ประว ต สมเด จพระนเรศวรมหาราช ม พระนามเด มว าพระนเรศ

อาหารกห็ มดจึงยอมจานน หลังจากทีพ่ มา่ ไดห้ วั เมืองฝา่ ยเหนือแล้วจงึ บงั คบั ใหพ้ ระมหาธรรมราชาและเจ้าเมือง

ถือน้ากระทาสัตย์ให้อยู่ใต้บังคับของพม่า จึงทาให้พิษณุโลกต้องแปรสภาพเป็นเมืองประเทศราชของหงสาวดี

และไม่ขึน้ ตอ่ กรุงศรอี ยธุ ยา

พร้อมทั้งส่ังให้ยกทัพตามลงมาเพื่อตีกรุงศรีอยุธยาด้วยในเวลาต่อมา กองทัพพม่าก็ยกมาประชิดเขต เมืองใก้ลทุ่งลุมพลีพระมหาจักรพรรดิทรงให้กองทัพบก กองทัพเรือ ระดมยิงใส่พม่าเป็นสามารถ แต่สู่ไม่ได้จึง ถอย ทางพม่าจงึ ยึดไดป้ อ้ มพระยาจักรี (ทุ่งลุมพลี) ป้อมจาปา ป้อมพระยามหาเสนา (ทุ่งหันตรา) แล้วล้อมกรุง ศรอี ยุธยาอย่นู าน พระมหาจกั รพรรดทิ รงเห็นว่าพม่ามกี าลังมาก การท่ีจะออกไปรบเพื่อเอาชัยคงจะยากนัก จึง ทรงสั่งให้เรอื รบนาปนื ใหญ่ลอ่ งไปยิงทหารพม่าเปน็ การถ่วงเวลาให้ เสบียงอาหารหมดหรือเข้าฤดูน้าหลากพม่า คงจะถอยไปเอง แต่พมา่ ได้เตรยี มเรือรบ และปืนใหญม่ าจานวนมากยงิ ใสเ่ รือรบไทยพังเสียหายหมด แล้วต้ังปืน ใหญย่ ิงเขา้ มา ในพระนครทกุ วนั ถูกชาวบ้านล้มตาย บ้านเรือน วดั เสยี หายมาก ทางพระเจ้าบุเรงนองจึงมีพระ ราชสาสน์มาว่า จะรบต่อไปหรอื ยอมเปน็ ไมตรี เนอ่ื งดว้ ยทางไทยเสยี เปรยี บมาก พระมหาจักรพรรดิจึงทรงยอม เป็นไมตรี ทาให้ฝ่ายไทยต้องเสียช้างเผือกจาก 2 เชือก เป็น 4 เชือก และทุกปีต้องส่งช้างให้ 30 เชือก พร้อม เงิน 300 ชั่ง จับตัวพระยาจักรี พระราเมศวร และ พระสมุทรสงคราม ไปเป็นตัวประกัน นอกจากน้ียังจะขอ เก็บภาษีอากรจากเมืองมะริดท่ีข้ึนกับไทยอีกด้วย ขณะน้ันสมเด็จพระนเรศวรทรงทรงพระเยาว์ ทรงใช้ชีวิตอยู่ ในพระราชวงั จันทน์ เมืองพิษณโุ ลก

พระเจา้ บเุ รงนอง

พระเจา้ บเุ รงนองทรงขอพระนเรศวรไปเป็นองค์ประกันท่ีหงสาวดีในปี พ.ศ. 2107 ทาให้พระองค์ต้อง จากบา้ นเกิดเมืองนอนตงั้ แต่มีพระชนมม์ ายเุ พียง 9 พรรษา

พระนเรศวรทรงประทบั อย่ใู นฐานะ “โอรสบญุ ธรรม” ของกษัตรยิ ์พม่าถึง 7 ปีเน่ืองจากการท่ีพระองค์ มีชีวิตอยู่ในฐานะองค์ประกันทาให้ทรงมีความกดดันสูงจากมังกะยอชวา (พระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง) จึงทรงมีแรงผลักดันที่จะกอบกู้อิสรภาพให้กับบ้านเมืองของพระองค์ เช่น จากการชนไก่ของพระองค์กับมังกะ ยอชวา เมืองพิษณุโลก สมัยสมเด็จพระนเรศวร การตีไก่เป็นกีฬาท่ีทรงโปรดมาแต่ทรงเยาว์วัย เม่ือเสด็จไป ประทับท่ีพม่า...ก็ทรงนาไก่ชนไปด้วย พม่าสมัยน้ัน การตีไก่ถือเป็นกีฬาในวัง บรรดาเช้ือพระวงศ์นิยมเลี้ยงไก่ ชนกันแทบทุกตาหนัก ประยูร พิศนาคะ พรรณนาการตีไก่ ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับไก่พระมหาอุปราช ของพม่า ไว้ในหนงั สอื สมเด็จพระนเรศวร ฉบับออกอากาศ ว่า “ขณะทไ่ี กฟ่ าดแขง้ กันอย่างอุตลุดพัลวัน สายตา ทกุ คู่ต่างก็เอาใจช่วย และแทบว่าจะไปชนแทนไก่ก็ว่าได้ คล้ายกบั ว่าไก่ชนกนั ไม่ได้ดังใจตน เม่ือท้ังสองไก่พัวพัน กันอยู่พักหนึ่ง ไก่ของพระมหาอุปราชก็มีอันล้มกลิ้งไปต่อหน้าต่อตา ไก่ของพระนเรศวรกระพือปีกอย่างทะนง และขนั เสยี งใส พระมหาอปุ ราชถงึ สะอึก สะกดพระทยั ไวไ้ มไ่ ด้ ตรัสว่า “ไก่เชลยตัวน้ีเก่งจริงหนอ”พระนเรศวร ตรัสตอบ “ไก่เชลยตวั นี้ อย่าว่าแต่จะตกี นั อยา่ งกีฬาในวังเหมือนอย่างวนั น้เี ลย ตีพนันบา้ นเมืองกันก็ยงั ได้”

สมเด็จพระนเรศวรฯประทบั อยู่ท่ีหงสาวดไี ด้ 6 พรรษา การท่ีได้เสด็จไปประทับอยู่หงสาวดีถึง 6 ปีนั้น ก็เป็นประโยชน์ยิ่งเพราะทรงทราบทั้งภาษา นิสัยใจคอ ตลอดจนล่วงรู้ความสามารถของพม่า ซึ่งนับเป็นทุน สาหรับคิดอา่ นเพอ่ื หาหนทางในการต่อสูก้ ับพม่า

การเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาคร้ังที่ 1 กอ่ นเสียกรุงศรอี ยุธยา

พระมหาธรรมราชาเสด็จไปเฝา้ พระเจ้าบุเรงนองในปี พ.ศ. 2108 โดยทรงกล่าวโทษว่าอยุธยาวางแผน กาจัดพระองค์ พระเจา้ บเุ รงนองจึงใหพ้ ระมหาธรรมราชาเป็นเจา้ เมืองประเทศราช ทรงพระนามว่า พระศรีสรร เพชญ์ เจ้าฟ้าพิษณุโลก หรือ เจ้าฟ้าสองแคว อันอยู่ในฐานะกบฏต่ออาณาจักรอยุธยาพระมหาจักรพรรดิกับ พระมหินทร์เสด็จขึ้นไปเมืองพิษณุโลกในขณะท่ีพระมหาธรรมราชาเสด็จไปหงสาวดีแล้วนาพระวิสุทธิกษัตรี พร้อมด้วยพระเอกาทศรถมาอย่ทู กี่ รุงศรอี ยุธยา เมอื่ พระมหาธรรมราชาทราบเร่ืองจึงให้ไปเข้ากับหงสาวดีอย่าง เปิดเผย ถึงแมว้ า่ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจะทรงนาพระชายา พระโอรสและพระธิดาของพระมหาธรรมราชา ลงมายงั อยธุ ยา โดยหวังว่าพระมหาธรรมราชาจะไม่ทรงกล้าดาเนินการใด ๆ ต่อกรุงศรีอยุธยา แต่ก็การณ์มิได้ เป็นเช่นน้นั เม่ือพระมหาธรรมราชาเมอ่ื ทราบว่าพระอัครชายาและโอรสธิดาถูกจับเป็นองค์ประกันก็ทรงวิตกยิ่ง นัก แล้วรีบส่งสาสน์ไปยังพระเจ้าหงสาวดีให้ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ก่อนการเสียกรุง พ.ศ. 2112 พระมหา ธรรมราชาได้ทรงส่งกองทัพมาร่วมล้อมกรุงศรีอยุธยาร่วมกับทัพใหญ่ของพระเจ้าบุเรงนองด้วย และได้ปฏิบัติ หนา้ ท่ีสาคญั ในกองทัพพม่าด้วย และในปี พ.ศ. 2112 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชท่ี 1 แห่งล้านช้างทรงส่งกองทัพ เข้าชว่ ยเหลอื กรุงศรีอยุธยา พระมหาธรรมราชาก็ทรงปลอมเอกสารลวงให้กองทัพล้านช้างนาทัพผ่านบริเวณที่ ทหารพม่าคอยดกั อยู่ กองทพั ลา้ นช้างจงึ แตกพ่ายกลบั ไป

เจดีย์ดา่ นแม่ละเมา สมัยสมเดจ็ พระนเรศวร

พระเจ้าบุเรงนองทรงนาทัพเข้ารุกรานกรุงศรีอยุธยาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2111 ยกเข้ามาทางด่านแม่ ละเมา เมืองตาก รวมท้ังหมด 7 ทัพ ประกอบด้วย พระมหาอุปราชา เจ้าเมืองแปร เจ้าเมืองตองอู เจ้าเมือง อังวะ เจ้าเมืองเชียงใหม่ และเชียงตุง เข้ามาทางเมืองกาแพงเพช โดยได้เกณฑ์หัวเมืองทางเหนือรวมท้ังเมือง พิษณุโลกมาร่วมสงครามด้วย รวมจานวนได้กว่า 500,000 นาย ยกทัพลงมาถึงพระนครในเดือนธันวาคมปี เดียวกัน โดยใหพ้ ระมหาธรรมราชาเปน็ กองหลังดแู ลคลังเสบียง ทัพพระเจ้าบเุ รงนองก็ต้ังค่ายรายล้อมพระนคร อยไู่ ม่ห่าง การต้ังรับภายในพระนครส่งผลให้มีการระดมยิงปืนใหญ่ของข้าศึกทาลายอาคารบ้านเรือนอยู่ตลอด ทาใหไ้ ดร้ บั ความเสียหายอยา่ งมากฝา่ ยกรุงศรอี ยุธยาเม่ือทราบว่าหัวเมืองทางเหนือเป็นของพม่าแล้ว จึงเตรียม รบอยูท่ พ่ี ระนคร นาปืนนารายณ์สังหารยิงไปยังกองทัพพระเจ้าหงสาวดีท่ีตั้งอยู่บริเวณทุ่งลุมพลี ถูกทหาร ช้าง มา้ ลม้ ตายจานวนมาก พม่าจึงถอยทัพมาตั้งที่บ้านพราหมณ์ให้พ้นทางปืน แล้วพระเจ้าหงสาวดีจึงเรียกประชุม การศึก พระมหาอุปราชเห็นสมควรให้ยกทพั เข้าตไี ทยทุกด้านเพราะมีกาลังมากกว่า แต่พระเจ้าหงสาวดีไม่เห็น ด้วยเพราะกรุงศรีอยุธยามีทาเลดีมีน้าล้อมรอบ จึงสั่งให้ตีเฉพาะด้านตะวันออกเพราะคูเมืองแคบที่สุด พม่า พยายามจะทาสะพานข้ามคูเมืองโดยนาดินมาถมเป็นสะพาน พระมหาเทพนายกองรักษาด่านอย่างเต็ม สามารถ โดยให้ทหารไทยใชป้ ืนยิงทหารพมา่ ที่ขนดินถมเปน็ สะพานเขา้ มา ทาใหพ้ มา่ ล้มตายจานวนมากจึงถอย ข้ามคูกลับไป พระเจ้าบุเรงนองทรงพยายยามโจมตีอยู่นานจนถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2112 ก็ยังไม่ได้กรุงศรี อยุธยา อีกทั้งยังสูญเสียกาลังพลเป็นจานวนมาก พระองค์ทรงพยายามเปล่ียนที่ตั้งค่ายอยู่หลายระยะ โดยใน ภายหลังทรงยา้ ยคา่ ยเขา้ ไปใกล้กาแพงเมืองจนทาให้สูญเสียพลอย่างมาก ระหว่างการสงครามสมเด็จพระมหา จักรพรรดปิ ระชวรและสวรรคตในเวลาต่อมา สมเดจ็ พระมหินทรข์ ้นึ ครองราชย์และทรงบัญชาการรบแทน พระ เจ้าบเุ รงนองจึงถามพระมหาธรรมราชาว่าจะ ทาอย่างไรให้ชนะศึกโดยเร็ว พระมหาธรรมราชาทรงแนะว่าพระ ยารามเป็นแม่ทัพสาคัญหากได้ตัวมาการยึดพระนครจักสาเร็จ จึงมีสาสน์มาถึงพระอัครชายาว่า ".................. การศกึ เกิดจากพระยารามทย่ี ยุ งให้พ่ีน้องตอ้ งทะเลาะกัน ถา้ สง่ ตัวพระยารามมา ใหพ้ ระเจ้าหงสาวดีจะยอมเป็น ไมตรี..." สมเด็จพระมหินทร์ฯทรงอ่านสาสน์แล้ว ปรึกษากับข้าราชการต่างๆจึงเห็นสมควรสงบศึกเพราะผู้คน ลม้ ตายกนั มากแลว้ สมเด็จพระมหินทร์ฯมีรบั สง่ั ใหส้ ง่ พระสงั ฆราชออกไปเจรจาและสง่ ตัวพระยารามให้พระเจ้า

บุเรงนองเพ่ือเป็นไมตรี แต่พระเจ้าบุเรงนองตบัตสัตย์ไม่ยอมเป็นไมตรี ทาให้สมเด็จพระมหินทร์ฯทรงพิโรธ โกรธแค้นในการกลับกลอกของพระเจ้าบุเรงนองอย่างมาก มีรับส่ังให้ขุนศึกทหารท้ังปวงรักษาพระนครอย่าง เข้มแข็ง พระเจ้าบุเรงนองเห็นว่ายังไม่สามารถตีกรุงศรีอยุธยาไม่ได้ จึงส่งพระมหาธรรมราชามาเกลี้ยกล่อมให้ ยอมแพแ้ ต่ถกู ทหารไทยเอาปนื ไล่ยิงจนตอ้ งหนกี ลบั ไป

พระเจา้ หงสาวดจี ึงคิดอบุ ายจะใชพ้ ระยาจักรีที่จบั ตัวไดเ้ ปน็ ประกันเมื่อครั้งสงครามช้างเผือกเป็นไส้ศึก จงึ ให้พระมหาธรรมราชาทรงเกลย้ี กลอ่ มพระยาจกั รใี หเ้ ป็นไส้ศึกในกรุงศรอี ยธุ ยา แลว้ แกลง้ ปล่อยตัวออกมา รุ่ง เช้าพม่าทาทีเป็นตามหาแต่ไม่พบเลยจับตัวผู้คุมมาตัดหัวเสียบไว้ริมแม่น้าเพื่อให้ไทยหลงกล สมเด็จพระ มหินทร์ฯทรงดีพระทัยท่ีพระยาจักรีหนีมาได้จึงทรงแต่งตั้งให้เป็นผู้บังคับบัญชาการรบแทนที่พระยาราม คร้ัน พระยาจักรีได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งรักษาพระนครแล้วจึงดาเนินการสับเปล่ียนหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ จนกระท่ังการปอ้ งกันพระนครออ่ นแอลง พระยาจกั รีได้ใส่ ร้ายให้พระศรีสาวราชว่าเปน็ กบฏจงึ ถกู สาเร็จโทษ

กองทัพพมา่ ล้อมกรงุ ศรอี ยธุ ยาอยไู่ ด้ 9 เดือน ลุวันอาทิตย์ 7 สงิ หาคม แรม 11 คา่ เดอื น 9 ปี มะเส็ง พ.ศ.2112 พระยาจักรจี ึงใหส้ ัญญาณแก่พมา่ เข้าตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาและเปิดประตูเมือง ทาให้ ทัพ พมา่ เขา้ ยึดพระนครสาเร็จ กรงุ ศรอี ยธุ ยาจงึ ตกเปน็ เมอื งขนึ้ ของพมา่

พระนางสุพรรณกลั ยา

พระเจ้าบุเรงนองประทับอยู่ท่ีกรุงศรีอยุธยาจนกระทั่ง วันศุกร์ข้ึนหกค่า เดือนสิบสอง ปีมะเส็ง พ.ศ. 2112 ได้อภิเษกให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ขึ้นเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยา ในฐานะประเทศราช ทรงพระนามว่า สมเด็จพระสรรเพชญท่ี 1 บางแห่งเรียก ''พระสุธรรมราชา'' สมเด็จพระมหินทราธิราช พระ บรมวงศานวุ งศ์ และขุนนางน้อยใหญ่ ได้ถูกนาไปกรุงหงสาวดีด้วยแต่สมเด็จพระมหินทร์ประชวรและสวรรคต ระหว่างทางไปกรุงหงสาวดี พม่าเข้ายึดทรัพย์สินและกวาดต้อนผู้คนกลับไปพม่าเป็นจานวนมาก โดยเหลือให้ รักษาเมืองเพียง 1,000 คน บา้ นเรือนและสง่ิ ปลูกสร้างท้ังหลายได้รับความเสียหายเป็นอันมาก และให้กองทัพ หงสาวดจี านวนสามพันคนอยู่รักษาพระนคร เมื่อพระมหาธรรมราชาเสด็จขึ้นครองราชย์ แล้ว ทรงทูลขอพระ นเรศวรฯ คืนจากพระเจ้าหงสาวดี เพื่อให้กลับมาช่วยราชการบ้านเมือง สถาปนาให้เป็น "พระนเรศวร" ตาแหน่งสมเด็จพระโอรสผู้เป็นมหาอุปราชหรือ “วังหน้า” โดยมีพระอนุชา (พระเอกาทศรถ) ในฐานะ “วัง หลัง” ที่จะสืบราชสมบัติแทนและพระมหาธรรมราชาได้ส่งตัวพระราชธิดาพระนางสุพรรณกัลยา ไปเป็นตัว ประกนั แทนอาณาจกั รอยุธยาจงึ ตกเป็นเมอื งขน้ึ ของพม่าเป็นเวลานาน 15 ปี

การตีกรงุ ศรอี ยุธยาของเขมร

ระหว่างท่ีไทยยังเป็นประเทศราชแก่พม่าอยู่ และสมเด็จพระนเรศวรฯทรงเป็นมหาอุปราชอยู่ เมือง พิษณโุ ลก ผู้คนพลเมืองของไทยถูกกวาดตอ้ นไปพม่าเป็นจานวนมาก ฝ่ายเขมรซ่ึงเคยเป็น ประเทศราชของไทย เม่ือเห็น กรงุ ศรอี ยุธยาอ่อนแอ ในปี พ.ศ. 2113 พระยาละแวกหรือสมเด็จพระบรมราชา กษัตริย์เขมร ซ่ึงเคย เปน็ เมอื งขึ้นของกรุงศรอี ยุธยามากอ่ นตั้งแต่ครั้งสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 เห็นกรุงศรีอยุธยาบอบซ้าจากการทา สงครามกับพม่าจึงถือโอกาสยกกองทัพเข้ามาซ้าเติมโดยมีกาลังพล 20,000 นาย เข้ามาทางเมืองนครนายก เม่ือมาถึงกรุงศรีอยุธยาได้ต้ังทัพอยู่ที่ตาบลบ้านกระทุ่มแล้วเคลื่อนพลเข้าประชิดพระนครและได้เข้ามายืนช้าง บัญชาการรบอยู่ในวัดสามพิหาร รวมท้ังวางกาลังพลรายเรียงเข้ามาถึงวัดโรงฆ้องต่อไปถึงวัดกุฎีทอง และนา กาลงั พล 5,000 นาย ชา้ ง 30 เชือก เขา้ ยึดแนวหน้าวัดพระเมรุราชิการามพร้อมกับให้ทหารลงเรือ 50 ลาแล่น

เข้ามาปล้นพระนครตรงมุมเจ้าสนุก ในคร้ังน้ันสมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จออกบัญชาการการรบป้องกัน พระนครเปน็ สามารถ กองทัพเขมรพยายามยกพลเข้าปล้นพระนครอยู่ 3 วัน แต่ไม่สาเร็จจึงยกกองทัพกลับไป และไดก้ วาดต้อนผ้คู นชาวบ้านนาและนครนายกไปยังประเทศเขมรเปน็ จานวนมาก

วัดพนัญเชิง อยุธยา ต่อมาเม่ือปี พ.ศ. 2117 ในขณะท่ีกองทัพกรุงศรีอยุธยาภายใต้การบังคับบัญชาของสมเด็จพระธรรม ราชาธริ าชและพระนเรศวรไดย้ กกองทพั ไปช่วยพระเจา้ หงสาวดีเพ่ือตีเมืองศรีสัตนาคนหุต พระยาละแวกได้ถือ โอกาสยกกองทัพมาทางเรือเข้าตีกรุงศรีอยุธยาอีกคร้ังหน่ึง แต่การศึกคร้ังน้ีโชคดีเป็นของกรุงศรีอยุธยา กล่าวคือขณะที่กองทัพกรุงศรีอยุธยายกไปถึงหนองบัวลาภู เมืองอุดรธานี พระนเรศวรประชวรเป็นไข้ทรพิษ ดังน้ันพระเจ้าหงสาวดีจึงโปรดให้กองทัพกรุงศรีอยุธยายกทัพกลับไป โดยกองทัพกรุงศรีอยุธยากลับมาได้ ทันเวลาทก่ี รุงศรอี ยุธยาถูกโจมตีจากกองทพั เรือเขมรซงึ่ ขึ้นมาถึงกรงุ ศรีอยุธยาเมือ่ เดือนอ้าย พ.ศ. 2118 โดยได้ ตั้งทัพชุมนุมพลอยู่ที่ตาบลขนอนบางตะนาวและลอบแฝงเข้ามาอยู่ในวัดพนัญเชิง รวมท้ังใช้เรือ 3 ลาเข้าปล้น ชาวเมอื งทต่ี าบลนายกา่ ย ฝา่ ยกรุงศรอี ยธุ ยาได้ใช้ปืนใหญย่ ิงไปยงั ปอ้ มคา่ ยนายก่ายถูกข้าศึกล้มตายเป็นอันมาก แล้วให้ทหารเรือเอาเรือไปท้าทายให้ข้าศึกออกมารบพุ่ง จากนั้นก็หลอกล่อให้ข้าศึกรุกไล่เข้ามาในพื้นท่ีการยิง หวังผลของปืนใหญ่ เม่ือพร้อมแล้วก็ระดมยิงปืนใหญ่ถูกทหารเขมรแตกพ่ายกลับไประหว่างถอยไปน้ันก็ ปลน้ สะดม ไลจ่ ับผคู้ นพลเมอื ง ท่ธี นบุรแี ละพระประแดงนาไปกมั พูชาด้วย

สมเดจ็ พระเอกาทศรถ

รบกับเขมรท่ไี ชยบาดาล

ในปี พ.ศ. 2121 พระยาจีนจนั ตุ ขุนนางจีนของกมั พชู า รับอาสาพระสัฎฐามาปล้นเมืองเพชรบุรี แต่ต้อง พา่ ยแพ้ตีเข้าเมืองไม่ได้จะกลับกัมพูชาก็เกรงว่าจะต้องถูกลงโทษ จึงพาสมัครพรรคพวกมาสวามิภักด์ิอยู่กับคน ไทย โดยสมเด็จพระมหาธรรมราชาทรงชุบเล้ียงไว้ ต่อมาไม่นานก็ลงเรือสาเภาหนีออกไป เวลานั้นสมเด็จพระ นเรศวรมหาราชมีพระชนมายุได้ 24 พรรษา ตระหนักในพระทัยดีว่า พระยาจีนจันตุเป็นผู้สืบข่าวไปให้เขมร พระองค์จึงเสด็จลงเรือกราบกันยารีบตามไป เสด็จไปด้วยอีกลาหนึ่งตามไปทันกันเม่ือใกล้จะออกปากน้า พระ ยาจนี จนั ตยุ ิงปีนต่อสู้ สมเด็จพระนเรศวรจึงเร่งเรือพระที่น่ังข้ึนหน้าเรือลาอื่นประทับยืนทรงยิงพระแสงปืนนก สับท่ีหน้ากันยาไล่กระช้ันชิดเข้าไปจนข้าศึกยิงมา ถูกรางพระแสงปืนแตกอยู่กับพระหัตถ์ก็ไม่ยอมหลบ พระ เอกาทศรถเกรงจะเป็นอนั ตราย จึงตรัสส่ังให้เรือท่ีทรงเข้าไปบังเรือสมเด็จพระเชษฐาก็พอดีกับเรือท่ีทรงเข้าไป บังเรือสมเด็จพระเชษฐาก็พอดกี บั เรือสาเภาของพระยาจีนจนั ตุได้ลมแล่นออกทะเลไป เนื่องจากเรือรบไทยเป็น เรือเลก็ สูค้ ล่นื ลมไม่ไหวจาต้องถอยขบวนกลับขึ้นมาตามลานา้ พบกบั สมเด็จพระมหาธรรมราชาท่ีคุมกาลังทหาร ลงเรือหนุนตามมาที่เมืองพระประแดง ทรงกราบทูลเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนให้ทรงทราบ แล้วเคลื่อนขบวนกลับสู่ พระนคร

ต่อมาใน ปีพ.ศ.2122 เจ้ากรุงกัมพูชาให้พระทศราชาคุมกองทัพกัมพูชาเข้ามาตีเมืองนครราชสีมา ได้ สาเร็จ พระทศราชาได้ใจจึงคุมทหารรุกเข้ามาหมายจะปล้นจับเอาชาวเมืองสระบุรี และเมือง อ่ืน ๆ ไปเป็น เชลยด้วย สมเด็จพระนเรศวรซ่ึงประทับอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา จึงให้จัดไพร่พลสามพันคน รีบยกไปยังเมืองชัย บาดาล ตรัสสั่งให้พระชัยบุรีเจ้าเมืองชัยบาดาลกับพระศรีถมอรัตน์ เจ้าเมืองศรีเทพ คุมพลไปซุ่มต้ังอยู่ในดง สองข้างทางท่ขี า้ ศกึ ยกมา ผลท่ีสุดพระยาทั้งสองก็ทาลายกองทัพเขมรแตกหนีไปทางนครราชสีมา ถูกทัพหลวง นครราชสมี ากระหนา่ ตตี ่อไปอีก เจา้ ทศราชาจึงนาทพั ท่เี หลอื หนีไปเมอื งกัมพูชา

พระบรมราชานสุ าวรีย์สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชจงั หวัดอยุธยา

การทาสงครามกับเขมรก็ยังไม่จบสิ้น ทั้งนี้เพราะเขมรยังคงเช่ือว่าสยามยังอ่อนแอสามารถท่ีจะเข้ามา ปล้นชิงได้อยู่ พ.ศ. 2123 กษัตริย์กัมพูชาได้ให้พระทศราชาและพระสุรินทร์ราชาคุมกาลังประมาณ 5,000 ประกอบไปดว้ ยชา้ ง ม้า ลาดตระเวนเข้ามาในหัวเมืองด้านตะวันออก แล้วเคล่ือนต่อเข้ามายังเมืองสระบุรีและ เมืองอน่ื ๆ หมายจะปล้นทรัพย์จับผู้คนไปเป็นเชลยประจวบเหมาะกับพระนเรศวรเสด็จลงมาประทับอยู่ที่กรุง ศรีอยุธยาพอดี เมื่อทรงทราบข่าวศึกก็ทรงทูลขอกาลังทหารประจาพระนคร 3,000 คน ทั้งที่มีกาลังพลน้อย กว่าเขมรแต่สมเด็จพระนเรศวรก็สามารถวางกลศึกหลอกล่อ กระท่ังสามารถโจมตีทัพของเขมรให้แตกหนี กลับไปได้ในท่ีสุด ฝ่ายพระทศราชา และพระสุรินทร์ราชาเห็นทัพหน้าแตกยับเยิน ไม่ทราบแน่ว่ากองทัพไทยมี กาลงั มากนอ้ ยเพยี งใด ก็รีบถอยหนกี ลับไปทางนครราชสีมา ก็ได้ถูกทัพไทยท่ีดักทางคอยอยู่ก่อนแล้ว เข้าโจมตี ซ้าเติมอีก กองทัพเขมรท้ังหมดจึงรีบถอยหนีกลับไปกรุงกัมพูชา การรบคร้ังนี้ทาให้สมเด็จพระนเรศวรเป็นท่ี เคารพยาเกรงแก่บรรดาแม่ทัพนายกอง และบรรดาทหารท้ังปวงเป็นท่ียิ่ง กิตติศัพท์อันน้ีเป็นที่เลื่องลือไปถึง กรุงหงสาวดี และผลจากการรบคร้ังน้ีทาให้เขมรไม่กล้าลอบมาโจมตีไทยถึงพระนครอีกเลยพระปรีชาสามารถ ในการรบเป็นทีป่ ระจักษ์หลายครงั้ หลายคราว ครัน้ ย่งิ นานวันความกล้าแกร่งของพระนเรศวรยิ่งเพ่ิมขึ้นเป็นเงา ตามตวั ความสามารถในการเป็นผู้นาปรากฏใหเ้ หน็ อยา่ งชัดเจน จนกระท่งั ไดร้ ับความนบั ถือยกย่องโดยทวั่ ไป

สมเด็จพระนเรศวรมหาราชตเี ขมรเมอื งละแวกครั้งท่ี 1

เมืองเขมรโบราณ

พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต์ิ กล่าวถึงเหตุการณ์ท่ีสมเด็จพระนเรศวร มหาราชยกทพั ไปเมอื งละแวกคร้งั แรกในปี พ.ศ. 2129 ว่า ...คร้ังนั้นเสด็จออกไปชุมพลทั้งปวง ณ บางกระดาน ถึงวัน 5ฯ 3 ค่าเวลาอุษาโยคเสด็จพยุหยาตราจากบางกระดานไปต้ังทัพชัย ณ ชายเคือง แล้วเสด็จไปละแวก ครั้งนั้นได้ช้างม้าผู้คนมาก...” นอกจากน้ียังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับความ พิสดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) กล่าวว่า สมเด็จพระนเรศวรยก ทัพไปตีเมืองละแวกในปี จ.ศ. 945 ตรงกับ พ.ศ. 2126 แม้ปีศักราชจะไม่ตรงกับพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ แต่ก็เป็นเหตุการณ์เดียวกันน่ันเอง เหตุการณ์ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรง ยกทัพไปตีเมืองละแวกครั้งน้ี ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกวัดโรมโลก พบท่ีวัดอันโลก หรือโรมโลก จังหวัดตา แก้ว ประเทศกัมพูชา มีข้อความกล่าวถึงการท่ีสมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปตีเมืองละแวก ว่า“..กาลเมื่อสร้าง พระอารามน้ัน กุนนักษัตร ปี ศักราช 949 คราวศึกพระนเรศ (ขสฺสคับ) มารบละแวกแตกกันครานั้น...” สงครามคร้งั น้ีไม่ปรากฏในพงศาวดารของกมั พูชา แต่มีหลักฐานช้ันต้นคือ ศิลาจารึกวัดโรมโลกยืนยันว่าเกิดข้ึน จริง ประกอบกับตานานเรือ่ งสมเด็จพระนเรศวรตีเมืองละแวกในความทรงจาของชาวกัมพูชาที่กล่าวถึงสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชเสด็จมาตีเมืองละแวก 2 คร้ัง ซ่ึงน่าจะเป็นการแสดงให้เห็นชัดว่า สมเด็จพระนเรศวร มหาราชน่าจะทรงยกทพั ไปตลี ะแวกคร้งั แรกในปี พ.ศ. 2129

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตเี ขมรเมอื งละแวกคร้ังท่ี 2

เมอื งเขมรโบราณ แม้ว่าสงครามครั้งแรกสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จะทรงถอยทัพกลับโดยไม่สามารถตีเมืองละแวกได้ แต่คร้ันถึง พ.ศ. 2136 สมเด็จพระนเรศวร มหาราชได้ทรงยกทัพตีเมืองละแวกได้สาเร็จดังความที่ปรากฏใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐนิต์ิ ว่า“.. ณ วัน 6 ฯ 2 ค่า เพลารงแล้ว 3 นาลิกา 6 บาท เสด็จพยุบาดตราไปเอาเมิองละแวก แลตั้งทับไชยตาบลบางขวด เสด็จไปคร้ังน้ันใด้ตัวพญาศรีสุพัรรณใน วัน 1 ฯ 4 คาน้ัน...”หลังจากตีเมืองละแวกได้แล้ว กองทัพไทยได้นาพระศรีสุริโยพรรณ และพระราชบุตรทั้ง สอง คือพระชัยเจษฎา (พระชันษาได้ 15 ปี) และพระอุทัย (พระชันษาได้ 9 ปี) รวมทั้งเชลยเป็นจานวนมาก กลับไปกรุงศรีอยุธยา ถอื เปน็ การสิ้นสดุ ของการเปน็ ราชธานีเขมรแตเ่ พียงเทา่ นั้น เรื่องราวของพระยาละแวกมี บันทึกแตกตา่ งจากพงศาวดารไทยโดยมบี ันทกึ จาก “พงศาวดารละแวก ฉะบับแปล จ.ศ. 1170” โดยย่อมีอยู่ ว่า ทีก่ มั พชู าสมัยหนึง่ มีกษตั ริย์ 2 องค์เสวยราชยอ์ ยู่ ณ เมอื งละแวก คอื สมเด็จพระราชโองการ พระบรมราชา รามาธิราชธิบดี (นักพระสัฏฐานั่นเอง แต่ในพงศาวดารน้ีไม่ได้เรียกชื่อดังกล่าวเลย) กับพระอนุชา สมเด็จพระ ศรีสุริโยพรรณ แล้วกล่าวถึงพระนามพระมเหสี พระราชบุตรพระราชธิดา อย่างยืดยาว แล้วก็มากล่าวถึงทาง กรุงศรีอยุธยาว่าจู่ๆ สมเด็จพระนเรศวรฯ ก็มีพระราชประสงค์จะตีกัมพูชา ก็โปรดให้ราชบุรุษ 2 คนซ่ึงรู้เวทย์ มนตร์เดินทางไปละแวกโดยบวชเป็นพระเดินทางผ่านเมืองลาวย้อนกลับมาละแวก ท้ังสองไปอาศัยอยู่กับ พระสังฆราชแล้วต้ังช่ือตัวเองว่า สุรปัญโญ กับ ติกปัญโญ จากน้ันได้ “วางกฤตยาคม” ให้พระบรมราชาธิบดี หรอื พระยาละแวกเสียพระสติ เสพสุราบานท้ังวันท้ังคืน ต่อมาเมื่อพระมเหสีทรงพระประชวร พระยาละแวกก็ ทรงเชื่อคายุยงของ สุรปัญโญ กับ ติกปัญโญ ว่าให้รักษาด้วยการเผาพระพุทธรูป 4 พระองค์ในพระวิหาร จัตุรมุข จนกระท่ังเม่ือพระภิกษุทั้งสองเห็นว่าเป็นโอกาสแล้วจึงมีหนังสือไปกราบทูลสมเด็จพระนเรศวรให้ยก

ทัพมาตีเมืองละแวก แรกๆ พระยาละแวกก็ไม่ได้คิดจะสู้รบเป็นเรื่องเป็นราวจนกระท่ังศึกมาประชิดเต็มทีแล้ว จึงได้ยกทัพออกไปหมายจะกระทายุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรฯ แต่ช้างพระที่นั่งของพระยาละแวกกลับ อาละวาดไล่แทงช้างม้าไพร่พลทางฝ่ายเขมรเอง พระยาละแวกจึงเสด็จหนีไปจนถึงอาณาจักรล้านช้าง ด้าน สมเด็จพระนเรศวรฯ ได้นาพระศรีสรุ โิ ยพรรณกับพระญาตขิ องพระยาละแวกกลับไปกรุงศรีอยุธยา โปรดเกล้าฯ ให้พระมหามนตรีเป็นแม่ทัพคุมพลหมื่นเศษรักษาเมืองอยู่ที่สระแก้ว ต่อมา พระรามาธิบดีญาติพระยาละแวก รวมพลขับกองทัพพระมหามนตรีออกไปได้ แต่ยังเกิดเหตุวุ่นวายหลายอย่าง ทางเขมรจึงทูลขอพระศรีสุริโย พรรณกลบั ไปครองราชย์ สมเด็จพระนเรศวรฯ ก็ทรงอนุญาต พระศรีสุริโยพรรณเสด็จกลับถึงเมืองละแวกแล้ว ยังตอ้ งทรงปราบปรามกบฏตา่ งๆ อยเู่ ป็นเวลานานกว่าจะสามารถปราบดาภเิ ษกเป็นกษัตริยไ์ ด้โดยสมบูรณ์

ภาพปรศิ นาพระยาละแวกถูกประหารหรือหนีรอดไปได้ ทัง้ น้ีมีข้อสงั เกตวา่ พระราชพงศาวดารแปลฉบับนีไ้ มไ่ ด้กลา่ วถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างเมืองละแวกกับกรุง ศรีอยธุ ยากอ่ นหน้าท่สี มเด็จพระนเรศวรฯ จะเสด็จไปตีเมอื งละแวกเลย ทั้งในส่วนท่ีพระยาละแวกเคยแอบมาตี เมืองต่างๆ ตอนไทยติดศึกพม่าและในตอนที่ส่งพระศรีสุพรรณฯ หรือพระศรีสุริโยพรรณมาช่วยในศึกพระเจ้า เชยี งใหม่ ฯลฯ เลยเหมือนอยู่ดๆี ไทยกอ็ ยากตีเขมรขน้ึ มาเฉยๆ และการกล่าวว่าพระยาละแวกสามารถหนีไป ไดไ้ ม่ได้ถูกสังหารในพิธีปฐมกรรมดังทีพ่ งศาวดารไทยบางฉบบั กล่าวอ้าง ซ่ึงในวงวิชาการของเราเองทราบ กันมานานแล้วว่า พระยาละแวกหนีรอดไปได้โดยอ้างถึงเอกสารของชาวสเปนในยุคนั้นที่กล่าวไว้ เชน่ เดยี วกับหลักฐานของทางเขมร

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวร จงั หวดั ลาปาง

ในปี พ.ศ. 2124 พระเจ้าบุเรงนอง สวรรคต และพม่าภายใต้ราชวงศ์ตองอูก็ทาท่าจะแตกสลายลง พระนเรศวรได้เสดจ็ ไปยงั เมืองพระโคเพอ่ื ไปงานพระศพของกษัตริย์พม่า และน่าจะทรงทราบดีถึงเร่ืองโอกาสท่ี อยุธยาจะได้เป็น “เอกราช” ในขณะเดียวกันพม่าก็ทราบดีเหมือนกันว่าพระนเรศวรจะเอาใจออกห่างอยุธยา นอกจากจะตกเป็นเมืองข้ึนของพม่าแล้ว (ท้ังอยุธยาและเชียงใหม่) ภาคกลางของประเทศไทยได้รับความ เสยี หายมาก ประชากรจานวนมากถูกกวาดต้อนไปพม่า เมืองหลายเมืองถูกท้ิงร้างเพราะขาดประชากร ส่วนที่ อยุธยาเองพมา่ กต็ ง้ั กองทพั ของตนไว้ 3,000 คน ท้งั นี้เพ่ือควบคุมพระมหาธรรมราชามิให้เอาใจออกห่าง ดังน้ัน อยุธยาจึงอยใู่ นสภาพทอ่ี อ่ นแอ และขาดทหารป้องกนั เมอื งเป็นอย่างมากความอ่อนแอของอยุธยาเปิดโอกาสให้ กัมพูชาส่งกองทัพมารุกรานหัวเมืองชายทะเล ตั้งแต่แถบเมืองจันทบุรีจนถึงเพชรบุรี กัมพูชาได้ส่งกองทัพมาตี หัวเมืองชายทะเลดังกล่าวถึง 6 คร้ังและกวาดต้อนประชากรไปเป็นจานวนมาก สงครามไทย-กัมพูชาน้ีเป็น สงครามท่ีประทใุ นแถบชายแดนแถวจันทบรุ ี และเป็นสงครามท่ีมีการปล้นสะดมประชากร สงครามในลักษณะ ดังกล่าวมีมาตั้งแต่สมัยต้นอยุธยาหรือก่อนหน้านั้นด้วยซ้า พระนเรศวรทรงมีส่วนอย่างมากในการป้องกัน อยธุ ยาในคร้งั นี้ การสงครามกับกัมพูชาในครง้ั น้นั ทาใหอ้ ยุธยาสามารถใช้เป็นข้ออ้างในการที่สะสมกาลังคนโดย การโยกย้ายประชากรจากหัวเมืองเข้ามายังอยุธยาทั้งยังสามารถสร้างและซ่อมแซมกาแพงเมืองตลอดจนป้อม ปราการ และจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์เพิ่มเติมโดยปราศจากความสงสัยจากพม่า นอกเหนือจากภัยสงคราม ภายนอกแล้ว ในสมยั ดังกล่าวอยธุ ยากย็ งั เผชิญกับปญั หาภายในคือ “ขบถไพร่ญาณพเิ ชียร”

การรบทเี่ มืองรมุ เมืองคัง

สมเด็จพระนเรศวรตีเมอื งคัง เมื่อพระเจ้าบุเรงนองแห่งหงสาวดีสิ้นพระชนม์ ทางหงสาวดีจึงมีการผลัดเปลี่ยนแผ่นดินใหม่ โดย พระเจ้านันทบุเรงได้ข้ึนครองราชสมบัติสืบต่อจากพระเจ้าบุเรงนอง พระนเรศวรในขณะนั้นก็ได้คุมทัพและ เครื่องราชบรรณาการไปถวายแก่หงสาวดีตามราชประเพณีที่มีมา คือเม่ือหงสาวดีมีการผลัดเปล่ียนกษัตริย์ ประเทศราชจะตอ้ งปฏิบัติเช่นนี้ ทางด้านเจ้าฟ้าเมืองคัง ซึ่งเป็นเมืองออกของหงสาวดีแข็งเมือง ไม่ยอมส่งราชบรรณาการไปถวายพระ เจ้านันทบุเรง ดังนั้นทางหงสาวดีจึงจัดกองทัพข้ึน 3 กอง มีพระมหาอุปราชราชโอรสของพระเจ้านันทบุเรง พระสังขฑัตโอรสเจ้าเมืองตองอู ส่วนทัพที่ 3 คือกองทัพของพระนเรศวร แห่งกรุงศรีอยุธยาให้ยกไป ปราบปรามเมืองคัง กองทพั ของพระมหาอปุ ราชบุกเขา้ โจมตเี มอื งคังก่อน แต่ปรากฏว่าตีไม่สาเร็จ ต่อมาจึงเป็น หน้าที่ของกองทัพพระสังขฑัต แต่การโจมตีก็ต้องผิดหวังล่าถอยกลับมาอีกเช่นกัน ดังนั้นจึงเป็นคราวท่ีพระ นเรศวรจะเข้าโจมตีเมืองคังบา้ ง พระนเรศวรทรงพิจารณาเหน็ ว่าเมอื งคังตัง้ อยู่บนทสี่ ูง พระองค์จึงวางแผนการยทุ ธจดั ทัพใหม่ แบ่งกาลัง ส่วนหนึ่งเข้าโจมตีด้านหน้า กาลังส่วนนี้มีไม่มากนัก แต่กาลังส่วนใหญ่ของพระองค์เปล่ียนทิศทางโอบเข้าตี ด้านหลัง ประกอบกับพระองค์ทรงรู้ทางลับท่ีจะบุกเข้าสู่เมืองคังอีกด้วย จึงสามารถโจมตีเมืองคังแตกโดยไม่ ยาก พระนเรศวรจบั เจ้าฟ้าเมืองคังไปถวายพระเจ้านันทบุเรงท่ีหงสาวดีเป็นผลสาเร็จ ชัยชนะในการตีเมืองคัง คร้ังนั้นทาให้ฝ่ายพม่าเริ่มรู้ว่าฝีมือทัพอยุธยา มีความเก่งกล้าสามารถน่าเกรงขามยิ่งกว่าแต่ก่อน โดยเฉพาะ

พระสงั ขฑัต และพระมหาอุปราชารู้สกึ มีความละอายมากในการทาศึกครั้งนี้ นอกจากน้ีแล้วต่อมาพวกเขมรยก ทัพมากวาดต้อนผู้คนในเมืองนครราชสีมาและหัวเมืองชั้นใน ก็ถูกกองทัพของพระนเรศวรโจมตีแตกกระเจิง และเลิกทพั ถอยกลับไป ความเกง่ กล้าสามารถของพระนเรศวรมีมากข้ึนเพียงไร ความหวาดระแวงของหงสาว ดกี ็เพม่ิ ทวีมากข้ึนเยยี่ งนั้น พระเจ้านันทบุเรงเร่ิมไม่ไว้วางพระทัยพระนเรศวร คอยจับจ้องดูความเปล่ียนแปลง และความสามารถของยอดนักรบพระองค์นอ้ี ยูต่ ลอดเวลา คดิ วา่ หากมีโอกาสเม่อื ใดก็จะกาจดั ตัดไฟแต่ต้นลม

ประกาศอสิ รภาพ

พระบรมราชานสุ าวรีย์สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ณ มหาวิทยาลยั นเรศวร จงั หวัดพษิ ณุโลก เม่ือปี พ.ศ. 2126 พระเจ้าอังวะเป็นกบฏ เนื่องจากไม่พอใจทางกรุงหงสาวดีอยู่หลายประการ จึงแข็ง เมอื งพร้อมกบั เกลีย้ กล่อมเจา้ ไทยใหญ่อีกหลายเมืองให้แข็งเมืองด้วย พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงจึงยกทัพหลวง ไปปราบ ในการณน์ ้ีได้สั่งใหเ้ จา้ เมอื งแปรเจา้ เมืองตองอแู ละเจ้าเมอื งเชียงใหม่ รวมท้ังทางกรุงศรีอยุธยาด้วย ให้ ยกทพั ไปช่วยทางไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชาโปรดให้สมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปแทน สมเด็จพระนเรศวร ยกทัพออกจากเมืองพิษณุโลก เมื่อวันแรม 6 ค่า เดือน 3 ปีมะแม พ.ศ. 2126 พระองค์ยกทัพไทยไปช้า ๆ เพ่ือให้การปราบปรามเจ้าอังวะเสร็จสิ้นไปก่อน ทาให้พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงแคลงใจว่า ทางไทยคงจะถูก พระเจ้าอังวะชักชวนให้เข้าด้วย จึงสั่งให้พระมหาอุปราชาคุมทัพรักษากรุงหงสาวดีไว้ถ้าทัพไทยยกมาถึงก็ให้ ต้อนรับและหาทางกาจัดเสีย และพระองค์ได้ส่ังให้พระยามอญสองคน คือ พระยาเกียรติและพระยาราม ซึ่งมี สมัครพรรคพวกอยู่ท่ีเมืองแครงมาก และทานองจะเป็นผู้คุ้นเคยกับสมเด็จพระนเรศวรมาแต่ก่อน ลงมาคอย ต้อนรับทัพไทยที่เมืองแครง อันเป็นชายแดนติดต่อกับไทย พระมหาอุปราชาได้ตรัสสั่งเป็นความลับว่า เม่ือ สมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพข้ึนไป ถ้าพระมหาอุปราชายกเข้าตีด้านหน้าเมื่อใด ให้พระยาเกียรติและพระยา รามคมุ กาลังเข้าตีกระหนาบทางด้านหลงั ชว่ ยกนั กาจดั สมเดจ็ พระนเรศวรเสียให้จงได้ พระยาเกียรติกับพระยา

รามเมอ่ื ไปถงึ เมืองแครงแลว้ ได้ขยายความลบั น้ีแก่พระมหาเถรคันฉ่องผู้เป็นอาจารย์ของตน ทุกคนไม่มีใครเห็น ดดี ว้ ยกับแผนการของพระเจ้ากรงุ หงสาวดี ทรงประกาศอิสรภาพ

กองทัพไทยยกมาถึงเมืองแครง เมื่อวันขึ้น 1 ค่า เดือน 6 ปีวอก พ.ศ. 2127 โดยใช้เวลาเดินทัพเกือบ สองเดือน กองทัพไทยตั้งทัพอยู่นอกเมือง เจ้าเมืองแครงพร้อมทั้งพระยาเกียรติกับพระยารามได้มาเฝ้าฯ สมเด็จพระนเรศวร จากนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้เสด็จไปเยี่ยมพระมหาเถรคันฉ่องซึ่งคุ้นเคยกันดีมาก่อน พระ มหาเถรคันฉ่องมีใจจึงกราบทูลถึงเร่ืองการคิดร้ายของทางกรุงหงสาวดี แล้วให้พระยาเกียรติกับพระยาราม กราบทูลให้ทราบตามความเป็นจริง เม่ือพระองค์ได้ทราบความโดยตลอดแล้ว ก็มีพระราชดาริเห็นว่าการเป็น อริราชศัตรูกับกรุงหงสาวดีนั้น ถึงกาลเวลาที่จะต้องเปิดเผยต่อไปแล้ว จึงได้มีรับสั่งให้เรียกประชุมแม่ทัพนาย กอง กรมการเมือง เจ้าเมืองแครงรวมทั้งพระยาเกียรติพระยารามและทหารมอญมาประชุมพร้อมกัน แล้ว นิมนตพ์ ระมหาเถรคันฉอ่ งและพระสงฆ์มาเป็นสักขีพยาน ทรงแจ้งเร่ืองให้คนท้ังปวงท่ีมาชุมนุม ณ ท่ีนั้นทราบ ว่า พระเจา้ หงสาวดคี ิดประทุษรา้ ยตอ่ พระองค์

ภาพเขยี นสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทรงประกาศอสิ รภาพ (จิตรกรรมฝาผนังในวหิ ารวัดสวุ รรณดาราราม)

วันนน้ั ตรงกับวนั แรมสามคา่ เดอื นหก ปีวอก พุทธศกั ราช 2127 คร้ันไดเ้ วลายามพระสรุ ิยาตง้ั ตรง ศรีษะ ไมม่ เี งาทอดหา่ งตวั ประทับยนื กลางแจ้งไร้ส่งิ บดบัง เปลือยพระบาทแนบแนน่ กับพน้ื ธรณี ผินพระ พักตร์สเู่ บือ้ งทิศบูรพา พระหตั ถข์ วาเหยียดตรงไปเบ้ืองหนา้ แลว้ จึงไดห้ ลงั่ อุทกธาราจากสวุ รรณพิงคาร สู่ พน้ื ปฐพตี ่อหน้ามุขมาตยาโยธาหารท้ังปวง ขณะเมื่ออุทกธารารดหล่งั ลงสู่พืน้ พสธุ านัน้ ไดส้ ารวมจิตอธิ ฐานโดยแน่วแน่ออกพระโอษฐ์ตรสั ประกาศแกเ่ ทพยดาทงั้ หลาย อันมีมหิทธิฤิทธ์ิและทพิ จกั ขุทพิ โสต ซึ่ง สถิตอยู่ทุกทศิ านทุ ศิ ทั่วฟา้ ดินจงเปน็ ทิพพยาน “ด้วยพระเจา้ หงสาวดีมไิ ด้ตั้งอยโู่ ดยครองสจุ รติ มติ รภาพขตั ติยราช ประเพณเี สียสามคั คีรสธรรม ประเพณพี าลทจุ รติ คิดจะทาภยนั ตรายแกเ่ รา ตง้ั แตว่ นั นไ้ี ปกรงุ พระ

มหานครศรีอยธุ ยากับเมืองหงสาวดี มิไดเปน็ สุวรรณปฐพีเดยี วดุจหนึง่ เช่นกาลก่อน ขาดจากกันนบั แตว่ นั น้ี ไปตราบเท่ากาลปาวสาน กับท้ังนบั แตว่ นั นีไ้ ปผืนแผน่ ดนิ ไทยแลลูกหลาน สายเลือดไทย จะต้องไม่ตกเป็น ทาษของใครๆหรือส่งิ ใดๆ อนั มิไดต้ งั้ อยใู่ นครรลองแห่งสัจธรรม จะต้องมีอิสรภาพตลอดไปตราบเทา่ กาล ปาวสานดุจเดียวกนั ”

จากน้นั พระองคไ์ ดต้ รัสถามชาวเมืองแครงวา่ จะเข้าข้างฝา่ ยใด พวกมอญท้งั ปวงต่างเขา้ กบั ฝา่ ยไทย สมเด็จพระนเรศวรจึงใหจ้ บั เจ้าเมืองกรมการพมา่ แลว้ เอาเมืองแครงเป็นท่ีตั้งประชมุ ทัพ เม่อื จัดกองทพั เสร็จก็ ทรงยกทัพจากเมอื งแครงไปยังเมอื งหงสาวดีเม่อื วนั แรม 3 คา่ เดอื น 6 ฝ่ายพระมหาอุปราชาท่อี ยู่รักษาเมือง หงสาวดี เมือ่ ทราบวา่ พระยาเกียรตพิ ระยารามกลับไปเขา้ กบั สมเด็จพระนเรศวร จึงได้แต่รกั ษาพระนครมัน่ อยู่ สมเดจ็ พระนเรศวรเสด็จยกทัพข้ามแม่น้าสะโตงไปใกลถ้ งึ เมืองหงสาวดี ไดท้ ราบความว่า พระเจา้ กรุงหงสาวดมี ี ชัยชนะได้เมืองอังวะแลว้ กาลังจะยกทัพกลบั คืนพระนคร พระองคเ์ ห็นวา่ สถานการณ์ครง้ั นไี้ มส่ มคะเน เหน็ วา่ จะตีเอาเมอื งหงสาวดใี นครัง้ น้ียังไม่ได้ จึงใหก้ องทัพแยกย้ายกนั เทยี่ วบอกพวกครัวไทยที่พม่ากวาดต้อนไปแต่ กอ่ นให้อพยพกลับบา้ นเมือง ไดผ้ คู้ นมาประมาณหม่นื เศษใหย้ กล่วงหนา้ ไปก่อน พระองคท์ รงคุมกองทัพยก ตามมาข้างหลัง ทรงพระแสงปนื ขา้ มแม่น้าสะโตง

พระนเรศวรทรงพระแสงปนื ขา้ มแมน่ า้ สะโตงยงิ ถูกสุกรรมาแมท่ ัพพม่าเสียชีวิต ฝา่ ยพระมหาอุปราชาทราบข่าวว่า สมเด็จพระนเรศวรกวาดต้อนคนไทยกลบั จงึ ไดใ้ หส้ รุ กรรมาเป็นกอง หนา้ พระมหาอุปราชาเป็นกองหลวง ยกตดิ ตามกองทัพไทยมา กองหนา้ ของพม่าตามมาทันทีร่ มิ ฝ่งั แมน่ ้าสะ โตง ในขณะท่ีฝ่ายไทยได้ขา้ มแมน่ า้ ไปแล้ว และคอยป้องกันมใิ ห้ข้าศึกข้ามตามมาได้ ได้มกี ารต่อสกู้ ันท่รี ิมฝงั่ แม่นา้ สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้พระแสงปนื นกสบั ยาวเก้าคืบ ยงิ ถูกสุรกรรมา แม่ทัพหนา้ พม่าตายบนคอชา้ ง

กองทพั ของพม่าเห็นแมท่ ัพตาย ก็พากันเลิกทัพกลับไป เม่ือพระมหาอุปราชาแมท่ ัพหลวงทรงทราบ จึงให้เลิก ทัพกลับไปกรุงหงสาวดพี ระแสงปืนท่ีใชย้ งิ สุรกรรมาตายบนคอช้างนี้ได้นามปรากฏต่อมาว่า "พระแสงปืนตน้ ข้ามแมน่ ้าสะโตง" นบั เป็นพระแสงอัษฎาวุธ อนั เปน็ เคร่ืองราชูปโภค ยงั ปรากฏอยู่จนถงึ ทุกวันน้ีเมื่อสมเดจ็ พระ นเรศวรเสดจ็ กลับถึงเมืองแครง ทรงดารวิ ่าพระมหาเถรคนั ฉ่องกบั พระยาเกียรติพระยารามได้มีอปุ การะมาก สมควรไดร้ ับการตอบแทนให้สมแก่ความชอบ จึงทรงชักชวนใหม้ าอยู่ในกรุงศรอี ยธุ ยา พระมหาเถรคันฉ่องกบั พระยามอญ ท้ังสองก็มีความยนิ ดี พาพรรคพวกเขา้ มาดว้ ยเป็นอันมาก ในการยกกาลงั กลับครงั้ น้ี สมเด็จพระ

นเรศวรทรงเกรงว่า ข้าศึกอาจยกทัพตามมาอีก ถ้าเสด็จกลับทางด่านแม่ละเมา มีกองทัพของนันทสู ราชสังคราต้ังอยทู่ ่เี มืองกาแพงเพชร จะเป็นอุปสรรคต่อการเดินทาง พระองค์จึงรีบส่ังให้พระยาเกียรติ พระยา ราม นาทัพเดินผ่านหัวเมืองมอญลงมาทางใต้ มาเข้าทางด่านเจดีย์สามองค์เม่ือกลับมาถึงกรุงศรีอยุธยาแล้ว สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาก็พระราชทานบาเหน็จรางวัลแก่พวกมอญท่ีสวามิภักดิ์ ทรงตั้งพระมาหาเถรคันฉ่อง เป็นพระสังฆราชา ท่ีสมเด็จอริยวงศ์ และให้พระยาเกียรติ พระยารามมีตาแหน่งยศ ได้พระราชทานพานทอง ควบคมุ มอญทเ่ี ข้ามาดว้ ย ให้ตง้ั บา้ นเรือนท่ีรมิ วดั ขม้นิ และวัดขุนแสนใกล้วังจันทร์ของสมเด็จพระนเรศวร แล้ว ทรงมอบการท้งั ปวงท่จี ะตระเตรียมตอ่ สขู้ ้าศึก สมเดจ็ พระนเรศวรทรงบังคับบัญชาสทิ ธิขาดแตน่ ้ันมา รบกับพระยาพะสิม

พระนเรศวรและพระเอกาทศรถ

ปี พ.ศ. 2127 หลังจากท่ีสมเด็จพระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพได้ 7 เดือน พระเจ้าหงสาวดี นนั ทบุเรงจึงจัดทัพสองทพั ให้ยกมาตีไทย ทัพแรกมีพระยาพสิม (เป็นพระเจ้าอาของพระเจ้าหงสาวดี) คุมกาลัง 30,000 โดยยกมาทางด่านเจดีย์สามองค์ ทัพท่ีสองมีเจ้าเมืองเชียงใหม่ช่ือมังนรธาช่อราชอนุชา ยกทัพบกและ เรอื มา จากเชียงใหมม่ กี าลงั พล 100,000 กองทัพพระยาพสิมยกเข้ามาถึงเมืองกาญจนบุรี (ถึงก่อนทัพเจ้าเมือง เชียงใหม่) สมเด็จพระนเรศวรทรงให้พระยาจักรียกทัพเรือไปยิงปืนใหญ่ดักข้าศึกแถว ๆ เมืองสุพรรณบุรี ทัพ พม่าถูกปืนใหญ่แตกพ่ายหนีไปอยู่บนเขาพระยาแมน เจ้าพระยาสุโขทัยยกทัพไปเขาพระยาแมน เข้าตีทัพพระ ยาพสิมแตกพา่ ยหนกี ระเจิง เจา้ พระยาสุโขทัยจึงสง่ั ใหต้ ามบดขยี้ข้าศึกจนถึงชายแดนเมืองกาญจนบุรี หลังจาก ทัพพระยาพสิมแตกพ่ายหนีกลับไปได้สองอาทิตย์ กองทัพพระยาเชียงใหม่ได้เดินทัพมาถึงชัยนาท โดยที่ไม่ ทราบข่าวการพ่ายแพ้ของพระยาพสิมจึงส่งแม่ทัพและทหารจานวนหนึ่งมาตั้งค่ายท่ีปากน้าบางพุทรา ทาง สมเด็จพระนเศวรมีรับส่ังให้พระราชมนูยกทัพไปตีข้าศึกที่ปากน้าบางพุทรา เม่ือไปถึงพระราชมนูเห็นว่ากาลัง น้อยกว่ามาก (พม่ามีอยู่ 15,000 ไทยมี 3,200 คน) จึงแต่งกองโจรคอยดักฆ่าพม่าจนเสียขวัญถอยกลับไป ชยั นาท สดุ ท้ายทัพพม่าจึงถอยกลบั ไป

พระบรมราชานสุ าวรีย์สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช จังหวัดเชยี งใหม่ รบกบั พระเจา้ เชยี งใหม่ทบ่ี า้ นสระเกศ

เมื่อพระยาพสิมกับพระเจ้าเชียงใหม่ เสียทีแก่ไทยถอยทัพกลับไปแล้ว พระเจ้าหงสาวดี นันทบุเรง ทรงขัดเคืองพระเจ้าเชียงใหม่ว่า เฉื่อยช้าทาการไม่ทันกาหนดตามแผนการรบท่ีวางไว้ ทาให้พระ ยา พสิมเสียที จึงได้ให้ข้าหลวงสามคน เข้ามากากับกองทัพพระเจ้าเชียงใหม่ ซ่ึงถอยทัพไปตั้งอยู่ท่ีเมือง กาแพงเพชร ให้ทาการแก้ตัวใหม่ จึงได้ยกทัพลงมาต้ังอยู่ท่ีเมืองนครสวรรค์ เมื่อเดือน 4 ปีวอก พ.ศ. 2128 พร้อมกันน้ัน ก็ได้ให้พระมหาอุปราชา คุมกองทัพมีกาลังพล 50,000 คน เข้ามาตั้งอยู่ที่เมือง

กาแพงเพชร เมื่อเดือน 5 ปีระกา พ.ศ. 2128 ให้ไพร่พลทานาอยู่ในท้องท่ีหัวเมืองเหนือ เพื่อเตรียมเสบียง อาหารไว้สาหรับกองทัพใหญ่ ซ่ึงพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงจะเสด็จยกมาเอง ในฤดูแล้งปลายปีระกา

พระเจา้ เชียงใหมไ่ ด้รับมอบหมายใหล้ งมาขดั ตาทัพ อยู่ที่เมืองชัยนาท เพ่ือคอยขัดขวางมิให้กองทัพ กรุงศรีอยุธยา ยกขึ้นไปขัดขวางการสะสมเสบียงอาหาร ของกองทัพกรุงหงสาวดีในหัวเมืองภาคเหนือ กอง กาลงั ของพระเจา้ เชยี งใหม่ ได้ยกลงมาถงึ บา้ นสระเกศ แขวงเมืองวเิ ศษชัยชาญ คอยรบกวนไม่ให้ฝ่ายไทยทาไร่ ทานาได้ในปีน้ัน ให้เจ้าเมืองพะเยาคุมกองทหารม้า ลงมาเผาบ้านเรือนราษฎร และไล่จับผู้คน จนถึงสะพาน เผาข้าวใกลพ้ ระนคร

ฝ่ายไทย เมอ่ื ทราบข่าวข้าศึกยกลงมาทางเหนือ สมเด็จพระนเรศวรทรงเห็นว่า ข้าศึกยกลงมาครั้งนี้ เป็นทัพใหญ่ มีกาลังพลมากนัก การออกไปสะกัดก้ันกลางทางจะทาได้ยาก จึงได้กวาดต้อนผู้คนเข้ามาไว้ใน กรุงศรีอยุธยา เตรียมการรักษาพระนครไว้ให้เข้มแข็ง เมื่อพระองค์ทราบการกระทาของข้าศึกดังกล่าว จึง เสด็จคมุ กาลังออกไปพร้อมกับสมเด็จพระเอกาทศรถ เข้ารบพุ่งข้าศึกถึงข้ันตลุมบอน เจ้าเมืองพระเยาตายใน ท่รี บ ไพร่พลทเ่ี หลอื ก็พากันแตกหนีไป พระองค์ทรงพระดาริเห็นว่า จะต้องตีกองทัพพระเจ้าเชียงใหม่ที่บ้าน สระเกศให้แตกกลับไป จึงทรงรวบรวมรี้พลจัดกองทัพบกทัพเรือมีกาลังพล 80,000 คน ไปต้ังประชุมพลท่ี ทุ่งลุมพลี ในห้วงเวลาน้ันได้ข่าวลงมาว่า มีกองกาลังเมืองเชียงใหม่ ยกมากวาดต้อนผู้คนจนถึงบ้านป่า โมก พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ก็รีบเสด็จไปด้วยกระบวนเรือเร็ว ถึงตาบลป่าโมกน้อย ก็พบ กองทัพสะเรนันทสู ซึ่งพระเจ้าเชียงใหม่ให้คุมพล 5,000 ยกลงมาทาร้ายราษฎรทางเมืองวิเศษชัยชาญ จึง รับส่ังให้เทียบเรือเข้าข้างฝ่ัง แลัวยกพลเข้าโจมตีข้าศึก พระองค์ทรงยิงพระแสงปืนถูกนายทัพฝ่ายเชียงใหม่ ตาย ขา้ ศกึ ก็แตกหนีไปทางเหนือ พวกพลอาสาก็ติดตามขึ้นไป จนปะทะหน้าของพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งมีพระ ยาเชียงแสนเป็นแม่ทัพ ฝ่ายไทย เมื่อเห็นว่าฝ่ายข้าศึกมีกาลังมากกว่า ต้านทานไม่ไหวจึงล่าถอยลงมา พวก เชียงใหม่ก็ไล่ติดตามมา พระองค์จึงให้เล่ือนเรือพระท่ีนั่ง พร้อมทั้งเรือท่ีอยู่ในกระบวนเสด็จ ข้ึนไปรายลาอยู่ ข้างเหนือปากคลองป่าโมกน้อย พอข้าศึกไล่ตามกองอาสามาถึงท่ีน้ัน ก็ให้เอาปืนใหญ่น้อยระดมยิงข้าศึกไป จากเรือ ไดม้ กี ารรบพงุ่ กันในระยะประชิด พอกองทัพทางบกจากกรุงตามขึ้นไปทัน จึงเข้าช่วยรบพุ่ง กองทัพ พระยาเชียงแสน กถ็ อยหนขี ึ้นไปทางเหนอื พระองค์จงึ ทรงให้รวบรวมกองทัพทัง้ ปวงไว้ทีต่ าบลปา่ โมก

ทีบ่ รเิ วณหลังตลาดปา่ โมก ตรงขา้ มกับอาเภอป่าโมกในปัจจบุ นั มีทุ่งใหญ่อยู่ทุ่งหนึ่งเรียกว่า ทุ่งเอก ราช คงจะได้ช่อื จากเหตุการณ์ในครง้ั นัน้

ฝ่ายพระเจ้าเชยี งใหม่ต้งั อยู่ที่บา้ นสระเกศ เห็นกองทัพหนา้ แตกกลับมา ก็คาดวา่ สมเดจ็ พระนเรศวร คงจะยกกองทัพตามขน้ึ ไป จึงปรึกษาแม่ทัพนายกองท้งั ปวงเหน็ ว่า ควรจะยกกาลงั เปน็ กองทพั ใหญ่ ชงิ เขา้ ตี กองทพั ไทยเสยี ก่อน จงึ ได้จัดแจงทัพให้พระยาเชยี งแสนกบั สะเรนนั ทสู เป็นทัพหนา้ คุมกาลัง 15,000 กองทัพหลวง ของพระเจา้ เชียงใหม่มีกาลัง 60,000 คน กาหนดจะยกลงมาในวนั แรม 2 คา่ เดอื น 5 ปีระกา พ.ศ. 2128

สมเดจ็ พระนเรศวรทรงพระดารวิ ่า กองทพั พระยาเชียงแสนทถ่ี อยหนไี ปน้ัน น่าไปรวบรวมกาลัง เพ่ิมเติมแล้วยกกลบั มาอีก แต่เม่อื รออยหู่ ลายวันก็ยังไม่ยกลงมา นา่ จะคดิ ทาอบุ ายกลศึกอยา่ งใดอย่าง หน่งึ จึงดารัสสงั่ ใหพ้ ระราชมนคู ุมกาลงั พล 10,000 ยกขน้ึ ไปลาดตระเวณหยัง่ กาลงั ข้าศึก สว่ นพระองค์กบั สมเดจ็ พระเอกาทศรถ กเ็ สด็จยกทัพหลวงมีกาลังพล 30,000 ตามขนึ้ ไป

กองทัพพระราชมนูยกข้ึนไปถึงบางแก้ว ก็ปะทะกับทัพหน้าของพระเจ้าเชียงใหม่ สมเด็จพระนเรศวร เสด็จข้ึนไปถึงบ้านแห ได้ยินเสียงปืนใหญ่น้อยจากการปะทะกันหนาแน่นขึ้นทุกที จึงทรงพระดาริจะใช้กล ยุทธเอาชนะข้าศึกในคร้ังน้ี โดยให้หยุดกองทัพหลวง แล้วแปรกระบวนไปซุ่มอยู่ที่ป่าจิกป่ากระทุ่ม ข้างฝั่ง ตะวนั ตก แล้วใหข้ ้าหลวงข้ึนไปสัง่ พระราชมนใู ห้ลา่ ถอยลงมา ฝ่ายพระราชมนูไม่ทราบพระราชประสงค์ เห็น ว่ากาลังร้ีพลไล่เลี่ยกับกองทัพหน้าของข้าศึก พอจะต่อสู้รอกองทัพหลวงขึ้นไปถึงได้จึงไม่ถอยลงมา พระองค์ จึงให้จม่ืนทิพรักษาขึ้นไปเร่งให้ถอยอีก พระราชมนูก็ส่ังให้มากราบทูลว่า กาลังรบพุ่งติดพันกับข้าศึกอยู่ ถ้า ถอยลงมาเกรงจะเลยแตกพ่ายเอาไว้ไม่อยู่ คร้ังน้ีพระองค์ทรงพิโรธ ดารัสสั่งให้จมื่นทิพรักษา คุมทหารม้าเร็ว กลบั ไปสั่งพระราชมนูให้ถอย ถ้าไมถ่ อยให้ตัดศรี ษะพระราชมนมู าถวาย พระราชมนูจึงโบกธงให้สัญญาณถอย ทัพ ขณะนน้ั กองทพั หลวงพระเจ้าเชียงใหม่ยกหนุนมาถึง สาคัญว่ากองทัพไทยแตกหนี ก็ยกทัพไล่ติดตามมา โดยประมาทไม่เป็นกระบวนศกึ จนถงึ พนื้ ทท่ี ่ีสมเด็จพระนเรศวรซมุ่ กองทัพหลวงไว้ พระองค์เห็นข้าศึกเสียกล สมประสงค์ ก็ให้ยิงปืนโบกธงสัญญาณ ยกกองทัพหลวงเข้าตีกลางกองทัพข้าศึก ฝ่ายพระราชมนูเห็นกองทัพ หลวงเข้าตีโอบดังนั้น ก็ให้กองทัพของตน กลับตีกระหนาบข้าศึกอีกทางหนึ่ง ได้รบพุ่งกันถึงขั้น ตะลมุ บอน กองทัพเชียงใหม่ก็แตกพ่ายไปทั้งทัพหน้าและทัพหลวง ทัพเชียงใหม่เสียนายทหารช้ันผู้ใหญ่ถึง 7

คน คือ พระยาลอ พระยากาว พระยานคร พระยาราย พระยางิบ สมิงโยคราช และสะเรนันทสู กองทัพ ไทยยึดได้ช้างใหญ่ 20 เชือก ม้า 100 เศษ กับเครื่องศัตราวุธอีกเป็นอันมาก สมเด็จพระนเรศวร เห็น โอกาสท่ีจะไม่ให้ข้าศึกต้ังตัวติด จึงได้เสด็จยกทัพหลวงติดตามข้าศึกไปจนพลบค่า จึงให้พักแรมท่ีบ้านชะ ไว แล้วยกทัพต่อไปแต่กลางดึก ให้ถึงบ้านสระเกศเข้าตีค่ายพระเจ้าเชียงใหม่ตอนเช้าตรู่ ฝ่ายพระเจ้า เชียงใหม่เมื่อถอยหนีกลับไปถึง บ้านสระเกศแล้ว ทราบว่ากองทัพไทยยกติดตามข้ึนไป ก็รีบถอนทัพหนี กลับไปแต่ตอนกลางคืน เมื่อกองทัพไทยติดตามไปถึงตอนเช้า พบข้าศึกกาลังถอยหนีกันอลหม่าน กองทัพ ไทยก็ยึดค่ายพระเจ้าเชียงใหม่ได้จับได้พระยาเชียงแสน และร้ีพลเป็นเชลยรวม 10,000 คนเศษ กับช้าง 120 เชือก ม้า 100 เศษ เรือรบและเรือเสบียงรวม 400 ลา เครื่องศัตราวุธยุทธภัณฑ์และเสบียงอาหารเป็นอัน มาก รวมทั้งติดตามข้าศึกไปจนถึงเมืองนครสวรรค์ เม่ือทรงเห็นว่าพระเจ้าเชียงใหม่หนีไปสมทบกับกองทัพ พระมหาอุปราชา แล้วจะติดตามไปไม่ได้อีกจึงยกทัพกลับ คร้ังนั้น สมเด็จพระมหาธรรมราชา ได้จัดกองทัพ หลวงเสด็จโดยขบวนเรือจากกรุงศรีอยุธยา กาลังหนุนขึ้นไปถึงปากน้าบางพุทรา เมื่อได้ทราบผลการรบ แล้ว จึงมีรับสั่งให้เลิกกองทัพกลับกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรทรงได้ชัยชนะอันยิ่งใหญ่คร้ัง นี้ พระองค์ได้รับการยกย่องเทิดทูนจากมหาชนอย่างกว้างขวาง พระองค์ทรงมุ่งที่จะขยายผลการได้ชัยชนะ ออกไปอีก เพ่ือกอบกู้ราชอาณาจกั รไทยให้ยิง่ ใหญ่ แต่สมเดจ็ พระราชบิดาทรงเห็นเห็นว่า เม่ือได้อิสรภาพคืน มาก็เพียงพอแลว้ เพราะตอ้ งการพื้นฟูบ้านเมือง ให้กลบั พืน้ คนื ดีบริบูรณ์เหมือนแต่ก่อน ดังนั้นหลังศึกพระเจ้า เชียงใหมแ่ ลว้ ทางกรงุ ศรีอยุธยาก็ได้เร่งรัดการทานาในหวั เมอื งชน้ั ในทขี่ ึ้นตรงตอ่ พระนคร

เมอ่ื ถึงฤดูฝนก็ให้เรง่ ทานาทุกพน้ื ที่ และเมอ่ื ถึงฤดเู ก็บเกี่ยวขา้ ว เมอ่ื ได้ข้าวมาแล้วก็ให้ขนขา้ วมา สะสมไวใ้ นกรุง เพ่ือไว้ใช้เป็นเสบียงอาหาร เม่ือมศี ึกมาล้อมศึก ขา้ วท่ีเกี่ยวได้ไม่ทนั กใ็ ห้เผาทาลายเสยี มิให้ ขา้ ศกึ ใช้ประโยชน์ได้ นอกจากน้นั ยังไดเ้ ร่งจดั หาสรรพวุธพาหนะและกาลังพล เพ่อื เตรียมต่อสู้ขา้ ศกึ ท่ี ประมาณการณ์วา่ จะยกกาลังเข้ามาตีกรุงศรีอยธุ ยาอีกในอนาคตอนั ใกล้ ส่วนบรรดาผคู้ นทีอ่ พยพหลบภยั ขา้ ศึก กระจัดกระจายอย่ตู ามป่าตามดงน้ัน พระองค์กไ็ ด้ทรงเลอื กสรรบรรดาทหารท่ชี านาญปา่ จดั ตงั้ เป็น นายกองอาสา ออกไปเกล้ียกลอ่ มใหเ้ กิดมีใจรักชาติ มีความมุ่งม่นั ทจี่ ะต่อสู้ข้าศึกศัตรขู องชาติ แล้วจัดต้งั เปน็ หน่วยกองโจรอย่ตู ามป่า คอยทาสงครามแบบกองโจร ทาลายการส่งเสบียงอาหารของขา้ ศึก

พระแสงดาบคาบค่าย

สมเด็จพระนเรศวรทรงคาบพระแสงดาบข้ึนปล้นค่ายพระเจา้ หงสาวดี สงครามครั้งนี้ ทางพม่าได้มีการเตรียมการแต่เนิ่น และฝ่ายไทยก็ทราบดี กล่าวคือกองทัพพระมหา อุปราชา ได้เข้ามาทานาต้ังแต่ปีระกา ครั้งถึงเดือนสิบสอง ปีจอ พ.ศ. 2129 พระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงก็ยก กองทัพเข้ามถึงสามทัพ จัดเป็นทัพสามกษัตริย์ คือ ทัพพระเจ้าหงสาวดี ทัพพระมหาอุปราชา และทัพพระ เจา้ ตองอู โดยมีทัพพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงเป็นจอมทัพ มีกาลังพลทั้งสิ้น 250,000 คน กองทัพทั้งสามมา ชุมนุมกันท่ีเมืองกาแพงเพชร ส่วนพระเจ้าเชียงใหม่นั้น เนื่องจากรบแพ้ไทยไปคร้ังก่อน จึงให้ทาหน้าที่ขน เสบียงอาหาร เม่ือทั้งสามทัพพร้อมกันแล้ว ก็เดินทัพลงมาถึงนครสวรรค์ โดยให้ทัพพระมหาอุปราชาเป็นปีก ขวา พระเจ้าตองอูเป็นปีกซ้าย เม่ือยกลงมาถึงเมืองนครสวรรค์ แล้วให้กองทัพพระมหาอุปราชา ยกมาทาง เมืองลพบุรี เมืองสระบุรี แล้วยกมาบรรจบทัพหลวงที่กรุงศรีอยุธยาทัพพระเจ้าตองอู ให้ยกลงมาทางฝั่ง ตะวนั ออกของแมน่ ้าเจ้าพระยา ทพั หลวงยกลงมาทางฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา ท้ังสองทัพยกลงมาถึง กรุงศรีอยุธยาเมื่อวันขึ้น 2 ค่า เดือนยี่ จัดค่ายรายกันอยู่ทางด้านทิศเหนือ และทิศตะวันออกของพระ นคร เน่ืองจากเป็นทางทจ่ี ะเข้าตีพระนครไดส้ ะดวกกว่าด้านอ่ืน โดยที่กองทัพหลวงอยู่ทางด้านเหนือ ตั้งค่าย หลวงท่ีขนอนปากคูกองมังมอด ราชบุตรกับพระยารามต้ังท่ีตาบลมะขามหย่อง กองพระยานครตั้งที่ตาบล พุทธเลา กองนนั ทสตู ั้งท่ขี นอนบางลาง กองทัพพระเจ้าตองอูตั้งท่ีทุ่งชายเคืองทางทิศตะวันออก เม่ือกองทัพ พระมหาอุปราชามาถึง ก็ให้ต้ังท่ีทุ่งชายเคืองตะวันออก ต่อจากกองทัพพระเจ้าตองอูลงมาทางบางตะนาว ทางฝา่ ยกรงุ ศรีอยธุ ยา ไดม้ เี วลาเตรียมการรักษาพระนครอยหู่ ลายเดือน เพราะทราบสถานการณ์มา ก่อนแล้ว การเตรียมการดังกล่าวได้แก่ การเตรียมเสบียง กาลังพล การรักษาเส้นทางคมนาคมทางน้า ที่ ติดต่อไปมาทางทะเลโดยเรือใหญ่ได้สะดวก คือ เส้นทางเรือในแม่น้าเจ้าพระยาไปออกอ่าวไทย ส่วนข้าง เหนือต้ังแตเ่ มืองวิเศษชัยชาญขึ้นไป เห็นว่าไม่คุ้มค่าที่จะรักษาไว้ ในชานพระนครได้เตรียมปืนใหญ่ และกาลัง

ทางบกและทางเรือไว้คอยต่อสู้ป้องกัน มิให้ข้าศึกเข้ามาต้ังปืนใหญ่ยิงเข้ามาในพระนครได้ ขณะเม่ือกองทัพ

ข้าศึกยกลงมาถึงพระนครเมื่อต้นเดือนย่ี ข้าวในทุ่งหันตราซ่ึงอยู่นอกพระนครด้านทิศตะวันออก ยังเก็บเกี่ยว

ไม่เสร็จ เม่ือทราบว่าข้าศึกยกลงมาใกล้ จึงโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าเจ้าพระยากาแพงเพชร ซึ่งได้ว่าที่สมุหพระ

กลาโหมคุมกองทัพออกไป คอยป้องกันการเก่ียวข้าวที่ทุ่งหันตรา พอกองทัพของพระมหาอุปราชายกลงมาถึง

ก็ให้กองทัพม้าเข้าตีกองทัพพระยากาแพงเพชร ฝ่ายไทยสู้ไม่ได้แตกหนีเข้ามาในพระนคร สมเด็จพระนเรศวร

กรวิ้ เจา้ พระยากาแพงเพชรยิ่งนัก ด้วยรบกันมาในชั้นนี้ไทยยังไม่เคยเสียทีแก่ข้าศึกเลย เหตุการณ์ดังกล่าวจะ

ทาให้กาลังพลเกรงกลัวข้าศึก จึงให้รีบจัดทัพแลัวพระองค์กับสมเด็จพระเอกาทศรถ เสด็จลงเรือพระที่นั่งลา

เดียวกัน ยกออกไปรบพุ่งกับข้าศึกที่ทุ่งชายเคืองเป็นสามารถจนถึงเวลาพลบค่า ข้าศึกจึงถอยไปจากค่ายของ

ไทยที่ตีได้ จึงเสด็จกลับและมีดารัสส่ังให้ประหารชีวิตเจ้าพระยากาแพงเพชรเสีย แต่สมเด็จพระมหาธรรม

ราชาทรงขอชีวิตไว้ รับส่ังว่าเจ้าพระยากาแพงเพชรเป็นพลเรือน เอาไปใช้รบเป็นทหารจึงแพ้

กลับมา เจ้าพระยากาแพงเพชรจึงรอดตาย แต่ถูกถอดจากตาแหน่งมิให้ว่าการกลาโหมต่อไป

กองทัพข้าศึกต้ังล้อมพระนครอยู่ห่าง ๆ ให้กองทัพเข้าตีปล้นพระนครหลายคร้ังก็ไม่เป็นผล ฝ่าย

ไทยต่อสู้ป้องกันอย่างเข้มแข็ง จนพม่าต้องถอยกลับไปทุกครั้ง ฝ่ายไทยก็ส่งทหารจากพระนคร เข้าปล้นค่าย

พม่าท้ังกลางวันกลางคืน มิให้อยู่เป็นปกติได้ บรรดาพวกกองโจรที่จัดต้ังไว้หลายหมวด หลายกอง ก็พากัน

เ ข้ า โ จ ม ตี ตั ด ก า ร ล า เ ลี ย ง เ ส บี ย ง อ า ห า ร ข อ ง ข้ า ศึ ก เ กิ ด ค ว า ม ข า ด แ ค ล น แ ล ะ ค ว า ม เ จ็ บ ไ ข้