ประว ต สร างเหร ยญ แม น ำค ลป.ท ม

คำนิยม กกกกกกกหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด เป็นหนังสือเรียนท่ีมีคุณค่าช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี มีทักษะเก่ียวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การจัดทาแผ่นพับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และจัดทาคลิปวีดิทัศน์ (video) เพื่อการสืบสาน และอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรม ทาให้เข้าถึง ข้อมูลองค์ความรู้เก่ียวกับเกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี อย่างแท้จริง ส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ ในการเป็นคนอาเภอปากเกร็ด มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา สืบทอดประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และช่วยกันดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว ดูแล ทานุบารุงวัด นอกจากน้ียังช่วยให้เกิดความ ตระหนัก เห็นคุณค่า ของสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา และแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีอยู่ในอาเภอ ปากเกร็ด เป็นการปลูกฝังความภาคภูมิใจในอาเภอของตนเองที่อาศัย หรือประกอบอาชีพอยู่ได้เป็น อยา่ งดี กกกกกกกขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษา เช่ียวชาญ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 ข้าราชการบานาญ ท่ีปรึกษาการจัดทา หนังสือเรียน และคณะทางาน ประกอบด้วย นางสาวนภาพัฒน์ แก้วอ่อน ผู้อานวยการศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด นางสาวประยูร ผ่องอาไพ ครูชานาญการพิเศษ นางระวีโรจน์ รศั มิ์พยุงกจิ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน นายจิตกร ถาวรพฒั น์ ครูกศน.ตาบล นางสาวช่ืนชนิษฐ์ ทองคง ครู กศน.ตาบล นายสมเกียรติ รองรัตน์ ครู กศน.ตาบล นางสาวน้อง แพทอง ครูศูนย์การเรียนชุมชน และนายคณิต พานนาค บรรณารักษ์อัตราจ้างสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหนังสือเรียนท่ีมีคุณค่า สามารถนาไปใช้เป็นส่ือการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ลงทะเบียนรายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้ คู่นนทบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนนทบุรี ทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ทด่ี ีต่อรายวชิ านี้ รวมทง้ั ตอ่ ชมุ ชนถนิ่ เกดิ ของตนได้เปน็ อยา่ งดี (นางสพุ รพรรณ นาคปานเอ่ียม) ผู้อานวยการสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดนนทบรุ ี คำนิยม กกกกกกกหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด เป็นหนังสือเรียนท่ีมีคุณค่าช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี มีทักษะเก่ียวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ การจัดทาแผ่นพับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และจัดทาคลิปวีดิทัศน์ (video) เพื่อการสืบสาน และอนุรักษ์ประเพณี และวัฒนธรรม ทาให้เข้าถึง ข้อมูลองค์ความรู้เก่ียวกับเกาะเกร็ดน่าเรียนรู้คู่นนทบุรี อย่างแท้จริง ส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ ในการเป็นคนอาเภอปากเกร็ด มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา สืบทอดประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และช่วยกันดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว ดูแล ทานุบารุงวัด นอกจากนี้ยังช่วยให้เกิดความ ตระหนัก เห็นคุณค่า ของสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา และแหล่งท่องเท่ียวท่ีมีอยู่ในอาเภอ ปากเกร็ด เป็นการปลูกฝังความภาคภูมิใจในอาเภอของตนเองที่อาศัย หรือประกอบอาชีพอยู่ได้เป็น อยา่ งดี กกกกกกกขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษา เช่ียวชาญ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 ข้าราชการบานาญ ท่ีปรึกษาการจัดทา หนังสือเรียน และคณะทางาน ประกอบด้วย นางสาวนภาพัฒน์ แก้วอ่อน ผู้อานวยการศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด นางสาวประยูร ผ่องอาไพ ครูชานาญการพิเศษ นางระวีโรจน์ รศั มิ์พยุงกจิ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน นายจิตกร ถาวรพฒั น์ ครกู ศน.ตาบล นางสาวช่ืนชนิษฐ์ ทองคง ครู กศน.ตาบล นายสมเกียรติ รองรัตน์ ครู กศน.ตาบล นางสาวน้อง แพทอง ครูศูนย์การเรียนชุมชน และนายคณิต พานนาค บรรณารักษ์อัตราจ้างสังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่ร่วมมือร่วมใจกันจัดทาหนังสือเรียนท่ีมีคุณค่า สามารถนาไปใช้เป็นส่ือการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ลงทะเบียนรายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดน่าเรียนรู้ คู่นนทบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอปากเกร็ด สังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนนทบุรี ทาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติ ทด่ี ีต่อรายวชิ านี้ รวมทง้ั ตอ่ ชมุ ชนถนิ่ เกดิ ของตนได้เปน็ อยา่ งดี (นางสพุ รพรรณ นาคปานเอ่ียม) ผู้อานวยการสานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั นนทบรุ ี สารบญั ผงั มโนทศั น…์ ………………………………………………………………………………………………..……………..………. หน้า คำอธบิ ายรายวิชา……………………………………………………………………………………………....……………..…. 1 รายละเอยี ดรายวชิ า……………………………………………………………………………………………….............….. 2 โครงสร้างหลักสตู ร………………………………………………………………………………………………………….…….. 3 9 สรุปสาระสำคญั …………………………………………...…………………..……………………………..………..…… 9 ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั ………………………..………………………………………………….……………..…..….. 15 ขอบข่ายเนื้อหา…………………………………………………………………………….…………………..…….……… 16 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ……………………………………………..……….……………………..………… 16 สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้……………………………………………………………………………….……………..…..….… 16 การวดั และประเมินผล…………………………………………………………………….….…………………..…….… 23 หวั เรอ่ื งท่ี 1 บรบิ ทท่ัวไปของเกาะเกรด็ .……………………………………………………………...………………..… 25 สาระสำคัญ………………………………………..…………………………………..…………………………….....……. 25 ตัวชวี้ ดั ………………………………………………………………………………………………………………..……....… 25 ขอบข่ายเนื้อหา……………………………………………………………………………..….…………...………………. 25 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้…………………………………………………………………………..………...…. 32 สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้…………………………………………………………………………………………..…………..… 32 การวดั และประเมินผล………………………………………………………………...……………....................…… 33 หัวเรือ่ งที่ 2 วัดสำคญั ในเกาะเกรด็ …………………………………………………………………………………..……… 34 สาระสำคัญ………………………………………..…………………………………..………………..…………..….……. 34 ตวั ชี้วัด…………………………………………………………………………………………………..………..…………..… 35 ขอบข่ายเนือ้ หา……………………………………………………………………………..………….………..….………. 35 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้………………………………………………………………………………...…..…. 62 สอ่ื และแหล่งเรียนรู้………………………………………………………………………………………………..……..… 62 การวดั และประเมนิ ผล………………………………………………………………...………………………….....…… 63 หัวเรื่องที่ 3 แหล่งท่องเท่ียวทสี่ ำคญั ในเกาะเกร็ด………………………….…..……………………………….….… 64 สาระสำคญั ………………………………………..…………………………………..…………………..…………………. 64 ตัวชว้ี ดั ………………………………………………………………………………………………………………....……..… 66 ขอบขา่ ยเนอ้ื หา……………………………………………………………………………..….……..…………….………. 66 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้…………………………………………………………………..……………………. 89 สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้……………………………………………………………………………………………..………..… 89 การวัดและประเมนิ ผล………………………………………………………………...……………………..……...…… 90 สารบญั (ตอ่ ) หนา้ หวั เรอ่ื งที่ 4 ประเพณีคเู่ กาะเกรด็ …………………………………………………………………….………………..…… 91 สาระสำคัญ………………………………………..…………………………………..…………………………….….……. 91 ตวั ชี้วดั ………………………………………………………………………………………………………….………...…..… 91 ขอบขา่ ยเนอื้ หา……………………………………………………………………………..….……………………………. 92 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้…………………………………………………………………..…………..…….…. 102 สื่อและแหล่งเรียนรู้…………………………………………………………………………………………………..…..… 102 การวัดและประเมนิ ผล………………………………………………………………...………………………..…...…… 103 104 หัวเรอ่ื งที่ 5 วฒั นธรรมคู่เกาะเกรด็ ………………………………………………….…………..……...………..….…… 104 สาระสำคญั ………………………………………..…………………………………..……………..…………..…….……. 104 ตวั ชี้วดั ……………………………………………..………………………………………………………………………….… 104 ขอบข่ายเน้อื หา……………………………………………………………………………………..….………..….………. 132 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้…………………………………………………………………………………………. 132 ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้……………………………………………………………………….…………….………………..… 133 การวดั และประเมนิ ผล………………………………………………………………...……………………...………..… 134 134 หวั เร่ืองที่ 6 วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรแ์ ละภมู ิศาสตรใ์ นการศึกษาเกาะเกร็ดนา่ เรยี นรคู้ ู่นนทบรุ ี…….. 134 สาระสำคัญ………………………………………..…………………………………..……………..……………..….……. 135 ตวั ชว้ี ัด……………………………………………………………………………………………..………………………....… 139 ขอบข่ายเนอ้ื หา……………………………………………………………………………..….…….………………..……. 140 การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้……………………………………………………………………..……………...…. 140 ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้……………………………………………………………………………………….……….……..… 141 การวัดและประเมนิ ผล………………………………………………………………...……………..……………...…… 141 141 หัวเรอ่ื งที่ 7 การสบื สานและอนรุ กั ษป์ ระเพณีและวฒั นธรรมคู่เกาะเกรด็ ………….……………………..…. 142 สาระสำคญั ………………………………………..…………………………………..…………………..……..……….…. 187 ตัวช้ีวดั ………………………………………………………………………………………………………..……………....… 187 ขอบข่ายเนอ้ื หา……………………………………………………………………………..….……………………………. 188 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้……………………………………………………………………...…….……....…. 189 สื่อและแหลง่ เรยี นรู้…………………………………………………………………………………………...……..…..… 192 การวดั และประเมนิ ผล………………………………………………………………...………………..…………...…… บรรณานุกรม…………………………………………………………………………….………..…………………..…………… ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………..…..………………… สารบญั (ตอ่ ) ก ใบความรู้………………………………………………………………………………………...................………….. หนา้ ข ใบงาน………………………………………………………….……………….……..……………………………….….. 193 ค เครื่องมือวดั ความกา้ วหน้า……………………………………………….………………………….…........…….. 232 ง เคร่อื งมือวัดผลรวม…………………………………………………………….…………………………....……..….. 247 จ ประกาศแต่งตั้งท่ีปรึกษาและผูร้ ่วมให้ขอ้ มลู พฒั นาหลกั สูตร…………..…..………….…..……….…… 265 ฉ คำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร……………………………………………………..………..…… 280 283 7 คำแนะนำในการใชหนังสือเรยี น กกกกกกกหนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ า สค33159 เกาะเกร็ดนาเรยี นรูค ูนนทบุรี ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี เปนสื่อการเรียนรูใหกับผูเรียนที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรรายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดนา เรยี นรูคนู นทบรุ ี ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ไดศึกษาเรียนรู รวมถึงผทู ี่สนใจศึกษาเกีย่ วกับเกาะเกร็ด โดยเฉพาะผูเรียนทั้งในสังกัดโรงเรียนในระบบ และนอกระบบไดศึกษาเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ เกี่ยวกับทองถิ่น สงผลตอเนื่องใหเกิดความรูสึกภาคภูมิใจในทองถิ่นของตนเอง อันเปนคุณลักษณะ อันพึงประสงคของมาตฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานคุณภาพผูเรียนใน ขอ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ผูเรียนเกดิ ความภาคภมู ิใจในทองถิ่น และความเปน ไทยบรรลไุ ด กกกกกกกในการศึกษาหนงั สือเลม นีใ้ หม ีประสิทธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล ผเู รียนควรศึกษาแนวทาง หรือคำแนะนำในการใชห นังสือเรยี นใหเ ขา ใจกอนดังน้ี กกกกกกก1. ใหผูเรียนศึกษาโครงสรางรายวิชา ประกอบดวย สรุปสาระสำคัญของแตละบท ผลการ เรียนรูที่คาดหวัง ขอบขายเนื้อหา และสื่อประกอบการเรียนของแตละบทใหชัดเจนเปนเบื้องตน กอนศกึ ษาเนอ้ื หารายละเอียดของแตละบทตอไป กกกกกกก2. การศึกษาเน้อื หารายละเอยี ดของแตล ะบท ผเู รียนตอ งศึกษา สาระสำคัญ ผลการเรียนรู ที่คาดหวัง ขอบขายเนื้อหาของบทนั้น ๆ ส่ือประกอบการเรียน และรายละเอียดของเนื้อหาใน แตละบท เปนเรื่อง ๆ ตามลำดับเรื่องที่มีอยูในบทนั้น ๆ ตอจากนั้นใหผูเรียนทำกิจกรรมทายบท เพอ่ื สรุปความรคู วามเขาใจที่ไดศึกษาในบทน้นั ๆ ในการทำกจิ กรรมทายบทมแี นวปฏิบัติท่ีผูเรียนควร ปฏบิ ตั ติ อ ไปนี้ 2.1 เมื่อทำกิจกรรมทายบทเสร็จสิ้นใหผูเรียนตรวจคำตอบที่ถูกตองไดจาก ภาคผนวก ก. เฉลยกิจกรรมทา ยบทของบทนน้ั 2.2 ในกรณีที่ตรวจกจิ กรรมทายบทแลวพบวา ตอบไดไ มถูกตอง ใหผูเรียนกลับไปอาน เนื้อหาของเรื่องนั้น ๆ ใหมอีกครั้ง แลวทดลองตอบกิจกรรมทายบทขอนั้น ๆ ใหมอีกครั้งหนึ่งเพ่ือ เสริมสรา งความรู ความเขา ใจที่ถูกตอ ง 2.3 ในกรณีที่ผูเรียนกลับไปอานเนื้อหาในเรื่องนั้น ๆ แลว ยังมีความรูสึกวา ตนเองยัง ไมมีความเขาใจชัดเจนในเนื้อหาดังกลาว ใหผูเรียนนำขอสงสัยสอบถามครูผูสอนหลักสูตร รายวิชา สค33159 เกาะเกร็ดนาเรียนรูคูนนทบุรี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ นำไปพูดคุย แลกเปลี่ยนเรยี นรูกับเพื่อนผูเ รียนที่ลงทะเบียนเรียนหลักสตู รน้ี หรือเพื่อนผูเรียนคนอื่น ๆ ที่มีความรู เกย่ี วกบั เร่อื งนี้กไ็ ด 3. หนงั สือเลมน้ี ประกอบดว ย 7 บท ดังนี้ บทท่ี 1 บรบิ ททัว่ ไปของเกาะเกร็ด บทที่ 2 วัดสำคัญในเกาะเกรด็ บทท่ี 3 แหลงทอ งเทย่ี วทีส่ ำคัญในเกาะเกรด็ บทที่ 4 ประเพณคี ูเกาะเกรด็ 8 นนทบรุ ี บทท่ี 5 วัฒนธรรมคูเกาะเกรด็ บทที่ 6 วิธีการทางประวัติศาสตรและภูมิศาสตร ในการศึกษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคู บทท่ี 7 การสืบสานและอนรุ กั ษป ระเพณีและวฒั นธรรมคเู กาะเกร็ด 9 โครงสรา งรายวิชา สรปุ สาระสำคัญ กกกกกกก1. บทที่ 1 บริบททัว่ ไปของเกาะเกร็ด 1.1 เกาะเกร็ดมีประวัติความเปนมา คือ เปนเกาะขนาดใหญกลางแมน้ำเจาพระยา ศูนยกลางวัฒนธรรมไทยรามัญอันมีช่ือตัวเกาะเกิดจากการขุดคลองลัดแมน้ำเจาพระยา สมัยสมเด็จ พระเจาอยูหัวทายสระแหงกรุงศรีอยุธยา เมื่อป พ.ศ. 2265 เรียกวา “คลองลัดเกร็ดนอย” ตอมา กระแสน้ำเปลี่ยนทิศทางไหลกัดเซาะริมตลิง่ ทำใหค ลองขยายกวางข้ึน แผนดินตรงแหลมจึงกลายเปน เกาะ ชาวมอญบนเกาะนี้เขามาอาศัยอยูในสมัยกรุงธนบรุ ีและรัชกาลที่ 2 สถานที่ทองเที่ยวสำคัญบน เกาะไดแก วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร พิพิธภัณฑเครื่องปนดินเผา (กวานอามาน) วัดเสาธงทอง วดั ไผล อม วัดฉมิ พลี ศูนยเคร่อื งปน ดินเผา ข่จี ักรยานชมวิถีชวี ติ รอบเกาะเกร็ด 1.2 ลักษณะภูมิศาสตรของเกาะเกร็ด คือ สภาพทางกายภาพ เกาะเกร็ดเปน เกาะขนาดใหญต้ังอยทู างทิศตะวันตกของอำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี มแี มน ้ำเจาพระยาโอบลอม ทางดา น ทิศเหนือ ทศิ ตะวันตกและทศิ ใต ทางทศิ ตะวันออกมคี ลองลัดเกร็ดโอบลอมไวอีกดา นหนึง่ 1.3 เกาะเกร็ดแบงการปกครองออกเปน 7 หมูบาน คือ หมูที่ 1 บานลัดเกร็ด หมูที่ 2 บานศาลากุลนอก หมูที่ 3 บานศาลากุลใน หมูที่ 4 บานคลองสระน้ำออย หมูที่ 5 บานทานำ้ หมูที่ 6 บา นเสาธงทอง และ หมทู ี่ 7 บา นโองอาง 1.4 จำนวนประชากรในเกาะเกร็ด คือ ปพ.ศ. 2561 ประชากรทั้งหมด 5,694 คน เปน ชายจำนวน 2,683 คน เปน หญงิ จำนวน 3,011 คน 1.5 อาชีพหลักในเกาะเกร็ด คือ อาชีพในเกาะเกร็ดที่สำคัญไดแก ชุมชน ชาวเกาะ เกร็ดเปนชุมชนเชื้อชาติมอญมีวิถีชีวิตความเปนอยูแบบเรียบงาย ในสมัยกอนมีการประกอบอาชีพ ชาวสวน ชาวไร และชาวนา ซึ่งวิถีชีวิตของชาวมอญนั้นจะมีความเปนอยูที่สอดคลองกับ ศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีที่เปนเอกลักษณของชาวชุมชนแหงนี้ที่สืบทอดกันมาตั้งแตอดีตถึงแมวิถี ชีวิตความเปนอยูในชีวิตปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปบางก็ตามโดยอาชีพที่มีชื่อเสียงโดงดงั ของเกาะ เกรด็ นนั้ คอื การทำเครื่องปนดนิ เผา กกกกกกก2. บทท่ี 2 วัดสำคัญในเกาะเกรด็ 2.1 วัดปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร 2.1.1 ประวัติความเปนมาของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร กอสรางเมื่อป พ.ศ. 2317 ชาวมอญที่อพยพมาในรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ไดบูรณปฏิสังขรณใหม คนมอญเรียกวา “เภี่ยมูเกี้ยเติ้ง” ในป พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่5) เสด็จพระราชดำเนินทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ไดแก วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร (วัดปากอา ว) วดั เกาะพระยาเจง (วดั รามัญ) วัดศรีรตั นาราม (วดั บางพัง) และวัดสนามเหนอื ตอ มาทรง เห็นวา วัดปากอาวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหปฏิสังขรณวัดใหมทั้งวัดโดยรักษา รูปแบบมอญไว เพื่อถวายเปนพระราชกุศลสนองพระคุณพระเจาบรมอัยยิกาเธอ กรมสมเด็จ 10 พระสุดารัตนราชประยูร ผูทรงอภิบาลพระองคมาแตทรงพระเยาว และไดพระราชทานนามวัดวา วัดปรมัยยิกาวาส ซ่ึงมคี วามหมายวา วัดของพระบรมอัยยกิ า 2.1.2 ความสำคัญของวัดปรมัยยิกาวาสวรวหิ าร คือ เปนสถานที่รวมจิตใจของคน ในชุมชน เปนที่รวบรวมคำสั่งสอนของพระพุทธเจาไวมากมาย นอกจากนี้ยังเปนศูนยรวมความเช่ือ เปนแหลงรวบรวม และสรางวัฒนธรรม เปนที่ประดิษฐานของ \"พระนนทมุนินท\" พระพุทธรูปประจำ จังหวัดนนทบรุ ีกกกกกกก 2.1.3 วัตถุ และสิ่งกอสรางที่สำคัญภายในวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร ไดแก พระเจดยี  มุเตา หรอื “เจดยี เอยี ง” พระศรีอริยเมตไตรย พระนอนวดั ปรมัยยิกาวาส พระพุทธไสยาสน พระนนทมุนนิ ท พพิ ธิ ภัณฑวดั ปรมัยยิกาวาสวรวิหาร และตน ไมส ามกษัตรยิ  2.1.4 หลักธรรมของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารที่สำคัญ คือ นำหลักศีล 5 มาใช เปนหลกั ในการดำเนินชีวติ 2.2 วดั ไผล อ ม 2.2.1 วัดไผลอม เปนวัดโบราณสรางมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา อาจจะเปนวัด เกาแกที่สุดวัดหนึ่งบนเกาะเกร็ด วัดมีสภาพทรุดโทรมมาก เพราะมีชาวบานไมมากประกอบกับวัดถกู ทิ้งรางมานาน ในป พ.ศ. 2527 พระปลัดวันชัย วายาโม เจาอาวาสวัดไผลอม ไดรวมกับประชาชน พัฒนาวดั จนมีสภาพดีเปนประโยชนต อการทอ งเที่ยวเกาะเกร็ด 2.2.2 วัดไผลอม มีความสำคัญ คือ เปนแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมมอญที สำคัญมีโบสถที่งดงามมาก และเปนแหลงรวบรวมศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานที่เกี่ยวกับ ประวัติศาสตรม ากมาย 2.2.3 วตั ถุ และส่งิ กอสรา งที่สำคญั ภายในวดั ไผลอ ม คอื พระอโุ บสถ เสมากำแพง แกว พระเจดียคูหนาพระอุโบสถ พระธาตุรามัญเจดีย หอระฆัง หอระฆังเกา ศาลาการเปรียญ ศาลา บำเพ็ญบุญ และทพี่ กั สงฆ หอสวดมนต หมูกฏุ ิของเดิม และพระอุปคุต 2.2.4 หลักธรรมที่สำคญั ของวดั ไผล อม คือ ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ศลี 5 2.3 วดั เสาธงทอง 2.3.1 ประวัติความเปน มาของวัดเสาธงทอง สรางเมื่อ พ.ศ. 2313 เดิมชอ่ื “วัดสวน หมาก”นอกจากเปนที่ตั้งโรงเรียนประถมแหงแรกของอำเภอปากเกร็ดแลว ดานหลังโบสถยัง ประดิษฐานเจดียที่สูงที่สุดของอำเภอปากเกร็ดดวย พระเจดียเปนศิลปะอยุธยายอมุมไมสิบสอง มีเจดียองคเล็กเปนบริวารโดยรอบอีก 2 ชั้น สวนดานขางโบสถมีเจดียองคใหญอีก 2 องค องคหนึ่ง เปนเจดียทรงระฆังหรือทรงลังกา อีกองคหนึ่งเปนเจดียทรงมะเฟองกลีบอวบ ซึ่งเปนองคสุดทายของ โลก ภายในโบสถ มีเพดานเขียนลายทองกรวยเชงิ งดงามมาก พระประธานเปนพระปางมารวิชัยปนู ปนขนาดใหญคนมอญเรียกวัดนี้วา “เพี๊ยะอาลาต” หนาโบสถมีเจดียขนาดยอม 2 องค รูปทรงคลาย มะเฟอ งฐานสเี่ หลี่ยมยอ มมุ ไมส บิ สองประดับลายปนู ปน มีตน ยางใหญอายปุ ระมาณ 200 ป 2.3.2 ความสำคัญของวัดเสาธงทอง คือ เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน เปนแหลงรวบรวมศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานที่สำคัญ และเปนที่ตั้งโรงเรียนประถมแหงแรกของ อำเภอปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี 11 2.3.3 วัตถุ และสิ่งกอ สรางที่สำคญั ภายในวดั เสาธงทอง ไดแก ศาลาบูรพาจารย พระประธานประดษิ ฐานบนฐานชกุ ชีสวยงาม เจดยี ทรงกลบี มะเฟอ ง เจดียยอ มุมไมส บิ สอง ทรงระฆังคว่ำ ตน ยางใหญ อายุ 200 ป พจ่ี ุก สองกมุ ารผมจกุ วดั เสาธงทอง และทา นำ้ วัดเสาธงทอง 2.3.4 หลักธรรมของวดั เสาธงทองทสี่ ำคญั ไตรสกิ ขา คือ ขอปฏิบตั ิในการฝก ฝน ตนเองใหออกจากความทุกขทั้งปวง เพอื่ ความหลุดพน เปน อิสระ กกกกกกก3. บทที่ 3 แหลงทอ งเที่ยวทีส่ ำคัญในเกาะเกรด็ 3.1 หมบู านโอทอปเพ่ือการทองเทีย่ ว 3.1.1 ประวัติหมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยว กอตั้งขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2539 ต้ังอยทู ีห่ มบู า นโอง อา ง หมทู ี่ 7 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกรด็ จังหวดั นนทบุรี เปนแหลง จำหนา ย สนิ คา งานฝม อื ของชุมชนชาวมอญในเกาะเกร็ดเปน การถาวร และสงเสรมิ การทองเท่ียวของเกาะเกร็ด กกกก 3.1.2 ที่ตั้ง แผนที่ และการเดินทางของหมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยวใช เสนทาง ระหวางหมูที่ 7 หรือวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร ไปตามทางเดินผาน หมูที่ 6 วัดไผลอม และ เดินไปตามทางจนถึง หมูที่ 6 วัดเสาธงทอง เปนชุมชนที่มีสินคาวางจำหนายทั้ง 2 ขางทางเดิน เปน แหลง ผลติ เครือ่ งปน ดนิ เผา 3.1.3 ความสำคัญของหมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยว คือ เปนแหลงผลิตและ จำหนายเครื่องปนดินเผาที่เปนเอกลักษณเฉพาะของเกาะเกร็ด เปนสินคาที่ระลึกจำหนายใหแก นักทองเที่ยว และเปนแหลงจำหนายขนมหันตราที่จัดเปนขนมมงคล ซึ่งเปนภูมิปญญาของชาวมอญ เกาะเกรด็ 3.1.4 กิจกรรมที่สำคัญของหมูบานโอทอปเพื่อการทองเที่ยว คือ การสาธิตและ ฝก ปน เคร่อื งปน ดนิ เผา เปน แหลงรวมสินคา ผลิตภัณฑข องฝากของท่ีระลึก และอาหารขนมหวาน 3.2 บานผาบาติก 3.2.1 ประวัติความเปนมาของบานผาบาติก คือ คุณลัดดา วันยาเล ซึ่งเปนชาว มสุ ลิม ไดส นใจสมคั รเรียนฝก อาชีพกับ กศน.อำเภอปากเกร็ด เม่อื ป พ.ศ. 2545 และนำมาถายทอดให คนในครอบครัวไดเรียนรู จนเกิดความชำนาญ และไดรวมสมาชิกจัดตั้งกลุมอาชีพศิลปะประดิษฐข้ึน เพื่อรองรับนักทองเที่ยว ปจจุบันไดกลายมาเปนแหลงทองเที่ยว และแหลงเรียนรูสำหรับพักผอน ทำ กิจกรรม ระบายสี ผาบาติก รวมไปถึงการเรียนรู เยี่ยมชมวิถีชีวิต วัฒนธรรม และประเพณีของคนใน ชุมชน งานฝมอื อยางผาบาติกน้นั มีขนั้ ตอนการทำรวมถึงอุปกรณจ ำนวนมาก ตอ งใชความอดทน และ ความพยายาม ทำใหหลายคนลม เลิกความต้งั ใจ หรือเลิกทำผาบาติกไป บานผาบาตกิ จงึ เปนตัวแทนท่ี รวมรกั ษา และสบื สานงานฝมอื ดี ๆ จากคนไทยใหค งอยูสืบไป 3.2.2 ที่ตั้ง แผนที่ และการเดินทางของบานผาบาติก ตั้งอยูท่ีบานเลขท่ี 3/1 หมู 3 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เดินทางได 4 วิธี คือ (1) ลองเรือ (2) ขี่จักรยานโดยรอบของเกาะเกร็ด (3) เดินชมธรรมชาติรอบ ๆ เกาะเกร็ด และ (4) นั่งรถจกั รยานยนตรบั จางไปตามเสนทางจักรยาน 3.2.3 ความสำคญั ของบานผาบาติก กลุมอาชพี ศลิ ปะประดิษฐช มุ ชนไทยมสุ ลิม 12 (โอทอป) หมทู ี่ 3 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี ปจ จบุ นั ไดกลายมาเปน แหลง ทอ งเท่ียว และแหลงการเรยี นรู สำหรบั พกั ผอ น ทำกจิ กรรมระบายสีผา บาติก รวมถึงการเรยี นรเู ยี่ยม ชมวถิ ชี ีวติ วฒั นธรรมประเพณขี องคนในชุมชน 3.3 โรงสสี ตดู โิ อ 3.3.1 ประวัติความเปนมาของโรงสีสตูดิโอ เดิมพื้นที่แหงนี้เปนที่ตั้งของโรงสีไทย อุดม โรงสีขาวพลังงานไอน้ำ ที่มีอายุกวา 100 ป ตั้งอยูบนพื้นที่กวา 5 ไร ซึ่งในปจจุบัน คุณลิขิต สินสถาพรพงศ และหุนสวนผูกอตั้ง ตั้งใจปรับปรุงซอมแซมพื้นที่แหงนี้ใหกลายเปนสถานที่พักผอน หยอนใจทามกลางธรรมชาติ แตยังคงอนุรักษบรรยากาศ และโครงสรางไมสักของโรงสีเอาไวโดย จัดสรรพื้นที่ออกเปนโซนตาง ๆ ไมวาจะเปนโฮมสเตย คาเฟ และรานอาหาร ตั้งติดอยูริมแมน้ำ เจาพระยา มีที่นั่งใหเลือกหลากหลายโซน ทั้งโซนดานในตัวโรงสี โซนหองแอร และโซนภายนอกริม แมน ้ำเจาพระยา 3.3.2 ที่ตั้ง แผนที่ และการเดินทาง เดินทางได 3 เสนทาง คือ (1) เดินตามถนน รอบ เกาะเกรด็ (2) การขี่จักรยาน หรอื การขบั ขจี่ กั รยานยนต ตามเสนทางถนนรอบเกาะเกร็ด และ (3) การเดินทางโดยเรอื หางยาวประจำทาง ซึ่งออกจากทาน้ำปากเกรด็ ไปปากคลองบางบัวทอง และ น่งั เรือขามฝากจากวัดปากคลองพระอุดม ซึ่งอยตู รงถนนฝงถนนชัยพฤกษ กก 3.3.3 ความสำคญั ของโรงสสี ตูดิโอ โรงสีไทยอุดม เดมิ เปนโรงสขี า วพลงั งานไอนำ้ ที่มีอายุกวา 100 ป ตั้งอยูบนพื้นที่กวา 5 ไร ซึ่งในปจจุบันปรับปรุงซอมแซม พื้นที่แหงนี้ใหกลายเปน สถานที่พักผอ นหยอนใจทา มกลางธรรมชาติ แตย ังคงอนรุ ักษบ รรยากาศ และโครงสรางไมสกั ของโรงสี เอาไว โดยจัดสรรพื้นที่ออกเปนโซนตาง ๆ ไมวาจะเปน โฮมสเตย คาเฟ และรานอาหาร ที่ตั้งอยูริม แมน้ำเจาพระยา แถมยังมีที่นั่งใหเลือกหลากหลายโซนไมวาจะเปนโซนดานในตัวโรงสี โซนหองแอร และโซนภายนอกริมแมน ้ำเจา พระยา 3.3.4 กิจกรรมที่สำคัญของโรงสีสตูดิโอมีหลากหลาย เปน พิพิธภัณฑ แหลง เรียนรูเกี่ยวกับการศึกษาเครื่องสีขาวระบบพลังงานไอน้ำ รานอาหาร เครื่องดื่ม เบเกอรรี่ และ โฮมสเตย 3.4 สวนเกร็ดพทุ ธ กกกกกกก 3.4.1 ประวัติความเปนมาของสวนเกร็ดพุทธ เปนสถานที่ทองเที่ยวพักผอน หยอนใจ จัดอบรมประชุมสัมมนา ศึกษาวัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย ปฏิบัติธรรมสงบจิตใจ แหลงรวบรวมศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปกรรม จิตรกรรม และหัตถกรรม การสาธติ การทำอาหารพื้นบาน เครื่องดืม่ สมุนไพร และศกึ ษาไมดอกนานาพนั ธุ 3.4.2 ที่ตั้ง แผนที่ และการเดินทางของสวนเกร็ดพุทธ เดินทางเริ่มจากแยก ปากเกรด็ ไปตามถนนภูมิเวทไปจนสุดถนน แลวขามเรือท่วี ัดกลางเกร็ด ไปขึน้ ที่ทาเรือปาฝาย หรือนั่ง เรือขามฝงไปที่วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร แลวเดินทางตอไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตรจนถึงสวนเกร็ด พทุ ธ 3.4.3 ความสำคัญของสวนเกร็ดพุทธ เปนสถานที่ทองเที่ยวพักผอนหยอนใจ จัดอบรมประชุมสัมมนา สถานที่ศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย สถานที่ปฏิบัติธรรมสงบจิตใจ 13 แหลงรวบรวมศลิ ปวฒั นธรรม วถิ ีชีวติ ภมู ปิ ญญาทอ งถิน่ ศลิ ปกรรม จิตรกรรม และหัตถกรรม อาหาร พนื้ บา นและเคร่ืองด่ืมสมุนไพร ชมไมดอกนานาพนั ธุ 3.4.4 กิจกรรมที่สำคัญของสวนเกรด็ พุทธ เปนสถานท่ที ีม่ พี น้ื ทกี่ วา งขวางภายใน สวนสรา งความผอนคลาย เชน การนั่งสมาธิ ดนตรใี นสวนเกร็ดธรรม และกิจกรรมศิลปะประดิษฐ เชน การตัดพวงมะโหด การทำขนม การปลูกตนไม และการสานตะกราจากเสนพลาสติก รวมทั้งการ เย่ยี มชมพิพิธภณั ฑศลิ ปะวฒั นธรรมชาวมอญ กกกกกกก4. บทท่ี 4 ประเพณคี เู กาะเกร็ด 4.1 ประเพณีแหน้ำหวาน เปนประเพณีที่ชาวบานไดรวมกันจัดขึ้น เปนการทำบุญดว ย การจัดขบวนแหน้ำหวานนำไปถวายพระสงฆ และสามเณรชาวไทยเชื้อสายมอญบนเกาะเกร็ด เปน การอนุรักษสบื สานประเพณขี องชนชาติมอญ 4.2 ประเพณีแหขาวแช เปนประเพณีสำคัญในเทศกาลสงกรานต ซึ่งคนไทยเชื้อสาย มอญที่เกาะเกร็ดจะจัดขาวแชถวายพระ และไหวบรรพบุรุษ และมอบญาติผูใหญที่เคารพนับถือ โดย ชาวมอญเรยี กวา “เปงฮงกราน” 4.3 ประเพณีแหธงตะขาบ มีความสำคัญ คือ เปนการสืบทอดประเพณีของชนชาติ มอญจนถึงการถายทอดสูคนไทยเชื้อสายมอญในเกาะเกร็ด ซึ่งจะจัดขึ้นในเทศกาลวันสงกรานตและ พธิ แี หหางหงส เพอื่ เฉลิมฉลองธงตะขาบ ถวายเปน พทุ ธบูชา ยังมอี ยูใ นปจจบุ นั นี้ 4.4 ประเพณีสงกรานต ไดแ ก เทศกาลสงกรานตของชาวไทยเช้ือสายมอญท่ีเกาะเกร็ด มีประเพณีตาง ๆ เชน แหสงกรานต แหน้ำหวาน แหขาวแช แหหางหงส เลนสะบามอญ เลน ทะแยมอญ รำเจา การปลอยนกปลอยปลา การทำบญุ กลางบาน สรงนำ้ พระ และเจดยี มอญ เปน ตน 4.5 ประเพณีเพลงเจาขาว มีความสำคัญ คือ เปนการรองเพลงเชิญชวนใหเจาของ บานที่อยูริมน้ำมาทำบุญกอนเทศกาลทอดกฐิน เมื่อเจาของบานทำบุญแลวจะรองเพลงใหพรแก เจาของบาน ประเพณีเพลงเจาขาว สืบทอดกันมายาวนานตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบันนี้ ชาวไทย เชอื้ สายมอญเกาะเกรด็ ยังอนรุ กั ษป ระเพณนี ไี้ วเ ปนอยางดี 4.6 ประเพณชี อนธูป จดั ขึน้ ในวนั ออกพรรษาของทุกป เปน ประเพณขี องชาวไทยมอญ เกาะเกร็ด เพื่อเปนการรำลึกถงึ วันที่พระสัมมาสัมพุทธเจาเสด็จกลบั จากการโปรดพระพุทธมารดาบท สวรรคชั้นดาวดึงสเทวโลก ซึ่งมีที่วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารเพียงแหง เดียว แตเดิมเนนถวายกันเฉพาะ ธูปเปน หลกั ตอ มาภายหลังไดถ วายดอกไม และเทยี นเพิม่ ขึน้ ชนรุนหลงั จึงเรียกวา ตักบาตรดอกไม กกกกกกก5. บทท่ี 5 วฒั นธรรมคเู กาะเกรด็ 5.1 ลักษณะการแตง กายของชาวมอญ 5.1.1 การแตงกายของเด็กผูหญิงชาวมอญ นุงผาถุง สวมเสื้อขาวแขนกระบอก เกลาผมมวยและคลองผาสไบสีสด ๆ ผูหญิงที่เปนโสดสวมเสื้อขางในคอกลมแขนกุด ตัวเสื้อสั้นแคเอว สวมทบั ดว ยเสือ้ แขนกระบอกผา ลูกไมเ นื้อบางสีออนหมสไบ เกลาผมมวย สวนผหู ญิงท่ีสมรสแลว แตง กายดวยเสื้อแขนสามสวนทรงกระบอก และผูหญิงสูงวัยแตงกายดวยการนุงผาถุง สวมเสื้อแขนยาว หรือแขนสามสว นทรงกระบอกผาหนา มวยผม ใชผา คลอ งคอ ชายของผาทง้ั สองหอ ยมาดา นหนา 5.1.2 การแตงกายของเด็กผูชายชาวมอญ นุงผายาว ใสเสื้อลอยชายคอกลมผา อกตลอด แขนยาวบาง สั้นบางตามโอกาส พาดผาขาวมาใหชายทั้งสองไปอยูดานหลัง ผูชายที่เปน 14 ผูใหญนุงผาโสรงสีพื้น หรือลายตาราง สวมเสื้อคอกลมผาอกตลอด มีกระดุมผา หรือเชือกผูกเขากัน แขนยาวทรงกระบอก และผูชายสูงวัยแตงกายดวยการนุงผาโสรงลาย หรือโสรงสีพื้น สวมเสื้อแขน ยาวทรงกระบอก มีกระดุมผา หรือเชือกผูกเขากัน ผาอกตลอด แขนยาวบางสั้นบางตามโอกาส พาดผาขาวมาพาดใหชายท้ังสองไปอยูด านหลงั 5.2 เครือ่ งใชในครัวเรอื นของชาวมอญ ไดแ ก (1) หมอ (2) จาน (3) ถว ย (4) แกวนำ้ (5) กระทะ (6) กาตม น้ำ (7) ครก (8) เตา (9) อา ง และ (10) โอง 5.3 อาหารของชาวมอญที่สำคัญ มี อาหารหวาน ไดแก (1) ขาวอีกา (2) ขาวเหนียว หัวหงอก และ(3) ขนมเทียนมอญ และอาหารคาว ไดแก (1) แกงสวางอารมณ (2) แกงสมกระเจี๊ยบ (3) แกงเลยี งหนอ กะลา (4) แกงคั่วมะตาด (5) แกงขาหมใู บมะดนั (6) แกงเผด็ กลวยดิบ (7) แกงบอน (8) ปลารา หลน (9) ปลาราทรงเครอ่ื ง (10) หม่ีกรอบ และ (11) พริกกะเกลอื 6. บทท่ี 6 วธิ ีการทางประวัติศาสตรและภูมิศาสตร ในการศึกษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคู นนทบรุ ี 6.1 วิธีการทางประวัติศาสตรในการศกึ ษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคูนนทบุรี มี 5 ขั้นตอน คือ (1) กำหนดประเด็นในการศึกษา (2) สืบคน และรวบรวมขอมูล (3) การวิเคราะห และตีความ ขอมูลทางประวัติศาสตร (4) การคัดเลือก และประเมินขอมูล และ (5) การเรียบเรียงรายงาน ขอ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ิศาสตร สำหรับการประยุกตใชขั้นตอนวิธีการศึกษาทางประวัติศาสตรในการศึกษาเกาะเกร็ด นาเรียนรูคูนนทบุรีใหครูผูสอนแนะนำผูเรียนในขั้นตอนการกำหนดประเด็นในการศึกษาแลวใหไป สืบคนและรวบรวมขอมูล โดยผูเรียนตองประยุกตใชการวิเคราะห และตีความขอมูลทาง ประวัติศาสตรกับขอมูลที่คนควาได ตอจากนั้นผูเรียนคัดเลือก และประเมินขอมูลนำมาเรียบเรียง รายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร สรุปการศึกษาคนควา และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรูดวย ตนเอง(กรต.) เพอื่ นำไปพบกลมุ ตามทนี่ ัดหมายไวก ับครูผูส อน กกกกก 6.2 วิธีการทางภูมิศาสตรในการศกึ ษาเกาะเกร็ดนา เรียนรูคูน นทบุรี มี 4 ขั้นตอน คือ (1) กำหนดวัตถุประสงคในการศึกษา (2) การเก็บรวบรวมขอมูลดวยการออกปฏิบัติภาคสนาม และ สัมภาษณ (3) นำขอมูลมาวิเคราะห และจัดหมวดหมู และ (4) สรุปนำเสนอขอมูล และเขียนรายงาย สำหรับการประยุกตใชขั้นตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตรในการศึกษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคูนนทบุรี ใหครูผูสอนแนะนำผูเรียนในขั้นตอนการกำหนดประเด็นศึกษาแลวใหไปศึกษาคนควาหาขอมูลโดย ผเู รยี นตอ งประยกุ ตใชดวยการกำหนดวตั ถุประสงคในการศกึ ษาประเด็นศึกษาที่กำหนด ตอจากน้ันให ไป ณ แหลงเรียนรูในชุมชนหรือแหลงเรียนรูที่ตองศึกษา สัมภาษณ เก็บรวบรวมขอมูลจากผูรู ภูมิปญญา หรือบุคคลที่เกี่ยวขอ ง รวบรวมขอมูลทีไ่ ดมาวิเคราะห และจัดหมวดหมู สรุปผลการศึกษา คนควา และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรูด วยตนเอง (กรต.) เพื่อนำไปพบกลุมตามที่นัดหมายไวกบั ครผู ูสอน กกกกกกก7. บทท่ี 7 การสืบสานและอนรุ ักษป ระเพณแี ละวฒั นธรรมคเู กาะเกร็ด 7.1 จัดทำแผนพบั เกยี่ วกับประเพณี และวัฒนธรรมที่พบในเกาะเกร็ด 7.1.1 แผนพับ หมายถึง สื่อโฆษณาที่เปนสิ่งพิมพประเภทไดเร็กเมล (Direct Mail) ที่ผูผลิตสงตรงถึงผูบรโิ ภค มีทั้งวิธีการสงทางไปรษณียและแจกตามสถานที่ตาง ๆ ลักษณะเดน 15 ของแผน พบั คือ มขี นาดเล็ก หยบิ งา ย ใหข อ มลู รายละเอียดไดม ากพอสมควร ผูอานสามารถเลือกเวลา ใดอานก็ไดผูออกแบบมีเทคนิคการออกแบบตามอิสระ หลากหลาย คาใชจายในการผลิตต่ำกวา สง่ิ พิมพชนิดอื่น นอกจากนีย้ ังเปน ส่อื ทีถ่ ึงเปาหมายไดอ ยางแทจ รงิ 7.1.2 องคป ระกอบของแผน พบั มี 4 องคประกอบ ไดแก (1) พาดหัว (2) ภาพประกอบ (3) ขอความ และ (4) ภาพสนิ คาและตราสัญลักษณ 7.1.3 ขั้นตอนการทำแผนพับดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร 2 ข้ันตอน คือ การตั้ง คา หนา กระดาษ และการพิมพขอความ 7.2. จัดทำคลปิ วดี ทิ ัศน (Video) เผยแพรป ระเพณี และวฒั นธรรมท่ีพบในเกาะเกร็ด 7.2.1 คลิปวีดิทัศน (Video) หมายถึง ไฟลคอมพิวเตอรที่บรรจุเนื้อหาเปน ภาพยนตรสั้น มักจะตัดตอนมาจากภาพยนตรท ั้งเรื่อง ซึ่งมีขนาดความยาวปกติ คลิปมักจะเปน สวนที่ สำคัญหรือตองการนำมาแสดง มีความขบขัน หรืออาจเปนเรื่องความลับที่ตองการนำมาเผยแพร จากตนฉบับเดิม แหลงของวิดิโอคลิป ไดแก ขาว ขาวกีฬา มิวสิกวีดิโอ รายการโทรทัศน หรือ ภาพยนตร ปจจุบัน มีการใชคลิปวีดิทัศน (Video) แพรหลาย เนื่องจากไฟลคลิปนี้มีขนาดเล็ก สามารถสงผานอีเมล หรือดาวนโหลดจากเว็บไซตไดสะดวกในประเทศตะวันตก เรียกการแพรหลาย ของคลปิ วดี ทิ ัศน (Video) นี้วาวฒั นธรรมคลปิ (Clip Culture) 7.2.2 องคป ระกอบของคลปิ วดี ิทศั น (Video) มี 5 องคป ระกอบ ไดแก (1) ขอความหรือตวั อกั ษร (Text) (2) ภาพนิง่ (Still Image) (3) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) (4) เสียง (Sound) และ (5) ภาพวดิ โี อ (Video) 7.2.3 ขน้ั ตอนการทำคลปิ วดี ทิ ัศน (Video) ดว ย Smart Phone มี 2 ระบบ คือ (1) ระบบปฏบิ ตั ิการ Android และ (2) ระบบปฏิบัติการ IOS ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั 1. บอกและอธิบายบริบททั่วไปของเกาะเกร็ด วัดสำคัญในเกาะเกร็ด แหลงทองเที่ยวท่ี สำคัญในเกาะเกร็ด ประเพณีคูเกาะเกร็ด วัฒนธรรมคูเกาะเกร็ด วิธีการทางประวัติศาสตรและ ภูมิศาสตร ในการศึกษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคูนนทบุรี และการสืบสานและอนุรักษประเพณีและ วัฒนธรรมคูเกาะเกรด็ ได 2. นำความรู ความเขา ใจที่ไดศกึ ษาเกาะเกร็ดนา เรียนรูค ูนนทบรุ ี มาทำกิจกรรมทา ยบทได 3. ตระหนักถึงความสำคญั เหน็ คณุ คาของการศึกษาเกาะเกรด็ นา เรียนรูคนู นทบุรี ขอบขายเนอื้ หา กกกกกกกหนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ า สค33159 เกาะเกร็ดนา เรียนรคู ูน นทบุรี ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มเี นื้อหาจำนวน 7 บท ดงั น้ี กกกกกกกบทที่ 1 บรบิ ททวั่ ไปของเกาะเกร็ด บทที่ 2 วัดสำคัญในเกาะเกรด็ บทท่ี 3 แหลงทองเทีย่ วที่สำคัญในเกาะเกร็ด 16 บทที่ 4 ประเพณคี ูเ กาะเกร็ด บทท่ี 5 วฒั นธรรมคูเ กาะเกรด็ บทท่ี 6 วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรและภูมิศาสตร ในการศึกษาเกาะเกรด็ นา เรียนรูคนู นทบรุ ี บทท่ี 7 การสบื สานและอนรุ กั ษประเพณีและวัฒนธรรมคูเกาะเกร็ด สื่อประกอบการเรียน กกกกกกก1. บทท่ี 1 บรบิ ททว่ั ไปของเกาะเกร็ด 1.1 ชอื่ หนงั สอื ภมู ินามอำเภอปากเกร็ด พิศาล บุญผกู วรนุช สุนทรวินติ ปท ี่พิมพ 2553, ช่ือโรงพมิ พ สำนกั งานสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช 1.2 ชอื่ หนังสือ ทอ งถนิ่ ปากเกร็ด พิศาล บญุ ผูก วรนุช สุนทรวินติ ปทพ่ี มิ พ 2553, ชื่อ โรงพมิ พ สำนักงานสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช 1.3 ช่อื หนงั สือ นนทบรุ ี สำนักงานการทองเท่ยี วและการกฬี าจังหวัดนนทบรุ ี และ สำนักงานจังหวัดนนทบุรี ปท ี่พิมพ 2555, ชอื่ โรงพิมพ บริษัท ลโี อ แลนเชท็ จำกดั 1.4 ชือ่ หนงั สือ นนทบุรี รัตนา ศริ พิ ูล ปท ี่พมิ พ 2543 ช่ือโรงพมิ พ องคการดานครุ ุสภา บริษทั เลฟิ แอนดล ิพเพรส จำกัด กรงุ เทพ ฯ 1.5 ชอ่ื หนงั สือ นนทบุรี สำนกั งานการทอ งเทยี่ วและการกฬี าจังหวัดนนทบรุ ี และ สำนกั งานจังหวดั นนทบรุ ี ปท ่ีพมิ พ 2555 ช่อื โรงพมิ พ บรษิ ัท ลีโอ แลนเช็ท จำกัด 1.6 ชอ่ื บทความ เรื่องประวัติตำบลเกาะเกรด็ องคการบริหารสว นตำบลเกาะเกรด็ สบื คนจาก www.khokred-sao.go.th 2. บทท่ี 2 วัดสำคัญในเกาะเกรด็ 2.1 ชอื่ หนงั สอื นนทบรุ ี 2556 ช่อื ผแู ตง สำนกั งานการทอ งเท่ยี วและกฬี าจังหวัด นนทบุรี และสำนกั งานจังหวัดนนทบรุ ี ปทพี่ ิมพ 2555 ช่ือโรงพมิ พ บริษัท ลโี อ แลนเช็ท กกกกกกก 2.2 ชื่อหนังสอื นนทบรุ ี ชือ่ ผแู ตง รัตนา ศริ พิ ลู ปที่พมิ พ 2543 ชือ่ โรงพมิ พ องคก าร คา ของครุ สุ ภา บรษิ ทั เลิฟแอนดลิพเพรส จำกัด กรงุ เทพฯ 2.3 ชื่อบทความ วดั ปรมัยยิกาวาส. [ออนไลน] . ช่ือผเู ขียน กระทรวงการทอ งเทยี่ ว และกีฬา. (2562) สืบคนจาก https://www.thailandtourismdirectory.go.th/th/info/ attraction/detail/itemid/3474 กกกกกกก 2.4 ชื่อบทความ วดั ไผลอ ม. [ออนไลน] . ช่ือผเู ขียน Painaidii. (2562). สืบคนจาก http://www.kohkred-sao.go.th/index.php?option=com_content&view =article&id= 54:2010-06-04-07-58-11&catid=39:2010-06-01-08-35-59&Itemid=53 กกกกกกก2. 2.5 ช่อื บทความ วดั เสาธงทอง. [ออนไลน]. ช่อื ผเู ขียน Touronthai. (2562). สบื คน จาก https://www.touronthai.com/article/1862 กกกกกกก 2.6 พระสุเมธมนุ ี จา อาวาสวัดปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร ทอี่ ยู หมูท ่ี 1 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-5845120 17 กกกกกกก 2.7 พระครปู ลดั ทิน สุนทโร เจาอาวาสวดั ไผล อม ทีอ่ ยู หมูท่ี 6 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 02-5845076 กกกกกกก 2.8 พระสมุหสมศักดิ์ ฐานุตตโร เจาอาวาสวัดเสาธงทอง ท่ีอยู หมทู ี่ 6ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท 089-0036182 กกกกกกก3. บทท่ี 3 แหลงทองเทยี่ วที่สำคญั ในเกาะเกร็ด 3.1 ชอ่ื หนังสือ ทองถน่ิ ปากเกร็ด. (ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 1) โครงการเผยแพรผลงาน บรกิ ารวิชาการแกสงั คม สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, ปทีพ่ ิมพ พ.ศ.2553.นนทบรุ ี : ช่ือโรงพิมพ บริษทั อมั รินทรพร้ินติง้ แอนดพ ับลิซซ่งิ จำกัด (มหาชน) 3.2 ชอ่ื หนังสือ สายนำ้ มิอาจกัน้ ฉัน กบั เกาะเกร็ด นายสญั จรตะลอนทัวร : ม.ป.ป., ช่ือโรงพิมพ สำนักพิมพย อดมาลา 3.3 http://www.kohkredsao.go.th/index.php?option=com _content&view =article&id=49&Itemid=56 3.4 https://www. facebook. com/ otopvillagethailand/ 3.5 https://th-th.facebook.com/RongsiStudio/ 3.6 หมบู า นโอทอปเพ่ือการทองเท่ยี ว ตั้งอยูที่ บา นโองอาง หมูท่ี 7 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี 3.7 บานผา บาตกิ ตั้งอยูท่ี 53/1 หมูท่ี 3 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกรด็ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 02-9608204 3.8 โรงสสี ตดู โิ อ ตั้งอยูที่ 68 หมทู ี่ 5 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท 0-2082-8865 09-4159-6664 3.9 สวนเกร็ดพทุ ธ ตัง้ อยูที่ 59/4 หมูท่ี 2 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท 0-2583-1076 08-1438-4792 4. บทที่ 4 ประเพณคี เู กาะเกร็ด 4.1 ช่อื หนังสอื ทองเท่ียวนนทบุรี 2556 ช่ือผูแตง สำนักงานจังหวัดนนทบุรี ปที่พิมพ พ.ศ. 2555 ชอื่ โรงพิมพ บรษิ ทั ลีโอ แลนเซท็ จำกัด 4.2 ช่อื หนังสอื ภูมินามอำเภอปากเกรด็ ชอื่ ผูแตง กลุมพัฒนาเนอื้ หาสารสนเทศ ทอ งถ่ินนนทบรุ ศี ึกษา ปท ี่พิมพ พ.ศ. 2553 ช่ือโรงพิมพ บริษทั อมรนิ ทรพร้นิ ต้ิงแอนดพัยลชิ ชง่ิ จำกดั (มหาชน) 4.3 ช่ือบทความ ประเพณีและเทศกาลงานประเพณีสงกราณของชาวมอญช่ือผเู ขยี น สำนกั งานจงั หวัดนนทบรุ ีกลุมงานขอ มูลสารสนเทศและการส่ือสารสืบคน จาก http://travelnontha buri.com/?page_id=218 4.4 ช่อื บทความ ขนมธรรมเนยี ม ประเพณีวฒั นธรรม อารยธรรม ประเพณีในเกาะ เกรด็ ช่อื ผเู ขยี น องคการบริหารสวนตำบลเกาะเกร็ด สบื คน จาก สืบคน จาก http://kohkred- sao.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=48<emid=55 4.5 ช่ือ นางอด๊ี อว มเลิศ ที่อยู 33/4 หมูที่ 6 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอเกาะเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี โทรศพั ท 081-6654061 18 4.6 วดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร ต้ังอยทู ่ี หมทู ่ี 1 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกร็ด จังหวดั นนทบุรี หมายโทรศัพท 0-2584-5120 4.7 วดั ไผล อม ต้งั อยูท่ี หมูท ี่ 6 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท 0-2584-5076 กกกกกกก5. บทท่ี 5 วฒั นธรรมคเู กาะเกรด็ 5.1 ชื่อหนังสือ เกาะเกร็ด แหลงวัฒนธรรมเกาแกที่ยังมีชีวิต ทรงคุณคาหลากหลาย เรยี บงายและงดงาม ชอ่ื ผแู ตง นายเอด็ ภริ มย ปที่พิมพ ม.ป.ป. ชือ่ โรงเรยี นพมิ พ ม.ป.ท. 5.2 ชอ่ื หนงั สอื เคร่ืองปน ดินเผานนทบุรี ชื่อผแู ตง พิศาล บญุ ผกู ปที่พิมพ 2550 ชอื่ โรงพมิ พ อมั รินทร พร้ินต้ิงแอนดพับลซิ ซ่ิง จำกัด (มหาชน) 5.3 บทความสำหรับอาหารมอญเกาะเกรด็ จงั หวดั นนทบุรี ชอ่ื ผเู ขยี น ศรุตา นติ วิ รการ สืบคนจาก www.culturalapproach.siam.edu/ images/magazine/w15ch28/39-58.pdf 5.4 นางมะลิ วงคจำนง ทอ่ี ยู 78 หมู 1 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี โทรศัพท 0-2583-4134 โทรศัพทม ือถือ 08-3852-8901 5.5 นางจำปา อนฉมิ ท่ีอยู 9/1 หมู 6 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จงั หวัดนนทบุรี โทรศัพท 08-7699-0117 5.6 นางอรุณศรี ฤทธเิ ดช ทอ่ี ยู 15/1 หมู 6 ตำบลเกาะเกรด็ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบรุ ี โทรศพั ท 0-2584-5121 5.7 วัดปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร ตั้งอยูท่ี หมูท ่ี 1 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โทรศพั ท 0-2584-5120 กกกกกกก6. บทท่ี 6 วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรและภูมิศาสตร ในการศกึ ษาเกาะเกร็ดนาเรียนรูคู นนทบุรี 6.1 ช่ือหนงั สอื การสรา งองคค วามรูใหมท างประวตั ิศาสตรไ ทย ช่ือผแู ตง ปราริชาติ นว มอินทร ปท ี่พิมพ ม.ป.ป. ชอื่ โรงพมิ พ ม.ป.ท. 6.2 ช่อื หนังสือ การเรียนรูเรือ่ งภูมิศาสตร Geo-literacy Learning for our planet ชื่อผูแ ตง กนก จนั ทรา ปท ี่พิมพ 2561 ช่ือโรงพมิ พ สำนกั พิมพ แหงจุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั 6.3 ชือ่ บทความ เรื่องวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร ช่อื ผูแตง ครวู รรณา ไชยศรี สืบคน จาก https://wanna500.wordpress.com/2013/01/16/วิธีการทางประวติ ิศาสตร/ 7. บทที่ 7 การสืบสานและอนรุ ักษป ระเพณแี ละวัฒนธรรมคูเ กาะเกร็ด 7.1 ชื่อบทความเทคนิควิธีการถายวีดีโอบน iPhone ยังไง ใหสวยงามอยางมืออาชีพ ชื่อผูเขียน ทีมงาน MacThai สืบคนจาก https://www.macthai.com/2016/07/17/shot-pro- video-using-iphone/ 7.2 ชื่อบทความ ความหมายการสรางคลิปวิดีโอ/เรียนรูกับครูบี ชื่อผูเขียน Krubee_computer สบื คน จาก https://krubeenan.wordpress.com/ 7.3 ช่ือบทความ รปู แบบของส่อื Mobile Content ประเภทวดี ิโอคลปิ (Video clip) ชอ่ื ผเู ขยี น นายอมรเทพ เทพวิชิต สบื คน จาก https://ceit.sut.ac.th/km/wp-content/uploads /2013/04/mobilecontent_vdoclip.pdf 19 7.4 ชอื่ บทความ การออกแบบแผน พับ หรือ Brochure ท่ีดี ชือ่ ผูเขยี น ครเู ชยี งราย เวบ็ ไซด เพื่อการศึกษา สืบคน จาก https://www.kruchiangrai.net/2018/10/10/ 21 บทที่ 1 บริบททัว่ ไปของเกาะเกรด็ สาระสาคญั กกกกกกก1. เกาะเกรด็ เป็นเกาะขนาดใหญ่อยู่กลางแมน่ ้าเจ้าพระยา ศูนยก์ ลางวัฒนธรรมไทยรามัญ ชอื่ เกาะเกิดจากการขุดคลองลดั แม่น้าเจ้าพระยา สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทา้ ยสระแห่งกรุงศรีอยุธยา เม่ือปี พ.ศ. 2265 คลองลัดดังกล่าวเรียกว่า “คลองลัดเกร็ดหรือคลองเกร็ดน้อย” ต่อมากระแสน้า เปลี่ยนทิศทางไหลกดั เซาะริมตลิ่ง ท้าใหค้ ลองขยายกวา้ งขนึ แผ่นดินตรงแหลมจึงกลายเปน็ เกาะกลาง แมน่ ้า ชาวมอญบนเกาะนีเขา้ มาอาศัยอยู่ในสมยั กรุงธนบุรี และสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) สถานที่ท่องเท่ียวส้าคัญบนเกาะ ได้แก่ วัดปรมัยยิกาวาส วรวิหาร พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา (กวานอาม่าน) วัดเสาธงทอง วัดไผ่ล้อม วัดฉิมพลีสุทธาวาส ศูนย์เครอื่ งปน้ั ดินเผาพืนบา้ น และขีจ่ กั รยานชมวิถชี วี ิตรอบเกาะเกร็ด กกกกกกก2. ลักษณะภูมิศาสตรข์ องเกาะเกร็ด สภาพทางกายภาพ เป็นเกาะขนาดใหญ่ตังอยู่ทางทิศ ตะวันตกของอ้าเภอปากเกรด็ จังหวดั นนทบุรี มีแม่นา้ เจ้าพระยาโอบล้อมทางด้านทิศเหนือ ทิศตะวันตก และทิศใต้ ทางทศิ ตะวันออกมีคลองลัดเกร็ดโอบล้อมไว้อีกด้านหนึ่ง กกกกกกก3. เกาะเกร็ดแบ่งการปกครองออกเปน็ 7 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ หมทู่ ่ี 1 บ้านลดั เกรด็ หมูท่ ่ี 2 บ้านศาลากุลนอก หมู่ที่ 3 บ้านศาลากุลใน หมู่ท่ี 4 บ้านคลองสระน้าอ้อย หมู่ที่ 5 บ้านท่าน้า หมู่ที่ 6 บา้ นเสาธงทอง และ หมทู่ ่ี 7 บ้านโอ่งอา่ ง กกกกกกก4. เกาะเกร็ดมีจ้านวนประชากรทังสิน 5,694 คน (ส้ารวจปี พ.ศ. 2561) เป็นชายจ้านวน 2,683 คน เปน็ หญงิ จา้ นวน 3,011 คน กกกกกกก5. อาชีพของประชาชนในเกาะเกร็ดที่ส้าคัญมีหลากหลาย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ ท้าสวน เช่น สวนทุเรียน สวนกล้วย เป็นต้น อาชีพหัตถกรรม ได้แก่ เครื่องปั้นดินเผา อาชีพบริการ ได้แก่ โฮมสเตย์ อาชีพค้าขาย ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร การท้า ขนมหวาน และอาชพี รบั ราชการ ไดแ้ ก่ องค์การบริหารส่วนตา้ บล ครู กา้ นนั ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวงั กกกกกกก1. บอกประวตั คิ วามเป็นมา การปกครอง และจา้ นวนประชากรในเกาะเกร็ดได้ กกกกกกก2. สามารถจัดทา้ แผนผังการเดินทางภายในเกาะเกร็ดได้ กกกกกกก3. ระบุอาชีพทีส่ ้าคัญในเกาะเกร็ดได้ ขอบข่ายเนอ้ื หา เร่อื งที่ 1 ประวัติความเป็นมาของเกาะเกรด็ เรอื่ งที่ 2 ภมู ิศาสตร์ของเกาะเกรด็ เรอ่ื งที่ 3 การปกครองในเกาะเกร็ด 22 เรื่องท่ี 4 ประชากรในเกาะเกร็ด เรื่องท่ี 5 อาชพี ในเกาะเกรด็ ส่ือประกอบการเรยี น กกกกกกก1. ชอ่ื หนังสอื ภมู ินามอา้ เภอปากเกร็ด พิศาล บุญผกู วรนุช สนุ ทรวินิต ปที ีพ่ ิมพ์ 2553, ชื่อโรงพิมพ์ สา้ นักงานสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช กกกกกกก2. ชอื่ หนังสือ ท้องถิน่ ปากเกรด็ พิศาล บญุ ผกู วรนชุ สุนทรวนิ ิต ปีทพ่ี มิ พ์ 2553, ชื่อ โรงพมิ พ์ สา้ นกั งานสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช กกกกกกก3. ช่ือหนงั สอื นนทบุรี สา้ นกั งานการทอ่ งเที่ยวและการกฬี าจังหวดั นนทบรุ ี และสา้ นักงาน จังหวดั นนทบรุ ี ปที ี่พมิ พ์ 2555, ชื่อโรงพมิ พ์ บริษัท ลีโอ แลนเชท็ จ้ากัด กกกกกกก4. ชอ่ื หนงั สอื นนทบุรี รัตนา ศริ พิ ูล ปที ี่พมิ พ์ 2543 ชอื่ โรงพิมพ์ องค์การด้านคุรุสภา บริษัทเลิฟแอนดล์ ิพเพรส จา้ กดั กรงุ เทพ ฯ กกกกกกก5. ชือ่ หนังสือ นนทบรุ ี สา้ นักงานการท่องเท่ยี วและการกีฬาจงั หวดั นนทบรุ ี และสา้ นกั งาน จงั หวดั นนทบรุ ี ปที ี่พมิ พ์ 2555 ชื่อโรงพิมพ์ บริษทั ลโี อ แลนเชท็ จ้ากดั 6. ช่ือบทความ เรื่องประวัติตา้ บลเกาะเกร็ด องค์การบริหารสว่ นต้าบลเกาะเกร็ด สบื คน้ จาก www.khokred-sao.go.th 23 เรอ่ื งท่ี 1 บริบททั่วไปเกาะเกร็ด กกกกกกก1. ประวัติความเป็นมาของเกาะเกร็ด กกกก กกกกกกกเกาะเกร็ดมีประวัติความเป็นมา คือ เป็นย่านชุมชนท่ีมีความเจริญมาตังแต่สมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย เป็นทังชุมชนค้าขาย และเป็นที่ตังด่านตรวจเรือต่าง ๆ ที่จะเดินทางผ่านไปมายัง อยธุ ยา รวมถึงวัดวาอารามต่าง ๆ บนเกาะเกร็ดล้วนมีความสวยงาม เป็นศิลปะสถาปัตยกรรมในสมัย อยุธยาทังสนิ หลงั จากกอบกู้เอกราชได้ พระเจา้ ตากสินมหาราช จึงโปรดให้ชาวมอญเข้ามาตังถ่นิ ฐาน ที่บริเวณเกาะเกร็ดแห่งนีอีกครัง แต่เดิมนันเกาะเกร็ดไม่ได้เป็นเกาะ ส่วนของแผ่นดินเป็นรูปโค้ง ลักษณะเป็นแหลมย่ืนออกไปตามความโค้งของแม่น้าเจ้าพระยา มีชื่อมาแต่ก่อนว่า “บ้านแหลม” ต่อมาได้มีการขุดลอกคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยาขึนในส่วนที่แหลม ในเวลาต่อมากระแสน้าเปลี่ยน ทิศทางแรงขึนและกัดเซาะตล่ิง จึงท้าให้คลองขยาย แผ่นดินตรงแหลมจึงกลายเป็นเกาะ และมีชื่อ เรียกว่า “เกาะศาลากุล” กกกกกกกในสมัยอยุธยา มีเรือสินค้าทังในและต่างประเทศผ่านเข้ามาตามล้าน้าเจ้าพระยา เพื่อจะ ไปยังอยุธยา เม่ือถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ (พ.ศ. 2251 - 2275) จึงพิจารณาเห็นถึง ความจ้าเป็นท่ีจะต้องขุดคลองลัดตามล้าน้าเจ้าพระยาเพิ่มเติม เพื่อลดระยะทาง และระยะเวลาใน การคมนาคมขนส่งทางน้า รวมถึงเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจของกรุงศรีอยุธยาในสมัยนันทรงมี พระราชด้ารัสให้ขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยาช่วงเกาะเกร็ดขึนบริเวณท่ีมีแม่น้าเจ้าพระยาไหลโค้ง อ้อมไปทางทิศตะวันตก แล้วไหลวกกลับมาทางทิศตะวันออก ในปี พ.ศ. 2265 ดังปรากฏในพระราช 24 พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาตอนหน่ึงว่า “ในปีขาล จัตวาศกนัน ทรงพระกรุณาโปรดให้ พระธนบุรีเป็นแมก่ องเกณฑไ์ พร่พล คนหัวเมอื งปากใต้ใหไ้ ดค้ นหมื่นเศษ ใหข้ ุดคลองเกรด็ น้อยลัดค้งุ บางบัวทองนันอ้อมนัก ขุดลัดให้ตรง” พระธนบุรีรับสั่งแล้วถวายบังคมลามาให้เกณฑ์คนไพร่พล ในบรรดาหัวเมืองปากใต้ได้คนหมื่นเศษ ให้ขุดคลองเกร็ดน้อยนันลึก 6 ศอก กว้าง 6 วา ทางไกล ได้ 29 เส้นเศษ ขุดเดือนเศษจึงแล้วเสร็จ พระธนบุรีนันจึงกลับมากราบทูลพระกรุณาให้ทราบทุก ประการ เมื่อท้าการขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยาได้แล้ว ท้าให้เกิดการเดินเรือลัดไดเ้ ร็วขึน เรียกคลอง ในสมัยนันว่า “คลองลัดเกร็ดน้อย” ต่อมานิยมเรียกว่า “คลองลัดเกร็ด” ต้นคลองหรือปากคลอง เรียกว่าปากเกร็ด ต่อมาคลองลัดเกร็ดได้ถูกความแรงของกระแสน้าเซาะตลิ่งพัง จนกว้างมากขึน เรื่อยๆ กลายเป็นแมน่ า้ ที่ดินบรเิ วณทเ่ี ป็นแหลมย่ืนออกไปจงึ มลี กั ษณะเปน็ เกาะ เรียกกนั วา่ “เกาะเกร็ด” กกกกกกกในสมัยโบราณ เกาะเกร็ดเป็นเกาะที่มีขนาดเล็กเรียกว่า “เกร็ดน้อย” (ท่ีเชียงราก จังหวัด ปทุมธานี เรียกว่า เกร็ดใหญ่ เพราะมีการขุดคลองลัดแล้วกลายเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่กว่าเกาะเกร็ด) อาจเป็นไปได้ว่าคนสมัยโบราณนิยมเรยี กเกาะที่เกิดจากการกระท้าของมนษุ ย์ว่า “เกรด็ ” ต่อมาเม่ือมี การยกฐานะปากเกร็ดเป็นช่ือของต้าบล และชื่อของอ้าเภอ เกาะเกร็ดก็ได้ยกฐานะเป็นต้าบล เกาะเกรด็ จนถึงปจั จบุ นั ในสมยั สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตรงกับ พ.ศ. 2317 ไดโ้ ปรดเกลา้ โปรด กระหม่อมให้ข้าหลวงไปรบั ครอบครวั มอญมาตังบ้านเรือนอยู่ในท้องที่ปากเกร็ด (รวมทังในเกาะเกร็ด) และ สามโคก จังหวัดปทุมธานี เนื่องจากมอญแพ้สงครามกับพม่า จึงอพยพครอบครัวมาพ่ึงพระบรม โพธิสมภารสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกพืนท่ีช่วงเกาะเกร็ด และปากเกร็ดเป็นสถานท่ี ประกอบพระราชพิธีอัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบาง ที่สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกอัญเชิญ มาจากเวียงจันทน์ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้า กรมขุนอินทรพิทักษ์ เสด็จล่วงหน้าขึนไปในวันแรม 4 ค้่า เดือน 3 ครันถึงวันขึน 4 ค่้า เดือน 4 จึงเสด็จไปรับพระต้าหนักบางธรณีด้วยพระองค์เอง ส้าหรับพระราชพิธีอัญเชิญพระแก้วมรกตและ พระบางครังนี นับเป็นพระราชพิธีอันย่ิงใหญ่ท่ีใช้บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยาในท้องที่ปากเกร็ด และเกาะเกร็ด โดยมีการจดั กระบวนเรือเสด็จพระราชดา้ เนินทางชลมารค และกระบวนเรอื อญั เชิญ พระแก้วมรกตและพระบางท่ยี ง่ิ ใหญ่ กกกกกกกต่อมาในปี พ.ศ. 2338 ตรงกับสมัยรัชกาลท่ี 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าให้เจ้าฟ้ามงกุฎ (รัชกาลท่ี 4) ไปรับครอบครัวมอญ ซึ่งหนีภัยสงคราม มาจากพม่า มาอาศัยอยู่ที่ด่านเจดีย์สามองค์ เมืองกาญจนบุรี และได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระยาอภัยภูธรสมุหนายก ไปรับครอบครัวมอญเหล่านันมาอยู่ที่เมืองนนทบุรีบ้าง ปทุมธานีบ้าง เมืองเข่ือนขันธ์ (พระประแดง) บ้าง จึงมีชาวมอญอาศัยอยู่ในเกาะเกร็ด และหลายท้องที่ หลายต้าบล ในอา้ เภอปากเกรด็ เนื่องจากมกี ารอพยพเข้ามาถึง 2 ครงั คือ ใน ปี พ.ศ. 2317 และ ปี พ.ศ. 2358 กกกกกกกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มักจะเสด็จพระราชด้าเนิน แปรพระราชฐานไปยังพระราชวังบางปะอินเสมอ กล่าวกันว่าทรงแวะพักเรือพระท่ีนั่งตามวัดต่าง ๆ บริเวณปากเกร็ด และเกาะเกร็ดนีทุกวัด และพระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดให้ บูรณปฏิสังขรณ์วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร (วัดปากอ่าว) เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลร่วมกับพระเจ้า บรมอัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร และพระบรมวงศานุวงศ์ผู้ใหญ่ ท่ีทรงเลียงดู สมเด็จพระเทพศิรินทร พระบรมราชชนนี และพระองค์มาตังแต่ครันทรงพ ระเยาว์ ในสมัย 25 เปล่ียนแปลงการปกครอง ช่วงหลังจาก พ.ศ. 2475 และช่วงหลังสงครามโลก ครังที่ 2 หมู่บ้านในต้าบล ย่านเกาะเกร็ด และปากเกร็ด ริมแม่น้าเจ้าพระยา กลายเป็นแหล่งหลบซ่อนตัวเพ่ือเตรียมรับสภาวะ วิกฤตในกรุงเทพฯ มีนักการเมือง และข้าราชการชันผู้ใหญ่หลายท่านได้มาสร้างบ้านส้ารองไว้ยาม ฉุกเฉนิ ซึ่งตอ่ มาทางราชการได้เข้ายดึ บ้านดงั กล่าว กกกกก2. กล่าวโดยสรุป เกาะเกร็ดเป็นเกาะขนาดใหญ่อยู่กลางแม่น้าเจ้าพระยา ศูนย์กลาง วัฒนธรรมไทยรามัญ ตัวเกาะเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยา สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ท้ายสระแห่งกรุงศรีอยธุ ยา เม่อื ปี พ.ศ. 2265 คลองลดั ดังกล่าวเรยี กวา่ “คลองลัดเกร็ดหรอื คลองเกร็ด น้อย” ต่อมากระแสน้าเปลีย่ นทศิ ทางไหลกัดเซาะริมตลิ่ง ทา้ ให้คลองขยายกวา้ งขึน แผ่นดินตรงแหลม จึงกลายเป็นเกาะกลางแม่น้า ชาวมอญบนเกาะนีเข้ามาอาศัยอยู่ในสมัยกรุงธนบุรี และสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2) สถานที่ท่องเท่ียวส้าคัญ บนเกาะ ได้แก่ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา (กวานอาม่าน) วัดเสาธงทอง วัดไผล่ ้อม วัดฉมิ พลสี ทุ ธาวาส ศูนยเ์ คร่ืองปนั้ ดินเผาพืนบา้ น และข่จี ักรยานชมวิถีชวี ติ รอบเกาะเกรด็ เรอื่ งที่ 2 ภูมิศาสตรข์ องเกาะเกร็ด 2.1 ลักษณะภูมิประเทศ เกาะเกร็ดเป็นเกาะขนาดใหญ่ ตังอยู่ทางทิศตะวันตกของอ้าเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี มีแม่น้าเจ้าพระยาโอบล้อมทางด้านทิศเหนือ ทิศตะวันตกและทิศใต้ ทางทิศตะวันออกมี คลองลัดเกร็ดโอบล้อมไว้อีกด้านหนงึ่ มีลักษณะเปน็ พืนท่ีราบต่้า ล้อมรอบดว้ ยแม่นา้ เจ้าพระยาบรเิ วณ พืนทร่ี ิมนา้ เป็นทีล่ ุ่มมากกวา่ ตอนกลาง พืนทีส่ ว่ นใหญม่ ีลักษณะที่ราบนา้ ทว่ มถึง เกาะเกร็ด จึงประสบ ปัญหาเร่ืองน้าท่วมในช่วงฤดูน้าหลากเป็นประจ้าทุกปี คือ ช่วงระหว่างเดือนกันยายน และเดือน พฤศจิกายน ประกอบกับพืนที่มลี กั ษณะเป็นดนิ เหนียวอมุ้ นา้ ได้ดี ท้าให้การระบายนา้ ค่อนข้างล่าช้าจึง เกดิ น้าท่วมขัง 2.2 อาณาเขต ลกั ษณะภูมศิ าสตร์ของเกาะเกร็ด อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ แม่น้าเจ้าพระยาและต้าบลคลองพระอดุ ม ทศิ ใต้ ติดกับ แมน่ า้ เจา้ พระยาและตา้ บลทา่ อิฐ ทิศตะวันออก ติดกบั แมน่ า้ เจ้าพระยาและตา้ บลปากเกร็ด ทิศตะวนั ตก ติดกับ แมน่ ้าเจา้ พระยาและตา้ บลอ้อมเกร็ด เนื่องจากแมน่ า้ เจา้ พระยาไหลโคง้ อ้อม พนื ดนิ ทีแ่ มน่ า้ เจ้าพระยาไหลโคง้ อ้อมจงึ เปน็ เสมอื นแผน่ ดนิ ย่นื ออกเป็นแหลม มีลักษณะโค้งตามลา้ น้า เมอื่ มีการขดุ คลองลดั เกร็ดเกิดเปน็ เกาะเกร็ด รปู รา่ งของเกาะเกรด็ จงึ ดคู ลา้ ยถุงทมี่ ปี ากถงุ ด้านคลองลดั เกร็ด ก้นถงุ มลี ักษณะโค้งมน ทางด้านอ้อมเกรด็ กกกกก2. 2.1 บนเกาะเกร็ดเป็นพืนที่ราบลมุ่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ทางดา้ นอ้อมเกรด็ จากบา้ นทา่ น้าหมู่ ท่ี 5ตา้ บลเกาะเกรด็ ย้อนไปตามความโคง้ ของเกาะเกร็ด จนถึงด้านทิศใต้ของหมูท่ ี่ 2ตา้ บลเกาะเกรด็ ใกล้ปากคลองลัดเกร็ดท่บี ้านล้าพรู ายหรอื บ้านชมพรู ายเป็นท่ีลมุ่ ชายเลน ชายนา้ แตเ่ ดมิ ลักษณะนเิ วศ 26 ธรรมชาตมิ ีตน้ ลา้ พขู ึนอยู่ตามริมแมน่ า้ ทเี่ ป็นเลนโคลน เปน็ แนวยาวตลอดรมิ แม่นา้ มีชาวบ้านปลูกบ้าน อยู่ประปรายตามรมิ แม่นา้ เจ้าพระยา และทา้ สวนผลไม้กนั เป็นจ้านวนมาก กกกกก2. 2.1 พืนที่ริมคลองลัดเกรด็ ตังแตว่ ัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารไปทางใต้ของเกาะเกร็ด ท่ีหมู่ที่ 1 ตา้ บลเกาะเกร็ด ถึงบ้านปากด่านและบ้านเกร็ดตระการในหมู่ที่ 2 ตา้ บลเกาะเกร็ดเป็นที่ราบ มีชาวบ้าน ปลูกบา้ นกนั อย่างหนาแน่นตามริมแมน่ า้ จ้าพระยาและริมคลองลัดเกรด็ กกกกกกกกกก ภาพจากการทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย สภาพทางกายภาพ เกาะเกร็ดเป็นเกาะขนาดใหญ่ ตงั อยทู่ างทิศตะวนั ตกของ อ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีแม่น้าเจ้าพระยาโอบล้อมทางด้านทิศเหนือ ทิศตะวันตกและทิศใต้ ทางทิศตะวันออกมีคลองลดั เกร็ดโอบล้อมไว้อีกดา้ นหนงึ่ กกกกก2. 2.1 พืนที่เกาะเกร็ดเป็นท่ีราบลุ่ม แต่เดิมท้านากันมาก และมีต้นตาลขึนอยู่ท่ัวทังทุ่ง เกาะเกร็ดจึงมีการท้าน้าตาลโตนดพร้อมท้านาท้าสวนด้วย ปัจจุบันเป็นสวนผลไม้ การท้านาได้เลิก มาตงั แตป่ ี พ.ศ. 2505 กกกกก2. 2.1 การเดนิ ทางไปเกาะเกร็ดตอ้ งเดนิ ทางด้วยเรือเท่านัน ไม่มสี ะพานจากแผ่นดินใหญ่ ไปทเ่ี กาะเกรด็ บนเกาะเกร็ดไมม่ ีรถยนต์ มแี ต่จักรยานและจกั รยานยนต์เทา่ นนั กล่าวโดยสรุป ลักษณะภูมิศาสตร์ของเกาะเกร็ด สภาพทางกายภาพ เป็นเกาะขนาด ใหญ่ตังอยู่ทางทิศตะวันตกของอ้าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีแม่น้าเจ้าพระยาโอบลอ้ มทางด้านทิศ เหนอื ทศิ ตะวนั ตกและทิศใต้ ทางทิศตะวนั ออกมีคลองลดั เกร็ดโอบล้อมไว้อีกด้านหน่งึ 27 เรอื่ งที่ 3 การปกครองในเกาะเกรด็ เกาะเกรด็ มีการปกครองในรูปสภาตา้ บล สมาชกิ ประกอบดว้ ย กา้ นัน1คนดา้ รงต้าแหนง่ ประธานสภา ผใู้ หญ่บา้ น 6 คน ผู้ทรงคุณวุฒหิ มู่บา้ นละ 1 คน และ แพทยป์ ระจ้าตา้ บล 1 คน สว่ น เลขานุการของสภาต้าบลนัน เลือกมาจากครูประชาบาลในท้องถ่ิน มีหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการ การจัดประชุม และงานที่สภาต้าบลมอบหมาย การบรหิ ารงานของสภาต้าบลเกาะเกร็ดไม่มีฐานะเป็น นิติบุคคล ไม่มีงบประมาณเป็นของตนเอง ไม่มีพนักงานของตนเอง ส่วนงบประมาณนัน ได้มาจาก อ้าเภอปากเกร็ด ซึ่งเป็นงบประมาณจากกระทรวงเกษตรและส หกรณ์ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงสาธารณสุข งบประมาณส่วนใหญ่ท่ีได้จะน้ามาพัฒนาด้าน การคมนาคม งบประมาณส่วนนอ้ ยจะน้ามาสง่ เสรมิ กลุม่ และอาชพี ต่อมาเม่ือประกาศใชพ้ ระราชบัญญัติสภาตา้ บลและองค์การบรหิ ารส่วนต้าบล พ.ศ. 2537 ที่ ก้าหนด ให้สภาต้าบลเป็นนิติบุคคล สามารถจัดประชุมสภาเพ่ือจัดท้างบประมาณของตนเอง เมื่อปี พ.ศ. 2539 สภาตา้ บลเกะเกร็ดมีรายได้ โดยไม่รวมเงนิ อุดหนุนในปีงบประมาณทลี่ ่วงมาติดต่อกันสามปี เฉล่ียไม่ต้่ากว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท สภาต้าบลเกาะเกร็ดจึงยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วน ต้าบลเกาะเกร็ด และมีก้านัน 1 คน ผู้ใหญ่บ้าน 6 คน ซึ่งมาจาการเลือกตังของประชาชนในชุมชน ตา้ บลเกาะเกร็ด ปกครองดแู ลโดยแบง่ เขตการปกครองออกเป็น 7 หมบู่ า้ น คือ หมู่ที่ 1 บ้านลัดเกร็ด อยู่ระหว่างวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารถึงวัดป่าเลไลยก์ (เป็นวัดร้าง) แต่เดิมคือ บ้านปากเกร็ด คนมอญเรียกว่า “กวานปั๊กเกร็ด” บ้านลัดเกร็ดนี แบ่งออกเป็น บ้านบน (กวานอะตาว) จากวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร ไปถึงวัดกลางลัดเกร็ด และบ้านล่าง (กวานฮาโม) จากวดั กลางลดั เกรด็ ไปถึงวดั ปา่ เลไลยก์ หมู่ที่ 2 บ้านศาลากุลนอก อยู่ถัดจากวัดป่าเลไลยก์ (เป็นวัดร้าง) ไปทางทิศใต้ บริเวณ ปากคลองลัดเกร็ด มชี ุมชนอยูใ่ นหมู่นี 3 ชุมชน คือ บ้านปากดา่ น (ใกล้บ้านเกร็ดตระการ) บ้านล้าพูราย อยู่บริเวณปากคลองลัดเกร็ดไปตามแม่น้าเจ้าพระยาด้านตะวันตกของบ้านเกร็ดตระการในปัจจุบัน และบา้ นศาลากลุ นอก อยูบ่ ริเวณริมฝงั่ แม่นา้ เจ้าพระยาระหว่างวดั ล้าพูราย และวัดศาลากลุ หมู่ที่ 3 บ้านศาลากุลใน (หรือบ้านคลองศาลากุล) อยู่ถัดจากบ้านปากด่าน อ้อมไปทาง ทิศใต้ของเกาะเกรด็ บริเวณวัดศาลากุล หมู่ที่ 4 บ้านคลองสระน้าอ้อย อยู่ทางทิศตะวันตกของเกาะเกร็ด และถัดจากบ้าน ศาลากุลใน บรเิ วณวดั จนั ทร์ (วดั ร้าง) หมทู่ ี่ 5 บ้านทา่ น้า อยทู่ างทิศเหนือของเกาะเกรด็ ถดั จากหมู่ที่ 4 บริเวณวัดมะขามทอง (วดั รา้ ง) หมู่ท่ี 6 บ้านเสาธงทอง อยู่ถัดจากบ้านท่าน้ามาทางวัดเสาธงทอง และวัดไผ่ล้อม แต่ชาวบ้านโดยเฉพาะคนมอญเรียกว่า “บ้านตะวันตก” เพราะอยู่ทางทิศตะวันตกของชุมชน มอญเรียกว่า “กวานอาล๊าต” หมู่บ้านนีมี 2 ชุมชน คือ บ้านกลาง (กวานโต้) เริ่มจากวัดไผ่ล้อมถึงวัด เสาธงทอง และบ้านล่างหรือบ้านตะวันตก (กวานอาล๊าต) เริ่มจากวัดเสาธงทองถงึ บา้ นท่านา้ หมูท่ ่ี 7 บา้ นโอง่ อ่าง อยู่ทางทิศเหนือของเกาะเกรด็ ระหว่างวัดไผล่ อ้ มถึง วัดปรมัยยกิ าวาสวรวหิ าร ชาวมอญเรียกว่า “กวานอาม่าน” เกาะเกร็ดมีการปกครอง คือ ต้าบลเกาะเกร็ด ได้รับการยกฐานะเป็นสภาต้าบลเกาะเกร็ด จ า ก นั น ได้ ย ก ฐ า น ะ จ า ก ส ภ า ต้ า บ ล เก า ะ เก ร็ ด เป็ น อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต้ า บ ล เก า ะ เก ร็ ด เมื่ อ 28 วันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2539 ตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนต้าบล พ.ศ. 2537 ตราสัญลักษณ์ ประจ้าองค์การบริหารส่วนต้าบลเกาะเกร็ด เป็นรูปเกาะเกร็ด มีแม่น้าล้อมรอบ มีดอกพิกุล อยตู่ รงกลาง กล่าวโดยสรุป การปกครองของเกาะเกร็ดแบ่งออกเป็น 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านลัดเกร็ด หมู่ท่ี 2 บ้านศาลากุลนอก หมู่ที่ 3 บ้านศาลากุลใน หมู่ท่ี 4 บ้านคลองสระน้าอ้อย หมู่ที่ 5 บา้ นทา่ นา้ หมู่ท่ี 6 บา้ นเสาธงทอง และหม่ทู ี่ 7 บ้านโอ่งอ่าง เร่อื งที่ 4 ประชากรในเกาะเกรด็ กกกกกก ประชากรที่ส้ารวจในเกาะเกร็ด ปี พ.ศ. 2561 มปี ระชากรทังหมด 5,694 คน เปน็ ชาย จา้ นวน 2,683 คน เปน็ หญงิ จ้านวน 3,011 คน เพศชายร้อยละ 47 เพศหญงิ ร้อยละ 53 านวนประชากรตาบลเกาะเกร็ด ปพ ศ 25 1 ประชากรท้ังหมด 5 คน 53% 47% ชายจา้ นวน 2,683 คน ชาย หญงิ หญิงจา้ นวน 3,011 คน กลา่ วโดยสรุป จ้านวนประชากรในเกาะเกร็ด ปี พ.ศ. 2561 มปี ระชากรทังหมด5,694คน เปน็ ชายจ้านวน 2,683 คน เปน็ หญิงจ้านวน 3,011 คน เรือ่ งที่ 5 อาชพี ในเกาะเกรด็ อาชีพในเกาะเกร็ด ชุมชนชาวเกาะเกร็ดเป็นชุมชนเชือชาติมอญ มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ แบบเรียบง่าย ในสมัยก่อนมีการประกอบอาชีพชาวสวน ชาวไร่ และชาวนา ซ่ึงวิถีชีวิตของชาวมอญ นันจะมีความเป็นอยู่ที่สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนแห่งนี ที่สืบทอดกันมาตังแต่อดีต ถึงแม้วิถีชีวิตความเป็นอยู่ในชีวิตปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงไปบ้างก็ตาม โดยอาชีพทมี่ ีชื่อเสยี งโด่งดงั ของเกาะเกรด็ นนั คือ การท้าเคร่อื งปั้นดนิ เผา 29 กล่าวโดยสรุป อาชีพของประชาชนในเกาะเกร็ดมีหลากหลาย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ ท้าสวน เช่น ทุเรียน กล้วย ฯลฯ อาชีพหัตถกรรม ได้แก่ การท้าเคร่ืองป้ันดินเผา อาชีพบริการ ได้แก่ โฮมสเตย์ อาชีพค้าขาย ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร การท้าขนมหวาน และ อาชพี รับราชการ ไดแ้ ก่ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตา้ บล ครู ก้านนั กิ กรรมท้ายบท กกกกกกกกิ กรรมที่ 1 คา้ ชแี จง ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษากจิ กรรมที่ 1 แล้วเลือกค้าตอบท่ีถกู ต้องที่สุดเพียงข้อเดียว เขยี น ค้าตอบลงในกระดาษท่แี จกให้หรือในกระดาษเปล่าของผเู้ รียน 1. เกาะเกรด็ เป็นเกาะขนาดใหญ่ ตงั อยู่ทางทิศใดของอา้ เภอปากเกรด็ ก. ทิศใตข้ องอ้าเภอปากเกรด็ ข. ทศิ เหนอื ของอ้าเภอปากเกรด็ ค. ทศิ ตะวนั ตกของอ้าเภอปากเกร็ด ง. ทิศตะวันออกของอ้าเภอปากเกร็ด 2. พืนทข่ี องต้าบลเกาะเกรด็ มีลักษณะเป็นอย่างไร ก. เปน็ ทร่ี าบลุ่มแม่น้า ข. เปน็ พนื ทร่ี าบขนาดใหญ่ ค. เปน็ ทล่ี มุ่ ดินดอนสามเหลีย่ ม ง. เป็นรูปโค้งลกั ษณะเป็นแหลมย่ืน 3. ปี พ.ศ. 2561 จ้านวนประชากรในตา้ บลเกาะเกร็ด มีจ้านวนเท่าไร ก. จา้ นวน 5,691 คน ข. จ้านวน 5,692 คน ค. จ้านวน 5,693 คน ง. จา้ นวน 5,694 คน 4. ปัจจุบนั ชาวเกาะเกร็ดส่วนใหญ่เปน็ ชมุ ชนเชือชาตใิ ด ก. เชอื ชาติจนี ข. เชอื ชาตไิ ทย ค. เชือชาตมิ อญ ง. เชือชาตมิ าลายู 5. อาชีพท่มี ีช่ือเสียงโด่งดังของเกาะเกรด็ คือ ก. อาชพี ทา้ นา ข. อาชีพเกษตรกร ค. อาชีพท้าสวนผลไม้ ง. อาชีพการทา้ เครอื่ งปั้นดินเผา 30 กิ กรรมที่ 2 คา้ ชแี จง ใหผ้ ูเ้ รียนเติมคา้ หรือข้อความนนั ๆ ลงในช่องว่างใหส้ มบูรณ์ ด้วยการเขยี นคา้ ตอบ ลงในกระดาษท่ีแจกให้หรือในกระดาษเปลา่ ของผู้เรียน 1. ต้าบล..........................................อย่ใู นอ้าเภอปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี 2. ต้าบลเกาะเกรด็ มเี ขตการปกครองทงั หมด............................................หมบู่ า้ น 3. คลองลัดเกร็ดขุดแยกมาจากแม่น้า........................ไหลผ่านหมู่ท่ี 7 และหมู่ท่ี 1 ของต้าบลเกาะเกรด็ 4. บ้านโอ่งอา่ ง ภาษามอญเรยี กวา่ ..............................................เปน็ แหล่งเครือ่ งปน้ั ดนิ เผา 5. แหลง่ ร่วมป่ีพาทยม์ อญทมี่ ชี อ่ื เสียงในเกาะเกร็ดอยู่บ้าน.........................................หมู่ที่ 7 กกกกกก กิ กรรมท่ี 3 คา้ ชแี จง ใหผ้ ู้เรยี นศึกษากจิ กรรท่ี 3 ด้วยการจับค่ขู องข้อความหลังตัวเลขด้านซ้ายมือของ กระดาษ และขอ้ ความหลังตวั อกั ษาขวามือของกระดาษที่มีความสัมพนั ธก์ ัน แลว้ นา้ ค้าตอบที่ได้ไป เขยี นในกระดาษที่แจกให้ หรอื กระดาษเปล่าของผู้เรียน กกกกกกก.................1. หมู่ท่ี 2 ก. บ้านลัดเกร็ด กกกกกกก.................2. หมู่ที่ 3 ข. บ้านทา่ น้า กกกกกกก.................3. หมู่ท่ี 5 ค. บา้ นคลองสระน้าอ้อย กกกกกกก.................4. หมู่ที่ 6 ง. บ้านศาลากุลใน กกกกกกก.................5. หมทู่ ่ี 7 จ. บา้ นโอง่ อา่ ง ฉ. บา้ นศาลากุลนอก ช. บา้ นเสาธงทอง ซ. บา้ นมอญ 31 บทท่ี 2 วัดสำคัญในเกำะเกรด็ สำระสำคญั กกกกกกก1. วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร กกกกกกก 1.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของวดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวหิ าร ก่อสร้างเมอื่ ปี พ.ศ. 2317 ชาวมอญ ที่อพยพมาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้บูรณ ปฏิสังขรณ์ ใหม่ คนมอญเรียกว่า “เภ่ียมู้เกี้ยเติ้ง” ในปี พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) เสด็จพระราชดาเนินทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ได้แก่ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร (วัดปากอ่าว)วัดเกาะพระยาเจ่ง (วัดรามัญ) วัดศรีรัตนาราม (วัดบางพัง) และวัดสนามเหนือ ต่อมา ทรงเห็นว่าวัดปากอ่าวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ท้ังวัด โดยรักษารูปแบบมอญไว้ เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลสนองพระคุณพระเจ้าบรมอัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ผู้ทรงอภิบาลพระองค์มาแต่ทรงพระเยาว์ และได้พระราชทาน นามวัดวา่ วดั ปรมยั ยิกาวาสวรวิหาร ซึง่ มีความหมายวา่ วัดของพระบรมอัยยิกา กกกกกกก 1.2 ความสาคัญของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร คือ เป็นสถานท่ีรวมจิตใจของคนใน ชุมชน เป็นที่รวบรวมคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้าไว้มากมาย นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์รวมความเชื่อ เป็นแหล่งรวบรวม และสร้างวัฒนธรรม เป็นที่ประดิษฐานของ \"พระนนทมุนินท์\" พระพุทธรูปประจา จังหวัดนนทบรุ ีกกกกกกก กกกกกกก 1.3 วตั ถุ และสิง่ ก่อสรา้ งที่สาคัญภายในวัดปรมยั ยิกาวาสวรวิหาร ได้แก่ พระเจดยี ์ มุเตา หรือ “เจดยี เ์ อยี ง” พระศรอี ริยเมตไตรย พระนอนวดั ปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร พระพุทธไสยาสน์ พระนนทมุนนิ ท์ พพิ ธิ ภณั ฑว์ ัดปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร และตน้ ไม้สามกษตั รยิ ์ กกกกกกก 1.4 หลักธรรมของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารท่ีสาคัญ คือ นาหลักศีล 5 มาใช้เป็นหลัก ในการดาเนินชวี ิต กกกกกกก2. วัดไผล่ อ้ ม กกกกกกก 2.1 วัดไผ่ล้อม เป็นวัดโบราณสร้างมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อาจจะเป็นวัดเก่าแก่ ที่สุดวัดหน่ึงบนเกาะเกร็ด วัดมีสภาพทรุดโทรมมาก เพราะมีชาวบ้านไม่มากประกอบกับวัดถูกท้ิงร้าง มานาน ในปี พ.ศ. 2527 พระปลัดวันชัย วายาโม เจ้าอาวาสวดั ไผ่ล้อม ได้ร่วมกับประชาชนพัฒนาวัด จนมีสภาพดีเปน็ ประโยชนต์ อ่ การทอ่ งเที่ยวเกาะเกร็ด กกกกกกก 2.2 วัดไผ่ล้อม มีความสาคัญ คือ เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมมอญท่ีสาคัญ มีโบสถ์ท่ีงดงามมาก และเป็นแหล่งรวบรวมศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานท่ีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ มากมาย กกกกกกก 2.3 วัตถุ และสิ่งก่อสร้างท่สี าคญั ภายในวัดไผล่ อ้ ม คอื พระอโุ บสถ เสมากาแพงแก้ว พระเจดีย์คู่หน้าพระอุโบสถ พระธาตุรามัญเจดีย์ หอระฆัง หอระฆังเก่า ศาลาการเปรียญ ศาลา บาเพ็ญบญุ และทพ่ี กั สงฆ์ หอสวดมนต์ หม่กู ฏุ ิของเดมิ และพระอุปคตุ กกกกกกก 2.4 หลกั ธรรมทส่ี าคัญของวัดไผ่ล้อม คอื ปฏบิ ตั ติ นตามหลัก ศลี 5 32 กกกกกกก3. วัดเสาธงทอง กกกกกกก 3.1 ประวัตคิ วามเป็นมาของวดั เสาธงทอง สร้างเม่อื พ.ศ. 2313 เดิมชื่อ“วดั สวนหมาก” นอกจากเปน็ ที่ต้ังโรงเรียนประถมแห่งแรกของอาเภอปากเกรด็ แลว้ ด้านหลังโบสถย์ ังประดิษฐานเจดีย์ ที่สูงที่สุดของอาเภอปากเกร็ดด้วย พระเจดีย์เป็นศิลปะอยุธยาย่อมุมไม้สิบสอง มีเจดีย์องค์เล็กเป็น บริวารโดยรอบอีก 2 ชั้น ส่วนด้านข้างโบสถ์มีเจดีย์องค์ใหญ่อีก 2 องค์ องค์หนึ่งเป็นเจดีย์ทรงระฆัง หรือทรงลังกา อีกองค์หน่ึงเป็นเจดีย์ทรงมะเฟืองกลีบอวบ ซ่ึงเป็นองค์สุดท้ายของโลก ภายในโบสถ์ มีเพดานเขียนลายทองกรวยเชิงงดงามมาก พระประธานเป็นพระปางมารวิชัยปูนป้ันขนาดใหญ่ คนมอญเรียกวัดนี้ว่า “เพ๊ียะอาล๊าต” หน้าโบสถ์มีเจดีย์ขนาดย่อม 2 องค์ รูปทรงคล้ายมะเฟืองฐาน สี่เหลย่ี มย่อมมุ ไมส้ บิ สองประดับลายปูนปั้น มตี น้ ยางใหญ่อายุประมาณ 200 ปี กกกกกกก 3.2 ความสาคัญของวัดเสาธงทอง คือ เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน เป็น แหล่งรวบรวมศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานท่ีสาคัญ และเป็นท่ีตั้งโรงเรียนประถมแหง่ แรกของอาเภอ ปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี กกกกกกก 3.3 วัตถุ และสิ่งก่อสร้างที่สาคัญภายในวัดเสาธงทอง ได้แก่ ศาลาบูรพาจารย์พระ ประธานประดิษฐานบนฐานชุกชีสวยงาม เจดีย์ทรงกลีบมะเฟือง เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองทรงระฆังคว่า ต้นยางใหญ่ อายุ 200 ปี พจ่ี ุก สองกุมารผมจกุ วดั เสาธงทอง และท่านา้ วดั เสาธงทอง กกกกกกก 3.4 หลักธรรมของวดั เสาธงทองทสี่ าคญั ไตรสกิ ขา คอื ขอ้ ปฏบิ ัติในการฝึกฝนตนเอง ใหอ้ อกจากความทุกขท์ งั้ ปวง เพื่อความหลุดพ้น เปน็ อสิ ระ ผลกำรเรยี นท่ีคำดหวัง 1. บอกประวตั ิความเปน็ มาของวัดปรมยั ยกิ าวาสวรวหิ าร วดั ไผ่ล้อม และวดั เสาธงทองได้ 2. อธิบายความสาคัญของวดั ปรมยั ยิกาวาสวรวหิ าร วัดไผล่ ้อม และวดั เสาธงทองได้ ขอบข่ำยเน้ือหำ กกกกกกกเรื่องท่ี 1 วัดปรมัยยิกาวาสวรวหิ าร 1. ประวัติความเปน็ มาของวัดปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร 2. ความสาคญั ของวดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร 3. วัตถุ และสิง่ กอ่ สรา้ งท่สี าคัญภายในวดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวหิ าร 4. หลกั ธรรมที่สาคญั ของวดั ปรมยั ยิกาวาสวรวิหาร เรอ่ื งที่ 2 วดั ไผล่ ้อม 1. ประวัติความเปน็ มาของวัดไผ่ลอ้ ม 2. ความสาคัญของวัดไผ่ล้อม 3. วัตถุ และสิ่งก่อสรา้ งที่สาคัญภายในวัดไผ่ล้อม 4. หลักธรรมทีส่ าคญั ของวัดไผ่ล้อม เรอื่ งที่ 3 วดั เสาธงทอง 1. ประวตั คิ วามเปน็ มาของวัดเสาธงทอง 2. ความสาคัญของวดั เสาธงทอง 33 3. วัตถุ และส่งิ ก่อสร้างท่สี าคัญภายในวัดเสาธงทอง 4. หลกั ธรรมที่สาคัญของวัดเสาธงทอง ส่ือประกอบกำรเรยี น กกกกกกก1. ชื่อหนงั สอื นนทบรุ ี 2556 ชือ่ ผู้แต่ง สานกั งานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวดั นนทบุรี และสานกั งานจังหวดั นนทบุรี ปที ่ีพิมพ์ 2555 ช่อื โรงพิมพ์ บริษทั ลีโอ แลนเช็ท กกกกกกก2. ช่อื หนังสอื นนทบรุ ี ชือ่ ผู้แต่ง รตั นา ศิริพูล ปที พ่ี ิมพ์ 2543 ชื่อโรงพมิ พ์ องค์การค้า ของคุรสุ ภา บรษิ ัท เลิฟแอนด์ลิพเพรส จากัด กรงุ เทพฯ กกกกกกก3. ช่อื บทความ วดั ปรมัยยกิ าวาส. [ออนไลน์]. ชื่อผูเ้ ขยี น กระทรวงการท่องเทยี่ วและ กฬี า. (2562) สบื คน้ จาก https://www.thailandtourismdirectory.go.th/th/info/ attraction/detail/itemid/3474 กกกกกกก4. ชอ่ื บทความ วดั ไผล่ อ้ ม. [ออนไลน์]. ชื่อผเู้ ขียน Painaidii. (2562). สืบค้นจาก http://www.kohkred-sao.go.th/index.php?option=com_content&view =article&id= 54:2010-06-04-07-58-11&catid=39:2010-06-01-08-35-59&Itemid=53 กกกกกกก5. ชือ่ บทความ วดั เสาธงทอง. [ออนไลน์]. ชอ่ื ผ้เู ขียน Touronthai. (2562). สบื ค้นจาก https://www.touronthai.com/article/1862 กกกกกกก6. พระสเุ มธมุนี เจา้ อาวาสวัดปรมัยยิกาวาสวรวหิ าร ท่ีอยู่ หมทู่ ่ี 1 ตาบลเกาะเกร็ด อาเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 0-2584-5120 กกกกกกก7. พระครปู ลัด ทิน สนุ ทโร เจา้ อาวาสวดั ไผ่ลอ้ ม ท่ีอยู่ หม่ทู ี่ 6 ตาบลเกาะเกรด็ อาเภอ ปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 0-2584-5076 กกกกกกก8. พระสมหุ ส์ มศกั ดิ์ ฐานุตตโร เจา้ อาวาสวัดเสาธงทอง ท่ีอยู่ หมู่ที่ 6ตาบลเกาะเกร็ด อาเภอ ปากเกร็ด จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 08-9003-6182 34 เรือ่ งท่ี 1 วดั ปรมัยยกิ ำวำสวรวหิ ำร กกกก กกกกกกก 1. ประวตั คิ วามเป็นมาของวัดปรมยั ยิกาวาสวรวหิ าร วัดปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร เดิมช่อื “วดั ปากอ่าว”คนมอญเรียกว่า “เภย่ี มู้เกยี๊ ะเต้งิ ” ภายในวิหารมีพระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหารเป็นท่ีประดิษฐาน “พระนนทมุนินท์” พระพุทธรูปประจาจังหวัดนนทบุรี และมีพระไตรปิฎกฉบับภาษามอญฉบับแรกของประเทศไทย ในวัดมีต้นสามกษัตร์ิ คือ ต้นโพธิ์ ตน้ ไทร และต้นหว้า ขึ้นอยรู่ วมกันร้อยรดั พันเกลียว อายุกว่า 100 ปี และมพี ระเจดยี ์มุเตา (เจดยี เ์ อียง) ซ่งึ เปน็ เอกลกั ษณเ์ ดน่ ของเกาะเกรด็ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เป็นวัดโบราณ สันนิษฐานว่า น่าจะสร้างหลังจากพระเจา้ ท้ายสระโปรดให้ขุดคลอง เม่ือ พ.ศ. 2264 ชาวเรือเรียก วัดปากอา่ ว จนถึง ปี พ.ศ. 2307 พม่าบุกยึดเมืองนนทบุรี กลายเป็นวัดร้างเมื่อปี พ.ศ. 2317 ต่อมาชาวมอญที่อพยพมา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ คนมอญเรียกว่า “เภ่ียมู้เก้ียะเติ้ง” ในปี พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดาเนินทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ได้แก่ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร (วัดปากอ่าว) วัดเกาะพระยาเจ่ง (วัดรามัญ) วัดศรีรัตนาราม (วัดบางพัง) และวัดสนามเหนือ ต่อมาทรงเห็นว่า วัดปากอ่าวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกล้าโปรด กระหม่อม ให้ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ทั้งวัดโดยรักษารูปแบบมอญไว้ เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลสนอง พระคุณพระเจ้าบรมมอัยยิกาเธอ กรมสมเด็จ พระสุดารัตนราชประยูร ผู้ทรงอภิบาลพระองค์มาแต่ ทรงพระเยาว์ และได้พระราชทานนามวัดว่า วัดปรมัยยิกาวาส ซ่ึงมีความหมายว่า วัดของพระ บรมอัยยิกา 35 กล่าวโดยสรุป วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2317 ชาวมอญที่ อพยพมาในรัชสมยั สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ คนมอญเรียกว่า “เภ่ียมเู้ กี้ย เต้ิง” ในปี พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) เสด็จพระราชดาเนิน ทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ได้แก่ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร (วัดปากอ่าว) วัดเกาะพระยาเจ่ง (วัดรามัญ) วัดศรีรัตนาราม (วัดบางพัง) และวัดสนามเหนือ ต่อมาทรงเห็นว่า วัดปากอ่าวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ทั้งวัดโดยรักษารูปแบบมอญไว้ เพ่ือถวายเป็น พระราชกุศลสนองพระคุณพระเจ้าบรมอัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ผู้ทรงอภิบาล พระองค์มาแต่ทรงพระเยาว์ และได้พระราชทานนามวัดว่า วัดปรมัยยิกาวาส ซึ่งมีความหมายว่า วดั ของพระบรมอยั ยิกา กกกกกกก 2. ความสาคัญของวดั ปรมัยยิกาวาสวรวิหาร วัดปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร มคี วามสาคญั คือ เป็นสถานท่ีรวมจติ ใจของคนในชุมชน เป็นที่รวบรวมคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้าไว้มากมาย นอกจากนี้ ยังเป็นศูนย์รวมความเช่ือ เป็นแหล่ง รวบรวม และสรา้ งวฒั นธรรม ซึ่งวฒั นธรรมเปน็ คา่ นยิ ม และความเชอื่ ทีม่ รี ว่ มกันมาอย่างช้านาน กกกกกกก 1.2วัดปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร เป็นวัดที่มพี ระพทุ ธรูปประจาจังหวดั นนทบรุ ี คอื พระนนทมุนินท์ มีประเพณีของเมืองสืบต่อมาว่า เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดคนใหม่ย้ายมาดารงตาแหน่ง จะมีพิธีต้อนรับอย่างเป็นทางการ พร้อมกับจดั พิธีนมัสการพระนนทมุนินท์ท่ีวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร นบั เปน็ วัดสาคัญวัดหน่งึ ของเกาะเกรด็ กกกกกกก 1.2 กล่าวโดยสรปุ วดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร มคี วามสาคัญ คือ เป็นสถานที่รวมจิตใจ ของคนในชุมชน เป็นที่รวบรวมคาส่ังสอนของพระพุทธเจ้าไว้มากมาย นอกจากน้ี ยังเป็นศูนย์รวม ความเชื่อ เป็นแหล่งรวบรวม และสร้างวัฒนธรรม เป็นท่ีประดิษฐานของ \"พระนนทมุนินท์\" พระพุทธรปู ประจาจงั หวัดนนทบรุ ี กกกกกกก 3. วัตถุ และสง่ิ กอ่ สร้างท่ีสาคญั ภายในวัดปรมัยยกิ าวาสวรวิหาร 3.1 พระเจดีย์มุเตา หรือ “เจดีย์เอียง” ของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร ตั้งอยู่ บริเวณหัวแหลมของเกาะเกร็ด ริมแม่น้าเจ้าพระยา คือแลนด์มาร์คสาคัญของเกาะเกร็ด อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พระเจดียม์ ุเตา วัดปรมัยยิกาวาสวรวหิ าร ตาบลเกาะเกรด็ อาเภอปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ตั้งอยู่บริเวณหัวแหลมของเกาะเกร็ด เป็นเจดีย์ทรงรามัญสีขาว มีผ้าแดงผูกบนยอดเจดีย์ ซึ่งกล่าวกันว่าผ้าแดง คือ สัญลักษณ์อย่างหนึ่งของวัฒนธรรมรามัญ พระเจดีย์เป็นศิลปะทรงมอญ แท้ จาลองมาจากหงสาวดี ก่อนที่จะถูกพม่าแต่งเติมจนทาให้พระเจดีย์มุเตาองค์เดิมที่เมืองหงสาวดี กลายเป็นเจดีย์ทรงมอญผสมพมา่ ในปัจจุบัน พระเจดีย์มุเตา วดั ปรมัยยิกาวาสวรวิหารเป็นเจดีย์กอ่ อิฐ ถือปูนฐานแปดเหล่ียมย่อมุม ยอดเจดีย์มีฉัตรทรงเคร่ือง 5 ช้ัน อย่างมอญ สูง 1 วา ต้ังอยู่หัวมุม เกาะเกร็ด โดยกรมศลิ ปากรข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถานตามประกาศในราชกจิ จานุเบกษาปี พ.ศ. 2478 พระเจดีย์มุเตา สร้างโดยชาวมอญที่อพยพมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารปลายกรุงศรีอยุธยา อายุ ประมาณ 300 ปี ภายในบรรจุพระธาตุ เป็นทเี่ คารพสักการะของชาวไทยเชือ้ สายมอญ เดมิ เปน็ เจดีย์ท่ี สร้างต้ังตรง ต่อมาน้าเซาะตล่ิงพัง จึงทาให้เจดีย์ทรุดตวั และเอียงลงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2434 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2535 ได้สร้างเข่ือนไม้ และเขื่อนปูน แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหา ได้รับงบประมาณจาก 36 กรมการศาสนา และได้มีผู้มีจิตศรัทธา ได้ซ่อมแซมเข่ือนคอนกรีตถาวร ปัจจุบันได้เสริมความแข็งแรง และยึดฐานไว้อย่างแน่นหนา กรมศิลปากรอนุญาตให้ซ่อมตัวพระเจดีย์เชิงอนุรักษ์ในสภาพเอียงไว้ พระเจดีย์มุเตาหรือเรียกกันว่าเจดีย์เอียงองค์นี้ จึงเป็นสัญลักษณ์ของเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ทเี่ ผยแพรไ่ ปทวั่ โลก 3.2 พระศรีอารีย์ เป็นส่ิงสาคัญอันดับถัดไป โดยเดินไปทางด้านหน้าโบสถ์ ตามทางเดินเล็ก ๆ เลียบไปจนสุดเขตวัด จะผ่านศาลารับเสด็จเข้าไปสักการะพระพุทธรูป ด้านใน มีพระศรีอารีย์ประดิษฐานอยู่ศาลารับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระบรมราชโองการให้สร้างศาลาหน้าพระอุโบสถ สาหรับเสด็จประทับก่อนเสด็จพระราชดาเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดุลยเดช ขณะ ทรงดารงพระยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอฯ ได้เสด็จพระราชดาเนินเย่ียมเยียนราษฎร จังหวัดนนทบุรี เม่ือวันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 ทรงประทับเยี่ยมราษฎรชาวไทยและชาวรามัญท่ีอาศัยอยู่ที่ อาเภอปากเกร็ด ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ราษฎรเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทรงประทับทอดพระเนตร การแสดงศิลปวัฒนธรรมของชาวรามัญอย่างสนพระทัยอย่างยิ่ง ณ ศาลา รับเสด็จน้ี จากนั้นทรงเสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรการทาเคร่ืองปั้นดินเผามอญของชาว เกาะเกร็ด ถนนหน้าพระอุโบสถไปลงคลองลัดเกร็ดนั้น โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สร้างศาลาพักข้าราชการเพ่ือรับเสด็จ เป็นศาลาก่ออิฐถือปูน พ้ืนศิลา หลังคามุงกระเบ้ือง รางเป็น 37 ศาลาดิน 5 ห้องราคา 450 บาท ศาลาดังกล่าวน้ีเดิมสร้างบนลานดินห่างจากริมเขื่อน ปัจจุบัน 5 วา เศษ ขื่อกว้าง 6 ศอก ยาว 6 วา 3 ศอก ปลูกยาวขนานกับถนนห่างจากศาลาพักข้าราชการ รับเสด็จ 5 วา โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างศาลา 2 หลัง ตรงข้ามกันเป็นศาลาดินยกพ้ืนสูงจากถนน 1 ศอก เสาก่ออฐิ ถือปูน ขอื่ กว้าง 2 วา ยาว 4 วา ลงพะไลรอบทั้ง 4 ด้าน ดา้ นละ 6 ศอก มุงกระเบ้ือง รางช่องเสารองพะไลก่ออิฐถือปูนสูง 1 ศอก ถึงกันเป็นกาแพงพื้นปูศิลาทั้ง 2 หลัง ส้ินราชทรัพย์ 2,720 บาท เป็นศาลาพกั เสดจ็ ฯ 38 3.3 พระนอนวัดปรมยั ยิกาวาสวรวิหาร พระพุทธไสยาสน์ มขี นาดใหญ่ เป็นอันดับ สามในอาเภอปากเกร็ด เป็นพระพุทธรูปอยู่ในอิริยาบถนอนตะแคงขวา พระบาทท้ังสองข้างซ้อนทับ เสมอกัน พระหัตถ์ซ้ายทาบไปตามพระวรกาย พระหัตถ์ขวาตั้งข้ึนรับพระเศียรและมีพระเขนย (หมอน) รองรับ วางแนบพระเขนยวางอยู่ใต้พระกัจฉะ (รักแร้) ลักษณะเดียวกับปางปรินิพพาน และ ปางทรงพระสุบิน หรือเรียกโดยท่ัวไปว่า \"พระปางไสยาสน์\" เป็นพระประจาวันอังคาร คนโบราณมี ความเชื่อว่า คนวันอังคาร เป็นคนใจร้อน ให้นอนเสียบ้าง จะได้ใจเย็น เหมือนดังพระนอน ดังนั้นผู้ท่ี เกดิ วันอังคาร ถ้าได้ไปกราบสักการะขอพรถือเป็นสริ มิ งคลยง่ิ นกั คตกิ ารสร้างพระพุทธรปู ปางไสยาสน์ นั้น ก็เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ราลึกถึงการเสด็จปรินิพพานขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ขณะเดียวกัน ก็เพื่อเป็นอนุสติเตือนใจให้ต้ังอยู่ในความไม่ประมาท สังขารทั้งหลายเป็นส่ิงไม่เท่ียง แม้กระท่ัง พระพทุ ธองค์ก็ยังเล่ียงไมพ่ ้น 39 3.4 พระนนทมุนินท์ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิเพชร หน้าตกั กว้าง 40 น้ิว สูงจาก ฐานถึงพระเกตุมาลา 65 นิ้ว พระศาสนโสภณ (อ่อน) เจ้าคณะมณฑลกรุงเทพฯ สร้างข้ึนในสมัย รัชกาลที่ 5 เพื่อเป็นพระพุทธรูปประจาเมืองนนทบุรี ประดิษฐาน ณ มุขเด็จด้านทิศใต้ของพระวิหาร พระพทุ ธไสยาสน์ วัดปรมัยยกิ าวาสวรวหิ าร จากน้ันจึงมีประเพณีของจงั หวดั นนทบุรสี บื มาว่า เม่ือผู้ว่า ราชการจังหวัดคนใหม่ย้ายมาดารงตาแหน่ง จะมีพิธีต้อนรบั อย่างเป็นทางการพร้อมกับจดั พธิ ีนมัสการ พระนนทมุนินทท์ ว่ี ดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวหิ าร 40 3.5 พิพิธภัณฑ์วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร อยู่ในอาคารหลังใหญ่หลังหน่ึงไม่ไกล จากเจดีย์หลังโบสถ์ ต้ังอยู่ภายในวัดปรมัยยิกาวาส โดยมีอาคารสองช้ันซ่ึงแต่เดิมเป็นกุฎิของอดีต เจ้าอาวาส สร้างในสมัยรัชกาลท่ี 5 เป็นอาคารวรวิหาร จัดแสดงเร่ืองราวเกี่ยวกับเคร่ืองป้ันดินเผา เป็นหลัก โดยได้จาลองเตาเผาและหุ่นจาลองของช่างทาเคร่ืองปั้นดินเผาไว้ มีมุมฉายวดี ิทัศน์เรื่องราว ต่าง ๆ อาทิ ขนมไทยท่ีมีช่ือเสียงของเกาะเกร็ด พื้นท่ีส่วนใหญ่ในอาคารจัดแสดงวิวัฒนาการของ เครื่องป้ันดินเผาท่ีพบในประเทศไทย และมีตัวอย่างของเครื่องป้ันดินเผาในภาคต่าง ๆ จัดแสดง ด้วยมุมหน่ึงจัดแสดงเครื่องใช้ไม้สอยในบ้าน ที่วางกองอยู่รวมกัน อาทิ พัดลมเก่า ตะเกียง หรือ เครื่องใช้ไม้สอยในครัวเรือนจาพวกครก กระทะใบบัว กระต่ายขูดมะพร้าว เป็นต้น นอกจากน้ียังมี ข้าวของบางช้ินวางแซมอยู่ระหว่างตู้จัดแสดงทั่วไป เช่น เคร่ืองอัดกลีบผ้า คูลเลอร์น้า เป็นต้น พื้นที่ราว 1 ใน 4 ของชั้นบน เป็น \"ห้องคัมภีร์รามัญ\" เก็บรวบรวมคัมภีร์ภาษามอญไว้จานวนมาก นอกจากนี้ยังมีหีบเก็บคัมภีร์ลายรดน้า กากะเยีย (เคร่ืองสาหรับวางหนังสือใบลาน ทาด้วยไม้ 8 อัน รอ้ ยไขวก้ นั ) รวมถงึ พระไตรปฎิ กภาษามอญท่ีทาข้ึนในสมัยรชั กาลที่ 5 41 3.6 ต้นไมส้ ามกษัตรยิ ์ คือ ต้นไม้ท่ปี ระกอบไปด้วยตน้ ไม้ 3 ชนิด รวมอยู่ใน ตน้ เดียวกนั ได้แก่ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ต้นหวา้ และตน้ ไทร 1.3.5 ตน้ พระศรีมหาโพธิ์ คือ ต้นไมท้ ี่พระพทุ ธองค์ไดท้ รงนั่งประทบั และทรง สาเรจ็ พระโพธญิ าณเป็นพระอรหนั ตสัมมาสมั พุทธเจ้า 1.3.5 ต้นหว้า หรอื ตน้ ชมพูพฤกษ์ เปน็ ไมม้ งคลทพ่ี ระพุทธองค์ขณะยังทรง พระเยาว์ ได้เสด็จประทบั ใต้ร่มเงาต้นหว้าและทรงสาเรจ็ พระปฐมฌาน 1.3.5 ต้นไทร หรอื ต้นอชปาลนโิ ครธ เป็นไม้มงคลท่ีพระพุทธองค์ได้ทรงสาเรจ็ พระโพธญิ าณเปน็ พระอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา้ แลว้ ทรงเสดจ็ ประทับใต้ต้นไทรเพ่ือเสวยวิมตุ ิสขุ เป็นเวลา 7 วนั แลว้ ได้มพี ราหมณม์ าทลู อาราธนาใหท้ รงแสดงธรรมแก่สัตวโ์ ลก กล่าวโดยสรปุ วตั ถุ และสงิ่ ก่อสรา้ งทสี่ าคญั ภายในวัดปรมัยยกิ าวาสวร วหิ าร คอื พระเจดยี ม์ ุเตา หรือ “เจดีย์เอยี ง” พระศรีอรยิ เมตไตรย พระนอนวัดปรมัยยิกาวาส พระ พทุ ธไสยาสน์ พิพธิ ภณั ฑว์ ดั ปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร และตน้ ไมส้ ามกษัตรยิ ์ 4 หลักธรรมทส่ี าคัญของวัดปรมยั ยกิ าวาสวรวิหาร หลกั ธรรมทส่ี าคัญของวัดปรมัยยกิ าวาสวรวหิ าร คือ “นาหลักศีล 5 มาใช้เป็น หลกั ในการดาเนนิ ชวี ิต” ศลี เปน็ หลักปฏิบตั ิทส่ี าคัญสาหรบั พทุ ธศาสนิกชน เปน็ หลักปฏิบัตขิ น้ั พ้นื ฐาน ท่ีจะนาไปส่กู ารสารวมกาย และวาจา เพ่อื ไมใ่ ห้ก่อใหเ้ กดิ ความเดอื ดร้อนแก่ตนเอง และผ้อู ื่น ศีล 5 ประกอบด้วย 42 ขอ้ 1 งดเวน้ จากการฆา่ สตั ว์ ข้อ 2 งดเว้นจากการลกั ขโมย ขอ้ 3 งดเว้นจากการประพฤตผิ ิดในกาม ขอ้ 4 งดเว้นจากการพูดเทจ็ พูดคาหยาบ คาส่อเสียด เพอ้ เจ้อ ข้อ 5 งดเวน้ จากดมื่ สุรา และของมนึ เมา กล่าวโดยสรุป หลักธรรมที่สาคัญของวัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร คือ นาหลัก ศีล 5 มาใช้เป็นหลักในการดาเนนิ ชวี ิต เร่ืองท่ี 2 วัดไผ่ล้อม 1. ประวตั คิ วามเป็นมาของวัดไผ่ล้อม วัดไผล่ ้อม ก่อสรา้ งเม่ือสมยั อยธุ ยาตอนปลาย มีอโุ บสถทงี่ ดงามมากหน้าพระอุโบสถ มเี จดยี ข์ นาดย่อม 2 องค์ รูปทรงเจดยี ท์ รงรามญั ประดบั ลายปูนป้ัน คนมอญเรยี กวัดนี้วา่ “เภ่ียะโต้” ภายในวัดมีพระอุโบสถท่ีสวยงามหน้าบันจาหลักไม้เป็นลายดอกไม้ มีคันทวย และบัวหัวเสาท่ีงดงาม หน้าพระอุโบสถมีเจดีย์ขนาดย่อม 2 องค์ รูปทรงแปลก คือ ฐานย่อมุมไม้สิบสององค์ระฆังทาเป็นรูป บาตรควา่ มียอดทรงกลม ประดับลายปนู ปั้นอย่างสวยงาม ด้านหนา้ ของวัดเปน็ ลานกว้างย่ืนออกไปยัง รมิ เกาะ สามารถมองเหน็ ทัศนียภาพโดยรอบได้อยา่ งชดั เจด วัดไผ่ล้อม เป็นวัดโบราณที่สร้างต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อาจเป็นวัดเก่าแก่ที่สุด วัดหน่ึงบนเกาะเกร็ด เป็นวัดร้างต้ังแต่ปี พ.ศ. 2308 เพราะพม่าเข้าตี และยึดเมืองนนทบุรี จากน้ัน 43 เข้าตีกรุงศรีอยุธยาได้เม่ือปี พ.ศ. 2310 จึงไม่มีพระสงฆ์ และชาวบ้านดูแลวัด ปี พ.ศ. 2317 ได้มี คนมอญมาบูรณปฏิสังขรณ์วัดขึ้นใหม่ วัดไผ่ล้อมจึงมีพระสงฆ์อยู่ประจาวัด สืบมา แต่วัดคงมี สภาพทรุดโทรมมาก เพราะชาวบ้านมีจานวนน้อยประกอบกับวัดถูกทิ้งร้างมานาน ต่อมาอาแดงแตน ได้ทาการบูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เม่ือวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2446 ท่ีต้ังวัดไผ่ล้อมอยู่กลางระหว่างวัดมอญอีก 2 วัด คือวัดปรมัยยิกาวาส และวัดเสาธงทอง คนมอญจงึ เรยี กวัดไผ่ล้อมในภาษามอญว่า “เภยี่ ะโต้” แปลว่าวัดกลาง การต้ังอยู่ระหว่างวดั ดังที่กล่าว ประกอบกับมชี ุมชนใกลว้ ัดจนเกอื บจะเปน็ วดั รา้ ง กลา่ วโดยสรุป วัดไผ่ลอ้ ม เป็นวดั โบราณสรา้ งมาต้ังแตส่ มยั กรุงศรอี ยุธยา อาจจะเป็น วัดเก่าแก่ที่สุดวัดหน่ึงบนเกาะเกร็ด วัดมีสภาพทรุดโทรมมาก เพราะมีชาวบ้านไม่มากประกอบกับ วดั ถูกทิ้งรา้ งมานาน ในปี พ.ศ. 2527 พระปลัดวนั ชัย วายาโม เจา้ อาวาสวัดไผ่ล้อม ไดร้ ว่ มกับประชาชน พัฒนาวัดจนมสี ภาพดี เป็นประโยชน์ตอ่ การท่องเทย่ี วเกาะเกรด็ 2. ความสาคญั ของวัดไผ่ล้อม วัดไผ่ล้อม มีความสาคัญ คือ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมมอญท่ีสาคัญ วดั ไผ่ล้อมจึงมีนักท่องเท่ียวมาทาบุญที่วัดมาก เดิมเป็นวัดท่ีสังกัดคณะสงฆ์รามัญนิกาย ปัจจุบันสังกัด คณะสงฆ์มหานกิ าย วดั ไผล่ อ้ ม มีความสาคญั คือ มโี บสถ์ที่งดงามมาก ลายหน้าบันจาหลักไม้เปน็ ลาย ดอกไม้ มคี ันทวยและบวั หวั เสาทีง่ ดงาม หนา้ โบสถ์มีเจดีย์ขนาดยอ่ มสององคร์ ปู ทรงคลา้ ยมะเฟอื ง ฐานสี่เหลี่ยมยอ่ มมุ ไมส้ บิ สอง ประดบั ลายปนู ปัน้ กล่าวโดยสรุป วัดไผ่ล้อมมีความสาคัญ คือ เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมมอญ ที่สาคัญ มีโบสถ์ที่งดงามมาก เป็นแหล่งรวบรวมศิลปวัฒนธรรม และโบราณสถานที่เก่ียวกับ ประวัติศาสตร์มากมาย 3. วตั ถุ และสิง่ ก่อสรา้ งที่สาคัญภายในวัดไผ่ลอ้ ม 3.1 อุโบสถ เป็นอาคารทรงโรง หลังคาลด 2 ชั้น ก่ออิฐถือปูนขนาด 5 ห้อง กวา้ ง 7 เมตร ยาว 20 เมตร มีลักษณะรูปทรงและสัดส่วนงดงามมาก อุโบสถหันหน้าไปทางทิศเหนือ ทางแม่น้าเจ้าพระยาซึ่งเป็นคตินิยมในการสร้างพระอุโบสถรุ่นโบราณ ที่ถือแม่น้าเป็นหลักไม่ได้ถือ ทิศตะวันออกเป็นหลักเช่นท่ีถือปฏิบัติกันในสมัยหลัง หน้าบันไม้จาหลักลายดอกพุดตาลใบเทศ ปิดทองประดับกระจกคันทวยไมจ้ าหลักปิดทองประดับกระจก เป็นคนั ทวยท่งี ามอ่อนช้อยมาก ช่อฟ้า ใบระกาหางหงส์ เป็นไมป้ ิดทองประดับกระจกทงั้ หมดรวมท้งั หน้าบันปีกนกจาหลักลายใบเทศ ปิดทอง ประดบั กระจกเชน่ กนั ซง่ึ เป็นการบูรณะในชว่ งสมยั รัชกาลที่ 3 ถงึ รัชกาลท่ี 4 ด้านหนา้ และด้านหลงั มี มุขคลุมชานชาลาท้ังสองด้าน เสารับมุขก่ออิฐถือปูน เป็นเสาเหลี่ยมย่อมุม บัวหัวเสา บัวจงกลปูนปั้น รูปทรงงามปิดทองประดับกระจก ประตดู า้ นหนา้ และดา้ นหลังด้านละสองประตู ซุ้มประตู ซ้มุ หนา้ ต่าง เดิมเป็นซุ้มเรือนแก้วปูนปั้นปิดทองประดับกระจก แต่ปัจจุบันเป็นปูนรูปทรง ไม่งามเหมือนของเดิม ผนังหุ้มกลองด้านหน้าระหว่างประตูทั้งสอง มีมณฑปปูนปั้นประดิษฐานพระพุทธรูป ผนังมณฑป ด้านขวา และซา้ ยของพระพทุ ธรูปเขยี นภาพพระสาวกยืนพนมมือถวายสักการะดา้ นละหนงึ่ รปู 44 มณฑปนี้ได้ทาใหม่ภาพเขียนดังกล่าวนี้จึงไม่มีให้เห็นในปัจจุบัน เพราะผุพัง ถูกกะเทาะทิ้งและโบกปูน ทับใหม่ พระอุโบสถหลงั นี้ถงึ จะมกี ารปรบั ปรุงซอ่ มแซมไปบ้าง แต่ยังคงเห็นความงามของพระอุโบสถ เชน่ เดียวกับพระอุโบสถวดั ฉมิ พลีสทุ ธาวาส 3.2 เสมา รอบพระอุโบสถเป็นเสมาขนาดเล็กอยูใ่ นซุ้มเสมาทงั้ หมด 3.3 กาแพงแก้ว ของเดิมก่ออิฐถือปูนเป็นกาแพงเต้ียแบบกาแพงบัวหลังเจียดแต่ ชารุดมาก ได้สร้างกาแพงคอนกรีตขนาดสูง และมีซุ้มประตูกาแพงแก้วท้ังด้านหน้าและด้านหลัง อโุ บสถ 45 3.4 พระเจดียค์ ู่หน้าพระอุโบสถ ดา้ นหนา้ อโุ บสถมีเจดยี แ์ บบมอญ 2 องค์ องค์ระฆัง มีรูปทรงกลมคล้ายบาตรคว่ามีลายปูนป้ันปิดลายใบเทศประดับรอบองค์ระฆัง อยู่บนฐานส่ีเหล่ียมย่อ มมุ มปี ลียอดแบบเจดีย์มอญท่วั ไป มีการบูรณะสมัยรชั กาลท่ี 3 46 3.5 พระธาตุรามัญเจดีย์ ด้านหลังอุโบสถเดิมมีพระธาตุรามัญเจดีย์ขนาดใหญ่แต่ ชารุดปรกั หกั พัง ทางวัดได้สร้างพระเจดีย์องค์ใหม่ครอบองค์เจดีย์เดิม เม่ือ พ.ศ. 2530 เป็นเจดีย์มอญ ท่ีมีความงดงาม องค์พระเจดีย์ประดิษฐานอยู่บนฐานใหญ่ รอบฐานในทิศทั้งแปด มีซุ้มประดิษฐาน พระพุทธรูปประจาวัดแบบมอญทั้ง 8 ทิศ กาแพงแก้วล้อมรอบพระธาตุรามัญเจดีย์ ทางด้านทิศ ตะวนั ออก และทศิ ตะวันตกมซี ุ้มประตูแบบมอญทั้งสองดา้ น 47 3.6 หอระฆงั ตง้ั อยู่หลังพระธาตรุ ามญั เจดีย์อยูร่ ะหว่างศาลาการเปรียญ และศาลา บาเพ็ญบญุ และทีพ่ ักสงฆ์เป็นสถาปัตยกรรมแบบมอญทรงจตั รุ มุขยอดเป็นแบบยอดเจดียม์ อญ 48 3.7 หอระฆังเก่า เป็นหอระฆังเคร่ืองไม้ทั้งหมด หลังคาจัตุรมุขหน้าบันจาหลักลาย กา้ นขด และรูปเสมากลางหนา้ บัน มีความสวยงาม ท้ังหอสวดมนต์ หมู่กุฏิ และหอระฆังอยู่ในสภาพที่ ทรุดโทรมมาก แตย่ ังเห็นความอลงั การของสถาปตั ยกรรมโบราณเหล่านี้ได้ 3.8 ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยสองช้ัน หน้าบัน ศาลาการเปรียญปั้นเป็นรูปมนุษย์สีหะซึ่งเป็นคติความเชื่อของคนมอญ วัดมอญจะนิยมทารูปมนุษย์ สีหะมียันต์อักขระมอญ บันไดขึ้นศาลาด้านหน้าทาหลังคาคลุมลดช้ันตลอดต้ังแต่เชิงบันไดขึ้นไปตาม แบบวัดมอญ 3.9 ศาลาบาเพ็ญบุญ และที่พักสงฆ์ เป็นอาคารขนาดเดียวกับศาลาการเปรียญ สร้างในแนวเดียวกัน และมีหน้าบันคล้ายกัน กล่าวคือ มีรูปมนุษย์สีหะ และยันต์อักขระมอญ เป็น อาคารอเนกประสงค์เป็นสถานท่ีปฏิบัติธรรม และที่พักสงฆ์ ด้านหน้ามีบันไดขึ้น และหลังคาลดช้ัน คลมุ บันไดเชน่ เดียวกบั บนั ไดขึ้นศาลาการเปรยี ญ 3.10 หอสวดมนต์ และหมู่กุฏิของเดิม ด้านทิศตะวันตกของอุโบสถ เป็นที่ตั้ง หอ สวดมนต์และหมู่กุฏิเก่า เป็นอาคารไม้ทั้งหมด มีหอสวดมนต์อยู่ตรงกลาง ทรงศาลาโถงประดิษฐาน พระพุทธรูป และเป็นที่พระสงฆ์มารวมสวดมนต์อยู่ตรงกลาง ทรงศาลาโถงประดิษฐานพระพุทธรูป และเป็นที่พระสงฆ์มารวมสวดมนต์ทาวัตรเช้า และทาวัตรเย็น ทั้งเป็นสถานท่ีฉันภัตตาหารของ พระภกิ ษสุ ามเณรในวดั ด้วย 49 3.11 พระอุปคตุ ผู้เป็นพระอรหนั ต์สาวกท่ีทรงมหิทธานุภาพ มฤี ทธ์ิอานาจในทาง ปราบศัตรูหมู่มารทั้งหลาย พระอุปคุต แปลว่า “ผู้คุ้มครองรักษา” เป็นศิษย์ของพระมหากัสสปะ ชอบความวิเวกสงบ และอยู่ตามลาพังผู้เดียว ไม่ชอบเก่ียวข้องกับผู้อื่น ท่านจึงเข้านิโรธสมาบัติ จา พรรษาภายในกุฏิเรือนแกว้ กลางสะดือทะเล มักจะสร้างเป็นรปู พระอุปคุตแตกต่างกันไปหลายรปู แบบ เช่น น่ังอยู่ภายในกุ้ง หอย ปู ปลา หรือพระบัวเข็ม อันเป็นสัญลักษณ์สาคัญทาให้ ศีรษะแหลม เพราะทีศ่ รี ษะคลมุ ด้วยใบบวั มลี กั ษณะแหลม จึงเรียกกนั วา่ \"พระบัวเขม็ กล่าวโดยสรุป วตั ถุ และสง่ิ ก่อสรา้ งทส่ี าคญั ภายในวัดไผ่ล้อม คือ อุโบสถ เสมา กาแพงแกว้ พระเจดยี ์คู่หนา้ พระอุโบสถ พระธาตุรามัญเจดีย์ หอระฆัง หอระฆงั เกา่ ศาลาการเปรียญ ศาลาบาเพ็ญบุญ และท่ีพักสงฆ์ หอสวดมนต์ หมู่กุฏขิ องเดิม และพระอปุ คุต 4. หลกั ธรรมทสี่ าคัญของวัดไผล่ ้อม หลักธรรมทส่ี าคญั ของวัดไผ่ล้อม คือ “ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศลี 5” ศีล เป็นหลักปฏิบัติท่ีสาคัญสาหรับพุทธศาสนิกชน เป็นหลักปฏิบัติข้ันพ้ืนฐานท่ีจะ นาไปสู่การสารวมกาย และวาจา เพื่อไม่ให้ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเอง และผู้อื่น ศีล 5 ประกอบดว้ ย ข้อ 1 งดเวน้ จากการฆา่ สัตว์ ข้อ 2 งดเว้นจากการลกั ขโมย ขอ้ 3 งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ขอ้ 4 งดเวน้ จากการพดู เท็จ พูดคาหยาบ คาสอ่ เสียด เพ้อเจอ้ ขอ้ 5 งดเวน้ จากดม่ื สุรา และของมึนเมา กลา่ วโดยสรุป หลกั ธรรมที่สาคญั ของวดั ไผล่ ้อม คือ ปฏบิ ัติตนตามหลัก ศีล 5กก 50 เรื่องท่ี 3 วดั เสำธงทอง 1. ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดเสาธงทอง วัดเสาธงทอง เดิมช่ือ “วัดสวนหมาก” เป็นวัดท่ีมีเจดีย์สูงสุดในอาเภอปากเกร็ด เป็นศิลปะอยุธยาย่อมุมไม้สิบสอง มีเจดีย์องค์เล็กเป็นบริวารโดยรอบ อีก 2 ชั้นด้านข้างมีเจดีย์องค์ ใหญอ่ กี 2 องค์ เปน็ ทรงระฆัง (ทรงลงั กา) กับทรงมะเฟอื ง คนมอญเรยี กวัดนี้ว่า “เพย๊ี ะอาล๊าต” มีพระปางมารวิชัยเป็นพระประธานประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถ ซุ้มประตูหน้าต่าง เป็นศิลปะปูนปั้นขนาดใหญ่สวยงามมาก ส่วนบานประตูหน้าต่างน้ันเขียนลายทองลายรดน้าภาพต้น นารีผลไว้ แต่ถูกทาสีทับหมดคงเหลือเพียงลายกรวยเชิงทองงดงามท่ีมีให้เห็นบนเพดานพระอุโบสถ ดา้ นขา้ งพระอุโบสถมีเจดีย์องค์ใหญ่อีก 2 องค์ องค์หนึง่ เป็นเจดีย์ทรงระฆังกลมอีกองค์หน่ึง เป็นเจดีย์ ทรงมอญฐานสี่เหลี่ยม องค์ระฆังเปน็ ทรงกลมสูง มีพู ดา้ นหลังเจดยี ์องค์น้ีมตี ้นยางนา 2 ต้น ยนื เคียงคู่ กนั มาร่วมร้อยปี นอกจากน้ี ยงั มีเจดีย์ยอ่ มุมไม้สบิ สองอยู่ด้านหลังพระอุโบสถ ซง่ึ เป็นเจดยี ท์ ่ีสงู ท่ีสุดใน อาเภอปากเกร็ด ตั้งอยู่บนฐานส่ีเหล่ียมขนาดใหญ่ ด้านข้างวัดมีห้องสมุดประชาชน ตัวอาคารเป็น สถาปตั ยกรรมทรงยโุ รป วดั เสาธงทอง ตั้งอย่รู ะหวา่ งพระนารายณร์ าชนิเวศน์ กบั บ้านหลวงรับราชทูต เปน็ วัด เก่าแก่โบราณเดมิ แยกเป็น 2 วัด คือ วัดรวก กับวัดเสาธง พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลอยุธยา ได้รายงานกราบทูลเสนอความเห็นต่อสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้าพระยาว ชิรญาณวโรรส เม่ือคราวเสดจ็ ตรวจการคณะสงฆ์ในมณฑลอยุธยาว่า วัดรวก มีโบสถ์ วดั เสาธง มีวหิ าร