ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

เอ็มโอยูกับ ปตท.ทำวิจัยสำรวจปิโตรเลียม

เผยแพร่: 9 พ.ค. 2556 18:54 โดย: MGR Online

สวทช.และ สวทน.2 หน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทย์ ลงนามในเอ็มโอยู กับ ปตท.เพื่อวิจัยพัฒนาและสร้างนวัตกรรมสำรวจปิโตรเลียม โดยคณะกรรมการนโยบายมีแผนพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมสำรวจ และธรณีฟิสิกสที่ยังขาดแคลน เคลื่อนย้ายนักวิจัยรัฐไปสู่ภาคอุตสาหกรรม ส่วน สวทช.พร้อมวิจัยพลังงานด้วยศักยภาพของศูนย์แห่งชาติในสังกัด

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาศักยภาพด้านวิจัยและพัฒนา และกิจกรรมนวัตกรรมด้านการสำรวจและผลิตปิโตรเลียม กับ บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ.เมื่อ 9 พ.ค.56 ณ ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพลกซ์

ความร่วมมือครั้งนี้เริ่มจากแนวคิดในการร่วมมือสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาของทาง สวทน.และ สวทช.ประกอบกับ ปตท.ต้องการวิจัยพลังงาน จึงเกิดแนวคิดร่วมกันขยายขอบเขตความร่วมมือด้านนโยบายและด้านปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงค์ในการร่วมมือพัฒนาศักยภาพในการสำรวจและวิจัยปิโตรเลียมต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงยังต้องการส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ต่างๆ ร่วมกันในด้านการสำรวจปิโตรเลียม และร่วมมือจัดฝึกอบรมด้านการวิจัยและพัฒนาปิโตรเลียมกันเพื่อยกระดับขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรม

ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รองเลขาธิการ รักษาการแทนเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) กล่าวว่า สวทน.มีแผนในการร่วมพัฒนากำลังอาชีพด้านวิศวกรรมการขุดเจาะและสำรวจ และด้านธรณีฟิสิกส์ ซึ่งเป็นสาขาขาดแคลน และผลักดันให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมปิโตรเลียมต้นน้ำ รวมทั้งเคลื่อนย้ายนักวิจัยจากสถาบันวิจัยกับมหาวิทยาลัยของรัฐไปสู่ภาคอุตสาหกรรม และมีการพัฒนาการวิจัยด้านเทคโนโลยี ให้สามารถนำการวิจัยไปเป็นความรู้ในเรื่องต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ทรัพย์สินทางปัญญา โดยทาง สวทน.ยังหวังให้ภาคเอกชนเป็นผู้นำทางด้านการวิจัยด้วย

ด้าน ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยนั้นประสบปัญหาในเรื่องของแหล่งพลังงานในประเทศ ทำให้ต้องนำเข้าพลังงานถึง 50% จึงอาจกระทบต่อจีดีพี (GDP) ของประเทศได้ ทาง สวทช.จึงเห็นเหตุผลที่ต้องวิจัยด้านพลังงาน เพื่อให้เกิดการคิดค้นวิธีการแก้ปัญหาและสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ให้มีศักยภาพยิ่งขึ้น จนสามารถแข่งขันกับเวทีโลกได้ และจากความร่วมมือครั้งนี้จะช่วยขีดความสามารถในการวิจัยของศูนย์แห่งชาติในสังกัด

ด้านนายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปตท.สผ.กล่าวว่า ในขณะนี้ประเทศไทยมีการพึ่งพาการพลังงานที่นำเข้าจากต่างประเทศอยู่มาก จึงจำเป็นต้องใช้การวิจัยเพื่อหาวิธีใช้พลังงานจากทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีแนวคิดที่จะใช้ปิโตรเลียมให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ และหาวิธีผลิตปิโตรเลียมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจช่วยลดค่าใช้จ่ายและเป็นผลดีต่อในส่วนของธุรกิจ

มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ด้านบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและมีศักยภาพในการทํางานในห้องสมุดโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ต่างๆ และประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวข้องกับการบริการสารสนเทศ

ระบบสุริยะประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่น ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวาร (Moon) ที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet) 5 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึง ดาวเคราะห์น้อย (Asteroid) วัตถุในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) ดาวหาง (Comet) สะเก็ดดาว (Meteoroid) และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์ (Interplanetary dust cloud)

โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt) ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย (Scattered disc) ขอบเขตเฮลิโอพอส (Heliosphere) (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต (Oort cloud)

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

บริเวณต่างๆ ของระบบสุริยะ http://spaceplace.nasa.gov/comet-quest/

แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt)

แถบดาวเคราะห์น้อย เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (Asteroid หรือ Minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์

มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตร ส่วนที่เหลือมีขนาดลดหลั่นกันไปจนถึงเศษฝุ่น วัตถุในแถบดาวเคราะห์น้อยกระจายอยู่อย่างเบาบางจนกระทั่งยานอวกาศหลายลำสามารถเคลื่อนผ่านไปได้โดยไม่ชนกับอะไรเลย นอกจากนั้น การชนกันระหว่างดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่ได้ทำให้เกิดวงศ์ดาวเคราะห์น้อยที่มีองค์ประกอบธาตุและวงโคจรใกล้เคียงกัน การแตกสลายทำให้เกิดเศษฝุ่นละเอียดซึ่งกลายเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของแสงในแนวจักรราศี ดาวเคราะห์น้อยแต่ละดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยได้รับการจำแนกตามสเปกตรัม โดยหลักมี 3 ชนิด ได้แก่ ชนิดคาร์บอน (C-type) ชนิดซิลิเกต (S-type) และชนิดโลหะ (M-type)

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

การกระจายตัวของดาวเคราะห์น้อย https://en.wikipedia.org/wiki/Asteroid_belt

แถบไคเปอร์ (Kuiper Belt)

แถบไคเปอร์ หมายถึง บริเวณที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมากโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลักษณะคล้ายกับแถบดาวเคราะห์น้อย ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า วัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า วัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของดาวหางคาบสั้น โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ เจอราร์ด ไคเปอร์ (Gerard Kuiper) ผู้ค้นพบ

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

อาณาบริเวณแถบไคเปอร์ http://space-facts.com/kuiper-belt/

แถบจานกระจาย (Scattered disc)

แถบจานกระจาย หรือ แถบหินกระจาย (Scattered disc) คือย่านวัตถุไกลในระบบสุริยะที่มีดาวเคราะห์น้ำแข็งขนาดเล็กกระจัดกระจายอยู่ห่าง ๆ กัน เรียกชื่อว่า วัตถุในแถบหินกระจาย (อังกฤษ: Scattered disc objects; SDO) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอยู่ในบรรดาตระกูลวัตถุพ้นดาวเนปจูน (Trans-Neptunian object; TNO) วัตถุในแถบหินกระจายมีค่าความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรสูงสุดถึง 0.8 ความเอียงวงโคจรสูงสุด 40° มีระยะไกลดวงอาทิตย์ที่สุดมากกว่า 30 หน่วยดาราศาสตร์ วงโคจรที่ไกลมากขนาดนี้เชื่อว่าเป็นผลจากแรงโน้มถ่วงที่กระจัดกระจายโดยดาวแก๊สยักษ์

ขอบเขตเฮลิโอพอส (Heliosphere)

เฮลิโอสเฟียร์ (Heliosphere) มีลักษณะคล้ายฟองอากาศอยู่ในห้วงอวกาศ ที่พองตัวอยู่ในสสารระหว่างดาว ซึ่งเป็นผลจากลมสุริยะ ทำหน้าที่ปกป้องระบบสุริยะเอาไว้จากรังสีคอสมิก แม้จะมีอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าส่วนหนึ่งจากสสารระหว่างดาวสามารถลอดเข้ามา ภายในเฮลิโอสเฟียร์ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วสสารส่วนใหญ่ที่อยู่ภายในเฮลิโอสเฟียร์ล้วนมีต้นกำเนิดมา จากดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น

ในรัศมี 10,000 ล้านกิโลเมตรแรก ลมสุริยะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากกว่า 1 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง[1][2] จากนั้นจึงเริ่มชะลอและสลายไปในสสารระหว่างดาว ลมสุริยะจะชะลอความเร็วลงจนหยุดลงในที่สุดและรวมไปในมวลสารเหล่านั้น จุดที่ลมสุริยะชะลอความเร็วลงเรียกว่า กำแพงกระแทก (Termination shock) จุดที่แรงดันของสสารระหว่างดาวกับลมสุริยะเข้าสู่สมดุลกันเรียกว่า เฮลิโอพอส (Heliopause) จุดที่สสารระหว่างดาวเคลื่อนที่ในทางตรงกันข้าม คือชะลอตัวลงเมื่อปะทะเข้ากับเฮลิโอสเฟียร์ เรียกว่า โบว์ช็อค (Bow shock)

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

อาณาบริเวณเฮลิโอสเฟียร์

ย่านของเมฆออร์ต (Oort cloud)

เมฆออร์ต (Oort cloud) คือ ชั้นเมฆในอวกาศที่ล้อมรอบระบบสุริยะอยู่เป็นทรงกลม บริเวณเมฆเหล่านี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ออกไปราว 50,000 - 100,000 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ ไกลออกไปจากขอบระบบสุริยะรอบนอก ตำแหน่งของเมฆออร์ตอยู่ในระยะความห่าง 1 ใน 4 ของดาวแคระแดงพร็อกซิมาคนครึ่งม้า ในกลุ่มเมฆออร์ตนี้มีวัตถุพ้นดาวเนปจูน อย่างดาวเคราะห์แคระ 90377 เซดนา ที่ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 อยู่ด้วย

วัตถุในกลุ่มเมฆออร์ตคือเศษเหลือจากการสร้างดาวเคราะห์ เป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีส่วนประกอบไปด้วยน้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย ฝุ่น และหิน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร โดยนักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ากลุ่มเมฆออร์ตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของดาวหาง

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ย่านของเมฆออร์ต

ระบบสุริยะของเรามีขนาดใหญ่โตมากเมื่อเทียบกับโลกที่เราอาศัยอยู่ แต่ระบบสุริยะมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับกาแล็กซีของเราหรือกาแล็กซีทางช้างเผือก ระบบสุริยะตั้งอยู่ในบริเวณ วงแขนของกาแล็กซีทางช้างเผือก (Milky Way) ที่ชื่อแขนโอไลออน ซึ่งเปรียบเสมือนวงล้อยักษ์ที่หมุนอยู่ในอวกาศ โดยระบบสุริยะจะอยู่ห่างจาก จุดศูนย์กลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกประมาณ 30,000 ปีแสง ระนาบของระบบสุริยะเอียงทำมุมกับระนาบของกาแลกซี่ประมาณ 60 องศา ดวงอาทิตย์ จะใช้เวลาประมาณ 225 ล้านปี ในการเคลื่อนครบรอบจุดศูนย์กลางของกาแล็กซีทางช้างเผือกครบ 1 รอบ นักดาราศาสตร์จึงมีความเห็นร่วมกันว่า เทหวัตถุทั้งมวลในระบบสุริยะ ไม่ว่าจะเป็นดาวเคราะห์ทุกดวง ดวงจันทร์ของ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต เกิดขึ้นมาพร้อมๆกัน มีอายุเท่ากันตามทฤษฎีจุดกำเนิดของระบบสุริยะ

และจากการนำเอาหินจากดวงจันทร์มาวิเคราะห์การสลายตัวของสารกัมมันตภาพรังสี ทำให้ทราบว่าดวงจันทร์มี อายุประมาณ 4,600 ล้านปี ในขณะเดียวกันนักธรณีวิทยาก็ได้คำนวณ หาอายุของหินบนผิวโลก จากการสลายตัวของอะตอมธาตุยูเรเนียม และสารไอโซโทปของธาตุตะกั่ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า โลก ดวงจันทร์ อุกกาบาต มีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี และอายุของระบบสุริยะนับตั้งแต่เริ่มเกิดจากฝุ่นละอองก๊าซในอวกาศจึงมีอายุไม่เกิน 5,000 ล้านปี ในบรรดาสมาชิกของระบบสุริยะซึ่งประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดวงจันทร์ ของดาวเคราะห์ดาวหาง อุกกาบาต สะเก็ดดาว รวมทั้งฝุ่นละองก๊าซ อีกมากมาย นั้นดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ 8 ดวง จะได้รับความสนใจมากที่สุดจากนักดาราศาสตร์

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

กาแล็กซี่ทางช้างเผือก (Milky way galaxy) http://es.engadget.com/topics/ciencia-1/page/2/

ที่มาข้อมูล

http://kroowanss.blogspot.com/p/1.html

http://spaceplace.nasa.gov/comet-quest/

https://en.wikipedia.org/wiki/Asteroid_belt

http://space-facts.com/kuiper-belt/

https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบสุริยะ

https://th.wikipedia.org/wiki/แถบไคเปอร์

https://th.wikipedia.org/wiki/เฮลิโอสเฟียร์


ทฤษฎีของคานท์และลาพลาส

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html

ทฤษฎีของคานท์และลาพลาส โดยนักดาราศาสตร์ชื่อ เอมมานูเอล คานท์ ชาวเยอรมัน และปีแอร์ ลาพลาส ชาวฝรั่งเศส เชื่อว่า 'ระบบสุริยะเกิดจากกลุ่มแก๊สที่ร้อนจัดขนาดใหญ่ และหมุนรอบตัวเองจนเกิดแรงเหวี่ยงทำให้เกิดวงแหวนเป็นชั้นๆ ต่อมากลุ่มแก๊สบริเวณศูนย์กลางของวงแหวนรวมตัวกันกลายป็นดวงอาทิตย์ ส่วนวงแหวนกลายเป็นดาวเคราะห์และบริวาร'

หลักฐานที่สำคัญของการกำเนิดของระบบสุริยะก็คือ การเรียงตัวและการเคลื่อนที่อย่างเป็นระบบระเบียบของดาวเคราะห์ ดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์ และดาวเคราะห์น้อยในระบบสุริยะ ที่แสดงให้เห็นว่าเทหวัตถุ ทั้งมวลบนฟ้านั้นเป็นของระบบสุริยะ ซึ่งจะเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้เลยที่เทหวัตถุท้องฟ้าหลายพันดวงจะมีระบบโดยบังเอิญโดยมิได้มีจุดกำเนิดร่วมกัน

Piere Simon Laplace ได้เสนอทฤษฎีจุดกำเนิดของระบบสุริยะ ไว้เมื่อปี ค.ศ. 1796 กล่าวว่า ในระบบสุริยะจะมีมวลของก๊าซรูปร่างเป็นจานแบนๆ ขนาดมหึมาหมุนรอบตัวเองอยู่ ในขณะที่หมุนรอบตัวเองนั้นจะเกิดการหดตัวลงเพราะแรงดึงดูดของก๊าซ ซึ่งจะทำให้อัตราการหมุนรอบตัวเองมีความเร็วสูงขึ้นเพื่อรักษาโมเมนตัมเชิงมุม (Angular Momentum) ในที่สุด เมื่อความเร็วมีอัตราสูงขึ้น จนกระทั่งแรงหนีศูนย์กลางที่ขอบของกลุ่มก๊าซมีมากกว่าแรงดึงดูด ก็จะทำให้เกิดมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซแยกตัวออกไปจากศุนย์กลางของกลุ่มก๊าซเดิม และเมื่อเกิดการหดตัวอีกก็จะมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซเพิ่มขึ้น ขึ้นต่อไปเรื่อยๆ วงแหวนที่แยกตัวไปจากศูนย์กลางของวงแหวนแต่ละวงจะมีความกว้างไม่เท่ากัน ตรงบริเวณที่มีความหนาแน่นมากที่สุดของวง จะคอยดึงวัตถุทั้งหมดในวงแหวนมารวมกันแล้วกลั่นตัวเป็นดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ของดาว ดาวเคราะห์จะเกิดขึ้นจากการหดตัวของดาวเคราะห์ สำหรับดาวหาง และสะเก็ดดาวนั้น เกิดขึ้นจากเศษหลงเหลือระหว่างการเกิดของดาวเคราะห์ดวงต่างๆ ดังนั้น ดวงอาทิตย์ในปัจจุบันก็คือ มวลก๊าซ ดั้งเดิมที่ทำให้เกิดระบบสุริยะขึ้นมานั่นเอง

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ระยะที่ 1 ระยะแรกเริ่มของโซลาร์เนบิวลา http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ระยะที่ 2 กลุ่มก๊าซแยกตัวออกไปจากศุนย์กลางของกลุ่มก๊าซเดิม http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ระยะที่ 3 เกิดการหดตัวอีกและมีวงแหวนของกลุ่มก๊าซเพิ่มขึ้น http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ระยะที่ 4 บริเวณที่มีความหนาแน่นมากที่สุดของวงจะดึงวัตถุทั้งหมดในวงแหวน มารวมกันแล้วกลั่นตัว http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

ระยะที่ 5 กำเนิดดาวเคราะห์และดวงจันทร์บริวาร http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

ข้อสังเกต: ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะเกิดพร้อมกัน

ข้อสนับสนุน: ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์หมุนไปทางเดียวกัน

ข้อคัดค้าน: ดวงอาทิตย์น่าจะหมุนเร็วกว่านี้ กลุ่มก๊าซน่าจะกระจายออกไปมากกว่าจะมารวมกันเป็นดาวเคราะห์

ที่มาข้อมูล

http://www.darasart.com/solarsystem/main.htm

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html

http://orapan9782-orapan-9782.blogspot.com/p/blog-page


ทฤษฎีของเฟรด ฮอยล์ และฮานส์ อัลเฟน

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html

ทฤษฎีของเฟรด ฮอยล์ และฮานส์ อัลเฟน เป็นทฤษฎีการเกิดระบบสุริยะที่อาศัยทฤษฎีของคานท์และลาพลาสประกอบกับหลักฐานจากการศึกษา ปรากฏการณ์ท้องฟ้าเพิ่มเติม มีใจความสรุปว่า "ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นก่อนจากการรวมตัวของกลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองต่อมาดวงอาทิตย์ เริ่มมีแสงสว่าง และยังคงมีกลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองห้อมล้อมอยู่และหมุนไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ ต่อมากลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองเหล่านี้จะถูกดึงดูดและอัดตัวแน่นขึ้นและรวมกัน เป็นก้อนขนาดใหญ่ขึ้นกลายเป็นดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์"

ทฤษฎีของเฟรด ฮอยล์ และฮานส์ อัลเฟน ตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2493 สรุปได้ว่ากลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองในระบบสุริยะรวมกันเป็นดวงอาทิตย์ก่อน ต่อมาดวงอาทิตย์ที่เกิดขึ้นนี้เริ่มมีแสงสว่าง โดยยังคงมีกลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองห้อมล้อมอยู่ และหมุนไปรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ กลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองดังกล่าวจะอัดตัวกันแน่น และรวมตัวกันเป็นก้อนขนาดใหญ่ กลายเป็นดาวเคราะห์และวัตถุต่าง ๆ ในระบบสุริยะ

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย
ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

การเกิดระบบสุริยะตามทฤษฎีของเฟรด ฮอยล์ และฮานส์ อัลเฟน https://sites.google.com/site/jutawat40355/page3

ข้อสังเกต: ดวงอาทิตย์เกิดก่อนดาวเคราะห์

ข้อสนับสนุน: สามารถอธิบายการหมุนรอบตัวเอง และการมีดวงจันทร์ของดาวเคราะห์ได้

ข้อคัดค้าน: ยังมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการหมุนของกลุ่มก๊าซและฝุ่นละอองเพื่อเกิดเป็นดาวเคราะห์ต่างๆ ด้วยความเร็วไม่เท่ากัน

ที่มาข้อมูล

https://sites.google.com/site/jutawat40355/page3

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html


ทฤษฎีของเจมส์ ยีนส์

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html

ทฤษฎีของเจมส์ ยีนส์ ตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2444 สรุปไว้ว่า การเกิดของระบบสุริยะมีดาวฤกษ์ขนาดใหญ่เคลื่อนที่เข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์ แรงดึงดูดระหว่างดวงอาทิตย์กับดาวฤกษ์มีผลทำให้มวลสารบางส่วนของดวงอาทิตย์ และดาวฤกษ์หลุดออกมา แล้วกลายเป็นดาวเคราะห์และวัตถุอื่นๆ ในระบบสุริยะ

ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย
ประโยชน ของดวงอาท ตย ท ม ต อมน ษย

การเกิดระบบสุริยะตามทฤษฎีของเจมส์ ยีนส์ https://sites.google.com/site/jutawat40355/page3

ข้อสังเกต: ดวงอาทิตย์เกิดก่อนดาวเคราะห์ ทฤษฎีนี้ บูฟง ชาวฝรั่งเศส เคยตั้งมาก่อนเมื่อ พ.ศ. 2288

ข้อสนับสนุน: ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์หมุนไปทางเดียวกัน เป็นไปได้ที่ดวงอาทิตย์จะหมุนเข้า

ข้อคัดค้าน: ดาวฤกษ์เคลื่อนที่เร็วมากๆ ไม่น่าจะเข้ามาใกล้กันได้ กลุ่มก๊าซร้อนที่หลุดออกมาน่าจะกระจายไป ไม่น่าจะรวมกันได้ จากการคำนวณอย่างละเอียดได้แรงดึงดูดไม่น่าจะมากจนสามารถดึงก๊าซหรือมวลสารหลุดออกมาได้

ที่มาข้อมูล

https://sites.google.com/site/jutawat40355/page3

http://nokkrajab.blogspot.com/2009/12/blog-post_8532.html


ทฤษฏีการเปล่งแสง (Supernova Theory) หรือดาวแฝด (Binary star)

กล่าวว่ามีดวงอาทิตย์ 2 ดวงดึงดูดกันจนทำให้ดวงอาทิตย์อีกดวงเปล่งแสงมากขึ้นจนแตกเป็นชิ้นส่วนมากมาย และถูกแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์ให้หมุนรอบจนรวมตัวกันแน่นเป็นดาวเคราะห์ โลก และวัตถุอื่นๆในระบบสุริยะ

ดวงอาทิตย์มีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร

ดวงอาทิตย์ให้พลังงานแก่โลกในรูปความร้อนและแสงสว่าง สิ่งที่มีชีวิต เช่น พืช และ สัตว์ รับและใช้พลังงานเหล่านี้โดยตรง เช่น พืชใช้แสงแดดในการปรุงอาหาร พลังงานแสงแดด ถูกเปลี่ยนเป็นรูปพลังงานเคมีสะสมอยู่ในอาหารที่ปรุงได้ อาหารที่ปรุงได้บาง ส่วนก็ถูกใช้ทันที บางส่วนจะถูกเก็บสะสมไว้ในส่วนต่างๆ ของพืช

ดวงอาทิตย์มีความสําคัญต่อระบบสุริยะอย่างไร

ดวงอาทิตย์เป็นส่วนสำคัญที่สุดของระบบสุริยะ เป็นผู้ดึงดูดให้ดาวเคราะห์ทั้งเก้าดวงอยู่ในตำแหน่งที่เป็นอยู่และดวงอาทิตย์ยังให้แสงและความร้อนกับดาวเคราะห์นั้นด้วย ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์ระบบสุริยะก็จะมืดมิดและหนาวเย็น เมื่อผ่าดวงอาทิตย์ออกมาเป็นชิ้นภายในดวงอาทิตย์นั้นไม่ได้แข็งเหมือนโลก ดวงอาทิตย์เป็นกลุ่มก๊าซดวงใหญ่ที่ลุกเป็น ...

ดวงอาทิตย์ทำหน้าที่อะไร

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกของเรามากที่สุด มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจน ที่ใจกลางของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิและแรงดันสูงมาก จนทำให้ก๊าซไฮโดรเจนหลอมรวมกันเป็นก๊าซฮีเลียม และแผ่พลังงานออกมาอย่างมหาศาล เป็นความร้อนและแสงสว่าง เราเรียกปฏิกิริยานี้ว่า "ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน" พลังงานความร้อน และแสงสว่าง จาก ...

ทำไมดวงอาทิตย์ถึงไม่มีวันดับ

ไฟของดวงอาทิตย์ทำไมถึงไม่มีวันดับ แล้วไฟมันมาจากไหนนักหนาา >>>แสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์เกิดขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันปลดปล่อยพลังงานออกมา ดวงอาทิตย์สามารถดับได้เมื่อปลดปล่อยพลังงานจนหมดสิ้น ใครเป็นคนไปจุดไฟบนดวงิาทิตย์กัน