู คู่ เรียกชื่อการแสดงแบบใหม่นี้ตามช่ือ กับพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่น ร้องทั้งหมดตามแบบแผนละครนอก โรงละครว่า ละครดึกดำบรรพ์ มีการ กวีพจน์สุปรีชา ช่วยกันชำระเสภา คือ ดำเนินเรื่องรวดเร็ว ไม่เคร่งครัด ตกแต่งฉากและสถานท่ี ใช้แสง สี ขุนช้างขุนแผน แก้ไขกลอนให้เชื่อม ในระเบียบประเพณี และแทรกตลก เสียงประกอบฉาก นับเป็นต้นแบบ ติดต่อกันและพิมพ์เป็นฉบับหอสมุด ได้ตามความเหมาะสม ความสำคัญ ในการจัดฉากประกอบการแสดงของ แหง่ ชาตขิ น้ึ ครง้ั แรก เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๐ อยู่ที่ถ้อยคำ ท้ังบทร้องและบทเจรจา โขนละครต่อมา การแสดงมักแสดง ซึ่งเป็นแบบแผนของการแสดงขบั เสภา ประกอบเพอ่ื ใหก้ ารเดนิ เรอ่ื งสนกุ สนาน เป็นตอนเพ่ือให้ผู้ชมอยากจะติดตาม และตอ่ มากลายเปน็ ละครเสภา ซ่ึงสว่ นท่เี ป็นคำพูดตัวละครจะร้องเอง ชมตอนต่อๆ ไปดว้ ย 108

๘ ละครพดู ละครพดู สลับลำ ละครรอ้ ง มีรากฐานมาจากแนวจำอวด เกิดข้ึนพร้อมๆ กับละครพูด เม่ือครั้งที่รัชกาลท่ี ๕ เสด็จ และละครตลก คร้ังรัชกาลท่ี ๕ คือนำละครพูดมาบรรจุเพลงร้อง ประพาสเมอื งไทรบรุ ี ชาวมลายไู ดแ้ สดง ทรงจดั แสดงขนึ้ ในหมพู่ ระเจา้ นอ้ งยาเธอ ในตอนเด่นๆ เป็นบทกลอนท่ีไพเราะ ละครถวาย เรียกวา่ บังสาวัน (Malay เร่ืองท่ีเล่นมักนำมาจากนิทานอาหรับ ไดอ้ ารมณ์ เรอื่ งทเ่ี ลน่ เชน่ นทิ ราชาครติ Opera) ตอ่ มาละครบังสาวันไดเ้ ข้ามา ราตรใี นภาษาองั กฤษ สมยั รชั กาลที่ ๖ บทพระราชนิพนธ์ของรัชกาลท่ี ๕ แสดงในกรุงเทพฯ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ ทรงแต่งบทให้พวกมหาดเล็กแสดง ววิ าหพระสมทุ บทพระราชนิพนธ์ของ กรมพระนราธปิ ประพนั ธพ์ งศ์ ทรงแก้ไข ตามแบบละครตะวันตกท่ีทรงคุ้นเคย รัชกาลที่ ๖ เปน็ ต้น ปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นท่ีโรงละคร เมือ่ ครง้ั ทรงศกึ ษา ณ ประเทศองั กฤษ ปรดี าลยั ใชผ้ ชู้ ายและผหู้ ญงิ แสดงจรงิ ตามเนอ้ื เรอื่ ง หากเปน็ ละครรอ้ งลว้ นๆ ตัวละครจะแสดงท่าประกอบตาม ธรรมชาติมากท่ีสุด แต่หากเป็นละคร ร้องสลับพูด ก็อาจมีการรำผสมบ้าง แ ต่ ไ ม่ จี บ มื อ เ ต็ ม ท่ี เ ห มื อ น ร ำ ไ ท ย ออกท่าทางเป็นสากล กำมือ แบมือ ตามเน้ือเร่ืองสมัยใหม่ แต่งตัวตาม สมยั นยิ มในท้องเรื่อง 109

๙ หนุ่ หุ่นเป็นมหรสพเก่าแก่ของไทยใช้เล่นท้ังในงานหลวงและงานราษฎร์ ควบคกู่ บั มหรสพอ่ืนๆ เช่น โขน หนงั ละคร ระเบง ระบำ และมกี ารกลา่ วถงึ ใน กฎมณเฑียรบาลสมัยกรุงศรีอยุธยาว่ามีการเล่นหุ่นด้วย เช่น อิเหนา ขุนช้างขุนแผน ฯลฯ หุ่นเป็นศิลปะการแสดงที่ผสานศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกัน อันได้แก่ หัตถศิลป์ หรือการสร้างองค์ประกอบของหุ่น ประณีตศิลป์ ในการสร้างเครื่อง แตง่ กาย นาฏศิลป์ หรอื การใชล้ ลี า ท่าเชดิ คีตศิลป์ หรอื ดนตรี มัณฑนศิลป์ หรือการจัดฉาก รวมทั้งวรรณกรรมเร่ืองเอก ได้แก่ รามเกียรติ์ พระอภัยมณี และราชาธิราช เปน็ ต้น 110

ห่นุ ไทย การแสดงห่นุ กระบอกสมยั ตน้ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั วัดพระเชตพุ นวิมลมังคลาราม ปรากฏหลักฐานว่า มีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย แต่ไมเ่ รียกว่า หุ่น เรียกวา่ “กทำยนตร” คำวา่ “หนุ่ ” มาปรากฏในสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์เก่าแก่ที่สุดที่กล่าวถึงการเล่นหุ่น บันทึก ไว้ในจดหมายเหตุของบาทหลวงตาชาร์ด และ จดหมายเหตุของลาลูแบร์ ราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ ท่ี ๑๔ แห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเดินทางเข้ามา กรุงศรีอยธุ ยา เมื่อรชั สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ชา่ งที่ทำหนุ่ เรยี กวา่ ช่างหุ่น เปน็ ช่างหนึง่ ในชา่ ง สิบหมู่ การเชิดหุ่นเร่ิมแพร่หลายในสมัยกรุงธนบุรีและ กรุงรัตนโกสินทร์ นิยมสร้างโดยจำลองตัวละคร ในวรรณคดหี รอื ตวั โขนในเรอ่ื งรามเกยี รติ์ โดยเลยี นแบบ ตั้งแต่เคร่ืองแต่งกาย เคร่ืองประดับ ตลอดจน ลลี าท่ารำ การแสดงห่นุ ละครเลก็ เรื่องรามเกยี รต์ิ ของคณะสาครนาฏศิลป ์ ห่นุ เลก็ ซึง่ กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ในสมยั รชั กาลท่ี ๕ โปรดให้สรา้ งขึ้นใหม่ ใหม้ ลี ักษณะคล้ายหุน่ หลวงอยา่ งโบราณ แต่มขี นาดเล็กลง 1๕1๙1

หนา้ หุน่ หลวง พระยารกั นอ้ ย และพระยารกั ใหญ่ ฝพี ระหตั ถร์ ัชกาลท่ี ๒ หนุ่ หลวง ที่เรียกว่า “หุ่นหลวง” เพราะเป็นของเจ้านายหรือเล่นในวังหลวง ใช้หุ่นแสดงละครแทนคนจริงๆ ตามขนบของละครในแท้ๆ โดยสร้างหุ่นเป็น รูปคนเต็มตัว มีขนาดใหญ่สูงประมาณ ๑ เมตร หน้าตา แขนขา และลำตัว เลียนแบบคน การแต่งตัวเหมือนละครทุกส่วน แม้แต่หน้าโขนท่ีหัวก็สามารถ ถอดหรือสวมได้เหมือนของจริง ภายในตัวหุ่นทำสายโยงติดกับอวัยวะของ ตัวหุ่น และปล่อยเชือกลงมารวมกันที่แกนไม้ส่วนล่าง สำหรับคนเชิดจับ เพ่อื ใชด้ ึงบงั คับให้เคลื่อนแขนขา มือยกจบี รำตามต้องการ พยายามทำให้รำ ได้แนบเนียนเหมือนคนรำให้มากที่สุด กลไกของหุ่นชนิดน้ีจึงซับซ้อน ยุ่งยาก และต้องอาศัยความชำนาญในการเชิดและชักเป็นอย่างมาก หุ่นรุ่นเก่าที่สุดมีปรากฏหลักฐานว่า อยู่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย นอกจากนั้นยังเล่ากันสืบต่อมาว่า ทรงฝาก ฝีพระหัตถ์การทำหน้าหุ่นหลวงไว้ด้วยพระองค์เองคู่หน่ึง เรียกกันว่า พระยารักน้อย พระยารกั ใหญ ่ เรอ่ื งที่แสดงกเ็ ปน็ เร่อื งท่ีใช้เล่นละครใน คอื เรือ่ งรามเกยี รติ์ อุณรทุ และ อิเหนา การรำเพลงหน้าพาทย์ต่างๆ เร่ืองจะดำเนินไปตามแบบของละครใน มกี ารขบั รอ้ งและการบรรเลงดนตรีประกอบ 112

๙ 113

ดา้ นหลงั ฉาก มีหุ่นจำลอง แสดงวิธกี ารเชิดหนุ่ กระบอก ซง่ึ เป็นตวั ละครจากวรรณคดี เรอื่ งพระอภยั มณี ฝีมือการประพันธ์ของ พระสนุ ทรโวหาร (ภู่) หรือท่ีเรียกกนั ทว่ั ไปวา่ สุนทรภ ู่ 114

๙ จดั ฉายวีดทิ ศั นต์ วั อย่าง การเลน่ หุน่ กระบอก การแสดงห่นุ กระบอก เรอื่ ง พระอภัยมณ ี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสำนกั การสงั คีต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมพระราชวังบวร กรมศิลปากร วิไชยชาญ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล สร้างหุ่น ข้ึนใหม่ เพ่ือใช้แสดงคล้ายหุ่นหลวงหรือหุ่นใหญ่อย่าง โบราณ แต่ทำตัวหุ่นให้มีขนาดเล็กลง แต่ปรากฏว่าหุ่น เต็มตัวที่สร้างขึ้นใหม่ของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ก็ยังคงเชิดยาก ทำบทละครนอกซึ่งส่วนใหญ่เป็นบทตลก ขบขันได้ไม่ทันใจ ม.ร.ว.เถาะ พยัคฆเสนา จึงคิดสร้างหุ่น ชนิดใหม่ขึ้น คือใช้กระบอกไม้ไผ่ทำตัวหุ่นและทำเสื้อคลุม ส่วนล่างไว้ เผยให้เห็นอวัยวะท่ีทำเหมือนคนจริงเพียงหัว และมือ จึงมีลักษณะเป็นหุ่นคร่ึงตัว เพ่ือปรับการเชิด ให้คล่องข้ึน คนเชิดเพียงจับกระบอกแกนลำตัวของหุ่นมือ หน่ึง และจับไม้ตะเกียบที่ต่อกับมือของหุ่นอีกมือหนึ่ง เพ่ือบังคับหุ่นเท่าน้ัน เรียกหุ่นน้ีว่า “หุ่นกระบอก” นิยม แสดงเร่ือง พระอภัยมณี เน่ืองจากเน้ือเรื่องมีหลายรส ท้ังรัก โศก ตลก ต่นื เต้น สำนวนกลอนไพเราะ และดำเนิน เร่อื งรวบรัด นอกจากห่นุ กระบอกจากเรอ่ื ง พระอภัยมณแี ล้ว ยังมหี ุ่นแกละ และห่นุ โกะ๊ สำหรับให้ผู้เขา้ ชม ทดลองเชดิ เลน่ ซ่งึ ขณะเชดิ จะปรากฏภาพบนจอ อีกด้านหนง่ึ ดว้ ย 115

หุ่นละครเลก็ เสน่ห์ของหุ่นละครเล็กคือลีลาที่ดูมีชีวิตเหมือน คนจริง ท้ังลีลา ท่ารำ และอารมณ์ต่างๆ ท่ีแสดงออก หลากหลายและดูสมจริง แม้จะเป็นท่าท่ีละเอียดอ่อน เพราะโครงสร้างของหุ่นออกแบบให้มีข้อต่อของอวัยวะ ใกลเ้ คยี งกับคน ทง้ั คอ แขน ขา และมีกลไกในการจีบมือ เพ่ือการรำท่ีอ่อนช้อยแบบนาฏศิลป์ไทยและอากัปกิริยา ที่เหมอื นคนรำ ผ้เู ชดิ สามคนคือชวี ติ ของหนุ่ แม้จะทำหนา้ ท่ีแยกกัน คนหนึ่งบังคับส่วนขา คนหนึ่งบังคับศีรษะ และอีกคนหนึ่ง บังคับมือและแขนของหุ่น แต่ก็ต้องผสานกลมเกลียวกัน ราวกบั เปน็ คนๆ เดยี วกนั ทงั้ สามคนจะตอ้ งเตน้ เปน็ กระบวนอยา่ งพรอ้ มเพรยี ง ต้องกระทบเท้าตามลีลาของหุ่น โยกย้ายไปในทิศทาง ที่สัมพันธ์กันและพอดีกับจังหวะ เข้ากับดนตรีและ การพากย์ ลีลาสวยงามท้ังหุ่นและคนเชิด กลมกลืนเป็น หนงึ่ เดยี ว อันเกดิ จากการฝึกซ้อมรว่ มกนั จนชำนาญ ความโดดเดน่ ของการแสดงหนุ่ ละครเลก็ อกี อยา่ งหนงึ่ คือ สามารถสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้ชมได้ จึงทำให้ หุ่นละครเลก็ เป็นที่ชน่ื ชอบของทกุ คน 116

๙ วีดทิ ศั น์ฉายประวตั ิ ความเป็นมา และวิธีการเชดิ หุน่ ละครเล็ก สมัยรัชกาลที่ ๕ นายแกร ศัพทวนิช เจ้าของคณะละครที่มีชื่อ ไ ด้ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ หุ่ น ขึ้ น โ ด ย พ ย า ย า ม ท ำ ใ ห้ เ ห มื อ น หุ่ น ห ล ว ง ม า ก ท่ี สุ ด แต่ดัดแปลงให้มีสายชักน้อยลงและ นำออกแสดงให้เจ้านายในวังวรดิศ ทอดพระเนตรเปน็ ครง้ั แรก โดยแสดง เร่ืองพระอภัยมณี เป็นที่ช่ืนชอบของ ผู้ชมมาก บรรดาเจ้านายที่ทอด พระเนตรต่างเรียกการแสดงนี้ว่า “ละครเล็ก” ส่วนชาวบ้านพากัน เรยี กวา่ “หนุ่ ครแู กร” ตอ่ มานายแกร ก็รับแสดงในงานทั่วไปและตั้งชื่อ คณะว่า “ละครเล็กครูแกร” จากน้ัน น า ย แ ก ร ยั ง ค ง แ ส ด ง ล ะ ค ร เ ล็ ก ที่วังวรดิศอีกหลายคร้ัง และออกรับ งานแสดงหารายได้เลี้ยงชีพจนวาระ สดุ ท้าย 117

๑๐ วิวัฒนาการมหรสพในยคุ รัตนโกสนิ ทร ์ 118 รัชกาลที่ ๑ ช่วงฟื้นฟู ปรับรากฐาน สร้างสรรค์ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ฟ้ืนฟูพระราชพิธี พิธีกรรม และมหรสพอย่างครบถ้วนและ ยง่ิ ใหญ ่ รัชกาลที่ ๒ ยุคทองแห่งการละคร การจัดการเรียนการสอนนาฏศิลป์ แห่งแรก เกิดท่ี “โรงละครต้นสน” บริเวณศาลาโถงข้างประตูพรหมศรีสวัสด์ิ ในพระบรมมหาราชวงั รชั กาลท่ี ๓ ชว่ งต่อยอดนอกพระราชวงั มหรสพฉลองวัด เกดิ วดั ใหม่ข้ึน ประมาณ ๗๐ วัด จึงมีงานฉลองวัดใหม่และงานเทศกาลต่างๆ เพิ่มขึ้นจาก กาลกอ่ นหลายเทา่ ตวั รัชกาลท่ี ๔ มหรสพแพรห่ ลาย ร่ำรวยร่งุ เรอื ง กำเนดิ “ละครพนั ทาง” ทเ่ี กบ็ เงนิ คา่ ดู เกิดภาษีโขนละคร รัชกาลที่ ๕ สังคมเปลี่ยนแปลง มหรสพก็เปล่ียนตามอิทธิพลของ ตะวันตก เนอื้ หาและรูปแบบการแสดงมีความเปน็ ตะวนั ตกนิยมมากข้ึน รัชกาลท่ี ๖ ยุคทองแห่งการละคร สมัยท่ี ๒ เกิดกรมมหรสพ ทรงตั้ง กรมมหรสพข้ึนใหม่ มีเจ้ากรมแต่ทรงว่าราชการอย่างใกล้ชิด พระราชทาน บรรดาศกั ด์ิแก่เหลา่ ศลิ ปิน รัชกาลที่ ๗-รชั กาลปจั จุบัน สร้างรูปแบบใหม่ สานรปู แบบเดิม “ละคร เพลง” หรือ “ละครจันทโรภาส” มีการออกอากาศทางวิทยุที่เพ่ิงเร่ิมในยุคน ้ี ซึ่งทำให้คนสนใจไปดูละครมากขึน้

โอกาสในการเลน่ มหรสพ การเล่นมหรสพจัดข้ึนเพือ่ ใหเ้ กดิ ความเรงิ รืน่ ครื้นเครง เกิดความรูส้ ึกรว่ มเป็นอนั หนึ่งอันเดียว ในความสำเร็จเม่ือมีการเฉลิมฉลองสิ่งที่เป็นมงคล และอีกอย่างหน่ึงก็เพื่อปลอบขวัญปลุกกำลังใจ ลดความเศร้าโศกจากงานอวมงคลในการสูญเสียบุคคลชั้นสูง สำหรับราษฎรเองก็จัดมหรสพสมโภช ววิ ฒั นาการมหรสพในยคุ รตั นโกสนิ ทร์ ในงานตา่ งๆ ดว้ ยเช่นกนั ซ่ึงถือเป็นงานรืน่ เริงของคนในสงั คม มหรสพในงานหลวง เชน่ งานสมโภชตา่ งๆ สมโภชพระแกว้ มรกต สมโภชพระนคร สมโภช พ ระอารามหลวง สมโภชการสงั คายนาพระไตรปฎิ ก สมโภชการเสรจ็ ศกึ สงคราม สมโภชชา้ งสำคญั สมโภชพระบรมอัฐิ ฉลองส่งิ ปลูกสรา้ งต่างๆ เช่น วัง ถนน คลอง สะพาน ฯลฯ งานพระราชพิธีและงานส่วนพระมหากษัตริย์ในโอกาสต่างๆ เช่น การโสกันต์ การผนวช พระราชพธิ ีแห่สนานใหญ่และแห่พระกฐิน พระราชพิธีสังเวยพระสยามเทวาธิราช พระราชพิธีลงสรง งานราตรีสโมสร ทำขวัญและบวงสรวงพระบรมมหาราชวัง งานเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษา งานพระราชทานเลยี้ งและงานรนื่ เรงิ งานรบั รองแขกเมอื ง งานพระบรมศพ งานพระศพ งานพระเมรุ งานเรี่ยไรมอบให้การกุศล งานฉลองวนั ประสตู เิ จ้านายตา่ งๆ งานรชั ตววิ าหสมโภช สมโภชมหรสพในงานราษฎร์ เชน่ งานโกนจุก งานแข่งเรือ งานสงกรานต์ งานบวช เปน็ ตน้ 119

๔ พลรือะรระาชบพิลิธ ี

พระราชพิธีนับเป็นวัฒนธรรมท่ีงดงามและล้ำค่า ซ่ึงได้รับการสืบทอดมา อย่างยาวนาน แสดงถึงความเป็นบ้านเมืองท่ีมีอารยะ เป็นเกียรติยศปรากฏ สูส่ ายตานานาประเทศ การพระราชพิธีไม่ได้เป็นเพียงกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์และ พระราชวงศ์เท่านั้น หากแต่ยังเป็นการแสดงถึงความห่วงใยของพระมหากษัตริย ์ ท่ีมีต่อราษฎรและความผูกพันระหว่างพระมหากษัตริย์กับพสกนิกรอย่างลึกซ้ึง ยากจะหาท่ีใดในโลกเสมอเหมอื น

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้สืบทอดแบบแผนธรรมเนียมอันดีมาจากกรุงศรีอยุธยา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และสมโภชพระนครอย่างครบถ้วนถูกต้องตามตำรา เพื่อความเป็นสิริมงคล ของราชธานแี ละเป็นการสรา้ งขวญั กำลงั ใจใหแ้ ก่พสกนกิ รโดยท่ัวกัน พระมหากษัตริย์รัชกาลต่อๆ มา ได้สืบทอดพระราชปณิธานของสมเด็จ พระปฐมบรมกษตั รยิ แ์ หง่ พระบรมราชจกั รวี งศโ์ ดยทรงฟืน้ ฟูพระราชพธิ สี ำคญั เชน่ 122

พระราชพิธีที่เน่ืองในพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธรี าชาภเิ ษกสมรส พระราชพิธีเฉลมิ สิรริ าชสมบัติ พระราชพิธีท่ีเกี่ยวเน่ืองในบ้านเมือง เช่น พระราชพิธีพืชมงคล จรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ พระราชพธิ ีบวงสรวงพระสยามเทวาธิราช พระราชพิธีเหล่านี้ล้วนเป็นส่วนหน่ึงในการธำรงรักษาเอกลักษณ์วัฒนธรรม อนั ดงี ามของไทยใหป้ รากฏสสู่ ายตาชาวโลกและสบื ทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ ยงั ความภมู ิใจ มาสูป่ วงชนชาวไทยสบื เนื่องมาจนถึงปัจจบุ ัน 123

แ ผ น ผั ง หอ้ งลอื ระบลิ พระราชพธิ ี ๔ ๖ พระสยามเทวาธริ าช พระราชพิธที รงบำเพ็ญพระราชกศุ ล ทางออก ๘ ๖ ถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตรา ๕ ทางชลมารค ๗ ๘ ๗ เสาหลกั เมอื ง ชา้ งต้นและพระราชพธิ ีทเ่ี กย่ี วข้อง 124

๓ พระราชพธิ ี ๑๒ เดือน ๔ ๓ ๒ ๒ ๑ พระราชพิธที ่ีเกี่ยวเนือ่ งกับ พระมหากษัตริย ์ ทางเข้า ๑ ๕ พระมหากษัตริยก์ บั พระราชพธิ ี พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญ 125

จอภาพจดั แสดงวดี ิทศั น์ เรอื่ งราวของพระมหากษัตรยิ ์ กับพระราชพิธี เม่ือจบการนำเสนอ จอภาพจะเลือ่ นข้นึ เพื่อเปดิ ไปสจู่ ุดจัดแสดงต่อไป พระราชพธิ ี ชาวไทยผูกพันกับสถาบันพระมหากษัตริย์มาช้านาน กล่าวได้ว่าพระมหากษัตริย์เป็น ศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรและมีบทบาทสำคัญท่ีทำให้สังคมไทยร่มเย็นเป็นสุขเสมอมา ๑ คติความเช่ือท่ียึดถือกันมาแต่โบราณกาลท่ีว่า พระมหากษัตริย์เป็นสมมติเทวราช เป็นทีม่ าของพระราชพิธีท้ังปวงที่จัดขนึ้ เพอ่ื เฉลิมพระเกียรตพิ ระมหากษัตริยาธิราชเจ้า แม้ว่าจะทรงดำรงสถานะเทวราชา แต่พระมหากษัตริย์ไทยทรงตั้งม่ันอยู่ในราชธรรมทาง พุทธศาสนาอย่างมั่นคง มีพระราชจริยวัตรในการทำนุบำรุงและปฏิบัติบำเพ็ญพระองค์ตาม หลักธรรมคำสอนทางศาสนา หลายครั้งที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังการ พระราชพิธี ด้วยพระราชประสงค์เพื่อการสร้างขวัญและกำลังใจแก่ราษฎร โดยเฉพาะเกษตรกร ซง่ึ เป็นประชากรส่วนใหญข่ องประเทศ และเพื่อบังเกดิ สิรสิ วัสด์ิพพิ ัฒนมงคลแก่แผน่ ดิน การพระราชพิธีท้ังปวงล้วนกำหนดไว้ตามจารีตแห่งราชประเพณีอย่างมีระเบียบ มีความวิจิตร อลังการ แฝงไว้ทั้งความยิ่งใหญ่และความศักดิ์สิทธิ์ บ่งบอกถึงความเจริญทางวัฒนธรรมที่ดีงาม มานานนับศตวรรษ อันเป็นศรสี งา่ แก่พระราชอาณาจกั ร ตราบถงึ ทกุ วนั น้ี พระราชพธิ ที ย่ี ดึ ถอื สบื เนอื่ งกนั มายาวนานยงั คงมคี วามหมายสำคญั และเปน็ ประจักษ์พยาน แสดงความผูกพันระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับสังคมไทยอย่างแนบแน่น ไมเ่ สอ่ื มคลาย 126

หนงั สือพระราชพิธีสิบสองเดอื น ความหมายและความสำคญั ของ พระราชนพิ นธ์ของพระบาทสมเดจ็ พระราชพธิ ี พระบรมราชาธบิ ายของ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชนิพนธ์คำนำ พระราชพิธีสิบสองเดือน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรม ราชาธิบายวา่ พระราชพธิ สี ำหรบั พระนครนน้ั มที ่ีมาจากพิธี ในศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา ด้วยแต่เดิม พระมหากษัตริยแ์ ละราษฎรนบั ถือศาสนาพราหมณ์ การพธิ ี ท่ีเป็นสิริมงคลจึงดำเนินตามพิธีอย่างพราหมณ์สืบมา ภายหลังพระมหากษัตริย์และราษฎรนับถือพระพุทธศาสนา การพระราชพิธีจึงคละปะปนกัน ทั้งพุทธและพราหมณ ์ ซึ่งเดิมพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ไม่มีพิธีกรรมใดๆ ตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ว่า “...ฤกษ์ดี ยามดี ครู่ดี ขณะดี การบูชาเซ่นสรวงดี...ก็อาศัยท่ ี ชนทงั้ ปวงประพฤตกิ ารสุจริตทจุ รติ เป็นทต่ี ั้ง...” พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มพี ระบรม ราชาธบิ ายอกี วา่ ความกลัวต่อภยันตราย ความปรารถนา ตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ทำใหเ้ กดิ การเซน่ สรวงบชู า ซงึ่ ถงึ แม้ คนไทยจะนับถือพระพุทธศาสนาก็ไม่อาจละท้ิงการบูชา เซ่นสรวงเพอ่ื ความสบายใจได้ อย่างไรก็ตาม พระราชพิธีของไทยน้ันได้รับการ เลือกสรรแต่ที่สุจริต มาเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของ บ้านเมือง ส่วนการพระราชพิธีใดที่มีแต่พิธีพราหมณ์ ก็มี การเพ่ิมเติมการพิธีที่เป็นพระราชกุศล ประกอบด้วย ทาน ศีล และภาวนาเข้าไป เพ่ือความเป็นสิริมงคลแก ่ พระราชพิธ ี ในตอนท้าย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงเน้นย้ำว่า ที่อธิบายมาท้ังหมดก็เพ่ือให ้ คนทั่วไปเข้าใจแน่ชัดว่า การพระราชพิธีมีขึ้นเพื่อความเป็น สิ ริ ม ง ค ล แ ก่ บ้ า น เ มื อ ง แ ล ะ ส ร้ า ง ข วั ญ ก ำ ลั ง ใ จ ใ ห้ แ ก่ เหล่าพสกนิกรเปน็ สำคัญ 127

๒ จอแสดงเรื่องราว ของพระราชพิธีต่างๆ พระราชพธิ ี เนื่องใน พร้อมคำบรรยาย พระมหากษตั ริย์ ภาษาอังกฤษ สถาบันพระมหากษัตริย์ คือ ท่ีวางแขน ศูนย์รวมจิตใจของชาติไทย ชาวไทย ของเก้าอี้นวม เคารพและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ มีปุ่มให้กดเลือกชม เสมอด้วยสมมติเทวราชตามคติ พระราชพธิ ตี า่ งๆ พราหมณ์ ควบคู่กับคติทางพระพุทธ ตามอัธยาศยั ศาสนาว่า พระองค์คือพระโพธิสัตว์ พร้อมป่มุ ปรับระดบั เป็นความเช่ือท่ียึดถืออย่างมั่นคง ความดังของเสยี ง ม า ต้ั ง แ ต่ ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า เ ป็ น ของลำโพงซึ่งซอ่ นอย ู่ ราชธานี ดังจะเห็นได้จากการขาน ในระดับเดียวกับศีรษะ พระนาม การใช้คำราชาศัพท์ และ การประกอบพระราชพิธี เปน็ ตน้ 128

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกและ พระราชพิธรี าชาภิเษกสมรส พระราชพิธที รงพระผนวช เฉลมิ พระราชมณเฑยี ร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการ เป็นพุทธมามกะและมีพระราชศรัทธา ในรัชกาลปัจจุบัน กำหนดขึ้นเม่ือ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ณ มั่นคงในพระพุทธศาสนา พระบาท วนั ศุกรท์ ี่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ พระตำหนักใหญ่ภายในวังสระปทุม สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวช หลังจากทรงดำรงสิริราชสมบัติแล้ว เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. เม่ือวันจันทร์ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๔ ปี เพ่ือความเป็นพระมหากษัตริย์ ๒๔๙๓ ๒๔๙๙ ณ พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั น ตามคติเทวราชาโดยสมบรู ณ ์ ศาสดาราม ทรงเคร่งครดั ในพระธรรม วินัยตามพุทธบัญญัติ ได้ทรงบำเพ็ญ พระราชจริยวัตรตามธรรมเนียมปฏิบัติ ในพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ ์ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธีเฉลมิ สริ ิราชสมบตั ิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อมหามงคลสมัยท่ีพระบาท ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัด สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำรงสิริ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ราชสมบัตคิ รบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี ๖๐ ปี เป็นประจำทุกปี พระราชพิธีเฉลิม ตามหลักสากล นับว่าเป็นโอกาส พระชนมพรรษาเป็นมหามงคลสมัย พิเศษในการจัดพระราชพิธีเฉลิม ที่พสกนิกรจะได้มีโอกาสร่วมแสดง ฉลองสมโภชเพื่อความเป็นสวัสดิ ความจงรักภักดีและถวายพระพร มงคลแก่แผ่นดนิ และสริ ิราชสมบตั ิ ชัยมงคลแด่พระมหากษัตริย์ ผู้เป็น มงิ่ ขวัญของแผน่ ดิน พระเต้าทกั ษิโณทก คอื หน่ึงในเครื่องราชปู โภค ท่ีใชส้ ำหรบั การบำเพญ็ พระราชกศุ ลในพระราชพธิ ี ด้วยการหลง่ั ทักษิโณทก ประกาศพระองคเ์ ปน็ พระบรมโพธิสตั วธ์ รรมิกราชผู้สงั่ สมบญุ บารมี 129

๓ พระราชพิธีสบิ สองเดือน พระบรมราชาธบิ าย ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราช พระราชพิธสี บิ สองเดือน จดั แสดงดว้ ยระบบจอสัมผัส นำเสนอเรอ่ื งราวผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนงั นิพนธ์หนังสือเรื่องพระราชพธิ สี บิ สองเดอื น ทรงอธิบายพระราชพิธี วัดราชประดษิ ฐสถติ มหาสมี ารามประกอบอะนิเมชน่ั ในแต่ละเดือนท่ีสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชทรงปฏิบัติ เพื่อความเป็นสิริมงคล เพ่ือความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมือง และเพือ่ สรา้ งขวญั กำลงั ใจแกร่ าษฎร นอกจากน้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง พระราชพิธี ๑๒ เดือน ขึ้นภายในวิหารหลวงวัดราชประดิษฐ สถิตมหาสีมาราม เป็นงานจิตรกรรมฝาผนังท่ีมีคุณค่าทางศิลปะ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี ซ่ึงแสดงหลักฐานทางวัฒนธรรม อันเป็นวิถีชีวิตของชาวไทย ประกอบด้วยพิธีกรรมทางศาสนา ขนบธรรมเนยี มประเพณี ตลอดจนลกั ษณะของศลิ ปกรรมในสมยั นนั้ 130

จติ รกรรมฝาผนงั เรอื่ งพระราชพธิ ี ๑๒ เดือน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายในพระวหิ ารวดั ราชประดิษฐสถติ มหาสีมาราม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เพ่ิมพิธีสงฆ์ในการ ประกอบพิธีพราหมณ์ เพื่อความเป็นสิริมงคลของ พระราชพิธี เช่น ให้จัดพิธีสงฆ์เพ่ิมขึ้นในพระราชพิธี แรกนาขวัญ ยกเป็นพิธีหนึ่งต่างหากเรียกว่า พืชมงคล แล้วเรียกช่ือรวมว่า พระราชพิธพี ชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวญั ในพระราชพิธีจองเปรียงหรือการยกโคม ตามประทีปบูชาเทพเจ้าตรีมูรติ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้มีพระสงฆ์สวดมนต์เช้าเย็นและเจริญ พระพุทธมนตน์ อกเหนือจากพธิ ีพราหมณ ์ พระราชพิธีสบิ สองเดอื น พระราชพธิ ี เดอื นอา้ ย (ธันวาคม - มกราคม) การพระราช พระราชพธิ ี เดอื นเจด็ (มถิ นุ ายน - กรกฎาคม) พระราชพธิ ี กุศลเล้ียงขนมเบื้อง เป็นงานพระราชทานเลี้ยงขนมเบื้องแก ่ กศุ ลสลากภตั เปน็ พระราชพธิ เี นอ่ื งในพระพทุ ธศาสนา ถวายภตั ตาหาร พระสงฆท์ รงสมณศักดิ์ ณ พระทน่ี ั่งอมรินทรวินจิ ฉยั ฯ แดพ่ ระสงฆ์โดยการจับสลาก พระราชพธิ ี เดอื นยี่ (มกราคม - กุมภาพันธ์) พระราชพิธี พระราชพธิ ี เดอื นแปด (กรกฎาคม - สิงหาคม) พระราช ตรียัมปวายตรีปวาย เป็นพิธีพราหมณ์ในการรับ-ส่งพระอิศวรและ กุศลเข้าพรรษา พระราชพิธีเน่ืองในพระพุทธศาสนาท่ีกำหนดเป็น พระนารายณ์ท่เี สดจ็ ลงมาเย่ยี มโลก แบ่งพธิ ีเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรก แบบแผนโบราณราชประเพณีตัง้ แต่สมยั สุโขทัยตราบถงึ ปัจจบุ ัน จัดข้ึนภายในเทวสถาน อีกส่วนหนึ่งเป็นกระบวนแห่และพิธีโล้ชิงช้า พระราชพธิ ี เดอื นเกา้ (สิงหาคม - กันยายน) พระราชพิธี ประกอบพธิ ที ห่ี น้าวัดสุทศั นเทพวราราม พิรุณศาสตร์ คือ พระราชพิธีขอฝน ซ่ึงเป็นพระราชพิธีสำคัญ พระราชพธิ ี เดอื นสาม (กมุ ภาพันธ์ - มนี าคม) การพระราช เกี่ยวกับความอุดมสมบูรณ์ของบ้านเมืองและดินฟ้าอากาศ มีทั้ง กุศลเล้ียงพระตรุษจีน เมื่อต้นรัตนโกสินทร์มีการถวายภัตตาหาร พิธีสงฆ์และพิธีพราหมณ์ ในมณฑลพิธีต้ังพระพุทธรูปสำคัญ แก่พระสงฆ์ในเทศกาลตรษุ จีน ณ พระทีน่ ่งั ราชกจิ วินจิ ฉัย ที่บนั ดาลใหฝ้ นตก เช่น พระคนั ธารราษฎร์ เปน็ ตน้ พระราชพิธี เดือนส่ี (มีนาคม - เมษายน) พระราชพิธี พระราชพธิ ี เดอื นสบิ (กันยายน - ตุลาคม) พระราชพิธี สัมพัจฉรฉินท์หรือพิธีตรุษ เป็นพระราชพิธีเพ่ือความเป็นสิริมงคล สารท มกี ารกวนขา้ วทพิ ยห์ รอื ขา้ วปายาส ขา้ วยาคู และขนมกระยาสารท แกพ่ ระราชอาณาจกั ร พระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศ์ และราษฎร ถวายพระสงฆ์เพอื่ ความเปน็ สริ ิมงคลแกข่ า้ วในนาและอทุ ศิ สว่ นกศุ ล พระราชพธิ ี เดอื นหา้ (เมษายน - พฤษภาคม) พระราชพิธี แก่บูรพชน สงกรานต์ เป็นวันข้ึนปีใหม่ของไทย มีการสวดมนต์ สรงน้ำ พระราชพิธี เดือนสิบเอ็ด (ตุลาคม - พฤศจิกายน) พระสงฆ์ในพระบรมมหาราชวัง ทรงบาตร สรงน้ำพระพุทธรูป พระราชพิธถี วายผ้าพระกฐนิ พระบรมอฐั สิ มเดจ็ พระบุรพมหากษัตรยิ าธิราชและพระราชนิ ี พระราชพิธี เดือนสิบสอง (พฤศจิกายน - ธันวาคม) พระราชพธิ ี เดอื นหก (พฤษภาคม - มถิ นุ ายน) พระราชพธิ ี พระราชพิธีลอยพระประทีป ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ เป็นการเสด็จ ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา วันวิสาขบูชาเป็นวันสำคัญ พระราชดำเนินประพาสลำน้ำในวันเพ็ญเดือนสิบสอง เรือท่ีประทับ ทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันประสูติ ตรัสรู้ และ ทอดทุ่นท่หี นา้ ทา่ ราชวรดฐิ เพอื่ ทรงลอยพระประทปี ปรนิ พิ พานของสมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ 131

๔ พระราชพิธอี ันเก่ยี วเนื่องในบา้ นเมือง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชพธิ บี วงสรวงพระสยามเทวาธริ าช ทรงปกั ธูปหางบนเครอ่ื งสังเวยพระสยาม เทวาธริ าช ทอ่ี ญั เชิญมาประดิษฐาน ณ พระสยามเทวาธริ าช เทพยดาปกปกั รกั ษาบา้ นเมอื ง คอื เทพยดาศกั ดสิ์ ทิ ธ ิ์ มุขเดจ็ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท เนอ่ื งใน ท่ีอภิบาลรกั ษาประเทศไทย ประดุจพระภมู ิคุ้มบ้าน คมุ้ เมือง เมอ่ื มเี หตกุ ารณ ์ พระราชพิธีบวงสรวงพระสยามเทวาธิราช ไมป่ กตเิ กดิ ขนึ้ คนไทยจะวงิ วอนขอใหพ้ ระสยามเทวาธริ าชปัดเป่าให้แคล้วคลาด เม่ือวนั ท่ี ๗ เมษายน พ.ศ.​ ๒๕๒๕ ภยันตราย พระสยามเทวาธริ าชจึงเป็นส่ิงศักดิ์สิทธิ์ประจำพระบรมราชวงศ์จักรี ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างข้ึนเพื่อสักการะ ทรงเซ่นไหว้ เปน็ ประจำวนั และโปรดใหม้ พี ระราชพธิ บี วงสรวงประจำปี เพอื่ เปน็ สวสั ดมิ งคลแก่ ประเทศชาติในวนั ขนึ้ ๑ คำ่ เดอื น ๕ ซงึ่ เปน็ วนั ขนึ้ ปีใหม่ทางจันทรคติของไทย และทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้มีการแสดงมหรสพในวนั น้ัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระสยามเทวาธิราชมาประดษิ ฐานในพระวมิ านไมจ้ นั ทนล์ งรกั ปดิ ทอง ณ พระท่ีนั่งไพศาลทกั ษิณ ภายในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง หน้าพระวิมานตั้งโต๊ะเคร่ืองบูชาแบบจีนและตั้งการพระราชพิธีบวงสรวงใหญ่ แบบพราหมณ์ พร้อมมีการแสดงมหรสพสมโภชหน่ึงคร้ังต่อปี เหมือนในรัชสมยั สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ซึ่งไดถ้ ือปฏิบตั มิ าตราบจนทุกวันน ้ี 132

พระทนี่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ ภายในหมพู่ ระมหามณเฑยี ร ทปี่ ระดษิ ฐานองคพ์ ระสยามเทวาธริ าช พระสยามเทวาธริ าชประดษิ ฐานอยูใ่ นมขุ กลาง ของพระวมิ านไมแ้ กะสลกั ปดิ ทอง ตงั้ อยเู่ หนอื ลบั แลบงั พระทวารเทวราชมเหศวร์ ตอนกลาง พระทนี่ ง่ั ไพศาลทกั ษณิ ประวตั พิ ระสยามเทวาธริ าช เมอื่ ตน้ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ สมยั รชั กาลที่ ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๔ เปน็ เวลาท่ี บา้ นเมอื งตอ้ งเผชญิ ภยั สงคราม ลอ่ แหลมตอ่ การพลาดพลงั้ เสียอธปิ ไตย หลายครง้ั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ มพี ระราช ปรารภว่า การท่บี า้ นเมอื งแคล้วคลาดเสมอมา ชะรอยคงเป็นเพราะมี เทพยดาองค์ใดองค์หน่ึงคอยพิทักษ์รักษาบ้านเมืองไว้ ด้วยเหตุน ้ี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างรูปเทพยดาองค์นั้นขึ้นด้วย ทองคำบริสุทธ์ิ สูง ๘ นิ้ว เพ่ือสักการบูชา ลักษณะเป็นเทวรูป ทรงเครอื่ งตน้ อยา่ งพระมหากษตั รยิ ์ ทรงยนื พระหตั ถข์ วาทรงพระขรรค์ พระหัตถ์ซา้ ยจบี เสมอพระอรุ ะ ถวายพระนามว่า พระสยามเทวาธริ าช 133

๕ พระราชพิธีพชื มงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ มงคลแห่งพืชพันธุ์ บำรงุ ขวญั เกษตรกร และเทพีหาบคู่ เรียกว่าพระราชพิธีพืชมงคล วันรุ่งขึ้น พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นพิธี มมี าตั้งแตส่ มยั สโุ ขทัย ด้วยเช่อื กนั ว่า เม่ือพระมหากษตั ริย์ พราหมณ์ จึงเรียกท้ังสองพระราชพธิ รี วมกนั วา่ พระราชพธิ ี ทรงไถหว่านเป็นปฐมฤกษ์ ย่อมจะเป็นสริ มิ งคลแกพ่ ชื พนั ธุ์ พชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั ธัญญาหารในแผ่นดิน และแม้ภายหลังพระมหากษัตริย์ พ.ศ. ๒๕๐๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะมิได้ทรงไถหว่านด้วยพระองค์เอง แต่ความเชื่อและ ทรงฟื้นฟูพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ความศรัทธาของปวงชนที่มีต่อพระราชพิธีน้ีก็ยังคงมีอย ู่ ข้ึนมาอีกครั้งหน่ึง ด้วยทรงตระหนักว่าประชากรส่วนใหญ่ อยา่ งม่นั คงเสมอมา ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผู้ที่ปลูกข้าวเล้ียงชีวิตชาวไทย การพระราชพิธีที่ฟื้นฟูใหม่น้ี ปฏิบัติตามแนว ทั้งแผ่นดิน เปรียบเสมือนเป็นกระดูกสันหลังของชาต ิ พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคร้ังนี้มีพระราชดำริปรับปรุงการพระราชพิธีให้เหมาะสม วนั แรกเปน็ พธิ สี งฆ์ จดั ภายในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ตามกาลสมัย และเสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นม่ิงขวัญ เพอ่ื เสรมิ สริ มิ งคลแกพ่ นั ธพ์ุ ชื ทง้ั หลาย รวมทงั้ พระยาแรกนา ในการพระราชพธิ ี 134

พระราชพธิ ีพืชมงคล เป็นพิธีสงฆ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงอธิษฐานเพ่ือความอุดมสมบูรณ์แห่งพืชผล พระมหาราชครูประกาศ พระราชพธิ ี พระสงฆเ์ จรญิ พระพุทธมนต์ พระราชทานนำ้ สงั ข์ ทรงเจิมพระยาแรกนาและเทพ ี พระราชพธิ จี รดพระนังคลั แรกนาขวัญ ก่อนประกอบพิธีหว่านไถที่เรียกว่าจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั พระยาแรกนาจะต้องเส่ียงทาย เลือกผา้ นงุ่ สำหรบั แตง่ ในพธิ ี จากน้ันจงึ ทำพิธีไถ พระยาแรกนาถอื คันไถเทยี มโค ตามดว้ ยเทพคี ู่หาบ ไถเวียนไปโดยรอบ แล้วหว่านพันธ์ุข้าวลงในแปลงพระราชพิธี ซึ่งปัจจุบันเป็นพันธุ์ข้าวทรงปลูกท่ีได้ พระราชทานจากแปลงนาสาธิตสวนจิตรลดาถือเป็นพนั ธขุ์ า้ วมงคล เมื่อไถครบตามพิธี พราหมณ์ จะนำของ ๗ สงิ่ ได้แก่ ข้าวเปลอื ก ขา้ วโพด ถั่ว งา เหล้า น้ำ หญา้ มาเสย่ี งให้พระโคกิน ถ้าพระโค กินส่ิงใด จะมีคำทำนายซ่ึงล้วนเป็นสิริมงคล เม่ือเสร็จพระราชพิธี ในรัชกาลปัจจุบันยังมีการ พระราชทานรางวัลแก่เกษตรกรดเี ด่นประจำปีด้วย 135

๕ ดา้ นหนา้ ของเสา นำเสนอเร่อื งราว ของพระราชพธิ ีด้วยการฉายภาพ เคล่ือนไหวบนเสาอาคารที่ได้รบั การ ตกแตง่ ดว้ ยเมลด็ ขา้ วเปลอื กจำนวนมาก พันธ์ุข้าวทรงปลกู พระราชทาน พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นพิธีอันเป็นสิริมงคลแก่พืชพันธ์ุ ธัญญาหารเพื่อสนับสนุนส่งเสริมชาวไร่ชาวนาในการประกอบอาชีพ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัย เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็น ประธานอธิษฐานขอความสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหารให้มีแก่ราชอาณาจักร ได้ทรงปลูกพันธุ์ข้าวทดลองในแปลงนาสาธิตสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ซึ่งเป็นพระราชฐานที่ประทับ เมื่อเก็บเก่ียวแล้วพระราชทานให้นำมาเข้าใน พระราชพิธีประมาณ ๔๐ - ๕๐ กิโลกรัม เมล็ดพันธ์ุข้าวท่ีพระราชทาน มาเข้าพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ ได้แบ่งไปหว่านที่ลานประกอบพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญส่วนหนึ่ง อกี สว่ นหนงึ่ จัดบรรจุซองส่งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วราชอาณาจักรสำหรับแจกจา่ ย แกเ่ กษตรกรเพอ่ื เปน็ สริ มิ งคลตามพระราชประสงคท์ ีท่ รงสง่ เสรมิ การเกษตร 136

บานประตูและหนา้ ต่าง หอพระคนั ธารราษฎร ์ จำหลกั ลายเทวดาเหาะ อยเู่ หนอื กอข้าว นบั เป็น เครื่องหมายท่แี สดงถงึ ความเชอ่ื ของชาวไทย สมยั โบราณว่าฤดกู าลและ สภาพภูมิอากาศเกิดจาก การบันดาลของเทวดา ด้านหลังของเสา นำเสนอ พระคนั ธารราษฎร์ รชั กาลที่ ๑ พระคันธารราษฎร์ ประดิษฐาน ณ หอพระคันธารราษฎร ์ เร่อื งราวของพระราชพธิ ี โปรดใหส้ รา้ งขึน้ เพื่อประดษิ ฐาน พริ ณุ ศาสตร์ และประวตั ิ ในพระราชพธิ พี ิรณุ ศาสตร์ ใม นุมพรระะเบบรียมงมดห้าานราหชนวงั้า พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระคันธารราษฎร์ พระคนั ธารราษฎร์ พระราชพธิ พี ิรณุ ศาสตร์ พระคันธารราษฎร์ หรือ “พระขอฝน” เป็น พระราชพธิ พี ิรุณศาสตรเ์ ป็นพธิ ีขอฝนเพ่อื บำรงุ ขวัญ พ ร ะ ป ร ะ ธ า น ใ น พ ร ะ ร า ช พิ ธี พิ รุ ณ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เกษตรกร มมี าแตส่ มยั โบราณ ไม่ไดจ้ ดั เปน็ การประจำทกุ ปี พระราชพิธีพืชมงคล ต้ังแต่รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาล แตจ่ ะประกอบพระราชพธิ เี มอ่ื ฝนแล้ง ปจั จบุ นั มพี ทุ ธลกั ษณะนง่ั ขดั สมาธริ าบ พระหตั ถข์ วา รัชกาลปัจจุบัน มีการจัดพระราชพิธีข้ึนคร้ังหนึ่ง ท่ากวกั ยกเสมอพระอุระ พระหตั ถ์ซา้ ยวางหงายบน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๓ โดยอนุโลมตามพระราชพิธีของหลวง พระเพลาเป็นกิริยารับน้ำ พระพักตร์ค่อนข้างกลม สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงประกอบ พระขนงโก่ง พระเนตรเหลอื บตำ่ ลงยาสีเหมอื นจรงิ พระราชพิธี ณ วัดศีลขนั ธาราม จังหวัดอ่างทอง มีพธิ ีสงฆ์ พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์บางเรียว พระกรรณยาว และพิธีพราหมณ์ที่สระน้ำหน้าอุโบสถ ต้ังบุษบกปิดทอง เกือบจดพระอังสา พระรัศมีดอกบัวตูม ฐานบัวคว่ำ ประดษิ ฐานเจวด็ รปู พระอนิ ทร์ ๔ มุม ต้ังราชวตั ร ฉัตร ธง บัวหงายรบั ดว้ ยฐานสงิ ห์ ต้นกล้วย ต้นอ้อย ริมสระต้ังโต๊ะประดิษฐานรูปท้าว จตโุ ลกบาล ๔ ทศิ ในสระมสี ัตวน์ ำ้ ไดแ้ ก่ กุ้ง ปู ปลาหมอ 137 ปลาชอ่ น ปลาดกุ ปลาตะเพยี น กบ เตา่ ตะพาบ สำหรบั นำไปปลอ่ ยในแมน่ ำ้

ขบวนเรือพระราชพธิ ี จัดแสดงด้วยเทคนิค โฮโลแกรม (Hologram) หรอื ภาพสามมิติ ในรูปแบบเมจกิ วิช่นั (Magic Vision) เพื่อจำลองภาพใหผ้ ูเ้ ข้าชมเหน็ เรือพระทีน่ ัง่ ลอยในนำ้ อย่างสวยงาม ๖ โดพยรขะบราวชนพพธิ ยเี หุสยดาจ็ ตพรราะทราาชงชดลำเมนาินรค วิถีพทุ ธผสานพธิ พี ราหมณ์ งดงาม ย่ิงใหญ่ การเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวนพยุหยาตรา ขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคสบื เนอ่ื งตอ่ มา แมจ้ ะหมดสมยั ทางชลมารคในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล ที่จะใช้เรอื ในราชการแลว้ กต็ าม ถวายผ้าพระกฐิน เน่ืองมาจากเมื่อเวลาบ้านเมืองว่างศึก ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ พระบรมวงศานุวงศ์ สงคราม อันเป็นช่วงเวลาที่ราษฎรหยุดพักรอการเก่ียวข้าว ข้าราชบริพาร และประชาชน จะนำเรือตกแต่งอย่าง ตรงกับเทศกาลกฐินตามประเพณีในพระพุทธศาสนา ซึ่ง สวยงามเข้าร่วมในขบวนด้วย ขบวนเรือที่มีระเบียบ เป็นราชประเพณีที่พระมหากษัตริย์จะเสด็จพระราชดำเนิน สวยงาม แสดงความพรอ้ มเพรียงของกองทพั ความวิจิตร ไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเป็นประจำ ราชการจะเกณฑ์ ของเรือพระราชพิธี ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยขบวน ผู้คนมาฝึกฝีพายเพ่ือให้พร้อมรบในฤดูน้ำหลาก จึงกลาย พยุหยาตรา สะท้อนความมีวัฒนธรรมและการยึดมั่นใน เป็นพระราชประเพณีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลโดย พระพุทธศาสนาอย่างม่ันคง เป็นพระราชพิธีท่ีย่ิงใหญ ่ ซง่ึ มเี พยี งแหง่ เดยี วในโลก 138

เรอื พระท่นี ั่งอเนกชาติภชุ งค์ การเสดจ็ พระราชดำเนินโดย ขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค มมี าตงั้ แตส่ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ดงั ปรากฏภาพเขียน ฝีมือ ชาวตะวนั ตก และบนั ทกึ ทีบ่ รรยายถงึ ความงดงาม และยิ่งใหญ่ของขบวน พยหุ ยาตราทางชลมารค ยากจะหาที่ใดเสมอเหมือน เรอื พระทีน่ ั่งสพุ รรณหงส ์ เรอื ครุฑเหิรเห็จ เรือพระที่นั่งนารายณ ์ ทรงสุบรรณ รชั กาลที่ ๙ 139

ตำราคชลักษณ์จัดแสดงดว้ ยระบบ จอสัมผัสประกอบอะนิเมช่ัน แสดงลักษณะอันเป็นมงคล และเป็นโทษของชา้ งตระกูลต่างๆ 140

๗ พระราชพธิ สี มโภชขน้ึ ระวางชา้ งสำคญั พระราชพธิ ีรบั และสมโภชขึ้นระวางชา้ งสำคญั ในรัชกาลปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดงาน ดงั น้ี ช้างเผือก พระราชพาหนะคพู่ ระบารมี พธิ ีจารกึ นามชา้ งสำคัญลงบนออ้ ยแดง ช้างเป็นสตั วม์ งคลคู่พระบารมีพระมหากษัตริย์ไทย มีข้ึนก่อนพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวางช้าง มาแต่โบราณ ทำคุณประโยชน์แก่บ้านเมืองหลายประการ สำคัญ เจ้าพนักงานจะจารึกนามพระราชทานลงบน ทั้งในการสงครามปกป้องบ้านเมือง นอกจากน้ี ยังเป็น อ้อยแดง แล้วพระราชครูพราหมณ์ทำพิธีจารึก สัญลักษณ์แห่งพระบารมี ความศักดิ์สิทธ์ิ ความอุดม เทพมนต์กำกบั สมบูรณ์ ความเจริญรุ่งเรืองของแผ่นดิน ความร่มเย็น พิธีถวายช้างสำคัญ เปน็ สขุ ของอาณาประชาราษฎร์ ดว้ ยเหตนุ ี้ ชา้ งจงึ ถกู นำมาใช้ นำช้างน้อมเกล้าฯ ถวายเพ่ือทรงรับเป็นช้าง เป็นสัญลักษณ์ปรากฏในส่ิงสำคัญต่างๆ เช่น ธงชาติไทย สำคัญ ซ่ึงอาจจัดก่อนวันพระราชพิธีสมโภชขึ้นระวาง (สมัยกอ่ น) และเคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์ ช้างสำคัญหรอื จัดในวันเดียวกนั เม่ือมีการพบช้างที่มีลักษณะพิเศษที่เรียกว่า พิธสี มโภช ช้างเผือก ซึ่งหาได้ยากในพระราชอาณาจักร ถือว่าเป็น มีขบวนแห่ช้างสำคัญเข้าสู่โรงพิธี พระบาท นิมิตอันเป็นมงคลของแผ่นดิน ช้างเผือกจึงเป็นพระราช สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานน้ำพระพุทธมนต์ พาหนะคู่พระบารมี แสดงพระเกียรติยศและพระบรม อ้อยแดงจารกึ และเคร่ืองคชาภรณ์ เดชานุภาพของพระมหากษัตริย์ มีประเพณีนำช้าง วันสุดท้าย มีการนำช้างสำคัญอาบน้ำและ เข้าพระราชพิธีรับและสมโภชข้ึนระวางช้างสำคัญอันเป็น ตักบาตร จากน้ันทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวาย แบบแผนสบื มา ภัตตาหาร พราหมณ์เบิกแว่นเวียนเทียนสมโภช พระราชครูพราหมณ์เจิมและป้อนมะพร้าวอ่อน เปน็ เสร็จพิธี 141

๘ สมยั รัชกาลท่ี ๕ มกี ารปรบั ปรุงพระนคร พระราชพธิ ีสมโภชหลกั เมือง ครัง้ ใหญ่ เพื่อสร้างสถานที่ราชการ และถนน เป็นเหตุใหต้ ้องร้ือ หลักชัยขวัญเมืองเพ่ือความ รุ่งเรืองสถาพร การสร้างหลักเมือง ศาลเทพารกั ษต์ า่ งๆ ซงึ่ มีอยหู่ ลายแห่ง เปน็ คตพิ ราหมณ์ ซง่ึ มคี วามเชอื่ วา่ เปน็ ที่ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สำหรับเทวดาผู้มีหน้าที่รักษาเมือง สงิ สถติ เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยนั ตราย เสรมิ สรา้ ง ใหอ้ ัญเชิญเทวรปู ในศาลเหลา่ น้ัน สิริมงคลและทำให้เช่ือม่ันว่าอานุภาพ มาประดิษฐานไว้ในบรเิ วณศาลหลกั เมือง ของพระหลักเมืองคือหลักชัยที่ทำให้ ประชาชนรวมกันอยู่ในเมืองได้อย่าง แตเ่ พียงแห่งเดยี ว เทวรปู ทีอ่ ญั เชิญมา ร่มเย็น มีความรุ่งเรืองสถาพร พิธ ี ไดแ้ ก่ พระเส้ือเมือง พระทรงเมือง ยกเสาหลักเมืองเรียกว่า พระราชพิธี พระกาฬไชยศรี เจ้าเจตคปุ ต ์ นครสถาน มักเลือกชัยภูมิที่ต้ัง และเจา้ หอกลอง เสาหลักเมืองบริเวณใจกลางพระนคร เทวรูปเจา้ หอกลอง หลกั เมอื งกรงุ เทพมหานคร มี ๒ หลกั คอื เสาหลกั เมอื งเดมิ และเสาหลกั เมอื ง 142 ปัจจุบัน เสาหลกั เมืองเดิม สร้างขึ้นเม่ือพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรง สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี เสาทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์สูง ๑๘๗ น้ิว ประกับภายนอกด้วยไม้แก่นจันทน์ เสาส่วนที่อยู่บนพื้นดินสูง ๑๐๘ นิ้ว ส่วนท่ีฝังลงดินยาว ๗๙ นิ้ว ลงรัก ปดิ ทอง ยอดหวั เม็ดรปู บัวตมู ภายใน กลวงเป็นช่องสำหรับบรรจุดวงชะตา พระนคร

พธิ ยี กเสาหลกั เมอื งจดั ขึน้ เม่อื วันอาทติ ย์ ขึน้ ๑๐ คำ่ เดอื น ๖ ปขี าล ตรงกับวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ มีการสร้างศาลเป็นอาคารไม้ ประดิษฐานเสาหลักเมือง หลังคามุงกระเบื้อง คร้ังนั้นได้สร้างรูปเทพารักษ์ สำหรบั พระนครประดษิ ฐานไว้ในศาล ๓ หลงั ตง้ั อยู่บรเิ วณหนา้ วัดพระเชตพุ น วิมลมงั คลารามเลียบคลองคเู มอื งเดิม ไดแ้ ก่ ศาลหน้าคกุ กรมพระนคร ศาลเจา้ หอกลองหน้า และหอกลองประจำเมือง ทำหน้าท่ีรักษาบ้านเมืองคู่กับ พระหลกั เมอื งดว้ ย เสาหลักเมืองปจั จุบนั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งแทนหลกั เก่าท่ีชำรดุ มาก อาคารหมดความสงา่ งาม ทรงบรรจดุ วงชะตา พระนคร ต้องตามดวงพระบรมราชสมภพ เพ่ือให้บ้านเมืองและประชาชน ภายใต้พระบารมีประสบความเจริญวัฒนา เป็นเสาไม้สักมีแกนอยู่ภายใน ประกับด้วยไม้ชัยพฤกษ์ ๖ แผ่น กว้างแผ่นละ ๘ น้ิว ยอดหัวเม็ดทรงมัณฑ์ เสาสูง ๒๐๑.๔ น้ิว เสน้ ผา่ นศูนย์กลางท่ีโคนเสายาว ๑๘.๘ นิ้ว ลำต้นอวบกวา่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั เสาหลักเมืองต้นเดิม ปรับปรุงอาคารศาลเป็นจัตุรมุข ยอดปรางค์ก่ออิฐถือปูน ทรงประกอบพิธสี มโภชหลกั เมอื ง ฉาบสดี อ่ น (สเี ผอื ก) แบบศาลหลกั เมอื งทพี่ ระนครศรอี ยธุ ยา สว่ นเสาหลกั เมอื งเดมิ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.​ ๒๕๒๙ ได้เชิญข้ึนมาตั้งคกู่ ันไว้ ศาลหลักเมืองสรา้ งขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๒๕ ไดร้ บั การบูรณปฏิสังขรณเ์ รือ่ ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั ดวงชะตาพระนคร ยันต์สุริยาทรงกลด สำหรับจารลงในแผน่ ทอง แผน่ เงิน แผ่นนาก แล้วลงดวงชะตาพระนคร ไวต้ รงกลาง 143

๕ สถาสปงัต่ายศกรรี รม 144

พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาลที่ปกแผ่ไพศาล ไปทั่วทุกทิศ บันดาลให้กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีท่ีรุ่งเรืองสมฐานะ ทัดเทียมนานาอารยประเทศ เป็นมหานครท่ีงดงามด้วยอาคารสถาน ที่ได้รับ การประดับประดาด้วยสถาปัตยกรรมอันล้ำค่าหลากสมัย จากสุดยอด ช่างฝีมือที่ได้รังสรรค์ไว้เป็นมรดกศิลป์สำหรับแผ่นดินสยาม เป็นความภูมิใจ ทค่ี วรคา่ แก่การอนรุ กั ษ์ใหส้ ถิตสถาพรสบื ไป 145

กรุงรัตนโกสินทร์ ศูนย์กลางแห่งแผ่นดินสยาม นับต้ังแต่ได้รับการสถาปนา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ และรุ่งเรือง สืบมาเป็นเวลายาวนานกว่า ๒๐๐ ปี ด้วยพระบรมโพธิ สมภารของพระมหากษัตริย์ทุกรัชกาล ท่ีทรงทำนุบำรุง บ้านเมืองให้เฟ่ืองฟูในทุกด้าน ราชธานีแห่งน้ีจึงวิจิตรตระการ ด้วยสรรพสถาน ท่ีได้รับการรังสรรค์ด้วยศิลปกรรมอันล้ำค่า หลากสมัย ตั้งแต่รูปแบบไทยประเพณีท่ีสืบเนื่องแบบอย่าง อันดีมาแต่เม่ือคร้ังกรุงศรีอยุธยา แล้ววิวัฒนาด้วยการผสาน 146